Special Feature
Interview with Khun Varnnee from
จากเด็กคนหนึ่งที่เคยไม่ชอบเรียนหนังสือ แถมยังไม่ชอบไปโรงเรียน ตัดสินใจมาเปิดโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียน สิ ่ ง หนึ ่ ง ที ่ ท ำ � ให้ ว รรณี เจี ย รวนนท์ รอสส์ ผู ้ ก ่ อ ตั ้ ง โรงเรี ย นนานาชาติ คอนคอร์เดียน ได้มาเป็นคุณครูในวันนี้ อาจมาจากคำ�ถามหนึ่งที่เธอได้ถาม คุณพ่อของเธอในยามที่เธอยังเป็นเด็กว่า การเป็นนักธุรกิจนั้นได้ทำ�ประโยชน์ ให้กับประเทศชาติหรือกำ�ลังเอาเปรียบนอื่นอยู่หรือเปล่า รวมทั้งคำ�สอนของ คุณแม่ที่ให้ความสำ�คัญในเรื่องการศึกษา คำ � ตอบของคุ ณ พ่ อ เธอในวั น นั ้ น คื อ อะไร ทำ � ไมถึ ง มี ส ่ ว นให้ ค นที ่ น ่ า จะ ห่างไกลจากอาชีพครูมากที่สุดคนหนึ่งอย่างเธอ ถึงต้องยอมเหนื่อยกายใจ สร้างโรงเรียนในฝันขึ้นมา อีกทั้งยังจัดทำ�ออกแบบหลักสูตร และลงมือลงแรง สอนด้วยตัวเอง เพื่อแลกกับการให้เด็ก ๆ เรียกเธอว่า ‘คุณครู’ ติดตามได้จาก สัมภาษณ์พิเศษของ The People นี้ วรรณี : ดิ ฉ ั น เป็ น ผู ้ ก ่ อ ตั ้ ง โรงเรี ย นนานาชาติ ค อนคอร์ เ ดี ย น แล้ ว ก็ เ ป็ น ผู ้ อ ำ � นวยการด้ ว ยหน้ า ที่ ห ลั ก ตอนนี ้ ค ื อ งานในเชิ ง บริ ห ารดู แ ลการเงิ น และที่สำ�คัญที่สุดคือดูเรื่องปณิธานของโรงเรียนว่าเป็นไปตามที่ตั้งไว้หรือไม่ หมายความว่าทุกอย่างต้องเข้ากับพันธกิจของโรงเรียน ซึ่งเราถือว่าเป็นหัวใจ ของโรงเรียนนานาชาติคอนคอร์เดียนโดยเฉพาะ แล้วอีกเรื่องที่ทำ�คือดูแล เกี่ยวกับงานบริการสังคม หรือ community service ของนักเรียน
The People: การเป็นสมาชิกครอบครัวที่มีธุรกิจขนาดใหญ่ อะไรเป็น แรงจูงใจที่ทำ�ให้หันเหสนใจเรื่องการศึกษาแทนที่จะเป็นธุรกิจอื่นๆ วรรณี: ที่จริงไม่เคยสนใจเรื่องการศึกษาเลย สมัยก่อนถ้าบอกคนอื่น ว่าจะมาเปิดโรงเรียนต้องมีคนหัวเราะ เพราะตอนเด็กๆ เป็นคนไม่ชอบ ไปเรียนหนังสือ คือไม่ชอบโรงเรียนเลย จนต้องเปลี่ยนโรงเรียนเยอะมาก แล้วไปอยู่ต่างประเทศหลายรอบได้ไปอยู่อเมริกาตั้งแต่อายุ 13 ตอนที่ อยู่ที่อเมริกาก็เปลี่ยนไป 2 โรงเรียน แต่ที่มาสนใจการศึกษา จริงๆ แล้ว มันตอบโจทย์ที่เคยคิดไว้ตั้งแต่เด็กๆ ตอนที่สมัครมหาวิทยาลัย แล้วเขา ถามว่าเรามีฝันอะไร เราบอกว่าอยากกลับมาช่วยพัฒนาประเทศ
หลังจากเรียนจบสิ่งที่เราพอจะรู้คือเรื่องการเงิน เลยไปเป็นนักวิเคราะห์ ด้ า นการลงทุ น ที ่ ธ นาคาร Chase Manhattan Bank อยู ่ 3 ปี ตอนนั้นทำ�ให้รู้ว่าไม่ใช่สิ่งที่อยากจะทำ� เลยย้ายไปอยู่ฮ่องกงไปหาเพื่อน หลายๆ คนที่เป็นสถาปนิก ช่วยกันตั้งบริษัทของตัวเองชื่อ CL3 Design จำ�กัด ในฮ่องกงขึ้นมา ทำ�เกี่ยวกับการออกแบบ ทางสถาปัตยกรรม อาคารสถานที่ทั้งภายในและภายนอก โดยเราเป็นคนบริหารฝั่งธุรกิจ ทำ� การตลาด บริษัทก็ประสบความสำ�เร็จมาก ทุกวันนี้ก็ยังมีชื่อเสียงอยู่ใน ฮ่ อ งกง จนช่ ว งที ่ ม ี ล ู ก แล้ ว กำ � ลั ง หาโรงเรี ย นให้ ล ู ก ตอนนั ้ น อยากให้ ลู ก ได้เรียนภาษาจีนเพราะรู้สึกว่าอนาคตภาษาจีนสำ�คัญแน่นอน เพราะ ตอนนั้นระหว่างที่เดินทางไปที่ไหน แม้จะเป็นทวีปอเมริกาใต้ ของชำ�ร่วย หลายอย่างก็ยัง made in China คือทำ�ในจีน เมื่อ 20 ปีที่แล้ว