การค้าระหว่างไทยกับประเทศเวียดนาม

Page 1

2.2 สถานการณ์การค้าระหว่างประเทศ 2) สินค้าส่งออกที่สาคัญ

การค้าระหว่างประเทศของเวียดนาม เมื่ อ พิ จ ารณามู ล ค่ า การค้ า ระหว่ า งประเทศ สิ น ค้ า ส่ ง ออกและสิ น ค้ า น าเข้ า ของเวี ย ดนาม สามารถสรุ ป ภาวะการค้ า ระหว่ า งประเทศของ เวียดนาม ดังนี้ 1) มูลค่าการค้าระหว่างประเทศของเวียดนาม ในปี 2557 การค้าระหว่างประเทศเวียดนาม และประเทศคู่ ค้ า ทั่ ว โลกมู ล ค่ า 298.20 พั น ล้ า น ดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.9 จากปี 2556 ซึ่งมีมูลค่า 264.27 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ สาหรับ ประเทศคู่ ค้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ สหรั ฐ อเมริ ก า จี น ญี่ปุ่ น เกาหลี ใต้ เนเธอร์ แลนด์ มาเลเซีย สหราช อาณาจักร และออสเตรเลีย โดยแยกเป็น การส่งออก มีมูลค่า 150.19 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 13.70 จากมู ล ค่ า 132.14 พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ในปี 2556 โดยสิ น ค้ า ส่ ง ออกหลั ก คื อ โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ คอมพิ ว เตอร์ ฯ ผลิตภัณฑ์ประมง น้ามันดิบ กาแฟ รองเท้า เครื่อง จักรกลฯ และข้าว เป็นต้น การนาเข้า มีมูลค่า 148.05 พันล้านดอลลาร์ สหรั ฐ เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 12.10 จากมู ล ค่ า 132.13 พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ในปี 2556 สิ น ค้ า น าเข้ า หลั ก คือ ผลิ ตภัณฑ์ปิ โ ตรเลี ย ม อาหารสั ตว์ เม็ด พลาสติก ผ้าผืน และวัสดุสิ่งทอ เป็นต้น

สินค้าที่เวียดนามส่งออกสินค้า ได้แก่ โทรศัพท์ มือถือและชิ้นส่วน สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เครื่อง คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิคส์และชิ้นส่วน รองเท้า น้ามันดิบ โดยเวียดนามส่งออกไปยังสหรัฐอเมริกา มากที่สุด รองมาเป็น ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ มาเลเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และไทย 3) สินค้านาเข้าที่สาคัญ สิ น ค้ า ที่ เ วี ย ดนามน าเข้ า ได้ แ ก่ เครื่ อ งจั ก ร เครื่องมือและอุปกรณ์ โทรศัพท์ มือถือและชิ้นส่วน ผ้ าผื น ผลิ ตภัณฑ์ปิโ ตรเลี ยม โดยนาเข้าจาก จีน เกาหลี ใ ต้ ไต้ ห วั น ญี่ ปุ่ น สิ ง คโปร์ สหรั ฐ อเมริกา และไทย

การค้าระหว่างประเทศไทยกับเวียดนาม เมื่อพิจารณามูลค่าการค้าระหว่างประเทศของ ไทยกับเวียดนาม สินค้าที่ไทยส่งออกไปเวียดนาม และสินค้าที่ไทยนาเข้าจากเวียดนาม สรุปได้ดังนี้

มูลค่าการค้าระหว่างไทยกับเวียดนาม ในปี 2558 (มกราคม-มีนาคม) การค้าระหว่าง ไทยกับเวียดนามมีมูลค่า 98,582.92 ล้านบาท ซึ่ง มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 22.81 โดยมีมูลค่าการ ส่งออก 62,911.79 ล้านบาท ขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อย ละ 18.36 และมูลค่าการนาเข้า 35,671.13 ล้าน บาท ขยายตั ว ร้ อ ยละ 31.51 ซึ่ ง ท าให้ เ วี ย ดนาม เกินดุลการค้าเป็นมูลค่า 27,240.66 ล้านบาท ในปี 2558 (มกราคม-มีนาคม)

Page | 4


การค้าระหว่างไทยกับเวียดนาม

รายการ

2555

มูลค่า (ล้านบาท) 2556 2557

2558 (ม.ค.-มี.ค.)

