มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐและภาคเอกชน 2559-2560 ฉบับที่ 1

Page 1


สารบัญ มาตรการ

สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 1. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทย 2. โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ 3. มาตรการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้งและมาตรการเพิ่มขีดความสามารถภาคการเกษตร 4. มาตรการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผ่านกองทุนส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม 5. โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า (Policy Loan) 6. โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าเพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สำหรับผู้ประกอบกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 7. มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองตามแนวทางประชารัฐ 8. โครงการคํ้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 2 9. โครงการคํ้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการใหม่และนวัตกรรม (Start-up & Innovation) 10. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม 11. มาตรการสนับสนุนวิสาหกิจเริ่มต้น (Start Up) 12. การปรับปรุงการจัดเก็บภาษีจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ 13 โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ

หน้า 1 3 5 7 9 11 13 15 17 19 21 23 25

กรมสรรพากร 14. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุนให้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ 15. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดทำบัญชีของ SMEs 16. มาตรการเพื่อส่งเสริมให้บุคคลธรรมดาประกอบธุรกิจในรูปนิติบุคคล 17. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวและจัดอบรมสัมมนาภายในประเทศ

27 29 31 33


สารบัญ มาตรการ 18. มาตรการปรับปรุงการยกเว้นเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง ในอสังหาริมทรัพย์โดยไม่มีคำตอบแทน 19. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการดำเนินธุรกิจของ SMEs (มาตรการพี่ช่วยน้อง) มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบท 20. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการศึกษา 21. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคให้แก่กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 22. มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินฝากประเภทสงเคราะห์ชีวิต 23. การปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศ

หน้า 35 37 39 41 43 45

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 24. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 25. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบคลัสเตอร์ 26. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis) 27. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมอากาศยาน ละอุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์ 28. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุน 7 ปี (2558-2564) 29. มาตรการส่งเสริมการลงทุนท้องถิ่น 30. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ 31. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม 32. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต 33. นโยบายส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) 34. มาตรการส่งเสริมการลงทุนภายใต้โครงการเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” 35. มาตรการใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ

47 49 51 51 52 55 57 59 61 63 65 67

สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย 35. โครงการสนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง

69



รายละเอียดเพิ่มเติม 1. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทย คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ 2559 ดังนี้ 1. ยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม สำหรับการนำเขามาเพื่อขาย ไดแก เพชร พลอย ทับทิม มรกต บุษราคัม โกเมน โอปอล นิล เพทาย ไพฑูรย หยก ไขมุก และอัญมณีที่มีลักษณะทำนองเดียวกัน เฉพาะที่ยังมิไดเจียระไน 2. หักภาษีเงินได ณ ทีจ่ า ย รอยละ 1 สำหรับบุคคลธรรมดา ทีม่ เี งินไดพงึ ประเมินจากการขายอัญมณีดงั กลาว และ ไดรับการยกเวนไมตองนำเงินไดพึงประเมินจากการขายอัญมณีดังกลาวมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได ตามประมวลรัษฎากรทั้งนี้ ใหมีผลตั้งแตวันที่กฎหมายมีผลบังคับใชมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับไทย



รายละเอียดเพิ่มเติม 2. โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2559 ดังนี้ 1. คุณสมบัตขิ องผูม สี ทิ ธิลงทะเบียน ดังนี้ 1.1. วางงานหรือมีรายไดทง้ั สิน้ ไมเกิน 100,000 บาทตอป และเปนรูปแบบสมัครใจ (Voluntary Basis) 1.2. มีอายุตง้ั แต 18 ปขน้ึ ไป และมีสญ ั ชาติไทย 2. กลไกการดำเนินการ 2.1. ลงทะเบียน ณ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร ธนาคารออมสิน และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ระหวางวันที่ 15 กรกฎาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2559 สำหรับปตอ ๆ ไปใหลงทะเบียนระหวางวันที่ 1 ถึงวันที่ 30 กันยายน ของแตละป 2.2. สถาบันการเงินตามขอ 1) สงขอมูลอิเล็กทรอนิกสไปยังกรมสรรพากร เพือ่ จัดเก็บขอมูล และทำการตรวจสอบ ความถูกตองในภายหลัง (Post Audit) 2.3. กรมสรรพากรเชือ่ มโยงขอมูลไปยังฐานขอมูลทะเบียนราษฎร เพือ่ ประมวลขอมูลผูม รี ายไดนอ ย แลวนำไปใช ในการจัดสวัสดิการสังคมภายใตโครงการ e-Payment ภาครัฐในระยะตอไป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ วันที่ 1 -30 กันยายน ของแตละป



รายละเอียดเพิ่มเติม 3. มาตรการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาภัยแล้งและมาตรการเพิ่มขีดความสามารถภาคการเกษตร คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2559 ดังนี้ 1. โครงการสินเชือ่ เพือ่ เปนคาใชจา ยฉุกเฉินและจำเปนของเกษตรกรทีป่ ระสบภัยแลง ป 2558/2559 - วงเงินรวมทัง้ สิน้ 6,000 ลานบาท โดยใหสนิ เชือ่ ไมเกิน 12,000 บาทตอราย - กำหนดชำระคืนเงินกูไ มเกิน 12 เดือน - อัตราดอกเบีย้ เงินกูร อ ยละ 0 ตอป ในระยะเวลา 6 เดือนแรก - ตัง้ แตเดือนที่ 7 - 12 คิดอัตราดอกเบีย้ รอยละ 4 ตอป 2. โครงการสินเชือ่ 1 ตำบล 1 SME เกษตร เพือ่ สรางความยัง่ ยืนของภาคเกษตรไทย - วงเงินสินเชือ่ รวมทัง้ สิน้ 72,000 ลานบาท ใหแกผปู ระกอบการภาคการเกษตร ประกอบดวยผูป ระกอบการรายคน วิสาหกิจชุมชน สหกรณการเกษตร หรือบริษทั ชุมชน จำนวน7,200 ราย วงเงินกูไ มเกิน 20 ลานบาทตอราย - ธ.ก.ส. ใหสนิ เชือ่ ระยะเวลาเงินกูไ มเกิน 10 ป ในอัตราดอกเบีย้ รอยละ 4 ตอป เปนเวลาไมเกิน 7 ป และในปท่ี 8 - 10 อัตราดอกเบีย้ ปกติตามชัน้ ลูกคา 3. โครงการชุมชนปรับเปลีย่ นการผลิตสูว กิ ฤติภยั แลง - วงเงินสินเชือ่ รวมทัง้ สิน้ 15,000 ลานบาท สำหรับเกษตรกรในพืน้ ทีป่ ระสบวิกฤติภยั แลงในลุม แมนำ้ เจาพระยา และพืน้ ที่ ลุม แมนำ้ แมกลอง จำนวน 26 จังหวัดจำนวน 100,000 ราย สำหรับใชเปนคาเชาทีด่ นิ คาปจจัยการผลิต และคาจางแรงงาน ใหกบั เกษตรกร - โดยกำหนดวงเงินกูก ลุม ละไมเกิน 3 ลานบาท อัตราดอกเบีย้ รอยละ 0.01 ตอป กำหนดชำระคืนเงินกูไ มเกิน 12 เดือน



รายละเอียดเพิ่มเติม 4. มาตรการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผ่านกองทุนส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ดังนี้ 1. รัฐบาลอุดหนุนงบประมาณใหกับกองทุนฯ เพิ่มเติม จำนวน 2,000 ลานบาท 2. กำหนดให สสว. นำเงินทีไ่ ดรบั อุดหนุนแยกบัญชีเปนการเฉพาะ เพือ่ ใชในการอุดหนุน รวมกิจการรวมทุน หรือลงทุน ใหกบั ผูป ระกอบกิจการ SMEs ทีป่ ระสบปญหาหรือผูป ระกอบกิจการ SMEs ทีเ่ ขากระบวนการ ฟนฟูกิจการตามพระราชบัญญัติลมละลาย (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559 3. ใหมคี ณะกรรมการฟน ฟูกจิ การ SMEs ซึง่ ประกอบดวยผูแ ทนจากทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนเพือ่ กำหนด นโยบายในการบริหารจัดการเงินที่ไดรับอุดหนุน กำหนดหลักเกณฑ และวิธีการใหความชวยเหลือ ผูประกอบกิจการ SMEs ที่ประสบปญหา บริหารจัดการหรือมอบหมายใหสถาบันการเงินเปนผูบริหาร จัดการเงินที่ไดรับอุดหนุน



รายละเอียดเพิ่มเติม 5. โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่า (Policy Loan)

คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 เห็นชอบใหขยายระยะเวลาโครงการ (Policy Loan) โดยมีรายละเอียดของโครงการ ดังนี้ SMEs ที่สนใจสามารถติดตอขอสินเชื่อไดกับ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย (ธพว). โดยจะไดรับอัตราดอกเบี้ยพิเศษ ปที่ 1-3 รอยละ 4 ตอป สวนปที่ 4-5 เปนไปตามที่ ธพว. กำหนด ระยะเวลากูยืมไมเกิน 5 ป และให บสย.คํ้าประกันสินเชื่อ ระยะเวลาในการดำเนินการลงทะเบียนโครงการ Policy Loan ตัง้ แตวนั ทีค่ ณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบ (28 มิถุนายน 2559) จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หรือจนกวาจะเต็มวงเงิน แลวแตอยางหนึ่ง อยางใดจะถึงกอน



รายละเอียดเพิ่มเติม 6. โครงการสินเชื่อดอกเบี้ยตํ่าเพื่อปรับเปลี่ยนเครื่องจักรและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สำหรับผู้ประกอบกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 28 มิถนุ ายน 2559 ดังนี้ โครงการสินเชือ่ ดอกเบีย้ ต่ำเพือ่ ปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรและเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต สำหรับผูป ระกอบกิจการ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) ภายใตวงเงิน 30,000 ลานบาท เพื่อเปนสินเชื่อระยะยาว (L/T) เพือ่ การลงทุน หรือการตอเติมเปลีย่ นแปลง แตไมใชเปนการซอมแซมใหคงสภาพเดิม ใหแกผปู ระกอบกิจการ SMEs โดยเปนนิตบิ คุ คลทีจ่ ดทะเบียนในประเทศซึง่ มีบคุ คลสัญชาติไทยถือหุน เกินกวารอยละ 50 ของทุนจดทะเบียน ธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงินเฉพาะกิจที่เขารวมโครงการ ใหสินเชื่อแกผูประกอบกิจการ SMEs เฉพาะการปลอยสินเชือ่ ใหม โดยมีเงือ่ นไขไมให Refinance หนีเ้ ดิม ในอัตราดอกเบีย้ รอยละ 4 ตอป ระยะเวลา ใหสนิ เชือ่ ไมเกิน 7 ป ระยะเวลาในการดำเนินการ สามารถยืน่ ขอสินเชือ่ ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2559 หรือจนกวาวงเงินจะถูกจัดสรร หมด แลวแตอยางใดอยางหนึง่ ถึงกอน



รายละเอียดเพิ่มเติม 7. มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้มีรายได้น้อยในชุมชนเมืองตามแนวทางประชารัฐ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2559 โดยประกอบดวย 3 โครงการ ดังนี้ 1. มาตรการสินเชื่อประชารัฐเพื่อประชาชน โดยใหสินเชื่อผูประกอบอาชีพอิสระรายยอยทั่วไป รายละไมเกิน 50,000 บาท กำหนดระยะเวลาชำระคืนเงินกู 5 ป อัตราดอกเบีย้ เงินกูใ นปท่ี 1 รอยละ 0 ตอเดือน และในปท่ี 2 - 5 รอยละ 1 ตอเดือน โดยเงื่อนไขนี้จะสิ้นสุดในวันที่ 31 ธันวาคม 2559 2. มาตรการประชารัฐเพือ่ แกไขปญหาหนีส้ นิ ประชาชนภายใตนโยบายรัฐบาล โดยพักชำระเงินตน และชำระ เฉพาะดอกเบีย้ ไดนานสูงสุดเปนระยะเวลา 3 ป ขยายระยะเวลาชำระหนีเ้ พิม่ ไดเทากับระยะเวลาพักชำระเงินตน หรือขยายเวลาการชำระหนี้ได 2 เทาของระยะเวลาคงเหลือตามสัญญาเงินกู สูงสุดไมเกิน 20 ป ตามเงื่อนไข ของสินเชื่อแตละประเภท ทั้งนี้ สามารถติดตอขอเขารวมมาตรการภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2559 3. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาอาชีพและสรางความรูทางการเงินแกผูประกอบอาชีพรายยอย ในชุมชนเมือง โดยจัดอบรมหลักสูตรการใหความรูทางการเงินแกบุคคลในครอบครัวของประชาชนฐานราก และการพัฒนาและสงเสริมอาชีพใหแกผปู ระกอบการรายยอย ผูป ระกอบอาชีพอิสระ หรือผูท ส่ี นใจเขารับการอบรม จำนวน 150,000 ครอบครัว ครอบครัวละ 1 คน กระจายตามพื้นที่ทุกจังหวัดทั่วประเทศ โดยจะมีการจัดอบรม ในชวงเดือน สิงหาคม-ธันวาคม 2559



รายละเอียดเพิ่มเติม 8.โครงการคํ้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการMicro Entrepreneursระยะที่ 2

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติโครงการเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ 2559 ดังนี้ - โครงการค้ำประกันสินเชือ่ เพือ่ ผูป ระกอบการ Micro Entrepreneurs ระยะที่ 2 วงเงิน 13,500 ลานบาท ซึง่ ตองเปนผูป ระกอบการ Micro Entrepreneurs ทีม่ ที รัพยสนิ ถาวร (ไมรวมทีด่ นิ ) ไมเกิน 5 ลานบาท - โดย บสย. รับค้ำประกันตอรายสูงสุดไมเกิน 200,000 บาท - ระยะเวลาการค้ำประกัน 10 ป - จายคาประกันชดเชยสูงสุด ไมเกินรอยละ 20 บวกกับคาธรรมเนียมที่ไดรับ - รัฐบาลจายคาธรรมเนียมแทนผูประกอบการในปแรก ระยะเวลาในการดำเนินการ ผูป ระกอบการสามารถรับคำขอค้ำประกันไดจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 9. โครงการคํ้าประกันสินเชื่อเพื่อผู้ประกอบการใหม่และนวัตกรรม (Start-up & Innovation)

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 5 กรกฎาคม 2559 ดังนี้ - วงเงินค้ำประกันสินเชือ่ รวม 10,000 ลานบาท - ระยะเวลาค้ำประกันสินเชือ่ สูงสุดไมเกิน 10 ป - โดยกำหนดวงเงินค้ำประกันสินเชือ่ สูงสุดตอราย SMEs - ประเภทบุคคลธรรมดาไมเกิน 1 ลานบาท - ประเภทนิตบิ คุ คลสำหรับกลุม Start-up ไมเกิน 5 ลานบาทตอราย - กลุม Innovation & Technologyไมเกิน 20 ลานบาทตอราย - โดย บสย. คิดคาธรรมเนียมค้ำประกันในอัตรารอยละ 1-2 ตอป ของวงเงินค้ำประกันสินเชือ่ และรัฐบาล รับภาระจายคาธรรมเนียมแทนผูป ระกอบการในป แรก ระยะเวลาในการดำเนินการถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 หรือจนกวาจะเต็มวงเงิน แลวแตอยางหนึง่ อยางใดจะถึงกอน



รายละเอียดเพิ่มเติม 10. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 15 มีนาคม 2559 ดังนี้

1. คำนิยาม “วิสาหกิจเพือ่ สังคม”หมายถึงบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลซึง่ ประกอบกิจการเกีย่ วกับการผลิตสินคา การใหบริการ หรือ การอืน่ ๆ โดยมุง สงเสริมการจางงานในทองถิน่ ทีม่ วี สิ าหกิจเพือ่ สังคมตัง้ อยู หรือมีเปาหมาย อยางชัดเจนตั้งแตแรกเริ่มในการแกปญหาและพัฒนาชุมชน สังคม หรือสิ่งแวดลอมเปนหลัก มิใชการสรางกำไร สูงสุดตอผูถ อื หุน หรือผูเ ปนหุน สวน ทัง้ นี้ จะตองนำผลกำไรไมนอ ยกวารอยละ 70 ไปลงทุนในกิจการ หรือใชเพือ่ ผลประโยชนของเกษตรกร ผูย ากจน คนพิการ ผูด อ ยโอกาส หรือใชเพือ่ ประโยชนสว นรวมอืน่ ๆ 2. สิทธิประโยชนทางภาษี 2.1 สิทธิประโยชนทางภาษีสำหรับวิสาหกิจเพือ่ สังคม ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิของวิสาหกิจ เพื่อสังคมในแตละรอบระยะเวลาบัญชีทั้งนี้ เฉพาะวิสาหกิจเพื่อสังคมที่นำผลกำไรทั้งหมดไปลงทุนในกิจการ หรือใชเพื่อประโยชนของเกษตรกร ผูยากจน คนพิการ ผูดอยโอกาส หรือใชเพื่อประโยชนสวนรวมอื่นๆ โดยไมมกี ารจายเงินปนผล