คนจะ เห็นว่าจีนไม่สำ�คัญ ขายแต่สินค้าถูกๆ แต่ถ้าเรายังจำ�ได้ ญี่ปุ่นก็เคยเป็น อย่างนั้นและญี่ปุ่นก็กลายเป็นประเทศมหาอำ�นาจ ดังนั้นถ้าเดินทางแล้ว เห็นสินค้าจีนไปถึงทุกแห่งในโลก ไม่ช้าไม่นานเขาก็จะพัฒนาได้ ประจวบ กับการทำ�งานที่ฮ่องกง มีประสบการณ์กับนักธุรกิจจีน ได้เห็นการก้าว กระโดดเดินหน้าไปไม่ยึดติดกับเรื่องเก่าๆ หรือว่าวิศวกรรมเก่าๆ ข้าม ไปลองสิ่งใหม่ๆ เลย ทำ�ให้เห็นว่ามันมีอนาคตแน่นอน ตอนนั้นคิดว่าจะ ให้ลูกเรียนที่ฮ่องกง เพราะจะได้เรียนภาษาจีนด้วย โรงเรียนที่อยากให้ ลูกเรียน ชื่อว่า Chinese International School ระหว่างที่นั่งรอ สมัครก็เห็น mission statement ของโรงเรียนว่าอยากให้เด็กกลุ่มนี้ เปลี่ยนแปลงโลกนี้ให้ดีขึ้น พอได้ เห็ น ปณิ ธ านโรงเรี ย นก็ คิ ด ว่ า จริ ง ถ้ า เด็ ก กลุ ่ ม นี้ตัดสินใจจะเป็น คนดี เขาจะเอาโอกาสที ่ เขามี ไ ปทำ � ประโยชน์ ใ ห้ ก ั บ สังคมได้ ในเวลา เดียวกัน ถ้าเอาอำ�นาจไปทำ�ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ก็สามารถทำ�เรื่องที่ผิดให้ ยิ่งใหญ่ได้เหมือนกัน อย่างในช่วงปี 1997 ที่เศรษฐกิจถล่มทลาย ไม่ใช่ เพราะคนไม่มีการศึกษา แต่ปัญหาส่วนใหญ่ของโลกเกิ ดจากคนฉลาด และมีการศึกษา เขาสามารถทำ� impact ทำ�ให้ดีขึ้นได้เยอะ และเสียหาย ได้เยอะเช่นเดียวกัน
CONCORDIAN IMPACT - ISSUE 29
44
เลยอยากเชิญเขามาตั้งโรงเรียนที่ประเทศไทยบ้าง ไปเชิญมาหลายรอบ แต่ director ของโรงเรียนก็บอกว่าทำ�ไมไม่ลองตั้งเองเลย เขาบอก ว่ า โรงเรี ย นต้ อ งทำ � จากใจถ้ า อยากตั ้ งโรงเรี ย นก็ ตั ้ งเองเลย เดี๋ย วเขา จะช่วยสนับสนุนด้วยการจัดหาส่งคนมาให้ โรงเรียนเขาเองก็ตั้งขึ้นจาก คุณแม่เพียงไม่กี่คน เขาเคยช่วยตั้งโรงเรียนที่อเมริกาเหมือนกัน เราคิดไป คิดมาว่าเราไม่ชอบเรียนหนังสือ จะมาตั้งโรงเรียนนี่นะ แต่สุดท้ายแล้วมัน ตอบโจทย์ที่ว่าถ้าทำ�ตรงนี้ได้อาจจะสร้างเด็กรุ่นใหม่ ๆ ซึ่งอาจจะไม่เยอะ เพราะว่าเราเป็นโรงเรียนเล็ก แต่ทุกคนที่เราสร้างนั้นอยากให้มี impact กับสังคมในระดับใหญ่ ตอนนี้นักเรียนของเราทำ� service เยอะมาก แต่
Special Feature
ประโยชน์ให้กับสังคมได้ แล้วคุณพ่อก็พาไปดูโครงการหนองหว้า ที่ทาง บริ ษ ั ท ไปซื ้ อ ที ่ ด ิ น แห้ ง แล้ ง แถวฉะเชิ ง เทราซึ ่ ง ปลู ก ข้ า วไม่ ไ ด้ แล้ ว ไป เชิญชาวไร่ชาวนาที่ขยันแต่ไม่มีที่ดินเป็นของตัวเองมาสร้างเป็นชุมชน สร้างบ้าน สร้างเล้าหมู สร้างโรงเรียนให้ ซื้อรถแทรกเตอร์จัดการให้ หมดทุกอย่าง ให้เกษตรกรกลุ่มนี้ได้ทำ�งาน เลี้ยงหมู ดูแลข้าวโพด โดยมี สัตวแพทย์และยาเตรียมไว้ให้ ยังจำ�ได้เลยว่าสมัยนั้นคนในกรุงเทพยังใช้ ถ่ า นหุ งข้ า ว แต่ เล้ า หมู ม ี ก ารเก็ บ มู ล ทำ � เป็ น แก๊ ส ต่ อ เข้า ไปในห้อ งครัว แล้ว จากที่ไม่มีอะไรเลยภายใน 7 ปี ทุกอย่างจะกลายเป็นของเขาหมด นอกจากนี้ยังมีการการันตีราคารับซื้อให้ด้วย คือไม่มีทางขาดทุนเลย
