3.6
กฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน
3.6.1 กฎหมายแรงงาน7 กฎหมายแรงงานของเวียดนามบังคับใช้กับชาวเวียดนามที่ทางานกับทั้งบริษัทหรือองค์กรของเวียดนาม บริษัทหรือองค์กรต่างชาติที่อยู่ในประเทศเวียดนาม และชาวต่างชาติที่ทางานในบริษัทและองค์กรต่างๆ ของ เวียดนาม รวมถึงทางานกับนายจ้างชาวเวียดนาม แต่ไม่ใช้บังคับกับชาวต่างชาติที่ทางานอยู่ในบริษัทและ องค์กรต่างชาติในเวียดนาม สัญญาการจ้างงานต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษร การตกลงด้วยวาจาจะกระทาได้ เฉพาะในกรณีที่เป็นการจ้างลูกจ้างทางานในบ้านเรือน และเป็นการจ้างงานชั่วคราว (ระยะเวลาน้อยกว่า 3 เดือน) อย่างไรก็ตาม ลูกจ้างและนายจ้างในกรณีหลังนี้ยังคงต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดในกฎหมายแรงงานด้วย เช่นกัน ทั้งนี้ มีรายละเอียดเกี่ยวกับการจ้างงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทุนจากต่างประเทศดังนี้
1) การจ้างและการฝึกอบรม (1) บริษัทสามารถจ้างชาวเวียดนามอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปได้โดยวิธีดังต่อไปนี้ - จ้างโดยตรง - มอบหมายให้ ห น่ ว ย งาน จั ด หางานของรั ฐ เป็ น ผู้ จั ด หา อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ถ้ า บุ ค ค ล ที่ หน่วยงานของรัฐจัดหาให้ไม่เป็น ที่ พ อใจ บริ ษั ท สามารถจั ด หา แรงงานเองได้ (2) เพื่อวัตถุประสงค์ในการฝึ กอบรม บริษัท อาจจ้างแรงงานอายุระหว่าง 16-18 ปีได้ และหากหลั ง จากสิ้ น สุ ด เวลาฝึ ก อบรม คนงานเหล่านั้นยังอายุไม่ถึง 18 ปี บริษัท สามารถขออนุ ญ าตจ้ า งงานจากบิ ด า มารดาของคนงาน หรือผู้ให้การอุปถัมภ์ ในกรณี ที่ ค นงานนั้ น เป็ น เด็ ก ก าพร้ า ได้
7
อย่ า งไรก็ ต าม การว่ า จ้ า งจะต้ อ งได้ รั บ อนุญาตจากหน่วยงานจัดหางานท้องถิ่น (3) บริ ษั ท สามารถจ้ า งชาวต่ า งชาติ ไ ด้ ใ น ต าแหน่ ง ที่ ต้ อ งการความช านาญด้ า น เทคนิค หรือไม่สามารถหาชาวเวียดนาม มาปฏิบัติหน้าที่นั้นได้ (4) บริ ษั ท ต้ อ งวางแผนและจั ด หลั ก สู ต ร ฝึกอบรม รวมถึงต้องสามารถส่งคนงานไป ฝึ ก ในศู น ย์ ฝึ ก อบรมในประเทศหรื อ ใน ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ด้ เ พื่ อ ย ก ร ะ ดั บ ขี ด ความสามารถของคนงานทุ ก ระดั บ ใน บริษัท (5) ผู้ ป ระกอบการเวี ย ดนามและบริ ษั ท ต่ า งชาติ รวมถึ ง ส านั ก งานตั ว แทนและ สาขาของบริษัทต่างชาติที่ต้องการจ้างงาน แรงงานต่างชาติต้องลงประกาศรับสมัคร งานในหนั ง สื อ พิ ม พ์ ข องเวี ย ดนามอย่ า ง น้อย 1 ฉบับเป็นเวลา 3 วัน
คู่มือประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2556)
Page | 18
2) สัญญาจ้าง สัญญาจ้างต้องทาเป็นลายลักษณ์อักษรและลง นามโดยผู้อานวยการของบริษัทและลูกจ้าง (1) สั ญ ญ า จ้ า ง จ ะ ต้ อ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย รายละเอียดดังต่อไปนี้ - ขอบข่ายการปฏิบัติงานของลูกจ้าง - สถานที่ทางาน - ค่าจ้าง / เงินเดือน - ระยะเวลาการจ้างงาน - การคุ้มครองแรงงานตามสิทธิ์ที่ได้รับ8 - การประกันสังคม - เงื่อนไขสาหรับการทดลองงาน (ถ้ามี) (2) ระยะทดลองงานจะต้องไม่เกิน 30 วัน แต่ ในกรณี ที่ เ ป็ น งานด้ า นเทคนิ ค หรื อ การ จั ดการที่ซับ ซ้อนอาจมีร ะยะทดลองงาน นานกว่านั้น แต่ต้องไม่เกิน 60 วัน (3) สั ญ ญาการจ้ า งงานสามารถก าหนด ระยะเวลาการจ้างงาน ได้ครั้งละ 1-3 ปี และต่อสั ญญาได้ อีก 1 ครั้ ง ครั้ งละ 1-3 หลังจากนั้นจะต้องเป็นการทาสัญญาจ้าง ถาวร
8
