มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจภาครัฐและภาคเอกชน 2559 2560 ฉบับที่ 2

Page 1





































































































มาตรการ ด้านการร่วมลงทุน



รายละเอียดเพิ่มเติม 36. มาตรการฟื้นฟูกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ผ่านกองทุนส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมาตรการเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม 2559 ดังนี้ 1. รัฐบาลอุดหนุนงบประมาณใหกับกองทุนฯ เพิ่มเติม จำนวน 2,000 ลานบาท 2. กำหนดให สสว. นำเงินทีไ่ ดรบั อุดหนุนแยกบัญชีเปนการเฉพาะ เพือ่ ใชในการอุดหนุน รวมกิจการรวมทุน หรือลงทุน ใหกบั ผูป ระกอบกิจการ SMEs ทีป่ ระสบปญหาหรือผูป ระกอบกิจการ SMEs ทีเ่ ขากระบวนการ ฟนฟูกิจการตามพระราชบัญญัติลมละลาย (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2559 3. ใหมคี ณะกรรมการฟน ฟูกจิ การ SMEs ซึง่ ประกอบดวยผูแ ทนจากทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนเพือ่ กำหนด นโยบายในการบริหารจัดการเงินที่ไดรับอุดหนุน กำหนดหลักเกณฑ และวิธีการใหความชวยเหลือ ผูประกอบกิจการ SMEs ที่ประสบปญหา บริหารจัดการหรือมอบหมายใหสถาบันการเงินเปนผูบริหาร จัดการเงินที่ไดรับอุดหนุน



รายละเอียดเพิ่มเติม 37. มาตรการสนับสนุนวิสาหกิจเริ่มต้น(Start Up) คณะรัฐมนตรีมมี ติเมือ่ วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ 2559 แตงตัง้ คณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจเริม่ ตนแหงชาติ (National Start Up Committee) และการจัดตัง้ กองทุนเพือ่ รวมลงทุนกับวิสาหกิจเริม่ ตน (Start Up) ดังนี้ 1. แตงตั้งคณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจเริ่มตนแหงชาติ (National Start Up Committee) โดยมี ปลัดกระทรวงการคลังเปนประธานและประกอบดวยผูแทนจากภาครัฐและผูทรงคุณวุฒิรวมกันกำหนด ยุทธศาสตรหลัก (Grand Strategy) เพือ่ มุง เนนการแกไขปญหาวิสาหกิจเริม่ ตน (Start Up) ของประเทศ 2. จั ด ตั ้ ง กองทุ น เพื ่ อ ร ว มลงทุ น กั บ วิ ส าหกิ จ เริ ่ ม ต น (Start Up) โดยมี ว ั ต ถุ ป ระสงค เ พื ่ อ สนั บ สนุ น ในดานแหลงเงินทุนใหกับวิสาหกิจเริ่มตน (Start Up) เปนการเฉพาะซึ่งจะจัดตั้งกองทุนเพื่อรวมลงทุน กับวิสาหกิจเริ่มตน (Start Up) โดยมีวงเงินลงทุนเริ่มแรกประมาณ 3,000 ลานบาทและมีแหลงเงินทุนจาก กองทุนรวมวายุภกั ษ และธนาคารกรุงไทยจำกัด (มหาชน)



รายละเอียดเพิ่มเติม 38. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน และส่งเสริมผู้ประกอบการกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขยาดย่อมรายใหม่ คณะรัฐมนตรีมมี ติเมือ่ วันอังคารที่ 27ธันวาคม 2559ดังนี้ 1. รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การขยายระยะเวลามาตรการภาษีเพือ่ สนับสนุนกิจการเงินรวมลงทุน) กำหนดใหมกี ารยกเวนภาษีเงินได นิตบิ คุ คลเปนระยะเวลา 10 รอบระยะเวลาบัญชี ซึง่ บริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลทีไ่ ดรบั สิทธิประโยชน ดังกลาวตองเขาเงือ่ นไข ดังตอไปนี้ 1.1) กำหนดใหบริษทั ทีจ่ ะไดรบั สิทธิประโยชนน้ี ตองเปนบริษทั ทีต่ ง้ั ขึน้ ตามกฎหมายไทยซึง่ ประกอบกิจการ ทีร่ ฐั ตองการสนับสนุน หรือประกอบกิจการทีร่ ฐั ตองการสนับสนุนและประกอบกิจการอืน่ ดวย และจดแจง การเปนกิจการรวมลงทุนตอสำนักงาน ก.ล.ต. ภายในวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 1.2) กำหนดกิจการทีป่ ระกอบธุรกิจอุตสาหกรรมทีร่ ฐั ตองการสนับสนุน รวม 10 ประเภท และกิจการดังกลาว ตองใชเทคโนโลยีตามหลักเกณฑท่ี สวทช. ประกาศกำหนด เปนฐานในการออกแบบและพัฒนาเพือ่ ใชใน กระบวนการผลิตหรือใหบริการ และไดรบั การรับรองจาก สวทช.