ไม่เฉพาะการให้เปล่าเพียงอย่างเดียว เราไม่อยากให้เป็นการให้เปล่าเฉยๆ แต่เป็นการให้ที่อยู่ในธุรกิจที่พวกเขาทำ�ทุกอย่าง เป็นสิ่งที่เราคิดว่าถ้าเกิด เด็กกลุ่มนี้คิดได้แบบนี้ impact ที่มีจะไม่ใช่แค่ครอบครัวเขา แต่จะเป็นสังคม โดยรวม หน้าที่ของเราคือทำ�ยังไงให้เด็กกลุ่มนี้มีจิตสำ�นึกที่มีความเมตตา มีคุณธรรม มีความเผื่อแผ่ต่อคนอื่น The People: เริ่มก่อตั้งโรงเรียนที่ประเทศไทยตอนไหน วรรณี: เริ่มทำ�โรงเรียนประมาณปี 2001 เราพอเข้าใจเรื่องการเงิน ก็เลย ยังไม่จำ�เป็นต้องลงทุนสร้างโรงเรียนทันที เราเริ่มจากการที่ว่า เช่าสถานที่ ก่อน แล้วก็เปิดจากเล็กๆ ตอนนั้น real estate ในประเทศไทยยำ�่ แย่ เลย ไปเช่าพื้นที่ clubhouse เอาไป renovate ใหม่ พอสนามบินสุวรรณภูมิ จะเปิดเรารู้ว่าเครื่องบินต้องบินผ่าน เลยคิดว่าตรงที่เดิม ไม่น่าจะเหมาะสม กับการเป็นโรงเรียน ก็ขับรถตระเวนหาที่จนมาเจอที่ตรงนี้ แต่ก่อนเป็นทุ่ง หมดเลยโรงเรียนเราเข้ามามีแต่ทุ่งหญ้ากับต้นยูคาลิปตัส พอดีคิดว่าอยากได้ โรงเรียนที่ดูธรรมชาติหน่อยเลยคิดว่าที่ตรงนี้ดี โชคดีที่เจ้าของเก่าท่านก็จบ ครู เลยยอมขายที่ดินให้ แล้วตอนนั้นเลยทำ�เป็นโครงการร่วมกับน้องสาว ชื่อ แมกโนเลีย เป็นที่มาของการเริ่มต้นของเรา The People: โรงเรียนแห่งแรกของทุกคน คือที่บ้าน การที่มาทำ�งานด้านนี้ได้ประยุกต์ สิ่งที่คุณพ่อคุณแม่สอนมายังไงบ้าง วรรณี: คุณพ่อพวกเรา 5 คนทำ�งานหนักมาก เราเลยจะอยู ่ ก ั บ คุ ณ แม่ เ ยอะ คุ ณ แม่ จ ะสอน เสมอว่าการศึกษาคือสมบัติที่ยั่งยืนที่สุดที่จะให้ ได้ ทุกอย่างที่เราเห็นทุกวันนี้อาจจะมาแล้วไป
ตอนนั ้ น รู ้ แ ต่ ว ่ า เราได้ ท ำ � อะไรดี ๆ บางอย่ า ง จนพอโตขึ้นได้ย ้อ นคิด ว่าคุณพ่อได้อะไรจากตรงนี้ เพราะการการันตีราคาเราอาจจะขาดทุน ด้วยซำ�้ ไป คุณพ่อบอกว่าเราได้สินค้าที่มีคุณภาพไม่ขาดสายเพราะคนที่ เป็นเจ้าของย่อมดูแลคุณภาพของสัตว์เลี้ยงเขา เราได้เนื้อหมูที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษ ที่สามารถเอาไปขายแปรสภาพแล้วส่งออกได้ เราไม่จำ�เป็น ต้ อ งมาหากำ � ไรกั บ เกษตรกร เราสามารถได้ ก ำ � ไรจากการส่ ง ออกไป ยั ง ต่างประเทศได้ เพราะขายต่างประเทศราคาดีกว่า อันนี้ทำ�ให้พวกเรา ทุกคนในครอบครัวมีความคิดคล้าย ๆ กันว่าสิ่งที่เราทำ�นั้นอย่าคิดว่าเรา ต้องได้กำ�ไรสูงสุดในทุกจุดที่ทำ� คุ ณ พ่ อ สอนเสมอเรื ่ อ งผลกระทบระยะยาว บางคนอาจจะเคยได้ ย ิ น เรื่องตอนโดนขโมยรถที่อเมริกา พอโทรศัพท์มาบอกคุณพ่อ แทนที่ท่าน จะตกใจและดุว่า ท่านกลับบอกแค่ให้รีบไปซื้อรถเลยเดี๋ยวไม่มีรถขับ ไปส่งน้องเรียนหนังสือ แต่ตอนกลับมาเยี่ยมบ้านแล้ววางกระเป๋าทิ้งไว้ ในห้องรับแขก พอคุณพ่อเจอกระเป๋าสตางค์กลับโกรธมาก บอกว่าทำ�ไม ถึ งไม่ ม ี ค วามรั บ ผิ ดชอบขนาดนี ้ เอากระเป๋ า สตางค์ มาวางอย่า งนี้ไ ด้ ยั งไง ถ้าเกิดของหายจะทำ�อย่างไร เราก็ตกใจว่ากระเป๋าสตางค์วางไว้ใน บ้านแค่ไม่นานไม่น่าเป็นปัญหา พี่แม่บ้านก็อยู่กับเรามานานคงไม่ขโมย แต่คุณพ่อบอกว่ารถหายทั้งคันไม่ว่าอะไร แต่การไม่รับผิดชอบกระเป๋า สตางค์แล้ววางไว้อย่างนั้นจะเป็นสิ่งล่อตาล่อใจ เกิ ดมีคนมาหยิบด้วย
"คุณธรรมในทุกสิ่งที่เราทำ� แล้วเรายึดมั่นในสิ่งนี้ เราสามารถทำ�ประโยชน์ ให้กับสังคมได้"