มูลค่าการค้ารวม 293,634.16 317,538.12 381,434.91 98,582.92 มูลค่าการส่งออก 200,274.70 217,546.25 253,456.36 62,911.79 มูลค่าการนาเข้า 93,359.46 99,991.87 127,978.55 35,671.13 ดุลการค้า 106,915.24 117,554.38 125,477.81 27,240.66

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ)Page | 5 56/55 57/56 58/57 (ม.ค.มี.ค.) 8.14 20.12 22.81 8.62 16.51 18.36 7.10 27.99 31.51

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)

สินค้าสาคัญที่ไทยส่งออกไปยังประเทศเวียดนาม ในปี 2557 สินค้าที่ไทยส่งออกไปเวียดนามที่มี มูลค่าสูงสุด คือ น้ามันสาเร็จรูป มีมูลค่าการส่งออก 26,593.40 ล้ า นบาท โดยมี อั ต ราการขยายตั ว เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2556 ร้ อ ยละ 44.90 เนื่องจากราคาพลังงานและเชื้ อเพลิงเริ่มลดลงขึ้น ทาให้ความต้องการใช้น้ามันสาเร็จรูปในเวียดนาม เพิ่มขึ้น ส่วนสินค้าส่งออกที่มีมูลค่ารองลงมาคือ

เม็ดพลาสติก รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ และเคมี ภั ณ ฑ์ ตามล าดั บ ส าหรั บ สิ น ค้ า ที่ ไ ทย ส่ ง ออกไปเวี ย ดนามที่ มี มู ล ค่ า สู ง สุ ด ในปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) น้ามันสาเร็จรูปยังคงเป็นสินค้าที่ไทย ส่ งออกไปเวียดนามสู งสุ ด เป็นมูล ค่า 20,197.10 ล้านบาท ส่วนสินค้ารองลงมา คือ รถยนต์ อุปกรณ์ และส่ ว นประกอบ เม็ ด พลาสติ ก และเคมี ภั ณ ฑ์ ตามลาดับ


โครงสร้างสินค้าที่ไทยส่งออกไปเวียดนาม 10 อันดับแรก Page | 6

ชื่อสินค้า 1 น้ามันสาเร็จรูป 2 รถยนต์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ 3 เม็ดพลาสติก 4 เคมีภัณฑ์ 5 เครื่องปรับอากาศ และส่วนประกอบ 6 เครื่องดื่ม 7 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 8 กระดาษและผลิตภัณฑ์ กระดาษ 9 เครื่องใช้ไฟฟ้า และส่วนประกอบอื่น ๆ 10 เครื่องจักรกลและ ส่วนประกอบของ เครื่องจักรกล รวม 10 รายการ อื่นๆ รวมทั้งสิ้น

มูลค่า (ล้านบาท) อัตราการขยายตัว (%) 2556 2557 2558 2556 2557 2558 (ม.ค.-ก.ค.) (ม.ค.-ก.ค.) 18,352.90 26,593.40 20,197.10 -28.81 44.90 103.15 11,480.60 16,776.50 12,731.50 49.64 46.13 58.32 16,169.50 19,293.70 10,750.70 14,483.40 16,254.40 9,708.90 7,138.90 9,525.80 8,387.20

6.55 7.39 49.4

19.32 12.23 33.43

-4.05 8.49 31.78

7,249.80 9,787.70 7,717.30 10,573.50 6,812.70 8,133.20

7,582.10 5,699.90 4,718.00

70.19 -4.27 22.36

35.01 37.01 19.38

33.55 -8.96 5.35

5,354.30 5,408.80

4,617.70

19.21

1.02

37.39

9,347.00 7,513.70

4,532.00

42.63 -19.61

10.56

104,106.50 129,860.80 88,925.00 113,439.80 123,399.80 71,782.00 217,546.30 253,260.60 160,707.00

8.64 8.61 8.62

24.74 8.78 16.42

30.05 7.06 18.67

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรม ศุลกากร (2558) ส าหรั บ สั ด ส่ ว นของมู ล ค่ า สิ น ค้ า ออกที่ ไ ทย ส่งออกไปยังเวียดนามในปี 2558 (ม.ค.-ก.ค) พบว่า ไทยส่งออกน้ามันสาเร็จรูปเป็นสัดส่วนมากที่สุด ซึง่ คิดเป็นร้อยละ 12.57 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด

รองลงมา คือ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ร้ อ ยละ 7.92 เม็ ด พลาสติ ก ร้ อ ยละ 6.69 และ เคมีภัณฑ์ ร้อยละ 6.04 ตามลาดับ


สัดส่วนมูลค่าสินค้าส่งออกของไทยไปเวียดนาม ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค) Page | 7