รายละเอียดเพิ่มเติม 38. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน และส่งเสริมผู้ประกอบการกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขยาดย่อมรายใหม่ (ต่อ) 1.3) กำหนดใหทรัสตทจ่ี ะไดรบั สิทธิประโยชนน้ี ตองเปนทรัสตทก่ี อ ตัง้ ขึน้ เพือ่ ประกอบกิจการเงินรวมลงทุน ตามกฎหมายวาดวยทรัสตเพือ่ ธุรกรรมในตลาดทุนภายในวันที่ 1 มกราคม 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2561 1.4) กำหนดใหหลักเกณฑการไดรบั ยกเวนภาษีเงินได และคุณสมบัตขิ องบริษทั ซึง่ ประกอบกิจการรวมลงทุน ทรัสตเพือ่ กิจการรวมลงทุน รวมทัง้ หลักเกณฑการยกเวนภาษีเงินไดสำหรับบุคคลธรรมดา และนิตบิ คุ คล ทีม่ เี งินไดอนั เนือ่ งมาจากการลงทุนในบริษทั ซึง่ ประกอบกิจการรวมลงทุนหรือทรัสตเพือ่ กิจการรวมลงทุน


รายละเอียดเพิ่มเติม 38. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน และส่งเสริมผู้ประกอบการกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขยาดย่อมรายใหม่ (ต่อ) 2. รางพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร วาดวยการยกเวนรัษฎากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (การขยายระยะเวลามาตรการภาษีเพือ่ สงเสริมผูป ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอมรายใหม) กำหนดใหมกี ารยกเวนภาษีเงินได นิตบิ คุ คลเปนระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชีซง่ึ บริษทั หรือหางหุน สวน นิตบิ คุ คลทีไ่ ดรบั สิทธิประโยชนดงั กลาวตองเขาเงือ่ นไข ดังตอไปนี้ 2.1) เปนบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลทีจ่ ดทะเบียนจัดตัง้ ตัง้ แตวนั ที่ 1 มกราคม 2560 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 โดยมีทนุ จดทะเบียนชำระแลวในวันสุดทายของรอบระยะเวลาบัญชีไมเกิน 5 ลานบาท และมีรายได จากการขายสินคาและการใหบริการในรอบระยะเวลาบัญชีไมเกินสามสิบลานบาท 2.2) ประกอบธุรกิจในอุตสาหกรรมเปาหมายหลักทีม่ ศี กั ยภาพขับเคลือ่ นเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) โดยอาศัยการใชเทคโนโลยีเปนฐานในการออกแบบและพัฒนาเพือ่ ใชในกระบวนการผลิตหรือใหบริการ อยางเปนระบบ กอใหเกิดมูลคาเพิม่ ของสินคา และบริการ ประกอบดวยกลุม อุตสาหกรรมเปาหมาย ไดแก กลุม อุตสาหกรรมเทคโนโลยีและนวัตกรรม กลุม อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป และกลุม อุตสาหกรรมวิจยั พัฒนา โดยบริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลในกลุม อุตสาหกรรมเปาหมายตองขึน้ ทะเบียนและผานการรับรองจาก สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม


รายละเอียดเพิ่มเติม 38. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อสนับสนุนกิจการเงินร่วมลงทุน และส่งเสริมผู้ประกอบการกิจการวิสาหกิจขนาดกลางและขยาดย่อมรายใหม่ (ต่อ) 2.3) รายรับทีไ่ ดจากการประกอบกิจการในชวงระยะเวลาทีใ่ ชสทิ ธิประโยชนทางภาษี ตองเปนรายรับเฉพาะ หรือ เกีย่ วเนือ่ งกับสินคาและบริการทีเ่ กิดจากกลุม อุตสาหกรรมเปาหมายรวมกันไมนอ ยกวารอยละ 80 ของรายรับทีไ่ ดจากการประกอบกิจการทัง้ หมด ในแตละรอบระยะเวลาบัญชี 2.4) บริษทั หรือหางหุน สวนนิตบิ คุ คลทีไ่ ดสทิ ธิยกเวนภาษีอากร ดังกลาวจะตองไมใชสทิ ธิการยกเวนภาษีเงินได นิตบิ คุ คลตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมการลงทุน ไมวา ทัง้ หมดหรือบางสวนในกรณีบริษทั หรือหางหุน สวน นิตบิ คุ คลขาดคุณสมบัตขิ อ หนึง่ ขอใด ในรอบระยะเวลาบัญชีใด ใหการไดรบั สิทธิยกเวนภาษีเงินได เปนอันระงับเฉพาะในรอบระยะเวลาบัญชีนน้ั


