วารสารสำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ฉบับ 4 ปี 2559

Page 1


วัฒนธรรมองค์กร L A B O U R L = Learning หมายถึง ใฝ่เรียนรู้ และแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ เพื่อพัฒนาตนเอง พัฒนางาน

A = Alert หมายถึง มีความพร้อมและกระตือรือร้นในการปฏิบัติ งาน เพื่อตอบสนองนโยบายและข้อสั่งการให้ทันต่อเวลา

B = Balance หมายถึง มีความเป็นกลางในการปฏิบัติงาน เพื่อ สร้างความสมดุลในการอยู่ร่วมกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง

O = Objective หมายถึง มุ่งมั่นสู่เป้าหมาย ด้วยการทำ�งานบน พื้นฐานของข้อมูล เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของกรม

U = Unity หมายถึง มีความสมัครสมานสามัคคี ทำ�งานเป็นทีม R = Receptiveness หมายถึง มีใจที่เปิดกว้าง ยอมรับแนวคิดใหม่ๆ และทันสมัย


สารบัญ

ฉบับที่ ๔ ประจำ�เดือนธันวาคม ๒๕๕๙

ที่ปรึกษา

นายจ้างควรรู้....

ลูกจ้างควรรู้...

นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่

กองบรรณาธิการ / ศิลปกรรม

การให้ความช่วยเหลือ ลูกจ้าง

๑๐

ภารกิจ สสค.ชม

๑๒

ถาม-ตอบ

ว่าที่ร้อยโทธนทัต ช่างคำ�มูล นักวิชาการแรงงาน สำ�นักงานสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ชั้น ๒ อาคาอำ�นวยการกลาง

๑๖

ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ อำ�เภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่​่

“เป็นองค์กรหลักมืออาชีพในการคุ้มครอง แรงงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน อย่างเป็นมาตรฐาน และสร้างสันติสุขใน วงการแรงงานด้วยความเป็นธรรม”


EDITOR TALK ฉบับที่ ๓ เดือนพฤศจิกายน ปี ๒๕๕๙

EDITOR TALK

ส วั ส ดี ปี ใ ห ม่ ๒ ๕ ๖ ๐ ปี ที่ ๑ ใ น รั ช ก า ล สมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว มหาวชิ ร าลงกรณ บดิ นทรเทพยวรางกู ร รั ช กาลที่ ๑๐ แห่ ง ราชวงศ์ จั ก รี ใ น น า ม ข อ ง สำ � นั ก ง า น ส วั ส ดิ ก า ร แ ล ะ คุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ขออำ�นาจคุณ พระศรี รั ต นตรั ย และสิ่ ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ ทั้ ง หลาย โปรดดลบันดาลให้ทา่ นและเจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง นายจ้าง จงประสบแต่ ค วามสุ ข ความสำ � เร็ จ สมบู ร ณ์ พูลลาภ ในสิ่งอันพึงปรารถนา ตลอดไป จากภาพ EDITOR TALK เมือ่ วันที่ ๕ ธันวาคม 2559 นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จังหวัดเชียงใหม่ เป็นผู้แทนหน่วยงานในสังกัดกระทรวง แรงงาน ในพิธีขบวนอัญเชิญเครื่องราชสักการะย้อนยุคพื้น เมืองโบราณล้านนาที่หาชมได้ยาก เนื่องในพิธีวันคล้ายวัน พระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดช ณ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ทั้งนี้ ขบวน ประกอบด้วย ขบวน “พระบารมีปกเกล้าชาวเชียงใหม่” และ ขบวน “ธารพระทัยแผ่ผ่านทุกแห่งหน” วารสารฯ ฉบับนี้เพิ่มเติมเนื้อหา ถาม-ตอบ เกี่ยวกับ กฎหมายแรงงาน และยังคงมีเนือ้ หาทีส่ �ำ คัญสำ�หรับนายจ้าง/ ลูกจ้าง ที่ควรรู้ ข่าวสารภารกิจต่างๆ สามารถติดตามเนื้อหา ต่างๆ ได้ภายในฉบับนี้ครับ...