คุณแม่ยังสอนให้พ วกเราเข้ า ใจและรั ก คุ ณ พ่ อ เพราะท่ า นเหนื ่ อ ยมากกั บ การทำ�งานหนักให้เราได้เรียนหนังสือดีๆ ส่วนคุณพ่อก็คล้ายๆ กับคุณแม่ ทั้งคู่มีความคิดคล้ายกันมาก เราจะได้ใกล้ชิดกับคุณพ่อได้คุยเรื่องธุรกิจกัน มากขึ้น ตอนอายุ 13 เคยถามคุณพ่อว่าการเป็นนักธุรกิจได้ทำ�ประโยชน์ให้ ประเทศชาติหรือเปล่า เรากำ�ลังเอาเปรียบคนอื่นหรือเปล่า คุณพ่อบอกว่าไม่ จริง คือขอให้มีคุณธรรมในทุกสิ่งที่เราทำ� แล้วยึดมั่นในสิ่งนั้น เราสามารถทำ�
The People: การศึกษาที่ดี หรือโรงเรียนที่ดีควรจะเป็นยังไง วรรณี: สำ�หรับฉันคิดว่าคุณครูสำ�คัญที่สุด คุณครูคือแรงบันดาลใจของ นักเรียน คุณครูที่รู้จักให้กำ�ลังใจนักเรียน ไม่ตัดสินจากแค่คะแนนเรียน ของเขา หรือถ้าเห็นว่าเขามีปัญหาก็ทุ่มเทเข้าไปช่วย ไม่ได้ชื่นชมเฉพาะ เด็กที่เรียนเก่งอย่างเดียว คุณครูแบบนี้มีความหมายมากกว่าเยอะ เพราะ
45 CONCORDIAN IMPACT - ISSUE 29
จะอยู่หรืออาจจะไม่อยู่เมื่อไหร่ก็ได้ ซึ่งเห็นได้จากสิ่งที่เกิ ดขึ้นในสังคมจริง ตั ้ ง แต่ เ ด็ ก ๆ จนโตขึ ้ น มา ในเวลาเดี ย วกั น คุ ณ แม่ ส อนเสมอว่ า เราต้ อ ง ไม่ตัดสินคนจากสิ่งที่เห็นภายนอก ให้ดูจากข้างในของเขา เพราะทุกคนมีค่า เหมือนกัน อย่างที่บ้านของเรา ตั้งแต่เด็กๆ พี่เลี้ยงเราก็ต้องเรียกพี่ คนขับรถ ต้องเรียกคุณน้าคุณอา ต้องสวัสดีถ้าเขาอายุมากกว่าเรา คุณแม่สอนให้เรา เคารพทุกคน ซึ่งเราได้นำ�มาสอนกับนักเรียนของเรา ส่วนคุณพ่อก็เป็นคนแบบ นั้นเหมือนกัน เวลาคุณพ่อไปเยี่ยมคนที่ต่างจังหวัด ไปเดินอยู่ข้างคูนำ�้ ไปนั่งดู ไก่ในที่ทุรกันดารท่านก็เคารพทุกคนเหมือนกัน ปฏิบัติกับทุกคนเหมือนกัน อัน นี้เป็นสิ่งที่คิดว่าเราทั้ง 5 คนมีความคิดเหมือนกัน ส่วนตัวพยายามจะถ่ายทอด สิ่ง นี้ให้เด็กๆ เข้าใจว่าทุก คนมี ค ่ า เท่ า กั น อย่ า งเช่ น แม่ บ ้ า นของโรงเรี ย นก็ มีคุณค่าถ้าโรงเรียนไม่สะอาด จะอยู่ได้ยังไง เราเลยจะมีสวัสดิการที่ดีมากให้ แม่บ้านของเรา อย่างบางคนอยู่มานาน 19 ปี ตั้งแต่เปิดเลย เราดูแลลูกของ พวกเขาหลายอย่าง ถ้าลูกเขาเข้ามหาวิทยาลัยได้เราก็มีทุนการศึกษาให้ มี การประกันสุขภาพเขาเท่ากับผู้บริหาร เพราะเราคิดว่าจริง ๆ ถ้าไม่มีเขาเราก็ อยู่ไม่ได้เหมือนกัน ทุกคนก็มีค่าเท่ากัน
เหตุ ผ ลอย่ า งอาจจะเพราะจำ � เป็ น ต้ อ ง ใช้ เ งิ น เรากำ � ลั ง เป็ น คนที ่ ม ี ส ่ ว นสร้ า ง ผู้ร้าย เรากำ � ลั ง ทำ � ให้ ค นๆ หนึ ่ ง ก ล า ย เ ป็ น ขโมยด้ ว ยความไม่ รู้ จั ก รั บ ผิดชอบของเรา ผลกระทบที่ตามมาอาจ จะทำ�ให้เขาตกงานส่งผลกระทบกับชีวิต ครอบครัวเขาต่อไปได้ สิ่งนี้เองที่ทำ�ให้ เรานำ � เรื่ อ งผลกระทบระยะยาวมาสอน ในโรงเรียนของเราด้วย
Special Feature
CONCORDIAN IMPACT - ISSUE 29
46
เด็กทุกคนนอกจากพ่อแม่ของตัวเองแล้ว ผู้ใหญ่คนต่อไปที่เขารัก เคารพ 3 ต่อ 1 ซึ่งอาจจะเป็นเพราะว่าเราสอนระบบ 3 ภาษา เลยต้องมีครูที่คอย หรืออยากจะรัก เคารพ น่าจะเป็นคุณครู เพราะฉะนั้นคุณครูที่มีส่วนช่วย สนับสนุนเด็กตลอดเวลา คุณครูในระบบ IB จะต้องรู้จริงรู้ลึก ครูเกือบ สร้างแรงบันดาลใจนั้นสำ�คัญกว่าคุณครูที่เก่งเสียอีก ทั้งหมดของโรงเรียนเรามีทั้งปริญญาโทและดอกเตอร์ด้วย บางเรื่องครู อาจจะรู ้ น ้ อ ยกว่ า เด็ ก ก็ ไ ด้ เพราะเดี ๋ ย วนี ้ เด็ ก สามารถค้ น คว้า วิเ คราะห์ ในชีวิตของทุกคนจะต้องมีคุณครูคนหนึ่ง หรือหลายคนก็ได้ ที่ช่วยเรา ข้อมูลได้ด้วยตัวเอง บางทีรู้เยอะกว่าครูอีก ครูต้องเปิดใจตรงนี้ด้วยว่า ถ้า หรือว่าเป็นแรงบันดาลใจให้เรา คอยเข้าใจเรา ทำ�ให้อยากตั้งใจทำ�งาน บางเรื่องรู้ไม่เท่าเด็กเราก็ต้องมาเรียนรู้ด้วยกัน เป็นอีกสิ่งที่สำ�คัญสำ�หรับ ให้เขา อยากจะเก่งกว่านี้ให้เขาภูมิใจ แต่ว่าถ้าเป็นครูที่ชอบประชด ครูในระบบ IB ประชันดุด่าว่านักเรียน จริงๆ เด็กไม่มีใครหรอกอยากจะโดนดุว่า ก่อนที่ จะดุเด็กที่ไม่ส่งการบ้านได้คุยกับเขาหรือยังว่าทำ�ไมถึงไม่ได้ทำ� เมื่อคืนนี ้ The People: โรงเรียนนี้มีส่วนเติมเต็มชีวิตของคุณครูด้วยหรือไม่ พ่อแม่อาจทะเลาะกันแล้วเขาอาจจะนอนร้ อ งไห้ ทั ้ ง คื น ก็ ได้ หรื อ อาจ วรรณี: จริงๆ ก็ใช่นะ คือตอนสาวๆ ไม่ได้เป็นคนที่รู้สึกว่าเด็กน่ารักอะไร มีเรื่องปัญหาอย่างอื่นที่เราไม่รับรู้ เราไม่ควรไปตัดสินว่าเขาเป็นเด็กไม่ดี อย่างนี้เลย เป็นคนตรงไปตรงมามากกว่า แต่หลังจากได้มาทำ�โรงเรียน เพราะแค่ไม่ส่งการบ้าน ตั้งแต่ทำ�โรงเรียนมา 19 ปี ไม่เคยเจอเด็กเกเร รู ้ ส ึ ก เลยว่ า คำ � พู ดที ่ ว ่ า เด็ ก เหมื อ นผ้ า ขาวเป็ น เรื ่ อ งจริ ง เราสามารถช่วย ที่ไม่มีปัญหาส่วนตัว จริงๆ แล้วเด็กเกเรก็ไม่ค่อยมี ส่วนใหญ่ที่เกเรคือ เปลี่ยนแปลงเขาได้ หรือบางครั้งสิ่งแวดล้อมก็เปลี่ยนแปลงเขาได้ ทั้งในทาง ไม่ค่อยทำ�การบ้าน ไม่ค่อยตั้งใจเรียนหนังสือ ดีและไม่ดี สิ่งที่เราพยายามทำ�คือพยายามเปลี่ยนแปลงเขาในทางที่ดี แล้ว ทำ�ให้ดียิ่งขึ้น เป็นความสุขอย่างหนึ่งเวลาได้เห็นนักเรียนที่จบแล้ว ได้เข้า The People: การหาคุณครูผู้สอนที่เข้ากับปรัชญาการสอนของ มหาวิทยาลัยดี ๆ หรือมีคนชมว่าเด็กคอนคอร์เดียนนิสัยดี จิตใจโอบอ้อม โรงเรียนยากแค่ไหน อารี มีวัฒนธรรม อันนี้เป็นสิ่งที่ภูมิใจที่สุด แต่ในเวลาเดียวกันมีคนมาบ่นว่า วรรณี : ส่ ว นหนึ ่ ง เราสร้ า งเองด้ ว ย เพราะเรื ่ อ งบางเป็ น เรื ่ อ ง เรียนยาก การเรียน 3 ภาษา มันจะง่ายได้ยังไง การเรียนหนักก็คือการฝึก ของวัฒนธรรมไทยและเอเชียด้วยแต่จริงๆ แล้วปรัชญาของโรงเรียน ความอดทนอย่างหนึ่ง จะเริ่มต้นจากง่ายแล้วค่อย ๆ ยาก ตอนแรกเรียนไม่ คล้ า ยคลึ ง กั บ ปรั ช ญาของ IB มาก และโรงเรี ย นเราก็ ม ี ก ารอบรม ยากแล้วสนุกไปด้วย ต่อมาจะยากขึ้นเรื่อย ๆ จนในช่วง 2 ปีสุดท้าย เรียน เยอะมาก เนื ่ อ งด้ ว ยโรงเรี ย นเป็ น ระบบ IB หรื อ International ยากเทียบเท่ากับมหาวิทยาลัย แต่ก็เห็นทุกคนผ่านไปได้ เด็กหลายคนเรียน Baccalaureate ซึ่งเป็นหลักสูตรที่ออกแบบขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ ดี ทำ�กิจกรรม เล่นกีฬาเยอะด้วย ศึก ษาต่อและปรับ ตัวในการศึ ก ษาต่ อได้ ก ั บ ทุ ก ๆ ระบบการศึ ก ษาใน โลก ครูทุกคนต้องไปอบรมกับทาง IB ทุกปีเราจะให้ครูทุกคนไปอบรม อี ก อย่ า งนั ก เรี ย นเราทำ � พวกงานบริ ก ารสั ง คมเยอะ เราเปิ ด โอกาสให้ เพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจหลักปรัชญาของการสอนของระบบ IB ซึ่ง ตั ้ ง ชมรมของตัวเอง แล้วพาเขาไปดู community service ต่างๆ ด้วย เป็นการสอนให้เด็กลงลึกในการทำ� research