มาตรการอื่น ๆ



รายละเอียดเพิ่มเติม 39. การขยายระยะเวลาพำนักในราชอาณาจักรไทยสำหรับกลุ่มพำนักระยะยาว (Long Stay Visa) คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบเมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 ดังนี้ สธ. และ กก. ไดมมี ติรว มกันในทีป่ ระชุมคณะกรรมการการพัฒนาและสงเสริมประเทศไทยใหเปนศูนยกลาง ดาน Medical and Wellness Tourism ครัง้ ที่ 5/2559 ทีจ่ ะขยายระยะเวลาพำนักในราชอาณาจักรไทย สำหรับกลุม พำนักระยะยาว (Long Stay Visa) จากเดิม 1 ป เปน 10 ป โดยใหดำเนินการใน 14 ประเทศ ไดแก เดนมารก นอรเวย เนเธอรแลนด สวีเดน ฝรัง่ เศส ฟนแลนด อิตาลี เยอรมนี สวิตเซอรแลนด ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญีป่ นุ แคนาดา โดยมีหลักเกณฑการพิจารณา ดังนี้ 1) อายุผสู มัคร เปนชาวตางชาติทม่ี อี ายุ 50 ปทย่ี น่ื ขอวีซา ประเภทชัว่ คราว (Non-immigrant) รหัส O-A (Long Stay) จากสถานกงสุลใหญไทยในตางประเทศ หรือชาวตางชาติทเ่ี ดินทางเขาสูไ ทยดวย วีซา ประเภทอืน่ และเมือ่ พำนักอยูร ะยะหนึง่ มีความประสงคทจ่ี ะเปลีย่ นประเภทการขอรับการตรวจลงตรา เปนแบบพำนักระยะยาว และอนุญาตใหพำนักในไทย ครัง้ ที่ 1 ไมเกิน 5 ป ในลักษณะ Multiple Entry และสามารถตออายุได ครัง้ ที่ 2 ตออายุใหพำนักในไทยไดไมเกิน 5 ป ในลักษณะ Multiple Entry 2) คาธรรมเนียม 10,000 บาท 3) บัญชีเงินฝากหรือรายได ตองมีเงินฝากในบัญชี 3 ลานบาทขึน้ ไป หรือมีรายไดตอ เดือน 100,000 บาทขึน้ ไป โดยการตออายุ ครัง้ ที่ 2 จะตองแสดงจำนวนเงินฝากในบัญชีหรือรายไดตอ เดือนเทาเดิมกับตอนยืน่ เอกสาร ในครัง้ ที่ 1 และตองคงบัญชีเงินฝากตามทีแ่ สดงไวในธนาคารตามกฎหมายของไทยเปนระยะเวลา อยางนอย 1 ป นับจากวันทีไ่ ดรบั การตรวจลงตรา หลังจากนัน้ จึงจะถอนเงินไดไมเกิน รอยละ 50 พรอมแสดงหลักฐาน การถอนเงินเพือ่ ใชจา ยในไทยเทานัน้


รายละเอียดเพิ่มเติม 39. การขยายระยะเวลาพำนักในราชอาณาจักรไทยสำหรับกลุม่ พำนักระยะยาว (Long Stay Visa) (ต่อ) 4) ตองมีการแสดงเอกสารการประกันสุขภาพ (Medical Insurance) ระยะเวลาคุม ครอง 1 ป ซึง่ มีวงเงินคุม ครองคารักษาพยาบาลในกรณีผปู ว ยนอกไมตำ่ กวา 1,000 ดอลลารสหรัฐ และในกรณีผปู ว ย ในไมตำ่ กวา 10,000 ดอลลารสหรัฐ ตอ 1 กรมธรรม ตอ 1 ป 5) รายงานตัว ทุก 90 วัน ผานชองทางทีส่ ำนักงานตรวจคนเขาเมืองกำหนด 6) สิทธิพเิ ศษอืน่ ๆ สามารถนำคูส มรสตามกฎหมายมีอายุตง้ั แต 50 ปขน้ึ ไป มาขอ Long Stay Visa ได หากคูส มรสมีอายุไมถงึ 50 ป ใหใชวซี า ประเภท non-immigrant รหัส O และบุตรตามกฎหมาย อายุไมเกิน 21 ป สามารถติดตามครอบครัวมาศึกษาในประเทศไทยได โดยใชวซี า ประเภท non-immigrant รหัส ED รวมทัง้ สามารถซือ้ ยานพาหนะ คอนโดมิเนียมในไทย โดยเงินทีจ่ ะนำมาซือ้ คอนโดมิเนียมจะตอง เปนเงินตราตางประเทศทีโ่ อนมายังธนาคารไทยและธนาคารไดออกหนังสือรับรองการเงินให และทำงาน ในลักษณะของจิตอาสาโดยไมหวังผลตอบแทนได ซึง่ จะตองดำเนินการภายใตกฎหมายวาดวยการทำงาน ของคนตางดาว



รายละเอียดเพิ่มเติม 40. มาตรการรองรับสังคมผู้สูงอายุ คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบและอนุมตั ิ เมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ดังนี้ 1. มาตรการจางงานผูส งู อายุ เปนการสงเสริมใหนายจางมีการจางงานผูส งู อายุผา นการใหสทิ ธิประโยชน ทางภาษีแกนายจาง กำหนดใหบริษทั หักรายจายได 2 เทาของรายจายประเภทเงินเดือนและคาจางสำหรับ การจางบุคลากรผูส งู อายุ (อายุ 60 ปบริบรู ณขน้ึ ไป) ซึง่ มีอตั ราคาจางไมเกิน 15,000 บาทตอคนตอเดือน สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีทเ่ี ริม่ ในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2559 โดยนายจางสามารถขอใชสทิ ธิได ไมเกินรอยละ 10 ของจำนวนลูกจางทัง้ หมด 2. มาตรการสรางทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ (Senior Complex) 2.1. การสนับสนุนการสรางทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ (Senior Complex)บนทีร่ าชพัสดุ โดยกรมธนารักษ ไดจดั หาทีร่ าชพัสดุในจังหวัดชลบุรี จังหวัดนครนายก จังหวัดเชียงราย และจังหวัดเชียงใหม เพือ่ ดำเนินการ สรางทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ ซึง่ ผูเ ชาจะไดรบั สิทธิในการเชาเปนระยะเวลา 30 ป โดยทางราชการ อาจตออายุสญ ั ญาเชาออกไปอีกเปนระยะเวลา 30 ป พรอมทัง้ เห็นควรอนุมตั ใิ นหลักการใหบตุ รทีท่ ำหนาที่ เลีย้ งดูบดิ ามารดาทีส่ งู อายุไดรบั สิทธิในการจองโครงการทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุเปนลำดับแรกกอน และเห็นควรยกเวนการนำกฎหมายผังเมืองมาบังคับใชกบั ทีร่ าชพัสดุ


