raksthai tsunami revolving fund

Page 1

กรณีศกึ ษาบทเรียนการฟื ้ นฟูพนื ้ ที่ประสบภัย ผ่ านกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพหลังสึนามิ

กองทุนฟื ้ นฟูอาชีพผู้ประสบภัยพิบัติสึนามิภาคใต้ คือการรวมกลุ่มของคนในชุมชนที่ได้ รับผลกระทบจากภัย พิบั ติ สึ น ามิ เพื่ อ ก่ อ ตั ง้ กองทุ น หมุ น เวี ย นฟื ้ น ฟู อ าชี พ และความเป็ นอยู่ ข องคนในชุ ม ชน โดยได้ รั บ การ สนับสนุนเงินทุนและกระบวนการการดาเนินงานจากมูลนิธิรักษ์ ไทย มีวัตถุประสงค์ ในครั ง้ แรกเพื่อสนับสนุน เงินทุนในการฟื ้ นฟู อาชี พแก่ ผ้ ู ประสบภัยผ่ านการรวมกลุ่ มและการจั ดตัง้ เป็ นกองทุนหมุ นเวี ยน ต่ อมาได้ มี วัตถุประสงค์ เพิ่มเติมเพื่อสร้ างวินัยทางการเงินโดยการส่ งเสริ มการออมทรั พย์ พัฒนาความสามารถในการ บริหารเงินกู้อย่ างมีประสิทธิภาพและก่ อให้ เกิดผลผลิต เสริ มสร้ างความสามัคคีและความร่ วมมือร่ วมใจของ คนในชุ ม ชน สร้ างความเข้ ม แข็ งทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของชุ ม ชนอั นน าไปสู่ ก ารพึ่ ง ตั ว เองของชุ ม ชน กองทุนหมุนเวียนยังมีบทบาทในการช่ วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก้ ไขปั ญหาการขาดแคลนเงินทุนเพื่อการ ประกอบอาชีพ และยังเป็ นทางเลือกที่สาคัญในการลดปั ญหาการกู้เงินนอกระบบ และการกู้เงินจากสถาบัน การเงินที่จะต้ องใช้ หลักทรัพย์ คา้ ประกัน เช่ นที่ดนิ และอื่นๆ ภายหลังจากสิน้ สุดโครงการโดยมูลนิธิรักษ์ ไทยกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพผู้ ประสบภัยพิบัติสึนามิ ได้ รวมตัวกันใน นามเครื อข่ ายกองทุนผู้ ประสบภัยพิบัติสึนามิ จังหวัดกระบี่ พังงา ระนองโดยมีคณะกรรมการเครื อข่ ายที่มี จากการคัดเลือกและเสนอชื่อโดยคณะกรรมการเครื อข่ ายระดับจังหวัดขึน้ มา โดยมีบทบาทในการให้ การ ช่ วยเหลือ และให้ คาปรึ กษาในการบริ หารจัดการกองทุนที่มีปัญหา เช่ นปั ญหาด้ านการคืนเงินของสมาชิก ปั ญหาด้ านการบัญชี หรือการประสานงานกับหน่ วยงาน และการขับเคลื่อนกิจกรรมกองทุนร่ วมกัน