รายละเอียดเพิ่มเติม 10. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคม (ต่อ) 2.2 สิทธิประโยชนทางภาษีสำหรับผูส นับสนุนวิสาหกิจเพือ่ สังคมทีเ่ ปนบริษทั 2.2.1 กำหนดใหบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลสามารถหักรายจายเงินลงทุนในหุน สามัญของวิสาหกิจเพือ่ สังคม ตามจำนวนทีล่ งทุนจริง ทัง้ นีเ้ ฉพาะกรณีทบ่ี ริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลถือหุน สามัญของวิสาหกิจเพือ่ สังคมไว จนกวาบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลนัน้ หรือวิสาหกิจเพือ่ สังคมเลิกกิจการ 2.2.2 กำหนดใหบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลสามารถหักรายจายเงินทีม่ อบใหหรือทรัพยสนิ ทีโ่ อนใหวสิ าหกิจ เพือ่ สังคมนำไปใชในกิจการหรือใชเพือ่ ประโยชนของสังคมโดยไมมคี า ตอบแทนตามจำนวนทีจ่ า ยจริง แตเมือ่ รวม กับรายจายเพือ่ การกุศลสาธารณะแลวตองไมเกินรอยละ 2 ของกำไรสุทธิกอ นหักรายจายเพือ่ การกุศลสาธารณะ ทั้งนี้ หากจายเงินดังกลาวใหแกผูถือหุนหรือผูเปนหุนสวนไมเกินรอยละ 30 ของกำไรสุทธิในแตละ รอบระยะเวลาบัญชีผูสนับสนุนวิสาหกิจเพื่อสังคมจะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีตามขอ 2.2 แตหากวิสาหกิจ เพือ่ สังคมไมมกี ารจายเงินปนผล วิสาหกิจเพือ่ สังคมจะไดรบั สิทธิประโยชนทางภาษีตามขอ 2.1 และผูส นับสนุน วิสาหกิจเพื่อสังคมจะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษีตามขอ 2.2



รายละเอียดเพิ่มเติม 11. มาตรการสนับสนุนวิสาหกิจเริ่มต้น(Start Up) คณะรัฐมนตรีมมี ติเมือ่ วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ 2559 แตงตัง้ คณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจเริม่ ตนแหงชาติ (National Start Up Committee) และการจัดตัง้ กองทุนเพือ่ รวมลงทุนกับวิสาหกิจเริม่ ตน (Start Up) ดังนี้ 1. แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจเริ่มตนแหงชาติ (National Start Up Committee) โดยมี ปลัดกระทรวงการคลังเปนประธานและประกอบดวยผูแทนจากภาครัฐและผูทรงคุณวุฒิรวมกันกำหนด ยุทธศาสตรหลัก (Grand Strategy) เพือ่ มุง เนนการแกไขปญหาวิสาหกิจเริม่ ตน (Start Up) ของประเทศ 2. จั ด ตั ้ ง กองทุ น เพื ่ อ ร ว มลงทุ น กั บ วิ ส าหกิ จ เริ ่ ม ต น (Start Up) โดยมี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ สนั บ สนุ น ในดานแหลงเงินทุนใหกับวิสาหกิจเริ่มตน (Start Up) เปนการเฉพาะซึ่งจะจัดตั้งกองทุนเพื่อรวมลงทุน กับวิสาหกิจเริ่มตน (Start Up) โดยมีวงเงินลงทุนเริ่มแรกประมาณ 3,000 ลานบาทและมีแหลงเงินทุนจาก กองทุนรวมวายุภกั ษ และธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน)



รายละเอียดเพิ่มเติม 12. การปรับปรุงการจัดเก็บภาษีจากกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 9 กุมภาพันธ 2559ดังนี้ 1. ยกเลิกการยกเวนภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีธุรกิจเฉพาะ อากรแสตมป สำหรับกองทุนรวม ที่จัดตั้งตาม พระราชบัญญัตหิ ลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ดังตอไปนี้ 1.1 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย (กอง 1) 1.2 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยเพือ่ แกไขปญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 2) 1.3 กองทุนรวมเพือ่ แกไขปญหาในระบบสถาบันการเงิน (กอง 3) 1.4 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพยและสิทธิเรียกรอง (กอง 4) 2. ใหกฎหมายมีผลใชบงั คับเมือ่ พนกำหนด 1 ป นับแตวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา



รายละเอียดเพิ่มเติม 13 โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 26 มกราคม 2559 ดังนี้ รัฐบาลสนับสนุนเงินทุนใหแกกองทุนหมูบ า นและชุมชนเมือง จำนวน 79,556 กองทุน ผานสำนักงาน กองทุนหมูบ า นและชุมชนเมืองแหงชาติ (สทบ.) กองทุนละไมเกิน 500,000 บาท ภายใตวงเงิน รวม 35,000 ลานบาท วัตถุประสงค: 1) เพือ่ ใชในการลงทุนดานโครงสรางพืน้ ฐานในชุมชน เชน ยุง ฉางชุมชน โรงตากพืชผลทางการเกษตร โรงสีชมุ ชน โรงงานผลิตปุย ประจำชุมชน การจัดทำแหลงเก็บน้ำชุมชน และเครือ่ งจักรสำหรับแปรรูป ผลผลิตทางการเกษตร 2) เพือ่ ดำเนินกิจกรรมอืน่ ๆ ทีช่ มุ ชนเห็นวาเปนประโยชนในการสงเสริมศักยภาพในการประกอบอาชีพ และความเปนอยูใ นชุมชนใหดขี น้ึ กรอบระยะเวลาดำเนินการ: การลงทุนในโครงสรางพืน้ ฐานดังกลาวตองดำเนินการโดยเรงดวนจึงให ดำเนินการเบิกจายภายในระยะเวลา 6 เดือน นับตัง้ แตวนั ทีไ่ ดรบั การจัดสรรงบประมาณ



รายละเอียดเพิ่มเติม 14. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุนให้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2559 ดังนี้ 1. ลดอัตราภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา โดยใหนำเงินไดตามมาตรา 40(7) และ (8) มาคำนวณเพือ่ เสียภาษีในอัตรา รอยละ 0.1 ของเงินได ทัง้ นีส้ ำหรับเงินไดทเ่ี กิดขึน้ ในป พ.ศ. 2561 ถึงป พ.ศ. 2563 เฉพาะทีไ่ ดจากการผลิตสินคา หรือการขายสินคาหรือใหบริการ 2. ลดอัตราภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลเหลือรอยละ 3 ของกำไรสุทธิใหแกบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คล และมีรายได เกิดขึ้นจากการผลิตสินคา หรือการขายสินคาหรือใหบริการ ตั้งแตรอบระยะเวลาบัญชี 2561 ที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ถึงรอบระยะเวลาบัญชี 2563 ทีส่ น้ิ สุดภายในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 3. ลดอัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จาย และใหเสียในอัตรารอยละ 0.1 สำหรับเงินไดจากการขาย อสังหาริมทรัพย สำหรับเงินไดที่เกิดขึ้นตั้งแตปพ.ศ. 2561 ถึง ป พ.ศ. 2563 และเมื่อถึงกำหนดเวลาการยื่น รายการใหรับยกเวนไมตองนำเงินไดมารวมคำนวณเพื่อเสียภาษี


รายละเอียดเพิ่มเติม 14. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการประกอบธุรกิจในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจและมาตรการทางภาษี เพื่อสนับสนุนให้มีการติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ (ต่อ) 4. ลดอัตราภาษีธรุ กิจเฉพาะเหลือรอยละ 0.1 สำหรับรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคาหรือหากำไร ทั้งนี้เฉพาะรายรับจากการขายอสังหาริมทรัพยที่ไดกระทำในระหวางวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2561 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563 5. กำหนดใหบคุ คลธรรมดาทีม่ เี งินไดตามมาตรา 40(5) (6) (7) และ (8) แหงประมวลรัษฎากรซึง่ มีสถานประกอบ กิจการสามารถหักคาใชจา ยคาซือ้ และคาติดตัง้ ระบบกลองโทรทัศนวงจรปดไดอกี ในอัตรารอยละ 100 ของคาใชจา ย ดังกลาว ทั้งนี้สำหรับการยื่นรายการเสียภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา ตั้งแตปภาษี 2559 ถึงปภาษี 2563 6. กำหนดใหบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คล สามารถหักรายจายคาซือ้ และคาติดตัง้ ระบบกลองโทรทัศนวงจรปด ไดอีกในอัตรารอยละ 100ของรายจายดังกลาว ทั้งนี้สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี 2559 ที่เริ่มในหรือ หลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงรอบระยะเวลาบัญชี 2563 ที่สิ้นสุดภายในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2563