รายละเอียดเพิ่มเติม 40. มาตรการรองรับสังคมผู้สูงอายุ (ต่อ)

2.2. การสนับสนุนการสรางทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ (Senior Complex) บนพืน้ ทีอ่ น่ื โดยใหการเคหะ แหงชาติ ธนาคารอาคารสงเคราะห และสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน ไปดำเนินการจัดหาสถานทีท่ เ่ี หมาะสม เพือ่ นำมาดำเนินการสรางทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ (Senior Complex) และใหบตุ รทีท่ ำหนาทีเ่ ลีย้ งดู บิดามารดาทีส่ งู อายุไดรบั สิทธิในการจองโครงการทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุเปนลำดับแรกกอน 2.3. การสนับสนุนสินเชือ่ เงือ่ นไขผอนปรนโดยใหสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ไดแก ธนาคารออมสิน และธนาคารอาคารสงเคราะห สนับสนุนสินเชือ่ เงือ่ นไขผอนปรนใหแกผปู ระกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ทีต่ อ งการพัฒนาโครงการทีพ่ กั อาศัยสำหรับผูส งู อายุ (Pre-finance) ในวงเงินรวมไมเกิน 4,000 ลานบาท และใหมกี ารจัดสรรวงเงินสินเชือ่ ทีอ่ ยูอ าศัยสำหรับผูส งู อายุ (Post-finance) เพือ่ รองรับการดำเนินโครงการ ในระยะตอไป และใหบตุ รทีท่ ำหนาทีเ่ ลีย้ งดูบดิ ามารดาทีส่ งู อายุไดรบั สิทธิในการจองโครงการทีพ่ กั อาศัย สำหรับผูส งู อายุเปนลำดับแรกกอน 3. มาตรการสินเชือ่ ทีอ่ ยูอ าศัยสำหรับผูส งู อายุ (Reverse Mortgage : RM)เปนการใหเงินกูแ กผทู ม่ี อี ายุ 60 ป ขึน้ ไปทีม่ ที อ่ี ยูอ าศัยทีป่ ลอดภาระหนีเ้ ปนของตนเอง โดยวัตถุประสงคของสินเชือ่ ประเภทดังกลาว เพือ่ ตองการ ใหผสู งู อายุนำสินทรัพยทต่ี นมีกรรมสิทธิม์ าเปลีย่ นเปนรายไดในการดำรงชีพ ซึง่ มูลคาเงินทีก่ ไู ดจะขึน้ อยูก บั อายุของผูก ู มูลคาบาน และอัตราดอกเบีย้ 4. มาตรการบูรณาการระบบบำเหน็จบำนาญ โดยจัดตัง้ คณะกรรมการนโยบายบำเหน็จบำนาญแหงชาติ และกองทุนบำเหน็จบำนาญแหงชาติ (กบข.)