สถานการณ์ ปัจจุบันของกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพยังเป็ นแหล่ งให้ การช่ วยเหลือและบริ การทางการเงินของชุมชน ยัง เป็ นที่พ่ ึงพิงของคนในชุมชนในช่ วงที่ประสบปั ญหาทางการเงินและการประกอบอาชีพ เนื่องจากระบบการ บริหารจัดการของกองทุนที่เน้ นให้ เกิดความคล่ องตัวในการบริการ เข้ าถึงง่ าย หลักเกณฑ์ การบริหารจัดการที่ เกิดจากการมีส่วนร่ วมของสมาชิกกองทุน เช่ น สามารถกู้เงินได้ โดยไม่ ต้องมีหลักทรั พย์ มาคา้ ประกั น ไม่ มี ดอกเบีย้ และบางกองทุนยังมีโอกาสได้ รับสวัสดิการและผลกาไรจาการประกอบการของกองทุนอีกด้ วย ทา ให้ บางกองทุนมีเงินหมุนเวียนในกองทุนเป็ นเงินหลายล้ านบาท และสามารถขยายผลการดาเนินงานไปสู่งาน ด้ า นอื่น เช่ น กองทุนบ้ า นขุนสมุทร ต.เกาะกลาง อ.เกาะลั นตา จังหวั ดกระบี่ ที่มี พัฒนาการดี ขึน้ จากการ ทางานกองทุนขยายเป็ นเพิ่มเป็ นร้ านค้ าชุมชน มีการจัดสวัสดิการแก่ สมาชิกกองทุน มอบทุนการศึกษาแก่ เยาวชนในชุมชน และยังมีการสนับสนุนกิจกรรมเพื่อสาธารณะของชุมชนทุกปี โดยมีผลกาไรจากกองทุนและ กิจ กรรมด้ า นอื่ นๆที่ต่อ ยอดจากกองทุน กองทุนบ้ า นไหนหนั ง ต.เขาคราม อ.เมื อ ง จ.กระบี่ มี ก ารลงทุ น จาหน่ ายทองแก่ สมาชิกในระบบเงินผ่ อนเพื่อเก็งกาไร สนับสนุ นกลุ่มอาชีพในชุมชนกลุ่มเย็บผ้ า กลุ่มเลีย้ ง ปลา การจั ดสวั สดิการด้ านสุ ขภาพและการศึกษาแก่ คนในชุ มชน นอกจากนี ย้ ังให้ ความสนใจกั บการดูแล สิ่งแวดล้ อมชุมชนมีการจัดตัง้ ธนาคารกล้ าไม้ เพื่อส่ งเสริ มให้ คนในชุมชนปลูกต้ นไม้ ในพืน้ ที่ว่างตามหัวไร่ปลาย นา เพื่อเป็ นไม้ ใช้ สอยในอนาคตลดการตัดไม้ ในพืน้ ที่อนุรักษ์ ส่ งเสริ มกิจกรรมการอนุรักษ์ ส่ ิงแวดล้ อมควบคู่ กับการส่ งเสริมอาชีพของคนในชุมชน ปั จจัยที่ทาให้ กองทุนไม่ เดินหน้ าหรือหยุดชะงัก พบว่ าสถานการณ์ ปัญหาทางเศรษฐกิจที่ถดถอย ราคาผลผลิต ทางการเกษตรที่ลดต่าลงส่ งผลให้ การดาเนินงานของกองทุนก็เริ่มถดถอยไปด้ วย คนในชุมชนมีรายได้ ลดลงทัง้ ภาคการเกษตร และการประมง ส่ งผลให้ อัตราการคืนเงินของกองทุนโดยส่ วนใหญ่ ลดลงไปมาก บางกองทุน หยุดการดาเนินงานในช่ วง 1-2 ปี ทัง้ หยุดการชาระและขาดการออมรวมถึงสถานการณ์ ของกองทุนฯอื่นๆที่ ดาเนินการใชช่ วงสึนามิท่ ผี ่ านมาต่ างก็ยุตบิ ทบาทลงไปเกือบทัง้ หมด รวมทัง้ กองทุนที่สนับสนุนโดยภาครั ฐ เช่ น กองทุนสตรี ผ่ านธนาคารออมสิน กองทุนหมู่บ้าน ฯลฯ ต่ างก็มีปัญหา เป็ นผลให้ สมาชิกโดยส่ วนใหญ่ มองไม่ เห็นเห็นความสาคัญ และนาไปสู่การไม่ ส่งคืนเงินกู้กองทุนฯ

“ในสมัยก่อนภูมิปัญญาจะใช้วสั ดุธรรมชาติ เอาต้นไม้ กิง่ ไม้ ผูก กับหินถ่วงเป็ นสมอ ซักพักก็มีปลา จากนัน้ ก็ไปดักเอา แต่ถ้าอยาก ให้มีปลานานๆ เราต้องมีกติกา”


ปี หลังสึนามิ มูลนิธิรักษ์ ไทยได้ จดั ทาโครงการศึกษา บทเรี ยนการฟื น้ ฟูพื ้นที่ภยั พิบตั ิผ่านกองทุน ฟื น้ ฟูสึนามิขึ ้น เพื่อศึกษาบทเรี ยนการฟื น้ ฟูพื ้นที่ภยั พิบตั ผิ า่ นกองทุนฟื น้ ฟู ผู้ประสบภัยสึนามิ พบว่ากองทุนฟื น้ ฟูอาชีพ ผู้ประสบภัย สึนามิยงั คงมีการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องจนถึงปั จจุบนั ถึ ง 54 กอง ทุ น จากทั ง้ หมด 134 กอง ทุ น ที่ มี การ ดาเนินการในขณะนัน้ และครึ่งหนึ่งจาก 54 กองทุนฯ มี แนวโน้ ม ที่ ดีใ นการที่ เ ป็ นสถาบัน การเงิ นขนาดเล็ กของ ชุมชนที่ยงั่ ยืน ทังนี ้ ้ในการประเมินผลการดาเนินงานของ กองทุนแบบมีส่วนร่ วม (Participatory Appraisal Tool - PAT) มี ป ระเด็น ในการศึก ษาข้ อมูล ประกอบด้ วย การปฏิ บั ติ ห น้ าที่ ข องกรรมการ การ บริ หารงานและความยั่งยื นของกองทุน การดาเนินงาน กองทุน การมี ส่ว นร่ ว มของผู้ห ญิ ง และการเติบ โตของ กองทุน ผ่า นแบบฟอร์ ม และการสัม ภาษณ์ ท าให้ เ ห็ น จุ ด อ่ อ นจุ ด แข็ ง ของกองทุ น ทั ง้ หมด และน าไปสู่ ก าร พิจ ารณาปรับปรุ ง เพื่ อให้ เ กิดการพัฒ นาไปสู่กองทุนที่ มี ระบบการบริหารจัดการที่ดีตอ่ ไปในอนาคต 10