และก็รู้จักถามคำ�ถาม ตัวอย่างที่เคยพาไปเอง ก็จะมีแบบเช่น บ้านพักคนชรา เด็กพิการซำ�้ ซ้อน ที่ถูกต้อง แล้วเรียนรู้จากตัวเอง เรียนรู้จากการทำ�งาน ค้นคว้าเยอะมาก เด็กกำ�พร้า จริงๆ แล้ว หลายคนไม่เข้าใจว่า เราไป service อะไรเขาได้ อย่างนี้ แล้วแน่นอนการเรียน 3-4 ภาษาการท่องจำ�ยังต้องมีบ้าง แต่โดย แต่เป็นสิ่งที่คิดว่ามีค่าที่สุด คือเขาคิดได้ด้วยตัวเอง แล้วสิ่งนั้นจะอยู่กับเขา ส่วนใหญ่คะแนนระดับที่สำ�คัญคือการเข้าใจและการวิเคราะห์ ตลอดไป สุดท้ายเราถามคำ�ถามเค้าง่ายๆ ข้อเดียวทำ�ไมครูถึงพาเธอมา ที่นี้แทบจะทุกคนและทุกครั้ง เด็กเข้าใจและตอบได้ว่าเพื่อมาเรียนรู้ว่าเรา The People: ต้นทุนในการจัดการการศึกษาก็คงมหาศาลทีเดียว ยั งสามารถทำ � ได้ ม ากกว่ า นี ้ เพื ่ อ สั งคม สู ้ ไ ด้ ม ากกว่ า นี ้ เพื ่ อ ส่วนรวม และ ในฐานะที่เป็นนักการเงินเก่านี่จัดการกับมันยังไงครับ ช่ ว ยเหลื อ คนอื ่ น ได้ ม ากกว่ า นี ้ และโชคดี ข นาดไหนที ่ เ รามี พ ่ อ แม่ ท ี ่ ร ั ก วรรณี: การมาทำ�โรงเรียนนี่ถือว่าล้มเหลวในฐานะนักการเงิน (หัวเราะ) เราหรือตอนที่พาเขาไปบ้านพักคนชรา เราอยากให้เขารู้ว่า จริงๆ พ่อแม่ เพราะใช้เงินเปลืองมาก เรามีคุณครู 200 กว่าคน สำ�หรับนักเรียน 900 ไม่ ไ ด้ อ ยากให้ ค ุ ณ มาดู แ ลเขาแล้ ว แต่ ถ ้ า อยากดู แ ลเขาวั น นี้พร้อ มหรือ กว่าคน ถ้านับรวมเจ้าหน้าทั้งหมด สัดส่วนครูกับนักเรียนน่าจะประมาณ ยัง ทำ�ดีที่สุดแล้วหรือยัง วันหนึ่งคุณจะเอาพ่อแม่มาอยู่ตรงนี้หรือเปล่า
Special Feature
The People: ตอนนี้ถึงเวลาที่เราต้องปฏิรูปการศึกษาหรือยัง วรรณี: ถ้าจะปฏิรูปการศึกษามีเรื่องที่ต้องแก้ไขเยอะมาก ถ้าครูเป็นหัวใจ ที่สำ�คัญที่สุด ถามว่าต้องใช้เวลานานเท่าไหร่ถ้าเราจะต้องไปเทรนด์ครู ใหม่ทั้งหมด สิ่งแรกคือตัวครูเองต้องอยากที่จะเปลี่ยนแปลง ไม่จำ�เป็น ต้ อ งรอให้ ใ ครมาอบรม ทุ ก วั น นี ้ เราสามารถอ่ า นความรู ้ เ พิ่ม เติม จาก อินเทอร์เน็ตได้ด้วยตัวเอง ครูปัจจุบันทุกคนที่ต้องการเปลี่ยนแปลง เขา สามารถเปลี่ยนแปลงได้ด้วยตัวเอง ไม่ต้องรอให้รัฐบาลหรือให้ใครบอก ให้เขาเปลี่ยนแปลง มันอยู่ที่ใจเขา ในเวลาเดียวกันครูต้องไม่มีอีโก ต้อง ยอมรับได้ว่าเราไม่ได้เก่งทุกอย่าง ซึ่งเป็นจุดหนึ่งที่คุณพ่อสอนคือเรา ไม่เก่งทุกอย่าง เราต้องยอมรับว่าอะไรที่เราไม่เก่ง อะไรที่ทำ�ได้ไม่ดี ก็ให้ คนที่เขาเก่งกว่าไปทำ�ในเรื่องที่เขาเก่งกว่าก็จบไม่ต้องอาย ไม่มีใครเก่งทุก อย่างในโลกนี้ใช่ไหมคะ ขออย่างเดียวให้ใช้ในทางที่ถูกต้อง ครูต้องกลับ ไปสอนเด็กว่าจะคิดวิเคราะห์ยังไงถึงเลือกข้อมูลที่ถูกต้องแล้วนำ�มาใช้ใน The People: นิยามของผู้นำ�เยาวชนที่กำ�ลังสร้างเพื่อให้เป็นผู้นำ�ที่ ที่ถูกต้อง แล้วถามคำ�ถามที่ถูกต้องด้วย เพราะถ้าถามปัญหาผิดคำ�ตอบก็ จะเปลี่ยนแปลงโลกในอนาคตเป็นอย่างไร ผิดเรื่อง ถามปัญหาถูกเราถึงจะได้คำ�ตอบที่ถูกต้อง วรรณี: compassion ที่แปลว่า เมตตา แล้วก็คำ�ว่า integrity ที่แปล ว่าคุณธรรม ผู้นำ�ที่ดีไม่ว่าอดีตปัจจุบัน หรืออนาคต ต้องมีความมีเมตตา ดิฉันเชื่อว่าทุกคนในสังคมต้องมีความรับผิดชอบ อย่างหนึ่งที่ต้องทำ�คือ และคุณธรรม