รายละเอียดเพิ่มเติม 15. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการจัดทำบัญชีของ SMEs คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการภาษีเมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ 2559 เพือ่ สนับสนุนการจัดทำบัญชีของ SMEs โดยกำหนดใหบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลดังนี้ - บริษทั มีทรัพยสนิ ถาวรไมรวมทีด่ นิ ไมเกินสองรอยลานบาท - มีการจางแรงงานไมเกินสองรอยคน - สำหรับเงินไดเปนจำนวนรอยละหนึง่ รอยของรายจายทีไ่ ดจา ยไปเปนคาจางใหปฏิบตั งิ านเกีย่ วกับบัญชีแกนกั เรียน หรือนักศึกษาทีอ่ ยูร ะหวางศึกษาในแผนกวิชาบัญชีทไ่ี ดรบั การรับรองจากสถาบันการศึกษาในสังกัดของ ศธ. - ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 แตไมเกินวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561



รายละเอียดเพิ่มเติม 16. มาตรการเพื่อส่งเสริมให้บุคคลธรรมดาประกอบธุรกิจในรูปนิติบุคคล

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 9 สิงหาคม 2559 ดังนี้ 1. ยกเวนภาษีเงินได ภาษีมลู คาเพิม่ ภาษีธรุ กิจเฉพาะ และอากรแสตมป ใหแกบคุ คลธรรมดาสำหรับการ โอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพยและทรัพยสินใดๆ ที่บุคคลธรรมดาโอนใหแกนิติบุคคลที่จดทะเบียน จัดตัง้ 9 สิงหาคม 2559 ถึงวันที3่ 1 ธันวาคม 2560 2. กำหนดใหนิติบุคคลที่จดทะเบียนจัดตั้งตั้งแต 9 สิงหาคม 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดย มีทนุ ทีช่ ำระแลวในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 5 ลานบาทและมีรายไดไมเกิน 30 ลานบาท สามารถนำรายจายอันเกิดจากการจดทะเบียนจัดตัง้ นิตบิ คุ คล รายจายคาทำบัญชีและคาสอบบัญชีมาหัก เปนรายจายได 2 เทา เปนเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชี 3. ปรับปรุงอัตราการหักคาใชจา ยเปนการเหมาสำหรับเงินไดตามมาตรา 40 (7) และ (8) ใหลดลงเหลือ รอยละ 60 สำหรับเงินไดทไ่ี ดรบั ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2560 เปนตนไป


รายละเอียดเพิ่มเติม 16. มาตรการเพื่อส่งเสริมให้บุคคลธรรมดาประกอบธุรกิจในรูปนิติบุคคล (ต่อ)

4. ลดคาธรรมเนียมจดทะเบียนสิทธิและนิตกิ รรมสำหรับธุรกรรมการโอนอสังหาริมทรัพย และธุรกรรม การโอนหองชุดของผูถือหุนเพื่อชำระคาหุนใหแกนิติบุคคลที่จัดตั้งใหมตามมาตรการนี้จากรอยละ 2 ของราคาประเมินทุนทรัพยเหลือ รอยละ 0.01 โดยมีผลตัง้ แตวนั ทีร่ ฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย ลงนามในประกาศกระทรวงมหาดไทยถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 5. กำหนดใหหนวยงานที่เกี่ยวของอำนวยความสะดวกในการพิจารณาใหบุคคลธรรมดาสามารถโอน ใบอนุญาตในการประกอบกิจการใหนติ บิ คุ คลตัง้ ใหมได



รายละเอียดเพิ่มเติม 17. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวและจัดอบรมสัมมนาภายในประเทศ

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 29 มีนาคม 2559 ดังนี้ 1. บริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลทีม่ กี ารจัดโครงการอบรมสัมมนาภายในประเทศใหแกลกู จางสามารถ นำรายจายจากการจายคาหองสัมมนา คาหองพัก คาขนสงหรือรายจายอื่นที่เกี่ยวของ รวมถึงรายจาย ทีไ่ ดจา ยใหแกผปู ระกอบธุรกิจนำเทีย่ วเพือ่ การอบรมสัมมนาดังกลาว นำมาหักเปนรายจายในการคำนวณ ภาษีไดเปนจำนวน 2 เทาของทีจ่ า ยจริง ระยะเวลาดำเนินการตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559 2. ใหผเู สียภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดาสามารถนำคาใชจา ยจากการจายเปนคาบริการใหแกผปู ระกอบการ ธุรกิจนำเทีย่ ว หรือทีไ่ ดจา ยเปนคาทีพ่ กั ในโรงแรม สำหรับการเดินทางทองเทีย่ วภายในประเทศ นำมาหัก เปนคาลดหยอนภาษีไดเทาทีจ่ า ยจริงแตตอ งไมเกิน 15,000 บาท ระยะเวลาดำเนินการตัง้ แตวนั ที1่ มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2559



รายละเอียดเพิ่มเติม 18. มาตรการปรับปรุงการยกเว้นเงินได้จากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ โดยไม่มีคำตอบแทน

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ดังนี้ 1. ผูมีเงินไดจากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยโดยไมมีคาตอบแทนใหแก บุตรชอบดวยกฎหมายซึ่งไมรวมถึงบุตรบุญธรรม จะไดรับการยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาเฉพาะ เงินไดจากการโอนใหแกบตุ รชอบดวยกฎหมายนัน้ ในสวนทีไ่ มเกิน 20 ลานบาทตอบุตรหนึง่ คนตลอดปภาษี 2. ใหมีผลสำหรับเงินไดจากการโอนกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพยดังกลาวตั้งแต วันที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 เปนตนไป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตัง้ แตวนั ที่ 1 กุมภาพันธ พ.ศ. 2559 เปนตนไป



รายละเอียดเพิ่มเติม 19. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการดำเนินธุรกิจของ SMEs (มาตรการพี่ช่วยน้อง) และมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบท คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 2 สิงหาคม 2559 ดังนี้ มาตรการภาษีเพือ่ สงเสริมการดำเนินธุรกิจของ SMEs (มาตรการพีช่ ว ยนอง) บริษทั ทีม่ สี นิ ทรัพยถาวรเกิน 200 ลานบาท และการจางแรงงานเกิน 200 คน (พี)่ หักรายจาย2 เทาแตไมเกินรอยละ 10 ของกำไรสุทธิกอ นหักรายจายเพือ่ การกุศลสาธารณะและรายจายเพือ่ การศึกษาสำหรับรายจายทีไ่ ดจา ยเพือ่ การสงเสริมการดำเนินธุรกิจของ SMEs ทีเ่ ปนบริษทั ทีม่ สี นิ ทรัพยถาวรไมเกิน 200 ลานบาทและการจางแรงงานไมเกิน 200 คน (นอง) เปนระยะเวลา 3 รอบ ระยะเวลาบัญชี ลักษณะโครงการสงเสริมการดำเนินธุรกิจอยางใดอยางหนึง่ ดังตอไปนี้ 1. การถายทอดความรูไ ดแกการบริหารการตลาดการบัญชีเปนตน 2. การวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม 3. การเพิม่ ประสิทธิภาพในการผลิตลดตนทุนการผลิตเพิม่ กำไร


รายละเอียดเพิ่มเติม 19. มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการดำเนินธุรกิจของ SMEs (มาตรการพี่ช่วยน้อง) และมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบท (ต่อ) 5 จายคาธรรมเนียมค้ำประกันสินเชือ่ แทนผูป ระกอบการทีไ่ ดรบั การค้ำประกันสินเชือ่ จาก บสย. - คาใชจา ยในโครงการสงเสริมการดำเนินธุรกิจจะตองไดรบั การรับรองจากสภาหอการคาแหงประเทศไทย หรือสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในชนบท

บริษัทสามารถ หักรายจาย 2 เทาแตไมเกินรอยละ 10 ของกำไรสุทธิกอนหักรายจายเพื่อการกุศลสาธารณะ และรายจายเพือ่ การศึกษา สำหรับรายจายทีไ่ ดจา ยใหแกโครงการ ในการลงทุนในโครงสรางพืน้ ฐาน พัฒนาและ ปรับปรุงแหลงทองเทีย่ วในชนบท เปนระยะเวลา 3 รอบระยะเวลาบัญชี โดยตองเปนโครงการทีท่ อ งถิน่ มีความ ตองการจะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจและสังคม - โครงการดังกลาวตองไดรบั การรับรองโดยสวนราชการ หรือองคการของรัฐ - โอนกรรมสิทธิ์ ใหกบั สวนราชการ หรือองคการของรัฐ โดยไมมคี า ตอบแทน ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ ทัง้ นี้ มาตรการทัง้ 2 เริม่ ใชสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ วันที่ 1มกราคม พ.ศ. 2559 แตไมเกินวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561