การคุ้มครองแรงงานในเรื่องทั่วไป เช่น ค่าจ้าง วันทางาน เวลาทางาน วันหยุด วันลา เป็นต้น
(4) สัญญาจ้างงานจะเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันที่ ทั้งสองฝ่ายตกลงกัน (5) หากนายจ้างละเมิดสัญญาการว่าจ้าง โดย การเลิ กจ้างซึ่งเป็นการขัดต่อสัญญาการ ว่าจ้าง นายจ้างจะต้องรั บลู ก จ้า งคนนั้ น กลั บ เข้ า ท างานหรื อ ต้ อ งจ่ า ยค่ า ชดเชย เท่ากับรายได้ที่ลูกจ้างต้องสูญเสียจากการ ถูกบอกเลิกจ้าง โดยลูกจ้างจะได้รับค่าจ้าง เท่ า ที่ สู ญ เสี ย ไปรวมกั บ เงิ น เพิ่ ม เติ ม อี ก ครึ่งหนึ่งของเงินเดือนที่ได้รับในแต่ ล ะปี และเงินเพิ่มเติมอื่นๆ (ถ้ามี) (6) ในกรณีที่ลูกจ้างลาออก หรือนายจ้างให้ ออกโดยไม่ มี ค วามผิ ด นายจ้ า งต้ อ ง จ่ายเงินพิเ ศษอี ก 0.5 เท่าของเงิ น เดื อ น เดื อ นสุ ด ท้ า ย x จ านวนปี ที่ ท างาน เช่ น ทางานนาน 10 ปี ต้องจ่าย 0.5 x เงินเดือน เดือนสุดท้าย x 10 ปี (7) นายจ้างสามารถไล่คนงานออกได้หากขาด งานเกิน 5 วันต่อเดือน หรือ 20 วันต่อปี โดยไม่ จ าเป็ น ต้ อ งแจ้ ง เหตุ ผ ลใดๆ แก่ แรงงานที่ถูกไล่ออก
Page | 19
3) เวลาทางาน (1) ชั่ ว โมงการท างานปกติ ต้ อ งไม่ เ กิ น 8 ชั่วโมง/วัน และ 48 ชั่วโมง/สัปดาห์ (2) ในการทางานแต่ละผลัด ต้ องมีการหยุด พักอย่างน้อย 30 นาที (3) ในแต่ ล ะสั ป ดาห์ คนงานต้ อ งมี วั น หยุ ด อย่างน้อย 1 วัน (4) ชั่ ว โมงท างานผลั ด กลางคื น คื อ ตั้ ง แต่ 22.00 น. ถึง 06.00 น. (5) เวลาทางานปกติ ต้ องลดลงอย่ า งน้ อ ย 1 ชั่ ว โมง ส าหรั บ คนงานที่ ป ฏิ บั ติ ง าน
9
งานหนัก" หมายความว่า ลักษณะงานที่ใช้แรงมาก หรือ ใช้กาลังงานที่ทาให้เกิดการเผาผลาญอาหารในร่างกายเกิน กว่า 350 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง ถึง 500 กิโลแคลอรี/ชั่วโมง
อันตราย คนงานที่ปฏิบัติงานหนัก 9 หรือ สภาวะที่ มี ส ารพิ ษ คนงานหญิ ง ที่ มี บุ ต ร อายุต่ากว่า 12 เดือน และคนงานที่มีอายุ ต่ากว่า 18 ปี (6) คนงานหญิงสามารถลาคลอดได้ 5 เดือน โดย 4 เดือนแรกได้รับเงินเดือนเต็ มจาก รัฐบาล และเดือนที่ 5 ได้รับเงินเดือนจาก นายจ้ า ง (ช่ ว งลาคลอด 4 เดื อ นแรก นายจ้างไม่ต้องจ่าย)
เช่น งานที่ใช้พลั่วหรือเสียม ขุดตัก งานเลื่อยไม้ งานเจาะ ไม้ เ นื้ อ แข็ ง งานทุ บ โดยใช้ ฆ้ อ นขนาดใหญ่ งานยกหรื อ เคลื่อนย้ายของหนักขึ้นที่สูงหรือที่ลาดชัน เป็นต้น หรือ งานที่เทียบเคียงได้กับงานดังกล่าว
Page | 20
4) อัตราค่าจ้างขั้นต่า รัฐบาลเวียดนามได้มีการแก้ไขกฎหมายภายในเมื่อปลายปี 2014 รัฐบาลเวียดนามได้ปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่า ของแรงงานไร้ฝีมือ (อัตราค่าจ้างขั้นต่า (Decree 103/2014/ND-CP)) มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 โดยค่าจ้างแตกต่างออกไปตามพื้นที่10 ดังนี้ พื้นที่ / ค่าจ้างขั้นต่า Region I : ฮานอย (เขตเมือง) โฮจิมินห์ ไฮฟง (เขตเมือง) ด่องไน (บินฮัว) บิ่นเยืองห์ (ถูเหย่ามบ) หวุงเต่า Region II : ฮานอย (รอบนอก) ไฮฟง เว้ ดาลัด แฟนทีค เกิ่นเทอ ไตเนิน Region III : เหล่าไก (ซาปา) เมืองชนบท Region IV : อื่นๆ
2015 (ด่อง) 3,100,000 (145 USD) 2,750,000 (129 USD) 2,400,000 (112 USD) 2,150,000 (101 USD)
ที่มา : สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ (2557)
5) การประกันสุขภาพ การประกันสังคม และการประกันการว่างงาน 10
Region I Region II Region III Region IV
