สารบัญ ปีที่ ๒ เล่มที่ ๕ ฉบับที่ ๙ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
เจ้าของ :
นายจ้างควรรู้....
๖
ลูกจ้างควรรู้...
๘
สำ�นักงานสวัสดิการและ
คุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่
ที่ปรึกษา :
นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่
การให้ความช่วยเหลือ ลูกจ้าง
๑๐
กองบรรณาธิการ / ออกแบบศิลปกรรม
ภารกิจ สสค.ชม
๑๒
สาระสุขภาพดี
๒๒
ถาม-ตอบ กฎหมายแรงงาน
๒๖
:
ว่าที่ร้อยโทธนทัต ช่างคำ�มูล
นักวิชาการแรงงาน
ติชม ให้ข้อคิดเห็น
EDITOR TALK ปีที่ ๒ ฉบับที่ ๙ ประจำ�เดือนพฤษภาคม ปี ๒๕๖๐
EDITOR TALK
คงจะได้ยน ิ มานานแล้วนะครับ เรือ่ ง “แนวปฏิบต ั ก ิ าร ใช้แรงงานที่ดี” หรือเรียกย่อๆ ว่า GLP ซึ่งกระทรวง แรงงาน โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ร่วมกับกรมประมง สมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย องค์กรลูกจ้าง องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรภาคี เครือข่าย ภายใต้การสนับสนุนทางวิชาการจาก องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organization) สามารถติดตามอ่าน เนื้อหาสำ�คัญได้ใน SPECIAL / COVER STORY หน้า 10-13 เริ่ ม เข้ า สู่ เ ดื อ นมิ ถุ น ายน ๒๕๖๐ ช่ ว งนี้ ฝ นตกทำ � ให้นํ้าท่วมหลายจุดทั่วประเทศ นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ฝากความ ห่วงใยและเตือนเรื่องสุขภาพและปัญหานํ้าท่วมที่อาจจะเกิด ขึน้ ให้นายจ้าง ลูกจ้างเตรียมตัวรับมือครับ ทางด้านโรงพยาบาล ลานนาเตือดเรื่องการบริโภคเนื้อหมูสุกๆ ดิบๆ อาจจะทำ�ให้ เกิดโรคหูดบั ได้ ติดตามอ่านหน้า ๒๒-๒๓ ครับ เนือ้ หาสาระของ วารสารเล่มนีย้ งั คงมีเนือ้ หาดีๆ สำ�หรับนายจ้าง - ลูกจ้าง ต้องรู้ นอกจากนีย้ งั มีขา่ วสารภารกิจต่างๆ ของกระทรวงแรงงาน และ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ครับ... บรรณาธิการ
่น ด เ ง เรื่อ
สสค.เชียงใหม่ จัดประชุมคณะทำ�งาน ตรวจประเมินกิจกรรม “สถานศึกษาปลอดภัย และสุขภาพอนามัยดี” ประจำ�ปี 2560 วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ สำ�นักงานสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ จัดประชุมชี้แจงคณะ ทำ � งานตรวจประเมิน กิจกรรม “สถานศึกษาปลอดภั ย และสุขภาพอนามัยดี” ประจำ�ปี ๒๕๖๐ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมสำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ โดยมี น ายธรรศณั ฏ ฐ์ นุ ช แสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ในฐานะ หัวหน้าคณะทำ�งานฯ เป็นประธาน เพื่อแจ้งหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขการพิจารณา ให้คณะทำ�งานทราบ และร่วม พิ จ ารณาแผนการตรวจประเมิ น สถานศึ ก ษาที่ เ ข้ า ร่ ว ม โครงการฯ จำ � นวน ๕ แห่ ง ซึ่ ง ที่ ป ระชุ ม มี ม ติ เ ห็ น ชอบ แผนการตรวจประเมินตามที่ สสค.เชียงใหม่ เสนอ
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
5
นายจ้างควรรู้
ศูนย์การเรียนด้าน
ความปลอดภัย
ในการทำ�งาน
โดย กองความปลอดภัยในการทำ�งาน
ความปลอดภัยในการทำ�งาน
ก่อสร้าง ตอนที่ ๑
6
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
7
ลูกจ้างควรรู้
ตามรอยเท้าพ่อ
กับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง “ความพอเพียง” เรามักจะได้ยินจนชิน ไม่คิดว่าจะนำ�มาใช้ได้จริงใน ชีวิตประจำ�วัน บางคนละเลย บางคนไม่สนใจ หลายๆ คนอาจจะคิด ว่าไม่มใี ครสามารถทำ�ได้ แต่เราได้เห็นและมีบคุ คลตัวอย่างในเรือ่ งของ ความพอเพียงนั้นก็คือ “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙)” เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดำ�รงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนใน ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและ บริหารประเทศให้ดำ�เนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์