ข้ อค้ นพบที่สาคัญๆที่ยังทาให้ กองทุนฟื ้ นฟูอาชีพผู้ประสบภัยสึนามิยังดาเนินการอยู่ต่อเนื่องถึงปั จจุบัน ทางด้ านสังคม พบว่ าเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ คนที่ขาดโอกาสหรื อไม่ สามารถเข้ าถึงแหล่ งเงินทุนได้ มีโอกาสใน การกู้เงินจากกองทุนฟื ้ นฟูอาชีพ เช่ น ผู้พกิ าร คนยากจน คนพลัดถิ่น เจตนาหนึ่งของการตัง้ กองทุนหมุนเวียน นอกจากช่ วยเหลือ ผู้ ประสบภัยสึนามิแล้ ว ยังให้ ความสาคัญกับคนในชุมชนที่ไม่ สามารถเข้ าถึงแหล่ งเงินทุน โดยเฉพาะเงินกู้ เพื่อการลงทุนที่เป็ นทางการได้ การส่ งเสริ มให้ เกิดการสร้ างงานในชุมชน มีการปล่ อยเงินกู้ ให้ กับกลุ่ มอาชีพในชุมชน เป็ นฐานก่ อให้ เกิดกลุ่ม อาชีพต่ างๆเช่ น กลุ่มถักกระเป๋ าจากไหมเชือกร่ ม กลุ่ ม ประดิษฐ์ ดอกไม้ กลุ่มเลีย้ งผึง กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษเป็ นต้ น


กองทุนสวัสดิการที่ถือเป็ นบทบาทอย่างสาคัญในการส่งเสริ มคุณภาพชีวิตให้ กับสมาชิก เกือบทุกกองทุนมีการจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการ กรณีเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้ กบั สมาชิกที่มีการออมทรัพย์กบั กองทุนอย่างสม่าเสมอ เสมือนเป็ นการสร้ าง แรงจูงใจให้ กบั สมาชิกในการออมไปด้ วยในตัว การพัฒ นาธุรกิ จของกองทุน มี การปรั บรู ปแบบของกองทุนการนาเงินออมของสมาชิ กนาเงินไปพัฒนาธุรกิจ ที่สร้ าง ประโยชน์ได้ โดยการจัดทากองทุนปุ๋ยเกิดขึ ้น แทนการกู้เงินกองทุนหลังจากเงินหยุดนิ่ง ช่วยให้ กลุ่มมีกาไร และช่วยลด ต้ นทุนในด้ านการเกษตรของสมาชิก มีการต่อยอดกองทุน การเพิ่มทุน และการสร้ างรายได้ เพื่อขยายกิจการของกองทุน เป็ นประเด็นที่สาคัญที่กองทุนทุกกองทุนตังเป ้ ้ าที่จะมีการเพิ่มทุนส่วนหนึ่งมาจากการนาผลกาไรจากการประกอบการ ส่วนหนึง่ มาเป็ นเงินเพิ่มเข้ าไปในกองทุน การบริหารจัดการกองทุน มีการปรับปรุงโครงสร้ างกรรมการ การเปิ ดโอกาสให้ คนรุ่นใหม่เข้ ามามีส่วนร่วม พบว่ากองทุน ที่มีการปรับปรุงโครงสร้ างกรรมการ และเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการจากเดิมที่เริ่ มต้ นมาเกือบ 10 ปี มีส่วนสาคัญที่ทาให้ เกิดความต่อเนื่องและนาไปสูค่ วามยัง่ ยืน โดยเฉพาะการนาคนรุ่นใหม่ๆ คนหนุม่ คนสาวเข้ ามาทังเป็ ้ นคณะกรรมการ และ เป็ นคณะทางานของกองทุนการปรับปรุงระบบเอกสาร สิ่งสาคัญที่สดุ ของการบริ หารกองทุนคือเรื่ องเอกสาร และระบบ บัญชี หลายกองทุนไม่สามารถจัดการได้ ทาให้ กองทุนต้ องประสบปั ญหา จึงมีการพัฒนาระบบเอกสารขึน้ ใหมเพื่อให้ สอดคล้ องกับบริบทของกองทุน นอกจากนี ้ยังมีการใช้ หลักศาสนาในการบริ หารจัดการกองทุน จากการที่มีกองทุนที่ต้อง ยุตลิ งด้ วยเหตุผลที่ไม่สามารถบริหารจัดการเงินกองทุนได้ นนั ้ การใช้ หลักศาสนาถูกนามากากับใช้ ร่วมกับระเบียบกองทุน เพื่อให้ สมาชิกใช้ เป็ นหลักในการบริ หารจัดการร่ วม แนวทางการขึ ้นทะเบียนกับหน่วยงานที่เป็ นทางการ รวมทังการจด ้ ทะเบียนเป็ นนิตบิ คุ คล เพื่อขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานที่ขอขึ ้นทะเบียน รวมทังการกระท ้ านิติกรรมต่างๆเป็ นปั จจัย ที่สาคัญที่จะนาไปสูค่ วามยัง่ ยืนในอนาคต