รายละเอียดเพิ่มเติม 41. มาตรการดึงดูดนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติโดยการยกเว้นค่าธรรมเนียมการตรวจลงตรา (Visa) ณ สถานทูตหรือสถานกงสุลไทย และปรับลดค่าธรรมเนียมการตรวจลงตรา ณ ช่องทางอนุญาต ของด่านตรวจคนเข้าเมือง (Visa on Arrival: VOA) เป็นการชั่วคราว คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบเมือ่ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559 ดังนี้ วัตถุประสงค 1) เพือ่ เปนการรักษาระดับขีดความสามารถในการดึงดูดและอำนวยความสะดวกแกนกั ทองเทีย่ วระหวางประเทศ 2) เพือ่ เปนการดึงดูดนักทองเทีย่ วชาวตางชาติในชวงฤดูกาลการทองเทีย่ ว (High Season)ในระยะสัน้ การดำเนินการ 1) ยกเวนคาธรรมเนียมการตรวจลงตรา (Visa) ณ สถานทูตหรือสถานกงสุลไทยจำนวน 1,000 บาทตอคน เปนการชัว่ คราว 2) ปรับลดคาธรรมเนียมการตรวจลงตรา ณ ชองทางอนุญาตของดานตรวจคนเขาเมือง (VOA) ใหแก ชาวตางประเทศ โดยปรับคาธรรมเนียมการตรวจลงตราทีช่ อ งทางอนุญาตของดานตรวจคนเขาเมือง ใชไดครัง้ เดียว จำนวน 19 ประเทศ ไดแก อันดอรรา บัลแกเรีย ภูฏาน จีน ไซปรัส เอธิโอเปย อินเดีย คาซัคสถาน ลัตเวีย ลิทวั เนีย มัลดีฟส มอลตา มอริเชียส โรมาเนีย ซานมาริโน ซาอุดอิ าระเบีย ไตหวัน ยูเครน อุซเบกิสถาน เปนจำนวน 1,000 บาทตอคน เปนการชัว่ คราว ซึง่ เทากับคาธรรมเนียมเดิมกอนทีก่ ฎกระทรวงฉบับที่ 30 (พ.ศ. 2559) มีผลบังคับใช (วันที่ 27 กันยายน 2559) ระยะเวลาดำเนินโครงการ : เริม่ ตัง้ แตวนั ที่ 1 ธันวาคม 2559 - 28 กุมภาพันธ 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 42. มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรรายย่อยผ่านระบบ ธ.ก.ส. คณะรัฐมนตรีมมี ติ วันที่ 27 กันยายน 2559 ดังนี้ (1.) โครงการปลดเปลือ้ งหนีส้ นิ ใหเกษตรกรรายยอยทีม่ เี หตุผดิ ปกติ เชน เสียชีวติ พิการ ทุพพลภาพ เจ็บปวยเรือ้ รัง มีปญ  หาสุขภาพจนไมสามารถประกอบอาชีพได เปนตน มีหนีค้ า งชำระ หรือเปนหนีป้ รับปรุงโครงสรางหนี้ จะดำเนินโครงการใน 2 กรณี ไดแก 1) หากไมมหี ลักประกันจำนองและไมมที ายาทรับชวงการผลิต ธ.ก.ส.จะสอบทานสถานะของเกษตรกร และพิจารณาจำหนายหนีเ้ งินกูอ อกจากบัญชีเปนหนีส้ ญ ู (ธ.ก.ส. ยกหนีใ้ ห) 2) หากมีหลักประกันจำนองและมีทายาทรับชวงการผลิต ธ.ก.ส.จะปรับปรุงโครงสรางหนีจ้ ากตนเงินรอยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ป โดยพักชำระตนเงินเปนระยะเวลา 2 ป คิดดอกเบีย้ ที่ MRR และตนเงินทีเ่ หลือพรอมทัง้ ดอกเบีย้ คางชำระกอนเขาโครงการใหพกั ไว เมือ่ ทายาทชำระหนีต้ น เงินตามแผนปรับปรุงโครงสรางหนีแ้ ลว ธ.ก.ส. จะลดดอกเบีย้ ทีพ่ กั ไวทง้ั จำนวน สวนตนเงินทีพ่ กั ไวอกี รอยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงโครงสรางหนี้ ตามศักยภาพในภายหลัง



รายละเอียดเพิ่มเติม 42. มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรรายย่อยผ่านระบบ ธ.ก.ส. (ต่อ) (2.) โครงการปรับปรุงโครงสรางหนีแ้ ละลดภาระหนีส้ นิ ใหเกษตรกร ทีม่ หี นีเ้ ปนภาระหนัก มีหนีค้ า งชำระ หรือเปนหนีป้ รับปรุงโครงสรางหนี้ จะดำเนินโครงการใน 2 กรณี ไดแก 1) หากเปนเกษตรกรทีม่ อี ายุตง้ั แต 60 ป ขึน้ ไป และเปนลูกคา ธ.ก.ส. มาแลวไมนอ ยกวา 5 ปและ มีทายาทเขาเปนลูกคาแทน ธ.ก.ส. จะรับทายาทเขาเปนลูกคาแทนเกษตรกรรายเดิม และจะปรับปรุงโครงสราง หนีใ้ หแกทายาทตามศักยภาพ จากตนเงินรอยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ป โดยพักชำระตนเงินเปนระยะเวลา 2 ป คิดดอกเบีย้ ที่ MRR สวนตนเงินทีเ่ หลือพรอมทัง้ ดอกเบีย้ คางชำระกอนเขาโครงการใหพกั ไวเมือ่ ทายาทชำระหนี้ ตนเงินตามแผนปรับปรุงโครงสรางหนีแ้ ลว ธ.ก.ส. จะลดดอกเบีย้ ทีพ่ กั ไวจำนวนรอยละ 80 สวนตนเงินทีพ่ กั ไว อีกรอยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงโครงสรางหนีต้ ามศักยภาพในภายหลัง 2) เปนเกษตรกรทีเ่ ปนลูกคา ธ.ก.ส. มาแลวไมนอ ยกวา 5 ป ธ.ก.ส. จะปรับปรุงโครงสรางหนีจ้ าก ตนเงินรอยละ 50 ภายในระยะเวลา 5 ป และพักชำระตนเงินเปนระยะเวลา 2 ป คิดดอกเบีย้ ที่ MRR สวนตนเงินทีเ่ หลือพรอมทัง้ ดอกเบีย้ คางชำระกอนเขาโครงการใหพกั ไว เมือ่ ชำระหนีต้ น เงินตามแผน ปรับปรุงโครงสรางหนี้ ธ.ก.ส. จะลดดอกเบีย้ ทีพ่ กั ไวจำนวนรอยละ 50 สวนตนเงินทีพ่ กั ไวอกี รอยละ 50 จะพิจารณาปรับปรุงโครงสรางหนีต้ ามศักยภาพในภายหลัง