สินค้าสาคัญที่ไทยนาเข้าจากประเทศเวียดนาม ในปี 2557 สินค้าที่ไทยนาเข้าจากเวียดนามที่มี มูลค่าสูงสุด คือ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ มีมูล ค่าการน าเข้า 39,379.80 ล้ านบาท มีอัตรา การขยายตัวร้อยละ 28.33 รองมาเป็นเครื่องจักร ไฟฟ้ า และส่ ว นประกอบ เหล็ ก เหล็ ก กล้ า และ ผลิ ตภัณฑ์ น้ ามัน ดิบ สั ตว์น้ าสด แช่เย็ น แช่แข็ ง แปรรู ป และกึ่งส าเร็ จรู ป เป็ น ต้น ส าหรั บ สิ นค้าที่

ไทยนาเข้าจากเวียดนามที่มีมูลค่าสูงสุดในปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) ยังคงเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน มีการ นาเข้าสูงสุดเป็นมูลค่า 22,915.60 ล้านบาท ส่วน สินค้ารองลงมา คือ น้ามันดิบ เหล็ก เหล็กกล้าและ ผลิตภัณฑ์ และเครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ตามลาดับ


โครงสร้างสินค้าที่ไทยนาเข้าจากเวียดนาม 10 อันดับแรก Page | 8

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

มูลค่า (ล้านบาท) ชื่อสินค้า 2556 2557 2558 (ม.ค.ก.ค.) เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน 30,686.80 39,379.80 22,915.60 น้ามันดิบ 2,132.00 7,733.40 6,583.10 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 7,221.10 8,421.80 5,033.10 เครื่องจักรไฟฟ้าและ 7,031.20 8,428.10 4,802.00 ส่วนประกอบ สัตว์น้าสด แช่เย็น แช่แข็ง 3,308.30 4,601.20 3,223.40 แปรรูปและกึ่งสาเร็จรูป ส่วนประกอบและอุปกรณ์ 2,576.20 3,550.80 2,426.90 ยานยนต์ เครื่องจักรกลและ 3,058.10 3,554.10 2,308.20 ส่วนประกอบ ลวดและสายเคเบิล 1,343.10 2,083.60 2,304.10 กาแฟ ชา เครื่องเทศ 1,293.20 3,467.10 1,885.80 ด้ายและเส้นใย 2,637.80 3,060.80 1,851.80 รวม 10 รายการ 61,287.70 84,280.80 53,334.00 อื่นๆ 38,704.20 43,697.70 27,705.30 รวมทั้งสิ้น 99,991.90 127,978.50 81,039.30

อัตราการขยายตัว (%) 2556 2557 2558 (ม.ค.ก.ค.) 43.02 28.33 -1.18 -66.94 262.73 85.79 23.83 16.63 18.1 -3.61 19.87 0.85 5.81

39.08

22.56

5.44

37.83

24.68

8.33

16.22

11.35

-7.59 -48.37 -43.50 5.58 9.62 7.1

55.14 168.1 16.04 37.52 12.9 27.99

122.78 32.19 6.67 14.45 11.29 13.35

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรม ศุลกากร (2558) เมื่อพิจารณาถึงสัดส่วนของมูลค่าสินค้าที่ไทย นาเข้าจากเวียดนามในปี 2558 (ม.ค.-ก.ค) พบว่า ไทยนาเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านเป็นสัดส่วนมาก

ที่สุด ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 28.28 ของมูลค่าการนาเข้า ทั้ ง หมด รองลงมาคื อ น้ ามั น ดิ บ มี ร้ อ ยละ 8.12 และผลิตภัณฑ์เหล็ก และเหล็กกล้า มีร้อยละ 6.21 ตามลาดับ


สัดส่วนมูลค่าของสินค้าที่ไทยนาเข้าจากเวียดนาม ปี 2558 (ม.ค.-ก.ค.) Page | 9

การค้าผ่านแดนที่สาคัญของประเทศ การค้าผ่านแดนระหว่างไทยกับเวียดนามในปี 2557 พบว่ า มู ล ค่ า การค้ า ผ่ า นแดนรวมมี มู ล ค่ า เท่ากับ 47,141.06 ล้ านบาท ไทยขาดดุล การค้ า เป็นมูลค่า 3,315.84 ล้านบาท เนื่องจากไทยนาเข้า สินค้าผ่านแดนจากเวียดนามมากขึ้น คิดเป็นมูลค่า การนาเข้า 25,228.45 ล้านบาท ซึ่งมากกว่า การ ส่ ง ออกสิ น ค้ า ผ่ า นแดนไปเวี ย ดนามที่ มี มู ล ค่ า