รายละเอียดเพิ่มเติม 20. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการศึกษา

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 19 เมษายน 2559 ดังนี้ 1. บุคคลธรรมดาที่บริจาคเงินใหแกสถานศึกษาของราชการและเอกชนโดยไมรวมโรงเรียนนอกระบบ สามารถนำมาหักเปนคาลดหยอนได 2 เทาของจำนวนทีจ่ า ยจริงไมเกิน รอยละ 10 ของเงินไดพงึ ประเมิน หลังจากหักคาใชจา ย 2. บริษทั ทีบ่ ริจาคเงินหรือทรัพยสนิ ใหแกสถานศึกษาของราชการและเอกชนโดยไมรวมโรงเรียนนอกระบบ สามารถนำมาหักเปนรายจายได 2 เทา ของจำนวนทีบ่ ริจาค แตเมือ่ รวมกับรายจายทีจ่ า ยไปเปนคาใชจา ย เพือ่ สนับสนุนการศึกษา และรายจายทีจ่ า ยไปเปนคาใชจา ยในการจัดสรางและการบำรุงรักษาสนามเด็กเลน สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของเอกชนที่ หรือสนามเด็กเลน สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬาของทาง ราชการแลว ตองไมเกินรอยละ 10 ของกำไรสุทธิ ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการมีผลบังคับสำหรับการบริจาคทีเ่ กิดขึน้ ตัง้ แต วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2559 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2561



รายละเอียดเพิ่มเติม 21. มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการบริจาคให้แก่กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 10 พฤษภาคม 2559 ดังนี้ 1. กรณีบุคคลธรรมดาที่มีการบริจาคเงินใหแกกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาสามารถนำมาหักเปนคา ลดหยอนในการคำนวณภาษีไดเทาจำนวนเงินทีบ่ ริจาค ตองไมเกินรอยละ 10 ของเงินไดสทุ ธิ 2. กรณีบริษัทหรือหางหุนสวนนิติบุคคลที่มีการบริจาคเงินหรือทรัพยสินใหแกกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา สามารถนำรายจายดังกลาวมาหักเปนคาใชจายในการคำนวณภาษีไดเทาจำนวนเงินหรือทรัพยสินที่ บริจาค แตเมื่อรวมกับรายจายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณประโยชนแลวตองไมเกินรอยละ 2 ของกำไรสุทธิ การดำเนินการดังกลาวตองเกีย่ วเนือ่ งกับการดำเนินการธุรกิจหลักของกิจการ และตองเปนการลงทุนในทรัพยสนิ ดังตอไปนี้ 1. เครือ่ งจักร สวนประกอบ อุปกรณ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร 3. ยานพาหนะทีจ่ ดทะเบียนตามกฎหมายวาดวยยานพาหนะนัน้ ๆ ในราชอาณาจักรทีใ่ ชในการดำเนิน ธุรกิจหลักของกิจการ แตไมรวมถึงรถยนตนง่ั หรือรถยนตโดยสารทีม่ ที น่ี ง่ั ไมเกิน 10 คน ตามกฎหมาย วาดวยพิกดั อัตราภาษีสรรพสามิตทีม่ ใิ ชไดมาเพือ่ นำออกใหเชา 4. อาคารถาวรไมรวมทีด่ นิ และไมรวมถึงอาคารถาวรทีใ่ ชเพือ่ การอยูอ าศัย



รายละเอียดเพิ่มเติม 22. มาตรการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสำหรับเงินฝากประเภทสงเคราะห์ชีวิต

คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั มิ าตรการเมือ่ วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ดังนี้ 1. ยกเวนภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา สำหรับเงินไดเทาทีผ่ มู เี งินไดจา ยเปนเงินฝากไวกบั ธนาคาร ตามจำนวน ที่จายจริงแตไมเกินหนึ่งแสนบาท โดยธนาคารผูรับฝากเงินจะจายเงินและผลประโยชนตามขอตกลง โดยอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของผูฝ ากเงิน โดยการฝากเงินตองมีกำหนดเวลาตัง้ แตสบิ ปขน้ึ ไป 2. ยกเวนภาษีเงินไดบคุ คลธรรมดา ทีไ่ ดรบั เนือ่ งจากการฝากเงินกับธนาคาร และการฝากเงินนัน้ มีขอ ตกลง วาธนาคารผูร บั ฝากเงินจะจายเงินและผลประโยชนตามขอตกลงโดยอาศัยความทรงชีพ หรือมรณะของ ผูฝ ากเงินโดยการฝากเงินตอง มีกำหนดเวลาตัง้ แตสบิ ปขน้ึ ไป ทัง้ นี้ เงินฝากดังกลาวตองไดรบั ยกเวนภาษี เงินไดตามขอ 1. มาแลว 3. ใหใชบงั คับสำหรับเงินไดพงึ ประเมินประจำป พ.ศ. 2559 เปนตนไป มาตรการภาษีขา งตนเพือ่ สงเสริมใหผมู เี งินไดมกี ารออมเงินกับธนาคารทีม่ กี ฎหมาย จัดตัง้ ขึน้ เปนการเฉพาะ ไดแก ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร ธนาคารออมสิน



รายละเอียดเพิ่มเติม 23. การปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศ คณะรัฐมนตรีมมี ติปรับปรุงเงือ่ นไขมาตรการภาษีเมือ่ วันที่ 31 พฤษภาคม 2559 ดังนี้ ใหมีการปรับปรุงมาตรการภาษีเพื่อสงเสริมการลงทุนในประเทศ ใหสามารถหักรายจายไดเปนจำนวน 2 เทา โดยไมจำเปนตองไดทรัพยสินนั้นมาและอยูในสภาพพรอมใชการไดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2559 แตใหเริ่ม ใชสิทธิเมื่อไดทรัพยสินนั้นมาและอยูในสภาพพรอมใชการไดแลวซึ่งจะทำใหการลงทุนในเครื่องจักร และอาคาร ถาวร ซึ่งใชเวลาในการติดตั้งหรือกอสรางนานกวาการลงทุนในทรัพยสินประเภทอื่น ๆ ไดรับสิทธิตามมาตรการ ภาษีเพื่อสงเสริมการลงทุนในประเทศ โดยการดำเนินการดังกลาวตองเกี่ยวเนื่องกับการดำเนินการธุรกิจหลัก ของกิจการ และตองเปนการลงทุนในทรัพยสนิ ดังตอไปนี้ 1. เครือ่ งจักร สวนประกอบ อุปกรณ เครือ่ งมือ เครือ่ งใช 2. โปรแกรมคอมพิวเตอร 3. ยานพาหนะทีจ่ ดทะเบียนตามกฎหมายวาดวยยานพาหนะนัน้ ๆ ในราชอาณาจักรทีใ่ ชในการดำเนินธุรกิจหลัก ของกิจการ แตไมรวมถึงรถยนตนง่ั หรือรถยนตโดยสารทีม่ ที น่ี ง่ั ไมเกิน 10 คน ตามกฎหมายวาดวยพิกดั อัตราภาษี สรรพสามิตทีม่ ใิ ชไดมาเพือ่ นำออกใหเชา 4. อาคารถาวรไมรวมทีด่ นิ และไมรวมถึงอาคารถาวรทีใ่ ชเพือ่ การอยูอ าศัย



รายละเอียดเพิ่มเติม สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 24. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 4/2557 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 ประกอบดวย พื้นที่ใน 10 จังหวัด คือ (1) ตาก (2) มุกดาหาร (3) สระแกว (4) ตราด (5) สงขลา (6) หนองคาย (7) นราธิวาส (8) เชียงราย (9) นครพนม (10) กาญจนบุรี สิทธิประโยชน 1. กิจการทัว่ ไป ไดสทิ ธิประโยชน ดังนี้ - ยกเวนภาษีเงินไดเพิม่ เติม 3 ป จากเกณฑปกติ - กรณีไดรับยกเวนภาษีเงินได 8 ปแลว (กลุม A1 และ A2) ใหไดรับลดหยอนภาษีเงินไดรอยละ 50 เพิม่ อีก 5 ป - หักคาขนสง ไฟฟา และประปา 2เทา 10 ป - หักคาติดตัง้ สิง่ อำนวยความสะดวกไดรอ ยละ 25


รายละเอียดเพิ่มเติม สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน 24. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (ต่อ)

- ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร - ยกเวนอากรขาเขาวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออก - อนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ถูกกฎหมาย 2. กิจการเปาหมาย ไดสทิ ธิประโยชน ดังนี้ - ยกเวนภาษีเงินไดสงู สุด 8 ปลดหยอนภาษีเงินไดรอ ยละ 50 อีก 5 ป - หักคาขนสง ไฟฟา และประปา 2เทา 10 ป - หักคาติดตัง้ สิง่ อำนวยความสะดวกไดรอ ยละ 25 - ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร - ยกเวนอากรขาเขาวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออก - อนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ถูกกฎหมาย ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ ตองยืน่ คำขอรับการสงเสริมภายในป 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 25. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบคลัสเตอร์ ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 10/2558 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2558 Super Clusterเปนคลัสเตอรสำหรับกิจการทีใ่ ชเทคโนโลยีขน้ั สูง และอุตสาหกรรมแหงอนาคต ซึง่ ประกอบดวย คลัสเตอร 6 กลุม ดังนี้ 1.1 คลัสเตอรยานยนตและชิน้ สวน กำหนดพืน้ ทีใ่ น 7 จังหวัด คือ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และนครราชสีมา 1.2 คลัสเตอรเครือ่ งใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกสและอุปกรณคมนาคม กำหนดพืน้ ทีใ่ น 7 จังหวัด คือ จังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา ปทุมธานี ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี และนครราชสีมา 1.3 คลัสเตอรปโ ตรเคมีและเคมีภณ ั ฑทเ่ี ปนมิตรตอสิง่ แวดลอมกำหนดพืน้ ทีใ่ น 2 จังหวัดคือ จังหวัดชลบุรี และระยอง 1.4 คลัสเตอรดจิ ทิ ลั กำหนดพืน้ ทีใ่ น 2 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหมและภูเก็ต 1.5 Food Innopolis 1.6 Medical Hub


รายละเอียดเพิ่มเติม 25. นโยบายส่งเสริมการลงทุนในรูปแบบคลัสเตอร์ (ต่อ) สิทธิประโยชน - ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 8 ป และลดหยอน 50% เพิม่ เติมอีก 5 ป - ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร 2. คลัสเตอรเปาหมายอืน่ ๆ ซึง่ ประกอบดวยคลัสเตอร 2 กลุม ดังนี้ 2.1 คลัสเตอรเกษตรแปรรูปกำหนดพื้นที่ใน 4 ภาค คือ ภาคเหนือ (เชียงใหม เชียงราย ลำปาง ลำพูน) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแกน นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย) ภาคกลางตอนลาง (กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ) ภาคตะวันออก (ระยอง จันทบุรี ตราด) ภาคใต (ชุมพร สุราษฎรธานี กระบี่ สงขลา) 2.2 คลัสเตอรสิ่งทอและเครื่องนุงหม กำหนดพื้นที่ใน 9 จังหวัด คือกรุงเทพฯ กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร ชลบุรี ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรแี ละสระแกว สิทธิประโยชน - ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล3 – 8 ป และลดหยอน 50% เพิม่ เติมอีก 5 ป - ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ ตองยืน่ ขอภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2559


รายละเอียดเพิ่มเติม 26. มาตรการส่งเสริมการลงทุนเมืองนวัตกรรมอาหาร (Food Innopolis)

ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 6/2559 ลงวันที่ 11 เมษายน 2559 1. กิจการนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมดานนวัตกรรมอาหารใหไดรบั สิทธิประโยชนในกลุม A1 ยกเวนภาษีเงินได 8 ป และกำหนดกิจการเปาหมายทีต่ ง้ั ใน Food Innopolis มี 2 รูปแบบ คือ 1. สิทธิประโยชนตามหลักเกณฑทว่ั ไป ไดรบั ลดหยอนภาษี เงินไดนติ บิ คุ คลรอยละ 50 เพิม่ เติมจากสิทธิพน้ื ฐาน อีก 5 ป ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร 2. สิทธิประโยชนในรูปแบบคลัสเตอรภายใตกลุม Super Clusterไดยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 8 ป โดยการ กำหนดวงเงินภาษีทไ่ี ดรบั ยกเวนใหเปนไปตามสิทธิพน้ื ฐานของประเภทกิจการนัน้ ๆ และลดหยอนภาษีเงินได นิตบิ คุ คลรอยละ 50 เพิม่ เติมอีก 5 ป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตองยืน่ คำขอภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2559


รายละเอียดเพิ่มเติม 27. มาตรการส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมอากาศยาน ละอุตสาหกรรมอุปกรณ์อัตโนมัติและหุ่นยนต์

ตามมติการประชุมคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ครัง้ ที่ 1/2559 เมือ่ วันที่ 29 กุมภาพันธ 2559 กำหนดพื้นที่เปาหมายของอุตสาหกรรมอากาศยานใน 14 จังหวัดที่เปนที่ตั้งหรือสนามบิน ไดแก กรุงเทพฯ สมุทรปราการ นครปฐม ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง เชียงราย พิษณุโลก นครสวรรค ลพบุรี นครราชสีมา สุราษฎรธานี และสงขลา สำหรับการสงเสริมลงทุนอุตสาหกรรมอุปกรณอตั โนมัตแิ ละหุน ยนต สามารถตั้งกิจการไดทุกพื้นที่ไมมีการกำหนดพื้นที่เปาหมาย และจะสงเสริมตั้งแตผูผลิตชิ้นสวน อุปกรณ ผูพัฒนาสมองกลซอฟตแวร ผูผลิต Robots ผูผลิตระบบ Automation และการซอมบำรุง สิทธิประโยชน:ยกเวนภาษีเงินไดนิติบุคคล 8 ป และลดหยอนรอยละ 50 เพิ่มเติมอีก 5 ป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตองยืน่ คำขอภายในวันที่ 30 ธันวาคม 2559




รายละเอียดเพิ่มเติม 28. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุน 7 ปี (2558-2564) ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 2/2557 ลงวันที่ 3 ธันวาคม 2557 1. กำหนดใหสทิ ธิประโยชนตามประเภทกิจการ แบงเปน A1-A4 และ B1-B2 ดังนี้ A1: อุตสาหกรรมฐานความรู เนนการออกแบบ ทำ R&D เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ สิทธิประโยชน: ยกเวนภาษีเงินได 8 ป (ไม Cap วงเงิน), ยกเวนอากรเครื่องจักร, ยกเวนอากรขาเขาสำหรับ วัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออกเปนระยะเวลา 1 ป A2: กิจการทีใ่ ชเทคโนโลยีสงู เปนอุตสาหกรรมพืน้ ฐานสำคัญทีม่ กี ารลงทุนในประเทศนอย หรือยังไมมกี ารลงทุน สิทธิประโยชน: ยกเวนภาษีเงินได 8 ป (Cap วงเงิน), ยกเวนอากรเครือ่ งจักร, ยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออกเปนระยะเวลา 1 ป A3: กิจการทีใ่ ชเทคโนโลยีขน้ั สูงและมีความสำคัญตอการพัฒนาประเทศโดยมีฐานการผลิตอยูบ า งแลว สิทธิประโยชน: ยกเวนภาษีเงินได 5 ป, ยกเวนอากรเครือ่ งจักร, ยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออกเปนระยะเวลา 1 ป A4: กิจการทีม่ รี ะดับเทคโนโลยีไมเทากลุม A1-A3 แตชว ยสรางมูลคาเพิม่ แกวตั ถุดบิ ในประเทศ และเสริมสราง Value Chain สิทธิประโยชน: ยกเวนภาษีเงินได 3 ป, ยกเวนอากรเครือ่ งจักร, ยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิต เพือ่ สงออกเปนระยะเวลา 1 ป


รายละเอียดเพิ่มเติม 28. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุน 7 ปี (2558-2564) (ต่อ) B1/B2: อุตสาหกรรมสนับสนุนทีใ่ ชเทคโนโลยีไมสงู แตยงั สำคัญตอ Value chain สิทธิประโยชน: B1 ไดรบั ยกเวนอากรเครือ่ งจักร, ยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออกเปน ระยะเวลา 1 ป และ B2 ไดรบั เฉพาะสิทธิยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ ทีใ่ ชผลิตเพือ่ สงออกเปนระยะเวลา 1 ป 2. สิทธิและประโยชนทจ่ี ะไดรบั เพิม่ เติม (Merit-based Incentives) ดังนี้ 2.1) Merit เพือ่ พัฒนาความสามารถในการแขงขันดานR&D - เงินลงทุน 1% หรือ >200 ลานบาท/ยอดขาย ไดรบั ยกเวนภาษีเพิม่ เติม 1 ป - เงินลงทุน 2% หรือ >400 ลานบาท/ยอดขาย ไดรบั ยกเวนภาษีเพิม่ เติม 2 ป - เงินลงทุน 3% หรือ >600 ลานบาท/ยอดขาย ไดรบั ยกเวนภาษีเพิม่ เติม 3 ป 2.2) Merit เพือ่ กระจายความเจริญสูภ มู ภิ าค ตัง้ สถานประกอบการในพืน้ ทีท่ ม่ี รี ายไดตอ หัวต่ำทีส่ ดุ ของประเทศ 20 จังหวัด ไดแก กาฬสินธุ ชัยภูมิ นครพนม นาน บึงกาฬ บุรีรัมย แพร มหาสารคาม มุกดาหาร แมฮองสอน ยโสธร รอยเอ็ด ศรีสะเกษ สกลนคร สระแกว สุโขทัย สุรนิ ทร หนองบัวลำภู อุบลราชธานี และอำนาจเจริญ