covering urban and suburban districts of Hanoi, Hai Phong, Ho Chi Minh city; Bien Hoa city and some rural districts of Dong Nai; Thu Dau Mot city and some towns, rural districts of Binh Duong province; and Vung Tau city of Ba Ria – Vung Tau province covering the remaining rural districts of Hanoi, Hai Phong; Hai Duong city of Hai Duong province; Hung Yen city and some rural districts of Hung Yen province covering remaining provincial cities (except those of region I, II); Chi Linh town and some rural districts of Hai Duong province; rural districts of Vinh Phuc province; etc. covering the remaining localities
Page | 21
แรงงานในเวี ย ดนามจะได้ รั บ ความคุ้ ม ครอง จากการประกันสุขภาพ การประกันสังคมและการ ประกันการว่างงาน โดยมีหน่วยงาน Ho Chi Minh City Social Security Authority (HCMC SS) ไ ด้ ประกาศลงใน Official Letter 4064/BHXH-THU เมื่อวัน ที่ 14 ธัน วาคม 2557 เพื่อแก้ไขกฎหมาย Employment Law 38/2013/QH13 ส รุ ป สาระสาคัญ คือ
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2558 บริษัทที่มีการจ้าง ลูกจ้าง ชาวเวียดนาม ระยะเวลา ตั้งแต่ 3 เดือนขึ้น ไป จะต้องจ่ายค่ าประกัน การว่ า งงาน สมทบให้ ลู ก จ้ า ง ในอั ต ราร้ อ ยละ 1 ของค่ า จ้ า งต่ อ เดื อ น (ลูกจ้าง จ่ายอัตราร้อยละ 1 ของค่าจ้างต่อเดือน) ครอบคลุมทุกหน่วยงานไม่ว่าจะมีลูกจ้างจานวนกี่ คนก็ตาม ดังนี้
การจ่ายเงินสมทบให้ลูกจ้าง - ค่าประกันสังคม ร้อยละ 18 ของเงินเดือน - ค่าประกันสุขภาพ ร้อยละ 3 ของเงินเดือน - ค่าประกันการว่างงาน ร้อยละ 1 ของเงินเดือน รวมทั้งหมด ร้อยละ 22 ของเงินเดือน
6) ข้อกาหนดเรื่องการเข้าเมือง และการขออนุญาตทางานสาหรับแรงงานเวียดนาม และ แรงงานต่างชาติ (1) แรงงานเวียดนาม ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ต่ า งชาติ ส ามารถจ้ า งแรงงาน ท้องถิ่นได้โดยตรง ยกเว้น สถานเอกอัครราชฑูต และองค์ ก รระหว่ า งประเทศเท่ า นั้ น ที่ ต้ อ งจ้ า ง แรงงานผ่ า นรั ฐ บาล โดยจ่ า ยเงิ น เดื อ นผ่ า น หน่วยงานของรัฐ ทั้งนี้บริษัทต้องจ่ายเงินสมทบค่า
ประกันสังคม ร้อยละ 15 และค่าประกันสุ ขภาพ ร้อยละ 2 ของค่าจ้างแต่ละเดือนให้กับแรงงานชาว เวียดนามด้วย ขณะเดียวกันแรงงานชาวเวียดนาม ต้องจ่ายเงินสมทบ ค่าประกันสังคมร้อยละ 5 และ เงินสมทบค่าประกันสุขภาพร้อยละ 1
Page | 22
(2) แรงงานต่างชาติ
(3) การขอใบอนุญาตจ้างแรงงานต่างชาติ11
MOLISA) ของเวียดนาม ใบอนุญาตทางานดังกล่าว จะมีอายุไม่เกิน 36 เดือน และสามารถต่ออายุได้ อีกไม่เกิน 36 เดือน ยกเว้นแรงงานต่างชาติที่เข้า มาทางานบางประเภทซึ่งรัฐบาลเวียดนามอนุญาต ให้ ไ ม่ ต้ อ งขอใบอนุ ญ าตท างาน อาทิ แรงงาน ต่างชาติที่เข้ามาแก้ ไ ขปัญหาฉุ กเฉิ นที่เ กิด ขึ้ น กั บ กิจการ ซึ่งแรงงานในเวียดนามไม่สามารถแก้ไขได้ ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ป็ น กรรมการของบริ ษั ท ซึ่ ง จด ทะเบี ย นก่ อ ตั้ ง ตามกฎหมายของเวี ย ดนาม ชาวต่ า งชาติ ที่ ด ารงต าแหน่ ง หั ว หน้ า ส านั ก งาน ตัวแทนหรือสาขาของบริษัทต่างชาติในเวียดนาม และนักกฎหมายต่างชาติที่ได้รับใบรับรองรองจาก กระทรวงยุติธรรมของเวียดนามให้ปฏิบัติหน้าที่ใน เวียดนาม เป็นต้น
แรงงานต่ า งชาติ ที่ ท างานในเวี ย ดนามเป็ น ระยะเวลาตั้งแต่ 3 เดือนขึ้นไปต้องขอใบอนุญาต ท างาน (Work Permit) ซึ่ ง ออกโดยหน่ ว ยงาน ท้ อ ง ถิ่ น ( Department of Labour – Invalids and Social Affairs: DOLISA) สั ง กั ด ก ร ะ ท รว ง แรงงานผู้ทุพพลภาพ และกิจการสังคม (Ministry of Labour – Invalids and Social Affairs:
อย่างไรก็ตาม ผู้ประกอบการที่ว่าจ้างแรงงาน ต่างชาติซึ่งได้รับยกเว้นไม่ต้องมีใบอนุญาตทางาน จะต้ อ งแจ้ ง ชื่ อ อายุ สั ญ ชาติ หมายเลขหนั ง สื อ เดิ น ทางรวมทั้ ง วั น ที่ เ ริ่ ม ต้ น และวั น ที่ สิ้ น สุ ด การ ทางานของแรงงานต่างชาติ ต่อหน่วยงาน MOLISA ของเวียดนาม ก่อนที่แรงงานดังกล่าวจะเริ่มทางาน อย่างน้อย 7 วัน
The Local Department of Labour, War Invalids and Social Affairs (DOLISA) ก า ห น ด เงื่ อ นไขการจ้ า งแรงงานต่ า งชาติ ไ ว้ ว่ า บริ ษั ท สามารถจ้างแรงงานต่างชาติได้เฉพาะตาแหน่ งที่ ต้องใช้ทักษะความชานาญสูง และไม่สามารถสรร หาได้ ภ ายในเวี ย ดนาม โดยให้ ยื่ น ค าร้ อ งขอจ้ า ง แรงงานต่างชาติต่อส านั กงานแรงงานในท้อ งถิ่ น และต้องระบุ ร ะยะเวลาการจ้ างแรงงานต่างชาติ ดั ง กล่ า ว พร้ อ มแผนการฝึ ก อบรมแรงงานชาว เวียดนามให้มีความสามารถทัดเทียม เพื่อทางาน แทนแรงงานต่างชาติได้ในอนาคต
11
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์( 2557)
Page | 23
3.6.2 กฎหมายที่ดิน12 ประเทศเวียดนามไม่อนุญาตให้เอกชนเป็นเจ้าของที่ดิน ที่ดินทั้งหมดในเวียดนามเป็นของรัฐ และรัฐจะเป็น ผู้จัดสรรให้ หรือให้เช่าระยะยาว กฎหมายที่ดินของเวียดนามแบ่งที่ดินออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. ที่ดินการเกษตร ที่ดินสาหรับเพาะปลูกพืชผลตามฤดูกาลและป่าไม้ 2. ทีด่ ินที่ไม่ใช่พื้นที่การเกษตร พื้นที่สาหรับอยู่อาศัย พื้นที่ก่อสร้างสานักงาน พื้นที่นิคมอุตสาหกรรม และแหล่งธุรกิจ พื้นที่ใช้สาหรับสาธารณูปโภค พื้นที่ภูมิทัศน์ พื้นที่ทาง ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และสถานที่ทางศาสนา 3. ที่ดินว่างเปล่า เวี ย ดนามได้ แ ก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง กฎหมายการใช้ ที่ ดิน (Land Law) ฉบั บปี 2557 เพื่อบังคับใช้และถือปฏิบัติทั่วไปในสิทธิการ เป็นเจ้าของโดยชอบธรรมเพื่อความถูกต้องในการใช้ที่ดิน รวมไปถึง การแลกเปลี่ยน การโอนสิทธิ การให้เช่า การให้เช่าช่วง การให้ การยกมรดกให้ การใช้สิทธิจานองที่ดินหรือกรณีการใช้ที่ดินค้าประกัน หรือวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือเงินทุน ส าหรั บ การบริ ห ารที่ ดิ น มี ก ารด าเนิ น การ ป รั บ ป รุ ง ก ฎ ห ม า ย ใ ห้ ก ร ะ ชั บ แ ล ะ ก า ห น ด วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการใช้ ที่ ดิ น ให้ ถู ก ต้ อ งและ เหมาะสมกั บ ขั้ น ตอนการจดทะเบี ย น โดยมี กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง 2 ฉบั บ คื อ 1) กฎหมาย เกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรั พย์ (มีผลบังคับใช้เมื่อ เดือนมกราคม 2550) และ 2) กฎหมายการเคหะ (มีผ ลบั งคับ ใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม 2549) โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการเตรีย มการและการเข้า ร่ว ม ตลาดอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เ วี ย ดนามของนั ก ลงทุ น ต่างชาติและเวียดนามโพ้นทะเล
บริษัทต่างชาติสามารถขอใช้ที่ดินระยะยาวได้ 3 วิธี ดังต่อไปนี้