21,912.61 ล้านบาท มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 184.34 เมื่อเทียบกับปี 2556 ส่วนปี 2558 (ม.ค.มี.ค.) มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย-เวียดนามมีมูลค่า รวมทั้งสิ้น เท่ากับ 12,314.41 ล้านบาท เป็นการ ส่งออก 6,204.73 ล้านบาท การนาเข้า 6,109.68 ล้ านบาท ซึ่งทาให้ ไทยกลั บมา เกินดุล การค้ า เป็นมูลค่า 95.05 ล้านบาท


มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม ปี 2555-2558 (ม.ค.-มี.ค.) รายการ

2555

มูลค่า (ล้านบาท) 2556 2557

มูลค่ารวม 11,678.94 16,579.09 47,141.06 มูลค่าการ 10,136.04 14,297.72 21,912.61 ส่งออก มูลค่าการนาเข้า 1,542.90 2,281.37 25,228.45 ดุลการค้า 8,593.14 12,016.35 -3,315.84

อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) Page | 10 2558 56/55 57/56 58/57 (ม.ค.-มี.ค.) (ม.ค.-มี.ค.) 12,314.41 41.96 184.34 43.13 6,204.73 41.06 53.26 55.93 6,109.68 95.05

47.86 1,005.85

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558) สาหรับมูลค่าการค้าผ่านแดนไทย -เวียดนาม เมื่อพิจารณาแยกตามรายจังหวัด การค้าผ่านแดน ไทย-เวี ย ดนามมี มู ล ค่ า การค้ า มากที่ สุ ด ที่ ด่ า น ศุล กากรนครพนม 4,188.78 ล้ านบาท และด่าน ศุลกากรมุกดาหาร 1,609.35 ล้านบาท เนื่องจาก บริ เวณชายแดนดังกล่ าวมีตลาดอิน โดจี น ซึ่ง เป็ น

ตลาดที่มีขนาดใหญ่และเป็นแหล่งรวมสินค้านานา ชนิด จึงทาให้การค้าชายแดนในบริเวณดังกล่าวมี ความคึ ก คั ก รองลงมา คื อ การค้ า ผ่ า นด่ า นใน จั ง หวั ด บึ ง กาฬโดยมี มู ล ค่ า การค้ า ชายแดนกั บ เวียดนามเท่ากับ 782.45 ล้านบาท

การค้าผ่านแดนไทยกับเวียดนาม แยกตามรายจังหวัด จังหวัด นครพนม มุกดาหาร บึงกาฬ สระแก้ว หนองคาย ตราด รวม

ส่งออก (ล้านบาท) 4,257.37 2,351.19 791.62 548.60 335.28 3.26 8,307.32

สัดส่วน (ร้อยละ) 51.25 28.30 9.53 6.60 4.04 0.04 100.00

นาเข้า (ล้านบาท) 68.59 741.84 9.17 6.02 0.86 0.00 826.48

สัดส่วน (ร้อยละ) 8.30 89.76 1.11 0.73 0.10 0.00 100.00

ที่มา : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ (2558)

ดุลการค้า (ล้านบาท) 4,188.78 1,609.35 782.45 542.58 354.42 3.26 7,480.84

32.12


การค้ า ผ่ า นแดนไทย-เวี ย ดนาม มี สั ด ส่ ว น เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ปี 2557 มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย -เวียดนาม คิดเป็นร้อยละ 12.37 ของมูลค่าการค้า ไทย-เวียดนาม

และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ เป็นต้น ส่ ว นสิ น ค้ า น าเข้ า ผ่ า นแดน ที่ ส าคั ญ ของ เวียดนามมาไทย ได้แก่ เครื่องรับวิทยุโทรศัพท์ โทร เลข โทรทั ศ น์ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แ ละอุ ป กรณ์ มอเตอร์ไฟฟ้า ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า วงจรพิมพ์ ส่วนประกอบและอุปกรณ์รวมทั้งโครงรถฯ เป็นต้น

สาหรับสินค้าส่งออกผ่านแดนที่สาคัญ ของไทย ไปเวีย ดนาม ได้แก่ เครื่ องดื่มที่ ไ ม่ มีแ อลกอฮอล์ ผลไม้ส ดแช่เย็ น แช่แข็งและแห้ ง หม้อแบตเตอรี่

สินค้าส่งออกผ่านแดนที่สาคัญ สินค้าส่งออกผ่านแดน เครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ ผลไม้สดแช่เย็น แช่แข็งและแห้ง หม้อแบตเตอรี่และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์และส่วนประกอบ ผ้าผืนและด้าย วงจรพิมพ์ หนังและผลิตภัณฑ์หนังอื่นๆ เคมีภัณฑ์อนินทรีย์ ข้าว อื่นๆ มูลค่าส่งออกรวม