อีกอย่างที่คิดว่าต้องมีคือความขยันอดทน มีความอดทน คืนอะไรกลับมาให้สังคมบ้าง ถ้าคุณเป็นครูที่สอนเก่ง อาจเอาโทรศัพท์ อย่ายอมแพ้ อันนี้สำ�คัญมาก สำ�หรับความเป็นผู้นำ� เรื่องความเก่งไม่เก่ง ขึ้นมาอัดวีดิโอเผยแพร่การสอนทางออนไลน์ ดิฉันคิดว่าการเปลี่ยนแปลง เป็นอีกเรื่องนึง เก่งแล้วไม่อดทนก็ไม่มีประโยชน์ เก่งแล้วไม่มีคุณธรรม ไม่ต้องรอใคร อยู่ที่พวกเราทุกคน แล้วคนที่รอจะเสียใจเพราะว่าโลกมัน ยิ่งจะไปทำ�ร้ายคนอื่น มีคนพูดเสมอว่าเป็นเรื่องนามธรรม จับต้องยาก จะเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว แล้วถึงตอนนั้นเขาจะตามไม่ทันจริงๆ แล้ว วัดผลยาก แต่คิดว่าการสอนได้สิ่งนี้ให้พวกเขาได้คิดเอง ได้เห็นแล้วสรุป ดิฉันต้องขอบคุณทุกคนที่เป็นครู เพราะดิฉันรู้สึกว่าเขาเสียสละมาก บาง เป็นความรู้สึกจากใจ อย่างทุกครั้งที่จะจัด service เราก็คุยกันว่าไป คนเป็ น ครู เพราะมี ค วามรั ก ที่ อ ยากเห็ น เด็ ก คนหนึ่ งประสบความสำ�เร็จ ที่นี่ เช่น บ้านพักคนชรา สถานสงเคราะห์คนพิการและทุพพลภาพ หรือ เราต้องให้เกียรติเขาเพื่อให้เขามีพลังใจที่อยากจะเป็นครูที่ดี ตอนที่มา โรงเรี ย นในถิ ่ น ทุ ร กั น ดาร แล้ ว เด็ ก จะได้ อ ะไร ถ้ า สิ ่ ง ที ่ ไ ด้ ไ ม่ แ ตะใจ ทำ�ธุรกิจโรงเรียน บางคนพอรู้ก็ไม่คบดิฉัน (หัวเราะ) ไม่เหมือนตอนที่ พวกเขา ทริปนี้เราถือว่าล้มเหลว จึงอยากให้พวกเขาเริ่มที่จะทำ�ความดี งานธนาคาร แล้วคนรู้สึกว่าเราฉลาด ถึงตอนนี้ไม่รู้ว่าฉลาดกว่าเดิมหรือ เริ่มจากคนที่เรารักก่อน ถ้าคุณจะไปช่วยโลกนี้ แต่คนดูแลคนที่รักเราดูแล เปล่า แต่รู้สึกมีความสุขใจแล้วก็ happy กับสิ่งที่ได้ทำ� ดีใจทุกครั้งที่เห็น เราตั้งแต่เล็กยังไม่ได้ แล้วเราจะไปช่วยใครได้ อย่างที่เขาบอกว่าพระที่ นักเรียนเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี ไม่ต้องเรียนเก่งที่สุด แค่คิดเป็นก็มี บ้านสำ�คัญที่สุด เราบอกเด็กเริ่มที่ตรงนั้นก่อนเลย ปู่ย่าตายาย คิดว่าเขา ความสุขต้องบอกว่าส่วนหนึ่งทำ�แล้ว fulfill ความรู้สึก happy ของตัว น่าเบื่อเหรอ ลองนับวันว่าจะได้อยู่กับเขาอีกกี่วัน เริ่มจากที่บ้าน เริ่มจาก เอง เพื่อน ๆ ที่โรงเรียน แล้วสุดท้ายแล้วจะอยู่ในตัวเขา แล้วจะไปในทุกสิ่งที่ เขาทำ� ดิฉันเชื่ออย่างนั้น The People: คุณค่าและความหมายของเราคืออะไร วรรณี: ไม่เคยคิดนะ เพราะไม่ได้คิดว่าตัวเราสำ�คัญมาก แต่เราคิดว่า The People: ประสบการณ์ตอนที่ขึ้นไปพูดบน Forum of the สิ่งที่เราพยายามจะทำ�มันเป็นสิ่งที่สำ�คัญ เราแค่อยากให้ไปถึงตรงนั้น world มากกว่า ก็เลยไม่เคยคิดว่าคุณค่าของเราคืออะไร แต่เราไปคิดถึงคุณค่า วรรณี : ตอนนั ้ น ไป พู ด แทนคุ ณ พ่ อ ที ่ ง าน Forum for World ของนักเรียน ทุกวันที่เขาเรียนกับเรานั้นพวกเขาได้มากที่สุดแล้วหรือยัง Education 2019 นี ้ ม ี ข ึ ้ น มาเนื ่ อ งด้ ว ยนั ก การศึ ก ษาหลายๆ คนมี ถ้ายังไม่ได้ต้องเรียกมาคุยว่าจะต้องทำ�ยังไงถึงพยายามได้มากกว่านี้ เมื่อ ความรู ้ ส ึ ก ว่ า นั ก ศึ ก ษาจบออกมาแล้ ว ไม่ ไ ด้ ต รงตามงานที ่ ม ี แม้ แ ต่ มีโอกาสขนาดนี้แล้ว เราแค่อยากเห็นศักยภาพของทุกคนมากกว่า เลยไม่ นักศึกษาที่จบมหาวิทยาลัยดีๆ อาจไม่มีงานทำ�ด้วยซ้ำ�ไป อันนี้เขาพูด ได้คิดถึงเรื่องของตัวเองเท่าไหร่ คิดถึงเรื่องของเด็กๆ แล้วก็มีความสุขกับ ถึงในอเมริกาอะไรด้วยนะ แล้วเขาก็เลยบอกว่าโลกกำ�ลังเปลี่ยนแปลง ตรงนั้นมากกว่า ไปอย่างรวดเร็ว นักการศึกษาก็พูดแต่เรื่องการศึกษา นักธุรกิ จก็พูดแต่ เรื่องธุรกิจทำ�ไม 2 กลุ่มนี้ไม่คุยกัน เลยอยากมีเวทีให้นักธุรกิจกับนักการ อยากฝากถึ งคุ ณ ครู ว ่ า ทุ ก คนควรจะมี ค วามสุ ข แบบที ่ ดิ ฉ ั นมี เวลาเห็น ศึกษาได้มาคุยกันในระดับโลก ดิฉันเลยได้รับเชิญไปเป็นคณะกรรมการ ลูกศิษย์ประสบความสำ�เร็จ โดยเฉพาะคนที่ไม่มีใครสนใจเขาเลย คนที่ เพราะเห็นว่าพันธกิจของเราคือพยายามสร้างบุคลากรให้เป็นคนที่มีจิตใจ ทุกคนคิดว่าเขาไม่ไหวแล้ว หรือไม่มใี ครสนใจเขาแล้ว ถ้าคุณช่วยคนๆ นั้น เมตตา มีจริยธรรมที่คุณพ่อพูดว่าคนทำ�ธุรกิจ บางคนอาจจะจบ ป.4 หรือ ได้ คุณน่าจะมีความสุขที่สุด เมื่อมาเป็นครูทั้งทีควรเป็นครูคนหนึ่งที่เขา ไม่ได้จบอะไรเลยก็อาจทำ�ได้ ถ้าอ่านออกเขียนได้ อาจจะเป็นมหาเศรษฐี จำ�เราได้ตลอดชีวิต เขาอาจไม่ได้กลับมาหาเราอีก แต่เขาจะจำ�ได้ว่าเรา ใหญ่ได้ อย่าง ลี กา ชิง หรือหลาย ๆ ท่านในอดีตที่สร้างธุรกิจใหญ่โตใน คือคนนั้นแหละที่ทำ�ให้เขาอยากเรียนหนังสือ อยากเรียนวิชานี้ อยากเป็น ประเทศไทย และหลาย ๆ แห่งทั่วโลก ก็ไม่ได้จบมหาวิทยาลัยแค่พออ่าน คนดี แล้วครูทุกคนในโลกนี้ก็จะมีความสุขเอง ออกเขียนได้ ท่านพูดในเชิงธุรกิจ ซึ่งดิฉันว่าจริงไม่ต้องรอจนถึงอายุ 18 สมัยก่อนคนจบ ป.4 ก็รับราชการได้ เพราะเขาอ่านออกเขียนได้ สามารถ ศึกษาด้วยตัวเองได้ แต่สายวิชาชีพอย่างหมอไม่ใช่ เพราะหมอต้องเรียน เยอะต้องจำ�หลาย ๆ อย่าง ต้องมีความรู้ที่เป็นเทคนิค อย่าง engineer ก็ต้องรู้จริง เรามี engineer เยอะแยะที่มาเป็นนักธุรกิจ สมัยก่อนมี ACC อายุ 18-19 ก็จบมาทำ�ธุรกิจได้แล้ว ตอนนั้นยังไม่ได้มีเอแบค ยังไม่ ได้มีมหาวิทยาลัยเลย ซึ่ง ACC ก็คือจบ มส.3 ซึ่งก็สามารถจบมาประสบ ความสำ�เร็จในการทำ�ธุรกิจได้อย่างเช่น คุณก่อศักดิ์ เซเว่น เป็นต้น ส่วนมากเด็กกลุ่มนี้เขาได้เรียนรู้เยอะจริงๆ เรามีเด็กที่เริ่มกิจกรรมดีๆ เช่น ปลูกต้นไม้กับคนชรา เอาต้นไม้ไปปลูกด้วยกันทำ�กระถางด้วยกันเสร็จ แล้วก็ไปเยี่ยมต้นไม้ ดูแลต้นไม้อย่างดี เราอยากให้เขารับรู้ว่าวันนี้คุณอาจ จะเป็นเด็กๆ อาจจะยังแก้ปัญหาพวกนี้ไม่ได้ แต่วันที่เป็นผู้ใหญ่ ได้นั่งอยู่ ในจุดที่คุณตัดสินใจได้ว่าจะทำ�อะไร สามารถเลือกทำ�ในสิ่งที่มีผลบวกกับ สังคมได้ อีกเรื่องที่เราพยายามสอนเด็กเสมอ ซึ่งเป็นเรื่องที่ดิฉันเข้าไป สอนเอง คือการที่อย่าเอาตัวเราไปเปรียบเทียบกับคนอื่น แล้วจะมีความ สุขที่สุด ถ้าอยากเรียนเก่งก็ตั้งเป้าของเราไม่ต้องไปแข่งกับเพื่อน เพื่อนมี เอาไว้เป็นเพื่อนไม่ต้องมีเอาไว้แข่งขัน จะโชคดีขนาดไหนถ้ามีเพื่อนที่รู้จัก กันตั้งแต่เล็กจนโตแล้วเป็นเพื่อนกันยาวนาน คนเดียวที่ต้องแข่งด้วยคือ ตัวเราเอง ตั้งเป้าแล้วก็สู้ เราอยากจะเห็นนักเรียนของเราทุกคนเป็นอย่าง นี้
CONCORDIAN IMPACT - ISSUE 29
The People : https://thepeople.co/varnnee-chearavanont-ross-concordian-international-school/
47