1) ร่ ว ม ล ง ทุ น ใ น กิ จ ก า ร ร่ ว ม ทุ น ( Joint Venture: JV) กั บ หุ้ น ส่ ว น ช า ว เวียดนามที่ได้รับการจัดสรรสิทธิในการใช้ที่ดิน ระยะยาวจากรัฐบาล โดยส่วนใหญ่การลงทุน ร่วมดังกล่าวนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนชาวเวียดนามจะ ลงทุนในลักษณะของการให้ใช้สัญญาร่วมกัน จึงทาให้กิจการลงทุนของต่างชาติไม่ต้อ งเช่า ที่ดินจากรัฐบาล 2) ก า ร เ ช่ า ที่ ดิ น จ า ก Provincial People’s Committee ซึ่ ง เป็ น ผู้ ที่ มี อ านาจในการให้ บ ริ ษั ท ต่ า งชาติ เ ช่ าที่ดิน การขอรั บ จั ด สรรสิ ท ธิ์ ใ นการใช้ ที่ ดิ น ระยะ โดยมีกระทรวงกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ยาวสาหรับนักลงทุนต่างชาติ และสิ่งแวดล้อมเป็นตัวแทนฝ่ายเวียดนามใน ภายใต้ ก ฎหมายที่ ดิ น ของประเทศเวี ย ดนาม การทาสัญญาให้เช่าที่ดิน 12
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ (2557)
Page | 24
3) เช่ า ช่ ว งที่ ดิ น จากเขตอุ ต สาหกรรม เขต อุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่ ง ออก หรื อ เขต เทคโนโลยีขั้นสูง การใช้ที่ดินนี้เป็นการเช่าช่วง ต่อจากนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ที่ ได้จัดสรร ที่ดินเป็นเขตพิเศษต่างๆ เช่น เขตอุตสาหกรรม เขตอุ ต สาหกรรมเพื่ อ การส่ ง ออก หรื อ เขต เทคโนโลยีขั้นสูง เพื่อให้นักลงทุนเข้ามาดาเนิน กิจการในเขตนั้นโดยการเช่าช่วง ซึ่งโดยปกติ จะมีการสร้างสิ่งปลูกสร้างบนที่ดินนั้น และให้ เช่าไปพร้อมกับที่ดิน 4) ทั้งนี้เพื่อการอานวยความสะดวกในการใช้สิทธิ ในที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยของชาวต่างชาติที่เข้า มาลงทุนหรือทางานในเวียดนาม ดังนั้นรัฐบาล เวี ย ดนามจึ ง อนุ ญ าตให้ บ ริ ษั ท ต่ า งชาติ หรื อ ชาวต่างชาติส ามารถเช่าซื้อและเป็น เจ้าของ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ส าหรั บ เป็ น ที่ อ ยู่ อ าศั ย ได้ แม้ว่าประเทศเวียดนามไม่อนุญาตให้ทั้งบุคคล ธรรมดา หรือ นิติบุคคลเป็นเจ้าของที่ดิน และ การใช้ที่ดินทาได้โดยการได้รับจัดสรรสิทธิให้ ใช้ที่ดินโดยการเช่าจากรัฐบาลเท่านั้น โดยได้ ริเริ่มโครงการนาร่องขึ้นเมื่อปี 2552 ที่อนุญาต ให้บุคคลธรรมดาและนิ ติบุ คคลต่างชาติซื้ อ อ พาร์ตเมนต์ในเขตที่รัฐบาลจัดสรรไว้ให้ ทั้งนี้ เป็ น การเช่าซื้อแบบไม่มีสิ ทธิเด็ ดขาด แต่จะ กาหนดระยะเวลาในการเป็นเจ้าของไว้ และ ในขณะนี้ยังไม่อนุญาตให้มีการซื้อบ้าน สาหรับ โครงการน าร่ องนี้ มีร ะยะเวลา 5 ปี เป็ นการ ทดลองให้ ช าวต่ า งชาติ 5 กลุ่ ม ดั ง ต่ อ ไปนี้ สามารถซื้ออพาร์ตเมนต์เป็นที่อยู่อาศัยได้
1) ชาวต่างชาติที่เข้ามาลงทุนตามกฎหมายว่า ด้วยการลงทุน 2) ชาวต่ า งชาติ ที่ ท าคุ ณ ประโยชน์ ต่ อ ประเทศเวี ย ดนามและได้ รั บ ค าสั่ ง Page | 25 พิ เ ศ ษ จ า ก ป ร ะ ธ า น า ธิ บ ดี แ ล ะ นายกรัฐมนตรีให้ซื้อที่อยู่อาศัยได้ 3) ชาวต่างชาติที่มีคู่สมรสเป็นชาวเวียดนามที่ อาศัยอยู่ในประเทศเวียดนาม 4) ชาวต่างชาติที่ประกอบวิชาชีพพิเศษที่เป็น ที่ขาดแคลนในประเทศเวียดนาม 5) ธุรกิจต่างชาติที่ไม่เกี่ยวข้องกับด้าน อสังหาริมทรัพย์ ซึ่งซื้ออพาร์ตเมนต์ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น ที่ พั ก ของพนั ก งานของ บริษัท ผู้ที่มีสิทธิดังกล่าวข้างต้นที่ต้องการจะซื้อที่พัก อาศัยจะต้องมีเอกสารที่ส ามารถแสดงได้ว่าตนมี สิทธิที่จะอยู่ในประเทศเวียดนาม และได้พานักอยู่ ในประเทศเวี ย ดนามมาแล้ ว อย่ า งน้ อ ยเป็ น ระยะเวลา 1 ปี โดยชาวต่างชาติที่เข้ามาทางานใน ประเทศเวียดนามนั้น สามารถเป็นเจ้าของอพาร์ต เมนต์ได้เป็ นระยะเวลาไม่ เกิ น 50 ปี ไม่ส ามารถ ขยายเกิ น กว่ า นี้ ไ ด้ หลั ง จากที่ ค รบก าหนด ต้ อ ง ขายอพาร์ตเมนต์นั้นให้ บุคคลอื่นต่อไป อย่างไรก็ ตาม ชาวต่ า งชาติ ที่ เ ข้ า มาท างานในเวี ย ดนาม สามารถขอสินเชื่อกู้ซื้อที่อยู่อาศัย หรือโอนอพาร์ต เมนต์ที่ซื้อไว้ให้แก่คนอื่น หรือโอนให้เป็นมรดกได้