2555

2556

2557

3,824.46 2,700.07 2.95 1,514.07 82.92 343.45 245.85 62.95 99.87 9.12 1,250.33 10,136.04

6,229.85 4,281.50 246.22 1,342.53 127.76 344.45 326.55 80.81 76.04 26.32 1,215.69 14,297.72

7,967.13 7,244.42 3,305.58 1,126.71 339.37 329.90 247.60 74.92 65.83 7.78 1,203.37 21,912.61

ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)

Page | 11


สินค้านาเข้าผ่านแดนที่สาคัญ สินค้านาเข้าผ่านแดน เครื่องรับวิทยุโทรศัพท์ โทรเลข โทรทัศน์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ มอเตอร์ไฟฟ้า ชุดเครื่องกาเนิดไฟฟ้า วงจรพิมพ์ ส่วนประกอบและอุปกรณ์รวมทั้งโครงรถฯ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ ทาจากพลาสติก ลวดและสายเคเบิล ที่หุ้มฉนวน กระจก แก้ว และผลิตภัณฑ์อื่นๆ เครื่องรับ-ส่งสัญญาณและอุปกรณ์ติดตั้งฯ เครื่องพักกระแสไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้าฯ อื่นๆ มูลค่านาเข้ารวม

2555 N/A N/A 7.75 9.12 123.08 15.24 52.88 16.62 169.24 32.96 1,116.01 1,542.90

ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2558)

2556 835.07 N/A 399.74 53.35 89.71 13.74 76.04 24.38 207.32 75.06 506.96 2,281.37

2557 21,540.60 1,805.68 430.06 165.74 132.43 37.19 123.18 72.99 188.07 65.8 666.73 25,228.45

Page | 12


รูปแบบการค้าและช่องทางการจาหน่ายสินค้าในเวียดนาม 1) ผู้ประกอบธุรกิจที่เป็นผู้นาเข้าและส่งออกของเวียดนาม ประกอบด้วย (1) บริ ษั ท ของรั ฐ บาล (State-owned Company) เป็ น หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ ตั้งขึ้น เพื่อ น าเข้า สิ น ค้าที่จ าเป็ น ต่ อ การพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานของ ประเทศ (2) บริ ษั ท เอกชน (Private Company) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ผู้ น าเข้ า (Importer) หรือบริษัทที่เป็นตัวแทนจาหน่ายแต่ เพียงผู้เดียว (Sole Agent) หรือเป็น

บริษัทตัวแทนจาหน่าย (Distributor) ของเวียดนาม (3) ผู้ ค้ า ชายแดน เป็ น ผู้ รั บ จ้ า งน าเข้ า สิ น ค้ า ให้ กั บ ร้ า นค้ า ย่ อ ยตามตลาด ต่างๆ โดยพ่อค้าชายแดนจะรับสินค้า จากชายแดนไปส่ ง ตามร้ า นค้ า และ แผงลอยในเวี ย ดนาม ซึ่ ง สิ น ค้ า ที่ นาเข้าส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าอุปโภค บริโภค

2) ช่องทางการจัดจาหน่ายและการกระจายตัวของสินค้าในตลาดเวียดนาม มีดังนี้1 (1) การจัดจาหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ผู้นา เข้าของเวียดนามจะนาสินค้าที่นาเข้า ไป กระจายให้กับร้านค้าส่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต มินิมาร์ท และ ร้านค้าปลีก ในนคร โฮ จิมินห์และเมืองการค้าต่างๆ (2) การจัดจาหน่ ายสิน ค้าวัส ดุก่อสร้ าง ผู้นา เข้าจะเป็นผู้จัดจาหน่ายสินค้าเองโดยจะ กระจายสิ น ค้า ต่ อ ไปยั ง ตัว แทนขายและ

1 คู่มือประกอบธุรกิจ

ร้ า นค้ า ปลี ก รวมทั้ ง การขายโดยตรงให้ ผู้ บ ริ โ ภคทั้ งในนครโฮจิ มิ นห์ และจังหวัด ต่างๆ (3) การจัดจาหน่ายสินค้าผ่ านแดน ผู้นาเข้า ของเวียดนามจะนาสินค้าเข้าจากไทยแล้ว ส่ ง ต่ อ ไปจ าหน่ า ยที่ เ วี ย ดนามโดยเป็ น ลักษณะของการขนสินค้าผ่านแดน

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)

Page | 13


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.