นอกจากนีย้ ังพบว่าผู้หญิ งมีบทบาทอย่างยิ่งกับการบริ หาร จัดการกองทุน กองทุนที่มีระบบการบริ หารจัดการที่ดีพบว่า ส่วนหนึง่ มาจากการทาหน้ าที่ของคณะกรรมการที่เป็ นผู้หญิง ที่ มี บ ทบาทอย่ า งส าคัญ ในการขับ เคลื่ อ นกองทุ น ทัง้ ใน บทบาทของคณะกรรมที่มีหน้ าที่ในการบริ หารและติดตาม กองทุน โดนเฉพาะในการทาหน้ าที่ทางด้ านเอกสารการเงิน บัญ ชี ซึ่ง เป็ นเรื่ อ งละเอี ย ดอ่อนและส าคัญ อย่า งยิ่ ง ในการ บริหารกองทุนฯ กลไกที่สาคัญอีกส่วนหนึ่งคือเครื อข่ายกองทุนฟื น้ ฟูอาชีพ ระนอง พังงา กระบี่ ที่จดั ตังขึ ้ ้นเพื่อเป็ นกลไกในการประสาน ความร่ วมมื อระหว่างกองทุน มี ส่วนอย่างส าคัญ ในการให้ คาแนะน า และติดตามการบริ หารงานของแต่ล ะกองทุน แต่พบว่ากลไกดังกล่าวยังมีการทางานแบบหลวมๆ ซึ่งหากมีการยกระดับให้ มีโครงสร้ างและระบบการทางานที่เข้ มแข็ง จะสามารถเป็ นส่วนสาคัญในการขับเคลื่อนงานของกองทุนในอนาคตได้ เป็ นอย่างดี สุดท้ ายพบว่ารู ปแบบการของการช่วยเหลือฟื ้นฟูผ้ ูประสบภัยผ่านการดาเนินงานในรู ปแบบของกองทุนนัน้ นอกจาก สามารถที่เปิ ดให้ ผ้ ปู ระสบภัยได้ มีส่วนร่ วมในการพิจารณาแนวทางการช่วยเหลือฟื น้ ฟูแล้ ว ยังเป็ นโอกาสที่สาคัญของ ชุมชนที่จะใช้ ประโยชน์จากกองทุนฯมาเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาชุมชนต่อไปในอนาคต และนี่ถือเป็ นบทเรี ยนที่สาคัญ ของการฟื น้ ฟูพื ้นที่ประสบภัยที่เปิ ดโอกาสให้ ผ้ ปู ระสบภัยมีสว่ นร่วมในการจัดการทรัพยากรของเงินบริ จาคที่ได้ รับมาอย่าง คุ้มค่าที่สดุ และเกิดความยัง่ ยืนมาจนถึงปั จจุบนั มูลนิธิรักษ์ไทย 193/3 หมูท่ ี่ 7 ต.ไสไทย อ.เมือง จ.กระบี่ 81000 โทรศัพท์:075 810186 www.raksthai.org, www.greenforall.net


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.