ทั้ ง นี้ เ มื่ อ วั น ที่ 29 พฤศจิ ก ายน 2556 สภา แห่งชาติเวียดนามได้ผ่านกฎหมายที่ดิน ฉบั บ ใหม่ โดยให้มีผลใช้แทนฉบับเดิมซึ่งใช้มาตั้งแต่ปี 2546 และให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2557 ภายใต้กฎหมายฉบับใหม่นี้ ผู้ลงทุนจากต่างชาติมี สิทธิ์เพิ่มมากขึ้นจนอาจะเรียกได้ว่าเท่าเทียบกับคน ในพื้นที่
ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 นั ก ลงทุ น ทั้ ง ชาวต่ างชาติ และชาวท้ อ งถิ่น สามารถเช่าที่ดินจากรัฐบาลเวียดนาม และสามารถ จ่ายค่าเช่าที่ดินได้ทั้ งรูปแบบการจ่ายรายปี หรือ จ่ายเป็นก้อนตามแต่ตกลง นอกจากนี้ ยังสามารถ ซื้อที่ดินโดยการจัดสรรของรัฐบาล อย่างไรก็ตาม การซื้อที่ดินจากรัฐ บาลสามารถนาไปใช้เพื่อการ สร้างที่พักอาศัยได้เท่านั้น
กฎหมายที่ดินฉบับปี 255713 ได้เพิ่มเติมเงื่อนไขเกี่ยวกั บการครอบครองที่ดิน โดยมี รายละเอียด ดังนี้ 1) การเช่า หรือการจัดสรรที่ดินต้องเป็นไปตาม แ ผ น ก า ร ใ ช้ ที่ ดิ น ร า ย ปี ซึ่ ง ก า ห น ด โ ด ย คณะกรรมการประชาชนประจาเขต นักลงทุน ต้องมั่นใจว่า ที่ดินที่ตนต้องการครอบครองได้ ถูกกาหนดไว้ในแผนการใช่ที่ดินประจาปีของ เขตแล้ว 2) นักลงทุนต้องมีเงินทุนตามที่กฎหมายเวียดนาม กาหนด เช่น สาหรับโครงการที่ลงทุนในพื้นที่ที่ มีอาณาเขตน้อยกว่า 20 เฮกตาร์ นักลงทุนต้อง มีเงินทุนอย่างน้อยร้อยละ 20 ของมูลค่ารวม การลงทุนของโครงการ หรือสาหรับโครงการที่ ลงทุ น ในพื้ น ที่ ที่ มี อ าณาเขตมากกว่ า 20 เฮกตาร์ นักลงทุนต้องมีเงินทุนอย่างน้อยร้อย ละ 15 ของมูลค่ารวมการลงทุนของโครงการ เป็นต้น 3) นักลงทุนจากต่างชาติต้องจ่ายเงินฝากบางส่วน แก่รัฐบาลเวียดนามเพื่อประกันว่านักลงทุนจะ 13
สามารถจ่ายค่าเช่าที่ดิน หรือค่าธรรมเนียมการ ใช้ที่ดินได้ และจะพัฒนาโครงการตามช่วงเวลา ที่ได้กาหนดไว้
ความไม่แน่นอนของราคาที่ดิน ตามกฎหมายที่ดินฉบับปี 2546 ราคาที่ดิน (ซึ่ง อาจหมายความรวมถึงค่าเช่า หรือค่าธรรมเนีย ม การใช้ที่ดิน) สามารถคานวณได้จากตารางราคาที่ กาหนดโดยคณะกรรมการประชาชนประจาจังหวัด ซึ่ ง จั ด พิ ม พ์ เ ผยแพร่ ข้ อ มู ล รายปี อย่ า งไรก็ ต าม กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 การคานวณราคาที่ดิน ได้ ก าหนดให้ พิ จ ารณาตามแต่ ล ะกรณี โดย คณะกรรมการประชาชนประจ าจั ง หวั ด เป็ น ผู้ พิจารณา อย่างไรก็ตาม ทางภาครัฐอาจจ้างบริษัท เพื่อประเมิน และให้คาแนะนาเกี่ยวกับราคาที่ดิน ในบางกรณี การพิจารณากาหนดราคาด้วยวิธีการ ใหม่นี้ จึงอาจส่งผลกระทบต่อนักลงทุ น เนื่องจาก
ข้อมูลจาก สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย จากบทความเรื่ อ ง VIETNAM’S NEW LAND LAW: THE IMPACT ON FOREIGN DEVELOPERS โ ด ย MR. VINH QUOC NGUYEN, SENIOR ATTORNEY-AT-LAW, TILLEKE & GIBBINS, A LEADING REGIONAL LAW FIRM IN SOUTHEAST ASIA (2557)
Page | 26
ไม่ มี ค วามแน่ น อนด้ า นราคา รวมถึ ง ระยะเวลา สาหรับใช้พิจารณา
ข้อบังคับเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรื้อถอนที่ดิน ตามกฎหมายที่ ดิน ฉบั บ ปี 2557 การรื้ อ ถอน ที่ ดิ น เ พื่ อ ป ลู ก ส ร้ า ง ที่ พั ก อ า ศั ย ห รื อ เ พื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค์ ท างการพาณิ ช ย์ ต้ อ งด าเนิ น การ ต่อเมื่อสอดคล้องกับเงื่อนไข 2 ข้อ คือ (1) ต้องเป็นไปเพื่อโครงการสาคัญเท่านั้น เช่น โครงการการก่อสร้างเมืองใหม่ (2) ต้องได้รับการอนุญาตจากสภาประชาชน ประจาจังหวัดล่วงหน้า