8
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำ�เป็นทีจ่ ะต้องมีระบบภูมคิ มุ้ กันในตัวทีด่ พี อ สมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำ�วิชาการ ต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำ�เนินการ ทุกขัน้ ตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของ คนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนัก ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสำ�นึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์ สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำ�เนินชีวิตด้วย ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทัง้ ด้านวัตถุ สังคม สิง่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้วย คุณสมบัติ ดังนี้ ๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่ น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอ ประมาณ ๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกีย่ วกับ ระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดย พิจารณาจากเหตุปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนคำ�นึงถึงผลที่ คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ�นั้นๆ อย่างรอบคอบ ๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับ ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำ�นึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาด ว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดำ�เนินกิจกรรม ต่างๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้ ๑. เงือ่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ ว กับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่ จะนำ�ความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อ ประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติ ๒. เงือ่ นไขคุณธรรม ทีจ่ ะต้องเสริมสร้าง ประกอบ ด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปญ ั ญาในการดำ�เนิน ชีวิตซึ่งคุณสมบัตรต่างๆเหล่านี้เราจะเรียกกันสั้นๆ ว่า “หลัก ๓ ห่วง ๒ เ งื่อนไข” นั้นเอง และจากหลัก ๓ ห่วง ๒ เ งือ่ นไข นัน้ ถ้าเราทำ�ได้กจ็ ะนำ�ไปสู่ การมีชวี ติ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมที่สมดุล มั่นคงและยั่งยืนอย่างแน่นอน ที่มา https://finance.rabbit.co.th/blog/sufficiency-economy
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
9
SPECIAL / COVER STORY
แนวปฏิบัติการใช้
“แรงงาน” ที่ดี
กระแสโลกปัจจุบันให้ความสำ�คัญกับการดำ�เนินธุรกิจอย่างมีความรับ ผิดชอบ ต่อสงัคมซงึ่ครอบคลมุถงึความรบัผดิชอบตอ่แรงงานในดา้นสทิ ธมิ น ษุ ย ชน สภาพการจา้ ง และสภาพการทำ � งาน เพื่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต แรงงาน 10
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
กระทรวงแรงงานโดย กรมสวั ส ดิ ก ารและคุ้ ม ครอง แรงงาน ร่วมกับ กรมประมง สมาคมอาหารแช่เยือกแข็ง ไทย องค์กรลูกจ้าง องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรภาคี เครือข่าย ได้จ�ำ ทำ�แนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานทีด่ ี (Good Labour Practices : GLP) สำ�หรับอุตสาหกรรมประมง ทะเล และกิจการที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อใช้เป็นแนวทางเบื้อง ต้น ในการบริหารจัดการด้านแรงงานให้เป็นที่ยอมรับ จากผู้เกี่ยวข้อง ทั้งในประเทศและต่างประเทศ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานมีนโยบายส่งเสริมให้ สถานประกอบกิจการนำ�แนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (Good