รายละเอียดเพิ่มเติม 28. ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการลงทุน 7 ปี (2558-2564) (ต่อ) จะไดรบั สิทธิประโยชน ดังนี้ - ยกเวนภาษีเงินไดเพิม่ เติม 3 ป หากเปนกิจการในกลุม A1 และ A2 ซึง่ ไดรบั ยกเวนภาษีเงินได 8 ป อยูแ ลวจะใหไดรบั การลดหยอนภาษีเงินได 50% เพิม่ เติมอีก 5 ป - หักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทา เปนเวลา 10 ป - คาติดตัง้ หรือกอสรางสิง่ อำนวยความสะดวกรอยละ 25 ของเงินลงทุน 2.3) Merit เพือ่ พัฒนาพืน้ ทีอ่ ตุ สาหกรรม ตัง้ สถานประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมหรือเขตอุตสาหกรรม ทีไ่ ดรบั สงเสริม จะไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดเพิม่ เติมอีก 1 ป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ มีผลใชบงั คับกับคำขอรับการสงเสริมทีย่ น่ื ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2558



รายละเอียดเพิ่มเติม 29. มาตรการส่งเสริมการลงทุนท้องถิ่น ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 5/2559 ลงวันที่ 11 เมษายน 2559 ประกอบดวย 3 มาตรการยอยคือ 1. การสงเสริมโรงงานแปรรูปผลิตผลการเกษตร - กรณีลงทุนโดยบริษทั ขนาดใหญ ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป - กรณีลงทุนโดยสหกรณ วิสาหกิจชุมชนหรือผูป ระกอบการทัว่ ไปยกเวนภาษีเงินได นิตบิ คุ คล 5 ป 2. การสงเสริมกิจการศูนยจำหนายผลิตภัณฑชมุ ชน ไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป 3. การสงเสริมกิจการพัฒนาแหลงทองเทีย่ วชุมชน - กรณีลงทุนโดยบริษทั ขนาดใหญยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป - กรณีลงทุนโดยผูป ระกอบการทัว่ ไป ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 5 ป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตองยืน่ คำขอภายในป 2559



รายละเอียดเพิ่มเติม 30. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 3/2557 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 1. กรณีทว่ั ไป (ทุกประเภทกิจการทีเ่ ปดใหการสงเสริมตามประกาศที่ 2/2557) สิทธิประโยชน -ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร -ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 8 ป -ยกเวนอากรขาเขาสำหรับวัตถุดบิ และวัสดุจำเปนสำหรับสวนทีผ่ ลิตเพือ่ การสงออกเปนระยะเวลา 5 ป -ลดหยอนอากรขาเขา 90% ของอัตราปกติหรือวัตถุดบิ จำเปนทีต่ อ งนำเขามาผลิตเพือ่ จำหนายในประเทศ 5 ป -ลดหยอนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลสำหรับกำไรสุทธิทไ่ี ดจากการลงทุนในอัตรา 50% ของอัตราปกติเปนเวลา 5 ป นับจากวันสิน้ สุดระยะเวลายกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล -หักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทา เปนระยะเวลา 15 ป -หักเงินลงทุนในการติดตัง้ หรือกอสรางสิง่ อำนวยความสะดวก 25% ของเงินลงทุน 2. กรณีพเิ ศษ 4 จังหวัด (นราธิวาส ยะลา ปตตานี สตูล) และ 4 อำเภอในจังหวัดสงขลา (อ.จะนะ อ.เทพา อ.นาทวี อ.สะบายอย)


รายละเอียดเพิ่มเติม 30. นโยบายส่งเสริมการลงทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้

สิทธิประโยชน 2.1 โครงการเดิม หมายถึงโครงการทีด่ ำเนินการอยูแ ลวและตัง้ อยูใ นพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใตไดยกเวน ภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป เปนสัดสวนไมเกินรอยละ 100 ของมูลคาเงินลงทุนไมรวมคาทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน 2.2 โครงการใหม หมายถึงโครงการลงทุนใหมทข่ี อรับการสงเสริมการลงทุนในพืน้ ทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต ไดรบั การสิทธิระโยชนเชนเดียวกับมาตรการสงเสริมการลงทุนในจังหวัดชายแดนภาคใตกรณีทว่ั ไป 3. กรณีกจิ การตัง้ อยูใ นนิคมหรือเขตอุตสาหกรรมหรือในพืน้ ทีค่ ลัสเตอร สิทธิประโยชน 3.1 การลงทุนโครงการแรกไดรบั สิทธิประโยชนเชนเดียวกับมาตรการสงเสริมการลงทุนในจังหวัดชายแดน ภาคใตกรณีทว่ั ไป 3.2 การลงทุนโครงการสวนขยายไดรบั การสิทธิประโยชนเชนเดียวกับมาตรการสงเสริมการลงทุนในจังหวัด ชายแดนภาคใตกรณีทว่ั ไป หมายเหตุ: ทุกกรณีอนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ในโครงการ ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตองยืน่ ขอรับการสงเสริมภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 31. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 5/2557 ลงวันที่ 18 ธันวาคม 2557 38 ประเภทกิจการที่ SMEs ไทยมีศกั ยภาพ - หมวดเกษตรกรรมและผลิตผลจากการเกษตร8 ประเภท เชน การขยายพันธุส ตั วหรือลีย้ งสัตว การคัดคุณภาพ บรรจุ และเก็บรักษาพืช ผัก ผลไม หรือดอกไม ผลิตภัณฑจากยางธรรมชาติ - หมวดแร เซรามิกส และโลหะขัน้ มูลฐาน5 ประเภท เชน แกว เซรามิกส ชืน้ สวนเหล็กหลอ/เหล็กทุบ - หมวดอุตสาหกรรมเบา7 ประเภท เชน สิง่ ทอ กระเปา เครือ่ งกีฬา เครือ่ งดนตรี เครือ่ งเรือน อัญมณี และเครือ่ งประดับ - หมวดผลิตภัณฑโลหะ เครือ่ งจักร และอุปกรณขนสง 5 ประเภท เชน ผลิตภัณฑโลหะ เครือ่ งจักรและอุปกรณ ชิน้ สวนยานพาหนะ การตอเรือหรือซอมแซม - หมวดเครือ่ งใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส5 ประเภท เชน เครือ่ งใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกส ซอฟตแวร - หมวดเคมีภณ ั ฑ พลาสติก และกระดาษ4 ประเภท ไดแก ผลิตภัณฑพลาสติกสำหรับอุตสาหกรรมพลาสติก รีไซเคิล ยา และสิง่ พิมพ - หมวดบริการและสาธารณูปโภค4 ประเภท ไดแก ศูนยบริการโลจิสติกส ภาพยนตรไทย การบริการแกธรุ กิจสรางภาพยนตร และโรงแรม