นายธรรศณัฏบ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหว้ดเชียงใหม่ ในพิธีขบวนอันเชิญเครื่องราช สักการะย้อนยุคพื้นเมืองโบราณ

บรรณาธิการ


จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ จั ด งานพิ ธี วั น คล้ า ยวั น พระราช ส ม ภ พ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ร มิ น ท ร ม ห า ภู มิ พ ล อดุ ล ยเดช อย่ า งสมพระเกี ย รติ โดยมี พิ ธี ข บวน อั ญ เชิ ญ ครื่ อ งราชสั ก การะย้ อ นยุ ค พื้ น เมื อ งโบราณ ล้านนา ประกอบด้วย ขบวน “พระบารมีปกเกล้าชาว เชียงใหม่” และขบวน “ธารพระทัยแผ่ผ่านทุกแห่งหน” ทั้งนี้ นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จังหวัดเชียงใหม่ และนางสาวทัศนีย์ นนทจิต ประกันสังคม จังหวัดเชียงใหม่ ได้เป็นตัวแทน กระทรวงแรงงานจังหวัด เชียงใหม่ ในการอัญเชิญเครื่องราชสักการะ ถวายเบื้อง หน้าพระบรมฉายาลักษณ์

ในโอกาสนี้ นายปวิณ ชำ�นิประศาสน์ ผู้ว่าราชการ จังหวัดเชียงใหม่กล่าวน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และ แสดงความอาลัย ผู้ร่วมพิธียืนสงบนิ่ง ๘๙ วินาที จุดเทียน ถวายอาลัย ร้องเพลงสรรเสริญพระบารมี และเพลงพระราชา ในนิทาน พร้อมฉายภาพยนตร์ภาพพระราชกรณียกิจของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและการ ฟ้อนเทียนโดยช่างฟ้อนจำ�นวน ๑,๙๙๙ คน ณ สนามกีฬา สมโภชเชียงใหม่ ๗๐๐ ปี

พิธีวันคล้ายวันพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช


นายจ้างควรรู้

กฎหมาย

แรงงาน ตอนที่ ๑

โดยความสมบูรณ์ของการทำ�สัญญาจ้างแรงงานนั้น ทั้งนายจ้างและลูกจ้างมีสิทธิที่จะแสดงเจตนาทำ�เป็น หนังสือ หรือโดยปากเปล่าก็ได้ แต่ตอ้ งอยูภ ่ ายในขอบเขตของกฏหมายเพ่งและพาณิชย์ และกฎหมายคุม้ ครอง แรงงาน ซึ่งถ้ามีเจตนาขัดต่อกฏหมายดังกล่าว ย่อมทำ�ให้ตกเป็นโมฆะได้ เพื่อเตรียมความพร้อมเป็นมนุษย์ เงินเดือนมืออาชีพ ดังนี้

สัญญาจ้างแรงงาน

(1) เมื่อมีการจ้างแรงงานแล้ว แม้จ้างกันด้วยวาจา ก็มีสถานะเป็น “ลูกจ้าง” (2) แม้นายจ้างกับลูกจ้างจะตกลงทำ�สัญญาจ้างแรงงานกันด้วยความ สมัครใจ แต่ถ้าข้อตกลงส่วนใดขัดหรือผิดแผกแตกต่างกับกฎหมาย คุ้มครองแรงงาน ก็ตกเป็นโมฆะ จะอ้างข้อตกลงนั้นมิได้ (3) นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างที่มีกำ�หนดระยะเวลา การจ้างไว้แน่นอน เฉพาะการจ้างลูกจ้างให้ท�ำ งานตามโครงการ หรือ งานอันมีลกั ษณะเป็นครัง้ คราว หรืองานทีเ่ ป็นไปตามฤดูกาลฯเท่านัน้ มิใช่ในงานปกติทั่วไป