Labour Practices : GLP) ไปใช้ในการปรับปรุง สภาพการจ้าง สภาพการทำ�งานให้สอดคล้องกับมาตรฐาน ของกฎหมาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน สร้างภาพ ลักษณ์ที่ดีให้กับสินค้าที่ผลิตในประเทศไทย อันจะนำ�มา ซึ่งความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของประเทศ วัตถุประสงค์ - เพื่อเป็นแนวทางให้มีการใช้แรงงานที่ดีในอุตสาหกรรม ประมงทะเล และกิจการที่เกี่ยวเนื่อง และฟาร์มเพาะ เลี้ยงกุ้ง - เพือ่ ส่งเสริมให้สถานประกอบกิจการปรับปรุงสภาพการ จ้าง สภาพการทำ�งาน ให้สอดคล้องกับกฎหมาย - ยกระดับความตระหนักรู้ของผู้เกี่ยวข้อง นายจ้าง และ ลูกจ้างในเรื่องการจ้างงานที่ดี ความรับผิดชอบทางสังคม ของธุรกิจ ประโยชน์ต่อธุรกิจนายจ้าง - มีแนวปฏิบัติที่ดีในการใช้แรงงาน - ขจัดปัจจัยทีเ่ ป็นอุปสรรคทางการค้า โดยเฉพาะประเด็น ปัญหาการใช้แรงงานเด็ก แรงงานบังคับ แรงงานต่างด้าว ผิดกฎหมาย
- เพิม่ ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันในเวทีการ ค้า ทั้งในระดับภูมิภาค และระดับสากล - สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อสถานประกอบกิจการเพิ่มความ พึงพอใจให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ประโยชน์ต่อพนักงาน/ลูกจ้าง - พนักงาน/ลูกจ้าง ได้รบั การดูแลทีด่ ี มีคณ ุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี นึ้ - มีขวัญกำ�ลังใจในการทำ�งาน และเกิดความภักดีต่อ องค์การ - เชื่อมั่นว่านายจ้างของตนไม่เอารัดเอาเปรียบ เป้าหมายแนวทางปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี (GLP) - สร้างความตระหนัก และขบวนการความร่วมมือในการ ปฏิบัติตามกฎหมาย - เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการบวนการปรับปรุง สภาพ การทำ�งานที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ไปสู่การยกระดับคุณภาพ ชีวิตแรงงาน สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
11
SPECIAL / COVER STORY
- เพือ่ เป็นการส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามมาตรฐาน ของกฎหมาย - เพือ่ แนะนำ� เกีย่ วกับการปฏิบตั ทิ ดี่ นี อกเหนือ จากที่กฎหมายกำ�หนด - เพือ่ เพิม่ ขีดความสามารถในการแก้ไขปัญหา ด้านแรงงาน
แนวทางปฏิ บั ติ ก ารใช้ แรงงานที่ ดี (GLP) ประกอบด้วย 1. แรงงานเด็ก 2.แรงงานบังคับ 3. การจัดหางาน 4. ข้อตกลง/สัญญาจ้าง 5. การไม่เลือกปฏิบัติ 6. การจ่ายค่าจ้าง 7. ค่าชดเชย 8. การจัดเก็บทะเบียน/บันทึก 9. ชั่วโมงการทำ�งาน ระยะเวลาพัก วันหยุด 10. เสรีภาพในการสมาคมและการเจรจาต่อ รองร่วม 11. การระงับข้อพิพาท/การบอกเลิกจ้าง 12. อาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการ ทำ�งาน 13. ที่พักและสวัสดิการ องค์ประกอบหลักของ GLP ครอบคลุม 4 “ไม่” และ 6 “มี” ดังนี้ 4 ไม่ 1. ไม่มีการใช้แรงงานเด็ก 2. ไม่มีการใช้แรงงานบังคับ 3. ไม่มีการเลือกปฏิบัติ 4. ไม่มีการค้ามนุษย์ 6 มี 1. มีเสรีภาพในการสมาคมระหว่างแรงงาน 2. มีการเปิดโอกาสให้ลูกจ้างสามารถแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกับนายจ้าง 3. มี ส ภาพแวดล้ อ มการทำ � งานที่ ปลอดภัย
12
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
4. มีการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย 5. มีการส่งเสริมให้จ้างแรงงานผู้เยาว์ 6. มีระบบการจัดการสุขอนามัยและการจัดการของเสีย แนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดี มี 4 ประเภท 1.แนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดีสำ�หรับสถานประกอบกิจการแปรรูปสัตว์น้ำ�เบื้องต้นในอุตสาหกรรมแปรรูปกุ้งและ อาหารทะเลในประเทศไทย (Good Labour Practices Guideline For Primary Processing Workplaces in The Shrimp and Seafood Industry of Thailand : GLP/PPW) 2.