รายละเอียดเพิ่มเติม 42. มาตรการส่งเสริมคุณภาพชีวิตเกษตรกรรายย่อยผ่านระบบ ธ.ก.ส. (ต่อ) (3.) โครงการชำระดีมคี นื แกเกษตรกรทีไ่ มมปี ญ  หาการชำระหนี้ สำหรับเกษตรกรทีไ่ มมปี ญ  หาการชำระหนี้ ธ.ก.ส. จะคืนดอกเบีย้ ในสวนทีล่ กู คาสงชำระ ระหวางวันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 – 31 ตุลาคม 2560 ในอัตรารอยละ 30 ของจำนวนดอกเบีย้ ทีช่ ำระ โดยตัดเงินตน หรือคืนใหลกู คาเปนเงินสดแลวแตกรณี พรอมทัง้ สนับสนุนสินเชือ่ เพือ่ เปนคาใชจา ยในครัวเรือนกรณีฉกุ เฉินจำเปนรายละไมเกิน 100,000 บาท ระยะเวลาดำเนินโครงการ : 1 พฤศจิกายน 2559 – 31 ตุลาคม 2560



รายละเอียดเพิ่มเติม 43. มาตรการช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยปี 2559/60

คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบและอนุมตั ิ วันที่ 11 ตุลาคม ดังนี้ 1. มาตรการชวยเหลือเยียวยาเกษตรกรผูป ระสบอุทกภัยป 2559/60 กรณีไดรบั ผลกระทบใหดำเนินการชวยเหลือ เยียวยาเปนเงิน โดยมีหลักเกณฑ ดังนี้ คุณสมบัตขิ องเกษตรกร 1) เปนเกษตรกรทีอ่ ยูใ นพืน้ ทีต่ ามประกาศเขตการใหความชวยเหลือผูป ระสบภัยพิบตั กิ รณีฉกุ เฉิน (อุทกภัย) ตัง้ แตวนั ที่ 18 พฤษภาคม 2559 จนกวาจะสิน้ สุดฤดูฝนของภาคใต (ประมาณเดือนกุมภาพันธ 2560) 2) เปนเกษตรกรทีข่ น้ึ ทะเบียนและประกอบกิจกรรมการเกษตรในชวงทีผ่ า นมาตามทีแ่ จงขึน้ ทะเบียน กับหนวยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณกอ นเกิดภัยเทานัน้ หากเกษตรกรรายใดไดรบั ผลกระทบ มากกวา 1 ดาน ใหไดรบั การชวยเหลือเพียง 1 ดาน โดยใหเกษตรกรเปนผูร ะบุวา จะขอรับการชวยเหลือดานใด 3) เปนเกษตรกรทีไ่ ดรบั การรับรองจากคณะกรรมการระดับหมูบ า น/ชุมชนอัตราการชวยเหลือเยียวยา เกษตรกรผูป ระสบอุทกภัยป 2559/60 กรณีไดรบั ผลกระทบชวยเหลือเยียวยาดานพืชดานประมง ดานปศุสตั ว อัตราครัวเรือนละ 3,000 บาท กรอบวงเงินการชวยเหลือเยียวยา จำนวน 5,427 หมูบ า นกระทรวงเกษตรและ สหกรณคิดกรอบวงเงินโดยคำนวณเฉลี่ยหมูบานละ 120 ครัวเรือนเกษตรครัวเรือนละ 3,000 บาท ระยะเวลาดำเนินโครงการ :วันที่ 18 พฤษภาคม 2559 ถึง 28 กุมภาพันธ 2560


รายละเอียดเพิ่มเติม 43. มาตรการช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยปี 2559/60 (ต่อ) 2.2.1) โครงการบูรณาการมาตรการชวยเหลือเกษตรกรทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากภัยแลง ป 2558/59 ทีข่ ยาย ระยะเวลาชำระหนีเ้ ดิมไปจนถึงวันที่ 31 ตุลาคม 2560 2.2.2.) โครงการพักชำระหนีแ้ ละลดดอกเบีย้ เกษตรกรผูป ลูกขาวทีเ่ ปนลูกคา ธ.ก.ส. ทีม่ หี นีเ้ งินกู วัตถุประสงค เพือ่ การปลูกขาว เปนระยะเวลา 2 ป สิน้ สุดวันที่ 30 มิถนุ ายน 2561 และลดดอกเบีย้ เงินกูใ หกบั เกษตรกร รอยละ 3 ตอป 2.2.3) มาตรการชวยเหลือเกษตรกรรายยอย ผานระบบ ธ.ก.ส. เพือ่ บรรเทาภาระหนีส้ นิ ใหกบั เกษตรกร โครงการปรับปรุงโครงสรางหนีแ้ ละลดภาระหนีส้ นิ ใหเกษตรกร รวมถึง การคืนดอกเบีย้ ใหลกู คาเพือ่ ลดภาระหนี้