การทำ�งานล่วงเวลา

(4) การทำ�งานหลังเวลาเลิกงานเป็นการทำ�งานล่วงเวลา จะต้องได้ รับความยินยอมจากลูกจ้างก่อน และนายจ้างต้องจ่ายค่าล่วงเวลา ให้แก่ลูกจ้างนั้นด้วย ส่วนที่ลูกจ้างมาทำ�งานสาย นายจ้างลงโทษ ทางวินัยได้ (5) เมื่อนายจ้างให้ลูกจ้างทำ�งานล่วงเวลา ก็ต้องจ่ายค่าล่วงเวลาให้ แก่ลูกจ้าง จะตกลงให้หยุดงานชดเชยแทนมิได้

6

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3

(6) ไม่ว่าลูกจ้างจะมีตำ�แหน่งสูงเพียงใด หรือได้รับเงินเดือนมาก สักเท่าใด หากทำ�งานล่วงเวลาก็ย่อมมีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลา คงมี ข้อยกเว้นตามกฎหมายไว้เฉพาะ “ลูกจ้างซึ่งมีอำ�นาจหน้าที่ทำ�การ แทนนายจ้างสำ�หรับกรณีการจ้าง การให้บำ�เหน็จ หรือการเลิก จ้าง” เท่านั้น

วันหยุด

(7) กฎหมายบัญญัติให้นายจ้างต้องกำ�หนดวันหยุดพักผ่อนประจำ� ปีให้ลูกจ้างทราบล่วงหน้า เพื่อให้ลูกจ้างได้หยุดงาน เมื่อกฎหมาย บัญญัติเป็นวันหยุดจึงมิใช่วันลา แม้ลูกจ้างไม่ได้ลา นายจ้างก็ต้อง จ่ายเงินเป็นค่าทำ�งานในวันหยุดให้ (8) เมื่อนายจ้างให้ลูกจ้างทำ�งานในวันหยุด ก็ต้องจ่ายค่าทำ�งานใน วันหยุดให้แก่ลูกจ้าง เว้นแต่งาน ในกิจการโรงแรม สถานมหรสพ ร้านอาหาร ร้านขายเครื่องดื่มสโมสร สมาคม สถานพยาบาล สถาน บริการท่องเที่ยว งานในป่า งานในที่ทุรกันดาร งานขนส่ง นายจ้าง จึงจะตกลงกับลูกจ้างทีต่ อ้ งมาทำ�งานในวันหยุดตามประเพณี โดยให้ หยุดในวันอื่นชดเชยแทนการจ่ายค่าทำ�งานในวันหยุดได้


หมายเหตุ: ภาพประกอบจาก Internet

การรลากิจ

(9) ลูกจ้างที่ขอลาเพื่อกิจธุระ นายจ้างมีสิทธิที่จะอนุญาตหรือไม่ ก็ได้ เป็นไปตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทำ�งานของนายจ้างเอง แต่ เมื่ออนุญาตแล้ว จะไปหักวันหยุดพักผ่อนประจำ�ปีไม่ได้ หากจะให้ เป็นวันหยุดพักผ่อนประจำ�ปีกต็ อ้ งแจ้งลูกจ้างว่าไม่อนุญาตให้ลา แต่ ให้เป็นวันหยุดดังกล่าวแทน การลาป่วย/คลอดบุตร/ลาบวช (10) ลูกจ้างที่ลาป่วยตั้งแต่สามวันทำ�งานขึ้นไป นายจ้างอาจให้ลูกจ้าง แสดงใบรับรองของแพทย์หรือใบรับรองของสถานพยาบาลของทาง ราชการก็ได้ หากลูกจ้างไม่อาจแสดงได้ ให้ชี้แจงนายจ้าง (11) กฎหมายปัจจุบันมิได้กำ�หนดให้นายจ้างมีสิทธิเรียกใบรับ รองของแพทย์ประกอบการลาเพื่อคลอดบุตรไว้ นายจ้างจึงไม่อาจ กำ�หนดให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์ (ดังเช่นการลาป่วย) ได้ (12) กฎหมายคุม้ ครองแรงงานมิได้ก�ำ หนดระยะเวลาเริม่ ต้นในการ ลาเพื่อคลอดบุตรไว้ ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์จึงมีสิทธิลาได้เมื่อมี ครรภ์ ต่างกับกฎหมายประกันสังคมที่กำ�หนดให้ผู้ประกันตนจ่าย เงินสมทบแล้วเจ็ดเดือนจึงมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน

(13) กฎหมายคุ้มครองแรงงานมิได้กำ�หนดสิทธิในการลาเพื่อ อุปสมบทไว้ ลูกจ้างซึง่ ประสงค์จะลาอุปสมบทจึงลาได้ตามข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำ�งานของนายจ้างนั้น หรือตกลงกับนายจ้างสะสมวัน หยุดพักผ่อนประจำ�ปีไว้จนพอที่จะขอหยุดไปอุปสมบทได้

ที่มา: http://board.postjung.com/926942.html

สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่

7


ลูกจ้างควรรู้

สิทธิ

“วันลา”

8

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3

ก่อนที่เราจะเริ่มทำ�งานในวันแรก ฝ่ายทรัพยากรบุคคล (HR) จะต้องมีการแนะแนว เกีย่ วกับข้อบังคับการทำ�งานและสวัสดิการ ต่างๆ ของบริษัท หรือเรียกว่า “สิทธินายจ้าง-ลูกจ้าง” เพื่อให้ ลูกจ้าง หรือ มนุษย์เงินเดือน อย่างเราๆ รับทราบถึงข้อปฏิบัติ ในการทำ�งาน ซึง่ ข้อบังคับการทำ�งานจะต้องมีการอ้างอิงตามกฎ ระเบียบที่กรมแรงงานและสวัสดิการกำ�หนด แต่บางบริษัทอาจ จะไม่ได้มีการแนะนำ�หรือแจ้งให้ลูกจ้างทราบอย่างเป็นทางการ แต่ ใ ช้ วิ ธี แ จกเอกสารให้ แ ก่ ลู ก จ้ า งให้ อ่ า นและทำ � ความเข้ า ใจ อย่างไรก็ตาม ยังมีลูกจ้างบางคนที่ยังมองข้ามหรือไม่ได้สนใจ รายละเอียดของข้อบังคับการทำ�งาน จนกระทั่งเวลาที่นายจ้าง หักค่าแรง จึงได้ย้อนมาอ่านหรือมาทำ�ความเข้าใจ วันนี้ทีมงาน TerraBKK รวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับสิทธิการลาต่างๆ ทีก่ ฎหมาย กำ�หนด ที่ทุกบริษัทจะต้องกำ�หนดและร่างขึ้นเป็นข้อบังคับการ ทำ�งานเพื่อนำ�ไปปฏิบัติในองค์กร ดังนี้


* ลากิจ : ขึ้นอยู่กับข้อบังคับการทำ�งานของบริษัทนั้นว่า กำ�หนดให้สามารถลากิจได้เป็นจำ�นวนกี่วัน หากเกินจำ�นวน วันที่นายจ้างกำ�หนด ถึงจะมีการหักค่าแรงเกิดขึ้น * ลาป่วย : ตามกฎหมายแรงงานกำ�หนดให้สามารถลาป่วยได้ ตามจริง หากมีการลาป่วยเกิน 3 วัน อาจจะกำ�หนดให้ลกู จ้าง แสดงใบรับรองแพทย์จากแพทย์แผนปัจจุบนั หรือโรงพยาบาล รัฐ หากไม่มีเอกสารทางการแพทย์ลูกจ้างจะต้องชี้แจงให้ นายจ้างทราบถึงเหตุผลที่ไม่สามารถทำ�งานได้ เนื่องจาก ประสบอันตรายหรือเกิดจากการเจ็บป่วยขณะทำ�งานหรือวัน ลา และได้รับค่าจ้างในวันลาป่วยไม่เกิน 30 วัน/ปี * ลาคลอด : กฎหมายกำ�หนดให้ลูกจ้างหญิงที่ตั้งครรภ์ สามารถลาคลอดได้เป็นเวลา 90 วันโดยนับรวมกับวันหยุด ได้รับค่าจ้างในวันลาเพื่อคลอดบุตรไม่เกิน 45 วัน/ครรภ์ * ลาเพื่อเกณฑ์ทหาร : ตามกฎหมายกำ�หนดให้ลูกจ้าง สามารถลาเพื่อรับราชการทหารเรียกพลหรือลาเพื่อทดสอบ ฝึกวิชาทหาร และได้รับค่าจ้างไม่เกิน 60 วัน/ปี *ลาเพื่อฝึกอบรม : ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อการฝึกอบรมหรือ พัฒนาความรู้ความสามารถเพื่อประโยชน์ ต่อการแรงงาน และสวัสดิการสังคมหรือการเพิ่มทักษะความชำ�นาญเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำ�งานของลูกจ้างตามโครงการหรือ หลักสูตร ซึ่งมีกำ�หนดช่วงเวลาที่แน่นอนและชัดเจน และเพื่อ