แนวปฏิบัติการใช้แรงงานที่ดีสำ�หรับโรงงานแปรรูปในอุตสาหกรรมแปรรูปกุ้ง และอาหารทะเลในประเทศไทย (Good Labour Practices Guideline For Packaging and Processing Factories in The Shrimp and Seafood Industry of Thailand : GLP/Processing Plants) 3.แนวปฏิบตั กิ ารใช้แรงงานทีด่ สี �ำ หรับฟาร์มเพาะเลีย้ งกุง้ ในประเทศไทย (Good Labour Practices Guideline For Shrimp Farms in Thailand) 4.แนวปฏิบัติที่ดีด้านแรงงานในภาคการประมงของไทย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ สำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ชั้น 2 อาคารอำ�นวยการกลาง ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ ถนนโชตนา อำ�เภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทร.053890472-3 ในวันเวลาราชการ
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
13
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
14
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
https://www.facebook.com/cmcm.labour/posts/1320309544751511 สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
15
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
16
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
17
ผลการปฏิบัติตาม ยุทธศาสตร์ 3:3:2/R2Z
18
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
19
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนเพฤษภาคม ๒๕๖๐
20
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
21
โรคไข้หูดับ... เตือนภัยชาวเหนือ
หลีกเลี่ยงการกินเนื้อหมู สุกๆ ดับๆ
ลาบดิบ หลู้เลือด เป็นหนึ่งในอาหารยอดฮิตของชาวเหนือ ที่มักรับประทานกันเป็นประจำ� หรือเวลาที่มีงาน เทศกาลต่างๆ อาหาร จำ�พวกนีก ้ เ็ ป็นทีน ่ ย ิ มกันมาก แต่ทา่ นเคยได้ยน ิ มัย ้ ครับ ทีเ่ คยมีขา่ วคราวเกีย ่ วกับคนทีเ่ สียชีวต ิ หรือหูดบ ั จากการทานหมูดบ ิ หรือ อาหารสุกๆ ดิบๆ หลายคนอาจจะสงสัยว่า กินหมูดิบนี่ ทำ�ให้ถึงตายได้เลยหรือ ? จะเป็นอย่างไรนั้น วันนี้ พญ.กัญจน์รัศม์ พิริ ภัณฑ์ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน หู คอ จมูก โรงพยาบาลลานนา จะมาให้ความรู้กันครับ
22
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
พญ.กัญจน์รัศม์ พิริภัณฑ์ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน หู คอ จมูก โรงพยาบาลลานนา กล่าวให้ความรู้ว่า “สาเหตุ ของโรคไข้หูดับ ที่เกิดจากการทานเนื้อหมูดิบ เกิดมาจากเชื้อ แบคทีเรียทีม่ ชี อื่ ว่า สเตร็ปโตคอคคัส ซูอสิ ทีอ่ าศัยอยูใ่ นโพรง จมูกและต่อมน้ำ�ลายของหมู เมื่อไรก็ตามที่หมูป่วย หรือเกิด อาการเครียด จะทำ�ให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายหมูต่ำ�ลง หมูก็ จะป่วยจนติดเชื้อในกระแสเลือดตาย และถ้าเรานำ�เนื้อหมู ที่ป่วยตายนั้นมารับประทาน หรือไปสัมผัสกับหมูที่เป็นโรค โอกาสที่จะได้รับเชื้อก็มีมากเช่นกัน ซึ่งก็อาจทำ�ให้เกิดอาการ ที่รุนแรงกับร่างกาย ถึงเสียชีวิตได้เลยทีเดียว หากไม่มีการ รักษาให้ทันท่วงที” ใครบ้างที่เสี่ยงติดเชื้อ และจะมีอาการอย่างไรหลังได้รับ เชื้อ ? ผู้ที่รับประทานหมูดิบที่ติดเชื้อ คนขายเนื้อหมู ผู้ ชำ�แหละหมู รวมทั้งผู้ที่สัมผัสเลือดหมู ขณะที่มือมีแผล หรือ ไปโดนแผลในร่างกาย ล้วนมีโอกาสติดเชื้อได้ง่ายๆ โดยผู้ที่ได้ รับเชือ้ นีจ้ ะมีระยะฟักตัวของโรค ตัง้ แต่ไม่กชี่ วั่ โมง จนถึง 3 วัน เป็นต้นไป ขึ้นอยู่กับประมาณที่ได้รับ ซึ่งอาการที่พบได้บ่อย อาจจะเริ่มจากเป็นไข้ ปวดศีรษะ อาเจียน ถ่ายเหลว ผู้ป่วยที่ ได้รบั เชือ้ มากๆ อาจทำ�ให้สญ ู เสียการได้ยนิ ทีเ่ รียกว่า “หูดบั ” คือหูหนวกถาวร หรือในรายที่มีอาการติดเชื้อในกระแสเลือด ร่วมด้วย ก็จะมีผลต่ออวัยวะต่างๆ เช่น ตับ ไต เยือ่ บุหวั ใจ หรือ เยือ่ บุหมุ้ สมอง ซึง่ ทำ�ให้อวัยวะทำ�งานล้มเหลว จนสุดท้ายหาก อาการหนัก ก็อาจเสียชีวิตได้เลยทีเดียว แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าเราเสี่ยงเป็นโรคหูดับ ? เมือ่ ผูป้ ว่ ยมีอาการดังข้างต้น แล้วมาพบคุณหมอ ก็จะ ทำ�การซักถามอาการ ประวัตกิ ารทานอาหารทีผ่ า่ นมา ซึง่ หาก สงสัยว่าเข้าข่ายอาการของ “โรคหูดับ” ที่เกิดจากเชื้อแบคที เรียสเตร็ปโตคอคคัส ซูอสิ คุณหมอก็จะส่งตรวจในห้องปฏิบตั ิ การด้วยการตรวจด้วยวิธี PCR ซึ่งสามารถตรวจได้ถึง DNA แยกจำ�เพาะโรคได้ ทำ�ให้แพทย์สามารถวินจิ ฉัยได้แม่นยำ� นำ� ไปสู่การรักษาที่ถูกต้องตามขั้นตอนต่อไป การป้องกันที่ดีที่สุด คือการไม่สัมผัสเนื้อหมู เลือดหมู ขณะที่มีแผล ควร
สวมถุงมือ และล้างมือทุกครัง้ หลังสัมผัสเนือ้ หมู ทีส่ �ำ คัญคือ ไม่ทานเนื้อหมู หรืออาหารที่ไม่สุก หรือสุกๆ ดิบๆ ควรปรุง อาหารผ่านความร้อนให้สกุ ควรเลือกซือ้ เนือ้ หมูทสี่ ด ไม่มสี ี แดงคล้� ำ หรือมีเลือดคัง่ มากๆ ไม่มกี ลิน่ คาว นอกจากนัน้ การ เลือกซือ้ หมูจากแหล่งผลิตทีไ่ ด้มาตรฐานก็เป็นสิง่ สำ�คัญทีจ่ ะ ช่วยการันตีความปลอดภัยของเนือ้ สัตว์ทที่ านได้ดว้ ยเช่นกัน อย่างไรก็ตาม หากท่านใดที่มีอาการป่วยหลังสัมผัสหมู ที่ป่วย หรือหลังรับประทานอาหารที่ปรุงมาจากเนื้อหมู เลือดดิบๆ หรือปรุงสุกๆ ดิบๆ ภายใน 1-7วัน ให้รีบพบ แพทย์ทันที อย่าลืมว่า ที่ผ่านมาอาจจะโชคดี ไม่เจอทั้ง พยาธิ หรือแบคทีเรีย แต่! ไม่มีใครรู้ว่าเมื่อไหร่เราจะเป็น รายต่อไป ที่โชคร้ายเจอกับโรคหูดับนี้เข้า !!!
พญ.กัญจน์รัศม์ พิริภัณฑ์ อายุรแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้าน หู คอ จมูก
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
23
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
24
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
โปรดติดตามตอนที่ ๕ ในฉบับต่อไป... สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
25
ถาม-ตอบ กฎหมายแรงงาน
การโอนสิทธิความ เป็นนายจ้าง ให้บุคคลอื่น ลูกจ้าง ต้องให้ความ ยินยอมด้วยหรือไม่ ? เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐ เวลา ๑๑.๓๐ น. ลูกจ้างมาปรึกษาผมเรื่องการที่บริษัทฯ จะย้ายและ เปลี่ยนให้บริษัทอื่นมาบริหารแทน ผมก็ให้คำ�ปรึกษา พร้อมเทียบฎีกาที่เกี่ยวข้อง ได้คำ�ตอบดังนี้ครับ... นายจ้างจะโอนสิทธิของตนให้แก่บุคคลภายนอก ลูกจ้างจะต้องให้ความ ยินยอมด้วย จึงจะทำ�ได้ ตาม ป.พ.พ.ม. 577 เช่น ลูกจ้างทำ�งานกับบริษทั A ต่อมา บริษัท A จะโอนสิทธิความเป็นนายจ้างให้บริษัท B หรือเปลี่ยน ตัวนายจ้างเป็นบริษัท B เช่นนี้ ลูกจ้างจะต้องให้ความยินยอมด้วย หาก ลูกไม่ยินยอมโอนไปเป็นลูกจ้างของบริษัท B เช่น ลูกจ้างไม่ไปรายงาน ตัวกับบริษัท B เเต่ยังนั่งทำ�งานกับบริษัท A ไม่ถือว่าลูกจ้างจงใจขัดคำ� สั่งของบริษัท A นายจ้าง และไม่เป็นการละทิ้งหน้าที่ นายจ้างจะลงโทษ ทางวินัยก็ไม่ได้ 26
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
เทียบฎีกาที่ 8682/2548
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
28
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
29
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
30
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
31
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
32
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
33
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
34
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
35
ภารกิจ สสค.ชม. เดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐
36
กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ ๒
สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่
37