ทางเลือกเพิ่มเติมสาหรับโครงการก่อสร้างที่ พักอาศัย กฎหมายที่ดินฉบับปี 2557 อนุญาตให้ผู้ลงทุน สามารถถ่ายโอนบางส่วนของโครงการ เช่น การ แบ่ งที่ดิน ออกเป็ น ส่ ว นๆ แล้ ว ถ่ายโอนส่ ว นต่ า งๆ รวมทั้ ง สิ่ ง ปลู ก สร้ า งที่ อ ยู่ บ นที่ ดิ น แต่ ล ะส่ ว นนั้ น ให้แก่นักลงทุนบุคคลอื่น ภายใต้เงื่อนไข 2 ประการ คือ 1) ผู้ ข ายหรื อ ผู้ ถ่ า ยโอนที่ ดิ น แก่ ผู้ อื่ น ต้ อ งจ่ า ย
ค่ า ธรรมเนี ย มการใช้ ที่ ดิ น หรื อ ค่ า เช่ า หรื อ ราคาที่ตกลงซื้อที่ดินอย่างเต็มจานวน 2) ต้องมีเอกสารรับรองสิทธิ์การครอบครองที่ดิน อย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม ข้อกาหนด เอกสาร และขั้นตอน เพื่ อ การถ่ า ยโอนที่ ดิ น ไปสู่ ผู้ อื่ น นั้ น ยั ง ไม่ มี ก าร กาหนดอย่างแน่ชัด กฎหมายที่ ดิ น ฉบั บ ปี 2557 ยั ง อนุ ญ าตให้ ผู้ ลงทุนสามารถถ่ายโอนที่ดินเปล่าในการครอบครอง ให้แก่ผู้ซื้อรายอื่นได้ โดยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข 4 ประการ คือ (1) นักลงทุนต้องจ่ายเงินตามราคาที่ ดินอย่าง เต็มจานวนแก่โครงการเจ้าของที่ดิน (2) นักลงทุนต้องสร้างโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่จาเป็นให้กับโครงการของตน (3) โครงการที่จะลงทุนต้องไม่ตั้งอยู่ในบริเวณ เขตศูนย์กลางของเมืองหรือจังหวัด (4) ต้องได้รับ อนุญ าตการถ่า ยโอนที่ ดิ น จาก คณะกรรมการประชาชนประจาจั ง หวั ด ของเขตพื้นที่ของโครงการ
Page | 27
3.6.3 กฎหมายคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา14 เวียดนามได้มีการออกกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครอง ทรัพย์สินทางปัญญา (Law on Intellectual Property) เมื่อปี พ.ศ. 2549 และได้ มี ก ารแก้ ไ ขครั้ ง ล่ า สุ ด มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ เ มื่ อ เดื อ นมกราคม พ.ศ. 2553 โ ด ย ใ น ก ฎ ห ม า ย ฉ บั บ ดั ง ก ล่ า ว ไ ด้ แ บ่ ง ก า ร รั บ รองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาเป็ น 3 ประเภท คื อ สิ ท ธิ ใ น ท รั พ ย์ ส ิ น ท า ง ปั ญ ญ า ด้ า น ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ลิ ข สิ ท ธิ ์ แ ล ะ สิ ท ธิ อื ่ น ๆ ที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ลิ ข สิ ท ธิ์ และสิ ท ธิ ที่ เ กี่ ย วกั บ ความ หลากหลายในพั น ธุ์ พื ช ประเทศเวี ย ดนามเป็ น ภาคี ใ นอนุ สั ญ ญา คุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญาสองฉบั บ คื อ Geneva Universal Copyright Convention (1952) แ ล ะ Berne Convention (1886) นอกจากนี้ประเทศเวียดนามยังผูกพันในความตก ลงว่ า ด้ ว ยการคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทางปั ญญาของ องค์ ก ารการค้ า โลกอี ก ด้ ว ย ถึ ง แม้ ว่ า ประเทศ เวี ย ดนามจะมี ก ฎหมายคุ้ ม ครองทรั พ ย์ สิ น ทาง ปั ญญา และมีพัน ธกรณี ต ามสนธิสั ญ ญาระหว่ า ง
14