การสอบวัดผลทางการศึกษาทีท่ างราชการจัดหรืออนุญาตให้ จัดขึ้น ลูกจ้างต้องแจ้งเหตุใน การลา โดยชัดแจ้ง พร้อมทั้ง แสดงหลักฐานทีเ่ กีย่ วข้อง (ถ้ามี) ให้นายจ้างทราบล่วงหน้าไม่ น้อยกว่า 7 วันก่อนวันลา นายจ้างอาจไม่อนุญาตให้ลาหากใน ปีที่ลาลูกจ้างเคยได้รับอนุญาตให้ลามาแล้วไม่ น้อยกว่า 30 วัน หรือ 3 ครัง้ หรือแสดงได้วา่ การลาของลูกจ้างอาจก่อให้เกิด ความเสียหายหรือกระทบต่อ การประกอบธุรกิจของนายจ้าง * ลาเพื่อทำ�หมัน : ลูกจ้างมีสิทธิลาทำ�หมันเนื่องจากการ ทำ�หมันได้ตามระยะเวลาที่แพทย์แผนปัจจุบันกำ�หนดและ ออกใบรับรอง ซึ่งจะได้รับค่าจ้างในวันลาทำ�หมันตามจริง ข้อมูลอ้างอิง : กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน อ่านเนือ้ หาต้นฉบับได้ที่ : TerraBKK.com - http://terrabkk. com/?p=108620 ฉบับนีข้ อฝากไว้ให้ลกู จ้างได้ศกึ ษาเท่านีก้ อ่ นครับ... พบ กันใหม่ฉบับหน้า...

สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่

9


10

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3


สค.เชียงใหม่ เตือนโรงงานคุมเข้มปลอดภัย ระวังเหตุเพลิงไหม้ช่วงฤดูหนาว สค.เชียงใหม่ แนะนายจ้าง ลูกจ้าง คุมเข้มมาตรการด้านความปลอดภัย ในสถาน ประกอบกิจการพร้อมเฝ้าระวังการเกิดอัคคีภัย อุบัติภัย

นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยว่า สภาพอากาศที่แห้งในช่วงฤดูหนาว อาจเป็นสาเหตุของการเกิดอัคคีภัย ได้ ดังนั้น สำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ขอความร่วม มือนายจ้าง ลูกจ้าง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ�งาน และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ�งานของสถานประกอบกิจการ ทุ ก แห่ ง ให้ กำ � หนดมาตรการด้ า นความปลอดภั ย และปฏิ บั ติ ต ามอย่ า งเคร่ ง ครั ด ตรวจสอบ ควบคุมดูแลเป็นพิเศษในเรื่องของระบบไฟฟ้า การป้องกันการเกิดอัคคี ภัย ตลอดจนช่วยกันเฝ้าระวังการเกิดอัคคีภัย อุบัติภัยที่อาจเกิดขึ้นในสถานประกอบ กิจการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการ ซ่อมแซม บำ�รุงรักษาระบบต่างๆ รวมไปถึงการดำ�เนินงานของผูร้ บั เหมาภายนอก หรือ การกระทำ�ทีเ่ ป็นความเสีย่ งก่อให้เกิดอันตรายทีร่ า้ ยแรง และกำ�ชับ ตรวจสอบให้ลกู จ้าง ปิดการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า เครื่องจักรที่ไม่ได้ทำ�งานให้เรียบร้อย เพื่อมิให้เกิดความไม่ ปลอดภัย หรือความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้ นอกจากมาตรการด้านความปลอดภัยที่เคร่งครัดแล้ว สสค.เชียงใหม่ขอความ ร่วมมือนายจ้าง สถานประกอบกิจการทุกแห่ง ร่วมกันรณรงค์สร้างจิตสำ�นึกความ ปลอดภัยและให้ความรู้ในการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแก่ลูกจ้าง ของท่าน เช่น อบรมเทคนิคการขับขี่อย่างปลอดภัย การไม่ดื่มเครื่องดื่มที่ มีส่วนผสม ของแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงสารเสพติด และตรวจสภาพของ อุปกรณ์ต่างๆ ความพร้อมของยานพาหนะให้อยู่ในสภาพ ที่ใช้งานได้ อย่างปลอดภัย

นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ในการอบรม “การพัฒนาความเข้มแข็งให้แก่ คณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๙

สำ�นักงานสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเช ยี งใหม่

11


ภารกิจ สสค.ชม. เดือนธันวาคม ๒๕๕๙

สสค.เชียงใหม่ จัดอบรม “การพัฒนาความเข้มแข็งให้แก่คณะกรรมการ สวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ” วันที่ 16 ธันวาคม 2559 สำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดการอบรม “การพัฒนาความเข้ม แข็งให้แก่คณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ” โดยมี นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน จังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน ทัง้ นีม้ วี ทิ ยากร ได้แก่ นางเรณู โกฏ วิเชียร และนางสาวศุภลักษณ์ มิทเชลล์ ณ ห้องปารีส ชัน้ 2 โรงแรม เมอร์เคียว จังหวัดเชียงใหม่ มีผสู้ นใจเข้าร่วมอบรม จำ�นวน 50 คน

สสค.เชียงใหม่จัดประชุม

คณะอนุกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันที่ 9 ธันวาคม 2559 เวลา 09.30 น. สำ�นักงาน สวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ จัดประชุมคณะ อนุกรรมการความปลอดภ้ย อาชีวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ � งาน จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ ครั้ ง ที่ 1/2560 โดยมี นายประจวบ กั น ธิ ย ะ รองผู้ ว่ า ราชการจั ง หวั ด เชี ย งใหม่ เป็นประธาน เพือ่ รับทราบแผนการดำ�เนินการด้านความปลอด ภัยฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โครงการ Safety Thailand กฎหมายความปลอดภัยในการทำ�งานที่ออกใหม่

12

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3



ภารกิจ สสค.ชม. เดือนธันวาคม ๒๕๕๙

เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ยื่นข้อเรียกร้อง “วันแรงงานข้ามชาติสากล ๒๐๑๖” วันที่ 19 ธันวาคม 2559 เวลา 14.30 น. เครือข่ายแรงงานภาค เหนือ 15 องค์กร จำ�นวน 100 คน เข้ายื่นข้อเรียกร้องเนื่องใน วัน “แรงงานข้ามชาติสากล 2016” (18 ธ.ค. ของทุกปี) ต่อผู้ว่า ราชการจังหวัดเชียงใหม่ มีนายประจวบ กันธิยะ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดเชียงใหม่/หัวหน้าส่วนราชการในสังกัดกระทรวงแรงงาน และเจ้าหน้าที่ ร่วมรับข้อเรียกร้องดังกล่าว ทั้งนี้ สำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ ในฐานะที่เป็นหน่วยงานที่ดูแลด้านสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ได้รับฟังข้อเรียกร้องด้านการกำ�หนดให้พนักงานบริการ ผู้รับใช้ใน บ้าน แรงงานนอกระบบ แรงงานภาคการเกษตร เป็นอาชีพภายใต้ กฎหมายคุ้มครองแรงงานทุกฉบับ