รายละเอียดเพิ่มเติม 43. มาตรการช่วยเหลือเยียวยาเกษตรกรผู้ประสบอุทกภัยปี 2559/60 (ต่อ) 2.2.4) โครงการพักชำระหนีแ้ ละลดดอกเบีย้ เกษตรกรผูป ลูกมันสำปะหลังทีเ่ ปนลูกคา ธ.ก.ส. ทีม่ หี นีเ้ งินกู วัตถุประสงคเพือ่ การปลูกมันสำปะหลัง เปนระยะเวลา 2 ป สิน้ สุดวันที่ 31 สิงหาคม 2561 และลดดอกเบีย้ เงินกูใ หกบั เกษตรกรรอยละ 3 ตอป สำหรับเกษตรกรทีไ่ มไดการชวยเหลือตามมติคณะรัฐมนตรีดงั กลาว ธ.ก.ส. จะชวยเหลือเกษตรกรลูกคาตามหลักเกณฑ ดังนี้ 1) ขยายระยะเวลาชำระหนีใ้ หกบั เกษตรกรทีป่ ระสบภัยเปนระยะเวลาไมเกิน 12 เดือน 2) กำหนดระยะเวลาชำระหนีเ้ ดิมใหเหมาะสมกับภาวะการผลิตของเกษตรกรแตละราย 3) ใหสนิ เชือ่ ใหมแกเกษตรกรเพือ่ ฟน ฟูการประกอบอาชีพของตนเอง อัตราดอกเบีย้ MRR 3. มาตรการฟน ฟูอาชีพสนับสนุนปจจัยการผลิตและองคความรูเ พือ่ การปรับตัวตอภัยพิบตั กิ ระทรวงเกษตร และสหกรณ โดยสวนราชการในสังกัด จะจัดทำโครงการภายใตมาตรการฟน ฟูอาชีพสนับสนุนปจจัยการผลิต และองคความรูเ พือ่ การปรับตัวตอภัยพิบตั ิ อาทิ การสงเสริมการปลูกขาวโพดเลีย้ งสัตว การปลูกพืชหลากหลาย โครงการธนาคารโค-กระบือ สนับสนุนพันธุส ตั วปก สนับสนุนพันธุส ตั วนำ้ และสงเสริมองคความรูเ พือ่ การปรับตัว ตอภัยพิบตั ิ



รายละเอียดเพิ่มเติม 44. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2559/60 ด้านการผลิต (เพิ่มเติม) : การปรับเปลี่ยนพื้นที่ ปลูกข้าว ปี 2559/60 รอบที่ 2 คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบเมือ่ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 ดังนี้ 1.โครงการปลูกพืชปุย สดวัตถุประสงค เพือ่ ลดพืน้ ทีก่ ารปลูกขาวในฤดูนาปรัง ป 2560 เพือ่ ผลิตเมล็ดพันธุพ ชื ปุย สด และเพือ่ ปรับปรุงบำรุงดินโดยใชพชื ปุย สด ดำเนินการในพืน้ ที่ 19 จังหวัดลุม น้ำเจาพระยา จำนวน 200,000 ไร วิธดี ำเนินการ สงเสริมใหเกษตรกรปลูกพืชปุย สด เพือ่ ผลิตเมล็ดพันธุข ายคืนใหกรมพัฒนาทีด่ นิ จำนวน 50,000 ไร และสนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชปุย สด เพือ่ ไถกลบ จำนวน 150,000 ไร โดยสนับสนุนเมล็ดพันธุต น ทุน ใหแกเกษตรกร ไรละ 5 กิโลกรัม รายละไมเกิน 20 ไร และสนับสนุนคาไถเตรียมดินครัง้ แรกใหเกษตรกร ไรละ 500 บาท (200,000 ไร) และคาไถกลบเฉพาะพืน้ ทีท่ ป่ี ลูกและไถกลบพืชปุย สดไรละ 500 บาท (150,000 ไร) ซึง่ กรมพัฒนาทีด่ นิ จะรับซือ้ เมล็ดพันธุพ ชื ปุย สดคืนจากเกษตรกร จำนวน 6,000 ตัน ในราคากิโลกรัมละ 20 บาท ระยะเวลาดำเนินโครงการ : ตุลาคม 2559 – พฤษภาคม 2560