ประเทศที่ จ ะปกป้ อ งและคุ้ ม ครองทรัพ ย์ สิ น ทาง ปัญญาในประเทศเวียดนามก็ตาม แต่การบังคับใช้ กฎหมายยังไม่ประสบผลสาเร็จอย่างเต็มที่ ผู้ที่เข้า ไปลงทุนทาการค้าในประเทศเวียดนามมักประสบ ปัญหาเรื่องการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาจนถือ ว่ า เป็ น อุ ป สรรคที่ ส าคั ญ ในการด าเนิ น กิ จ การใน ประเทศเวียดนาม แม้รัฐบาลเวียดนามจะจัดให้มีหน่วยงานและ องค์กรต่างๆ ทั้งระดับรัฐบาล และระดับท้ อ งถิ่น เ ช่ น ต า ร ว จ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ( Economic Police), Market Management Bureau, Inspectorate of Science and Technology แ ล ะ Inspectorate of Culture, Sports and Tourism คอยตรวจตราดูแลไม่ให้มีการละเมิดทรัพย์สินทาง ปั ญ ญาแล้ ว ก็ ต าม แต่ ปั ญ หาในเรื่ อ งการละเมิ ด ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า ยั ง เ ป็ น ปั ญ ห า ใ ห ญ่ ที่ ผู้ประกอบการไทยและชาติอื่นๆ ต้องให้ความใส่ใจ เป็นอย่างมาก
คู่มือประกอบธุรกิจ สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 2556
Page | 28
สาหรับนิยามของสิ่งที่ได้รับความคุ้มครองใน ประเทศเวียดนาม มีดังนี้ 1) ลิ ข สิ ท ธิ์ หมายถึ ง สิ ท ธิ ที่ ไ ด้ รั บ ในการ เปิดเผย โฆษณา เผยแพร่งานอันมีลิขสิทธิ์ และสิ ท ธิ ใ นการให้ ผู้ อื่ น กระท าในสิ่ ง ดังกล่าว 2) งานอัน มีลิ ขสิ ทธิ์ ได้แก่ งานวรรณกรรม งานนาฏกรรม งานดนตรี ก รรม งาน ศิ ล ปกรรม งานทางโสตทั ศ นวั ส ดุ งาน ภาพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งานแพร่เสียง แพร่ภาพ งาน Derivative works15 และ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3) สิทธิข้างเคียงที่ได้รับความคุ้มครอง ได้แก่ สิ ท ธิ ข องนั ก แสดง สิ ท ธิ ข ององค์ ก รแพร่ ภาพและกระจายเสี ย ง และสิ ท ธิ ข อง องค์กรวิทยุกระจายเสียง สาหรับอายุความคุ้มครองงานอันมีลิขสิทธิ์ทุก ประเภทมีอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ 50 ปี ภายหลัง จากทีผ่ ู้สร้างสรรค์ถึงแก่กรรม
กฏหมายทรัพย์สินทางปัญญา16 ในปี 2549 เวี ยดนามได้ เข้ าร่ ว มเป็ นภาคี ข อง Madrid Protocol ที่ มี เนื้ อหาเกี่ ยวกั บเครื่ องหมาย การค้ า ซึ่ งตามข้ อก าหนดของกฎหมายเวี ย ดนาม เจ้าของทรัพย์สินด้านอุตสาหกรรมต้องจดทะเบียน เพื่อให้ได้รับการปกป้องทรัพย์สินของตนในเวียดนาม โดยการคุ้มครองแบ่งออกเป็น
15
derivative work คือ การดัดแปลงงานไปจาก ต้นแบบ (เกี่ยวข้องกับกฎหมายลิขสิทธิ์)
- สิทธิบัตรได้รับการคุ้มครองเป็นเวลา 20 ปี - หนังสือรับรองสิทธิประโยชน์ มีอายุ 10 ปี - หนังสือรับรองการออกแบบด้านอุตสาหกรรม มีอายุ 5 ปี และต้อ งทาการต่ อ อายุ ห ลั ง จาก หมดอายุ อย่ า งไรก็ ต ามหนั ง สื อ รั บ รองการ ออกแบบด้ า นอุ ต สาหกรรมจะมี อ ายุ ร วม ทั้ ง หมดได้ ไ ม่ เ กิ น 15 ปี ภายหลั ง จาก 15 ปี แล้ ว ต้ อ งยื่ น เรื่ อ งท าหนั ง สื อ รั บ รองการ ออกแบบด้านอุตสาหกรรมใหม่ - หนั ง สื อ รั บ รองการจดทะเบี ย นเครื่ อ งหมาย การค้า มีอายุ 10 ปี และสามารถต่ออายุได้ไม่ จากัดจานวน National Office of ntellectual Property of VietNam (NOIP) อยู่ ภ ายใต้ ก ารบริ ห ารของ Ministry of Science and Technology ทาหน้าที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการจดทะเบียนทรัพย์สิ นทาง อุ ต สาหกรรม ได้ แ ก่ สิ ท ธิ บั ต ร ตราเครื่ อ งหมาย การค้า สัญลักษณ์ของท้องถิ่น บุคคลต่างชาติอาศัย ที่อยู่ในเวียดนามอย่างไม่ถาวร และองค์กรต่างชาติ และบุคคลที่ไม่ได้ผลิตหรือจัดตั้งธุรกิจในเวียดนาม ที่ต้องการจดทะเบียนสิทธิทรัพย์สินทางปัญญาของ ตนในเวี ย ดนามต้ อ งด าเนิ น การผ่ า นส านั ก งาน ตัวแทนทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อจัดทาเอกสารขอ ยื่นจดทะเบียนที่ National Office for Industrial Property
16
สานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ นครโฮจิมินห์ (2552)
Page | 29