14

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3

วันที่ 26 ธันวาคม 2559 สำ�นักงานสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงานจังหวัดเชียงใหม่ จัดการประชุม “คณะกรรมการ กลั่ น กรองรั บ รองมาตรฐานการป้ อ งกั น และแก้ ไขปั ญ หา ยาเสพติดในสถานประกอบกิจการ (มยส.) จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี นายประจวบ กันธิยะ รองผูว้ า่ ราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธาน และมี นายธรรศณัฏฐ์ นุชแสงพลี สวัสดิการ และคุ้มครองแรงงานจังหวัดเชียงใหม่ เป็นกรรมการและ เลขานุการ เพื่อพิจารณาผลการตรวจประเมินเพื่อต่ออายุ การรับรอง มยส. ของสถานประกอบกิจการจำ�นวนทั้งสิ้น 25 แห่ง โดยคณะกรรมการฯ มีมติเห็นควรต่ออายุการ รับรองทุกแห่ง

สสค.เชียงใหม่ จัดประชุมคณะกรรมการ กลั่นกรองรับรองมาตรฐานป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติด ในสถานประกอบกิจการ (มยส.)



ถาม-ตอบ กฎหมายแรงงาน

ทำ�ไมลูกจ้างเอาทรัพย์ของนายจ้างไป โดยทุจริตส่วนใหญ่ จึงเป็นความผิดฐาน ลักทรัพย์แต่ไม่ผิดฐานยักยอก?

คำ�ตอบ เพราะความผิดฐานลักทรัพย์มีองค์ประกอบ เครื่องบินที่ได้รับจากลูกค้าแทนนายจ้าง เมื่อลูกจ้าง

อย่างหนึ่งคือ ทรัพย์ที่เอาไปต้องเป็นทรัพย์ที่มีผู้อื่น ครอบครองอยู่ การที่ลูกจ้างครอบครองทรัพย์ของ นายจ้างในการปฎิบัติงานนั้น การครอบครองทรัพย์ ของลูกจ้าง จึงเป็นการครอบครองแทนนายจ้าง ความ ครอบครองที่ แ ท้ จ ริ ง อยู่ ที่ น ายจ้ า ง เมื่ อ ลู ก จ้ า งเอา ทรัพย์ของนายจ้างไปจึงเป็นการแย่งการครอบครอง ทรัพย์ไปจากนายจ้าง จึงเป็นความผิดฐาน ลักทรัพย์ นายจ้าง เช่น ลูกจ้างทำ�งานในตำ�แหน่งพนักงานอาวุโส มีหน้าทีป่ ระจำ�ลานจอดเครือ่ งบินและปล่อยเครือ่ งบิน ไม่มีหน้าที่ขายบัตรโดยสาร นายจ้างมิได้มอบหมาย ให้ลูกจ้างมีหน้าที่รับและครอบครองเงินค่าโดยสาร 16

กลุม่ งานด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน พ ืน้ ท ี ่ 3

รับค่าโดยสารเครือ่ งบินทีล่ กู ค้าชือ้ บริการหรือชำ�ระค่า รับจ้างในกิจการของนายจ้าง เงินค่าโดยสารจึงเป็นของ นายจ้าง ลูกจ้างต้องนำ�ไปส่งมอบหรือชำ�ระตามวีธกี าร ให้นายจ้าง การทีล่ กู จ้างเอาเงินค่าโดยสารไปทีเ่ ป็นของ นายจ้างไปจึงเป็นความผิดฐานลักทรัพย์นายจ้างตาม ป.อ.ม.335 (11) มิใช่ความผิดฐานยักยอก ฎีกาที่ 4937-38/2556 กรณีนี้ นายจ้างเลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ตามม.119(1)(4) แห่งพรบ.คุ้มครองแรงงานฯ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.