รายละเอียดเพิ่มเติม 44. มาตรการช่วยเหลือเกษตรกร ปี 2559/60 ด้านการผลิต (เพิ่มเติม) : การปรับเปลี่ยนพื้นที่ ปลูกข้าว ปี 2559/60 รอบที่ 2 (ต่อ) 2. โครงการสงเสริมการผลิตขาวโพดเลีย้ งสัตว วัตถุประสงค เพื่อลดพื้นที่และผลผลิตขาว เพิ่มพื้นที่และผลผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว และใหเกษตรกรผูปลูกขาวไดเรียนรู การปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวฤดูแลงในพื้นที่นาหลังการเก็บเกี่ยวขาวนาป รวมถึงใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น จากการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวทดแทนการปลูกขาวที่ใหผลตอบแทนต่ำกวา ดำเนินการในพื้นที่ 35 จังหวัด จำนวน 2,000,000 ไร ในพื้นที่เหมาะสมในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวมาก พื้นที่เหมาะสมในการปลูกขาวโพด เลีย้ งสัตวปานกลาง ในเขตชลประทาน หรือแหลงน้ำอืน่ ทีม่ นี ำ้ ตลอดการเพาะปลูก ทีเ่ กษตรกรเคยปลูกขาวนาปรัง อยางนอย 1 ป ในรอบ 4 ปทผ่ี า นมา (ป 2555/56 – 2558/59) รวมทัง้ มีแหลงน้ำเพียงพอตลอดฤดูปลูกขาวโพด เลีย้ งสัตว (500-700 ลูกบาศกเมตรตอไร) โดยความรวมมือของภาคเอกชน ภาครัฐ และ ธ.ก.ส. วิธดี ำเนินการ ธ.ก.ส. สนับสนุนสินเชือ่ เปนคาใชจา ยในการปลูกขาวโพดเลีย้ งสัตวแกเกษตรกร ไรละ 4,000 บาท ผานบัญชี ธ.ก.ส. ซึง่ ธนาคาร คิดดอกเบีย้ ในอัตรา MRR (ปจจุบนั เทากับรอยละ 7 ตอป) โดยเรียกเก็บจากเกษตรกรในอัตรา รอยละ 4 ตอป และรัฐบาลชดเชยดอกเบีย้ ให ธ.ก.ส. ในอัตรารอยละ 3 ตอป ตลอดระยะเวลาโครงการ และ ภาคเอกชนทีเ่ ขารวมโครงการ รับซือ้ ผลผลิตผานสหกรณการเกษตรเพือ่ ตลาดลูกคา ธ.ก.ส. หรือสหกรณการเกษตร หรือเครือขายเกษตรกรของภาคเอกชนในทองถิน่ โดยรับซือ้ ขาวโพดเลีย้ งสัตวชนิดเมล็ด กิโลกรัมละไมตำ่ กวา 8 บาท



รายละเอียดเพิ่มเติม 45. โครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั โิ ครงการเมือ่ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2559 ดังนี้ 1. คุณสมบัตขิ องผูม สี ทิ ธิลงทะเบียน ดังนี้ 1.1. วางงานหรือมีรายไดทง้ั สิน้ ไมเกิน 100,000 บาทตอป และเปนรูปแบบสมัครใจ (Voluntary Basis) 1.2. มีอายุตง้ั แต 18 ปขน้ึ ไป และมีสญ ั ชาติไทย 2. กลไกการดำเนินการ 2.1. ลงทะเบียน ณ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร ธนาคารออมสิน และธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) ระหวางวันที่ 15 กรกฎาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2559 สำหรับปตอ ๆ ไปใหลงทะเบียนระหวางวันที่ 1 ถึงวันที่ 30 กันยายน ของแตละป 2.2. สถาบันการเงินตามขอ 1) สงขอมูลอิเล็กทรอนิกสไปยังกรมสรรพากร เพือ่ จัดเก็บขอมูล และทำการตรวจสอบ ความถูกตองในภายหลัง (Post Audit) 2.3. กรมสรรพากรเชือ่ มโยงขอมูลไปยังฐานขอมูลทะเบียนราษฎร เพือ่ ประมวลขอมูลผูม รี ายไดนอ ย แลวนำไปใช ในการจัดสวัสดิการสังคมภายใตโครงการ e-Payment ภาครัฐในระยะตอไป ระยะเวลาในการดำเนินลงทะเบียนโครงการ วันที่ 1 -30 กันยายน ของแตละป



รายละเอียดเพิ่มเติม 46. ขอขยายระยะเวลาดำเนินมาตรการลดภาระค่าครองชีพของประชาชนด้านการเดินทาง ออกไปอีก 6 เดือน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559-30 เมษายน 2560 คณะรัฐมนตรีมมี ติเห็นชอบเมือ่ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559 ดังนี้ 1 มาตรการลดคาใชจา ยเดินทางรถโดยสารประจำทางดำเนินการผานองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) โดยรัฐรับภาระคาใชจา ยการจัดรถโดยสารประจำทางธรรมดาจำนวน 800 คันตอวัน ใน73 เสนทาง ใหบริการ แกประชาชนโดยไมเสียคาใชจา ย 2 มาตรการลดคาใชจา ยเดินทางโดยรถไฟชัน้ 3 ดำเนินการผานการรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) โดยรัฐรับภาระคาใชจา ยการจัดรถไฟชัน้ 3 เชิงสังคม จำนวน 152 ขบวนตอวัน และรถไฟชัน้ 3 ระยะทางไกล ในขบวนรถเชิงพาณิชยจำนวน 8 ขบวนตอวัน ใหบริการแกประชาชนโดยไมเสียคาใชจา ย ระยะเวลาดำเนินโครงการ : 1 พฤศจิกายน 2559- 30 เมษายน 2560


บรรณานุกรม สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมสรรพากร กระทรวงพาณิชย กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา

: : : : : : :

www.boi.go.th www.fpo.go.th www.rd.go.th www.moc.go.th www.moac.go.th www.moph.go.th www.mots.go.th



150 ถนนราชบพิธ แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 โทรศัพท 0 2018 6888

www.thaichamber.org


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.