รายละเอียดเพิ่มเติม 31. มาตรการเพิ่มขีดความสามารถของผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (ต่อ) สิทธิประโยชน - ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล เพิม่ ขึน้ 2 ป - หากตองการขอรับสิทธิประโยชนเพิม่ เติมเพือ่ พัฒนาความสามารถในการแขงขันจะผอนปรนเกณฑสดั สวน % คาใชจา ยลงครึง่ หนึง่ ของเกณฑปกติ เงือ่ นไข 1. เงินลงทุนไมนอ ยกวา 5 แสนบาท ไมรวมคาทีด่ นิ และทุนหมุนเวียน 2. ตองถือหุน โดยบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยไมนอ ยกวารอยละ 51 ของทุนจดทะเบียน 3. อัตราสวนหนีส้ นิ ตอทุนไมเกิน 3 : 1 4. อนุญาตใหนำเครือ่ งจักรใชแลวในประเทศไมเกิน 10 ลานบาท และตองลงทุนใหมในเครือ่ งจักรหลักไมนอ ยกวา รอยละ 50 ของมูลคาเครือ่ งจักรทีใ่ ชในโครงการ 5. เมือ่ รวมกิจการทัง้ หมดทัง้ ทีไ่ ดรบั และไมไดรบั การสงเสริมแลว มีสนิ ทรัพยถาวรสุทธิหรือขนาดลงทุนไมรวมคา ทีด่ นิ และทุนหมุนเวียนไมเกิน 200 ลานบาท ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ ตองยืน่ คำขอภายในป 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 32. มาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ตามประกาศคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 1/2557 ลงวันที่ 16 กันยายน 2557ประกอบดวย 3 มาตรการ ยอย ไดแก 1. การปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรเพือ่ การประหยัดพลังงาน การใชพลังงานทดแทน หรือการลดผลกระทบตอสิง่ แวดลอม 2. การปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักร เชน การนำระบบอัตโนมัตมิ าใชในสายการผลิตเดิม เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต 3. การลงทุนวิจัย พัฒนา และออกแบบทางวิศวกรรม เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ (มูลคาไมนอยกวา 1% ของ ยอดขายรวมใน 3 ปแรก หรือ 0.5% สำหรับ SMEs) สิทธิประโยชน - ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร - ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป แตไมเกิน 50% ของวงเงินลงทุนในการปรับปรุง - ระยะเวลายกเวนภาษีเงินได ใหนบั จากวันทีม่ รี ายไดภายหลังไดรบั บัตรสงเสริม ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการตองยืน่ คำขอภายในป 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 33. นโยบายส่งเสริมการลงทุนอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) ตามมติการประชุมคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 3/2559 เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2559 1.1 กิจการผลิตยา เดิมไมไดรบั ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลปรับเปนใหยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 5 ป และ หากยืน่ ขอรับการสงเสริมภายในป พ.ศ.2560 จะไดยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลเปนเวลา 8 ป 1.2 กิจการผลิตเครือ่ งมือแพทยใหเพิม่ เปนประเภทกิจการทีส่ ามารถขอรับการสงเสริมตามมาตรการเพิม่ ขีดความสามารถของ SMEs ซึง่ จะไดรบั การยกเวนภาษีเงินไดเพิม่ เติมอีก 2 ปจากเกณฑปกติ แตรวมแลว ไมเกิน 8 ป



รายละเอียดเพิ่มเติม 34. มาตรการส่งเสริมการลงทุนภายใต้โครงการเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” (อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี, อำเภอเบตง จังหวัดยะลา, อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส) ตามมติการประชุมคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ที่ 3/2559 เมือ่ วันที่ 29 สิงหาคม 2559 1.1 สิทธิประโยชนสำหรับโครงการลงทุนใหม สิทธิประโยชนทย่ี งั คงเดิม - ยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 8 ป ไมจำกัด - ลดหยอนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คลรอยละ50 เพิม่ เติมอีก 5 ป - หักคาติดตัง้ หรือกอสรางสิง่ อำนวยความสะดวกรอยละ 25 ของเงินลงทุน - ยกเวนอากรขาเขาเครือ่ งจักร - อนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ในโครงการ - ลดหยอนอากรขาเขารอยละ 90 ของอัตราปกติสำหรับวัตถุดบิ หรือวัสดุจำเปนทีต่ อ งนำเขามาผลิตเพือ่ จำหนายในประเทศเปนจากเดิม 10 ป - หักคาขนสง คาไฟฟา และคาประปา 2 เทาของคาใชจา ย 20 ป


รายละเอียดเพิ่มเติม 34.มาตรการส่งเสริมการลงทุนภายใต้โครงการเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” (อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี, อำเภอเบตง จังหวัดยะลา, อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส) (ต่อ) 1.2 สิทธิประโยชนสำหรับโครงการลงทุนเดิม - เดิมยกเวนภาษีเงินไดนติ บิ คุ คล 3 ป เพิม่ เปน 5 ป - สิทธิประโยชนอน่ื ๆ เชนเดียวกับกรณีโครงการลงทุนใหม พรอมทัง้ ใหเพิม่ ประเภทกิจการทีใ่ หการสงเสริมเพิม่ เติมเฉพาะในพืน้ ที่ 3 อำเภอ อีก 6 ประเภท ซึง่ เปนกลุม ที่ BOI เคยยกเลิกการสงเสริมไปแลวดังนี้ -กิจการผลิตอาหารสัตวหรือสวนผสมอาหารสัตว - กิจการผลิตวัสดุกอ สราง และกิจการผลิตผลิตภัณฑคอนกรีตอัดแรงสำหรับงานสาธารณูปโภค - กิจการผลิตสิง่ ปรุงแตงสำหรับประทินรางกาย เชน สบู ยาสระผม ยาสีฟน (ยกเวนเครือ่ งสำอาง) - กิจการผลิตผลิตภัณฑพลาสติกสำหรับสินคาอุปโภค - กิจการผลิตสิง่ ของจากเยือ่ หรือกระดาษ - กิจการพัฒนาอาคารสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ/หรือคลังสินคา ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการมาตรการนีม้ ผี ลบังคับใชถงึ วันที่ 31 ธันวาคม 2563



รายละเอียดเพิ่มเติม 35. มาตรการใช้แรงงานต่างด้าวไร้ฝีมือ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน เมือ่ วันที่ 29 เมษายน 2559 1. การใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ในโครงการทีไ่ ดรบั การสงเสริม ตองปฏิบตั ติ ามกฎหมายและระเบียบทีเ่ กีย่ วกับ การใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ในดานตางๆ ของหนวยงานทีเ่ กีย่ วของ 2. ผอนผันใหผไู ดรบั การสงเสริมการลงทุนสามารถใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ทีถ่ กู ตองตามกฎหมายในโครงการ ทีไ่ ดรบั การสงเสริมไดจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 3. ตัง้ แต 1 มกราคม 2562 จะอนุญาตใหใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ภายใตบนั ทึกความเขาวาวาดวยการจางแรงงาน ระหวางรัฐ (MOU) เทานัน้ ตามหลักเกณฑและเงือ่ นไขทีก่ ระทรวงแรงงานกำหนด 4. โครงการทีต่ ง้ั ในพืน้ ทีเ่ ขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัดชายแดนและพืน้ ทีต่ ามมาตรการสงเสริมการลงทุน ในจังหวัดชายแดนภาคใต สามารถใชแรงงานตางดาวไรฝม อื ทีไ่ ดรบั อนุญาตตามพระราชบัญญัตคิ นเขาเมือง พ.ศ. 2522 ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการโครงการทีไ่ ดรบั การสงเสริมไดจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561



รายละเอียดเพิ่มเติม สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย 36.โครงการสนับสนุนสินเชื่อผู้ประกอบการผลิตผลิตภัณฑ์ยาง คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 26มกราคม 2559 ดังนี้ 1. แนวทางในการใหสนิ เชือ่ 1.1 การใหสนิ เชือ่ แกผปู ระกอบการโดยธนาคารพาณิชยทกุ ธนาคาร 1.2 เพือ่ ใชในการขยายกำลังการผลิต / ปรับเปลีย่ นเครือ่ งจักรการผลิต ใหแกผปู ระกอบการแปรรูปผลิตภัณฑยางขัน้ ปลายน้ำ 2. คุณสมบัตผิ เู ขารวมโครงการ 2.1 ตองเปนผูป ระกอบการแปรรูปผลิตภัณฑยาง ทีม่ มี ลู คาสูง ซึง่ ไดการรับรองจาก กยท. 2.2 ตองเปนผูป ระกอบการซึง่ จดทะเบียนในประเทศไทยและมีผถู อื หุน ทีม่ สี ญ ั ชาติไทย มากกวารอยละ 50 3. ประเภทสินเชือ่ เงินกูร ะยะยาว Term Loan (T/L) ระยะเวลากูไ มเกิน 10 ปผกู สู ามารถใชหนังสือค้ำประกัน สินเชือ่ จาก บสย.เปนหลักประกันเสริมได ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ1 ป นับจากวันทีค่ ณะรัฐมนตรีมติอนุมตั ิ (26มกราคม 2559) หรือภายในกรอบ วงเงิน 15,000 ลานบาท


บรรณานุกรม

สถาบันวิจัยยาง การยางแห่งประเทศไทย สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน

: : : :

http://www.rubber.co.th/main.php?filename=index http://www.fpo.go.th/FPO/index2.php http://www.rd.go.th/publish/272.0.html http://www.boi.go.th/index.php?page=incentive



150 ถนนราชบพธิ แขวงวดัราชบพธิ เขตพระนคร กรงุเทพมหานคร 10200 โทรศพ ั ท 0 2018 6888

www.thaichamber.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.