EDITOR’S NOTE ศูนยพยากรณเศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เก็บความเห็นผูประกอบการ 1,253 ราย พบวา SME ไทยมีความสามารถทางธุรกิจดานการสรางความสัมพันธกับลูกคา และคุณภาพ แตยังมีความกังวลดานการ บริหารตนทุนที่ผลของคาดัชนีออกมายังอยูในระดับต่ำ อยางไรในภาพรวม ผลสำรวจดัชนีสถานการณธุรกิจ SMEs และดัชนีความสามารถในการแขงขันของธุรกิจ SMEs ไตรมาสที่ 1/2561 โดยไดรวมมือกับ ธนาคารพัฒนาวิสากิจ ขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (SME Development Bank) พบวา ผลสำรวจดัชนีสถานการณธุรกิจ SMEs ไตรมาสที่ 1/2561 อยูที่ระดับ 42.8 ปรับตัวดีขึ้น 0.5 จุด เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา ขณะที่แนวโนม ดัชนีสถานการณธุรกิจในอนาคต (ไตรมาสที่ 2/2561) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นที่มาแตะระดับ 43.7 ซึ่งเพื่อให SME ไดเห็น ผลของดัชนีเพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาความสามารถดานตางๆ ฉบับนี้จึงนำเรื่องดัชนีความสามารถในการแขงขัน ของธุรกิจ SMEs มาเปนรายงานพิเศษ นอกจากนี้ ฉบับนี้ยังเต็มอิ่มดวยเนื้อหามากมายอาทิ บทสัมภาษณแนวโนมเศรษฐกิจ สงออก ทองเที่ยวโดย ผศ. ดร. ธนวรรธน พลวิชัย อาจารยนักพยากรณเศรษฐกิจจากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย และตอดวยเรื่องสถานภาพ แรงงานไทย และตอดวยเรื่อง “กรอบนโยบายความเปนผูประกอบการและแนวทางการปฎิบัติ (ตอนจบ)” โดย สถาบัน ระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (ITD) นอกจากนี้ ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย ไดรวมนำเสนอเรื่อง “แนวโนมผูบริโภควัยเด็ก...สรางโอกาสขยายตลาดสินคาและบริการ” นอกจากนี้ ฉบับนี้ Strategy Section เรายังนำกลยุทธการพัฒนาธุรกิจและกรณีศึกษามานำเสนออีกเชนเคย กับบทสัมภาษณ “คุณสาลินี รัตนชัยสิทธิ์” กับการสรางแบรนด Cyrano Design จากความชอบดานการวาดรูป มาสรางเปนธุรกิจที่มีเอกลักษณและสรางรายได ตอดวยศาสตรธุรกิจครอบครัวโดย “ผศ. ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล” เรื่อง “ภาวะผูนำ” และ YEC Update กับ คุณธนกฤต ศิริไพรวัน ประธาน YEC จังหวัดปตตานี ผูมุงมั่นพัฒนา บานเกิดถึงวาจะเกิดเหตุการณใดๆ ก็ตาม แตเขาไมเคยยอทอและยืนหยัด เพื่อบานเกิด... จังหวัดปตตานี ฉบับเมษายนนี้ กับผลวิเคราะห บทความ และบทสัมภาษณมากมาย มาใหผูอานไดเติมเต็มแนวคิด เพื่อ ตอยอด บวกดวย เนื้อหาหลากหลายมาอัพเดตเรื่องเศรษฐกิจ และธุรกิจ พรอมกับความรูดานกลยุทธ จากทีม คณาจารยมหาวิทยาลัยหอการคาไทย เราหวังวาเนื้อหาในเลมนี้จะสรางคุณประโยชนในการตอยอดทางความคิดคะ
อารดา มหามิตร บรรณาธิการบริหาร
06
CONTENTS
April 2018
www.facebook.com/ThailandEcoReview
6
Line : @ThailandEcoReview
Editor’s Notes
14
เศรษฐกิจ-สงออก-ทองเที่ยวปรับตัวบวก ดันดัชนีความเชื่อมั่นเดือนมี.ค.แตะ 79.9 หวั่นการเมือง-สงครามการคา และเงินบาทแข็งคาจากตางประเทศ
18
สถานภาพแรงงานไทย: กรณีศึกษา ผูมีรายไดต่ำกวา 15,000 บาท
23
กรอบนโยบายความเปนผูประกอบการ และแนวทางการปฏิบัติ (ตอนจบ)
28
ดัชนีสถานการณธุรกิจ SMEs และดัชนี ความสามารถในการแขงขันของธุรกิจ SMEs ประจำไตรมาสที่ 1/2561
34
แนวโนมผูบริโภควัยเด็กโลก… สรางโอกาสขยายตลาดสินคาและบริการ
38
นักธุรกิจไทย-อิตาลี เขารวมการประชุม Thai-Italian Business Forum ครั้งที่ 4
46
ธุรกิจครอบครัว ตอน ภาวะผูนำ
58
นักธุรกิจรุนใหม หอการคาไทย กับความเปนผูนำ
COVER STORY ดัชนีสถานการณธุรกิจ SMEs และดัชนี ความสามารถในการแขงขันของธุรกิจ SMEs ประจำไตรมาสที่ 1/2561
Designed by Jannoon028 / Freepik
18
ทีมบรรณาธิการ ที่ปรึกษา: อิสระ วองกุศลกิจ, วิชัย อัศรัสกร, รศ.ดร. จีรเดช อูสวัสดิ์, ณรงค จุนเจือศุภฤกษ บรรณาธิการอำนวยการ: รศ.ดร. เสาวณีย ไทยรุงโรจน รองบรรณาธิการอำนวยการ: ผศ.ดร. ธนวรรธน พลวิชัย บรรณาธิการบริหาร: อารดา มหามิตร รองบรรณาธิการบริหาร: ทิติภา ตั้งใจในธรรม, ดร.โศภชา เอี่ยมโอภาส กองบรรณาธิการ: กาญจนา ไทยชน, ปยะ นนทรักษ, คมกริช นาคะลักษณ, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, ดร. จักรกรินทร ศรีมูล, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. ภาณุชาติ บุณยเกียรติ, อ.มานา คุณธาราภรณ, อ. อรพรรณ สุนทรกลัมพ อำนวยการศิลปกรรม: มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขากองบรรณาธิการ: จิตตดิษฐภัสสร จินดาวานิชสกุล คอลัมนิสต: รศ.ดร. วันชัย รัตนวงษ, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, รศ. สุธรรม อยูในธรรม, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ, ดร. ปยะบุตร บุญอรามเรือง, ดร. ไพจิตร วิบูลยธนสาร, ดร. ศศิวิมล วรุณสิริ, ดร.ตระหนักจิต ยุตยรรยง, ดร.จิตรัตน ชางหลอ ฯลฯ พิสูจนอักษร: อ.สุรีย พงศอารักษ ฝายโฆษณาและการตลาด: ศรายุทธ เวสารัชวิทย, วีณา สุขใจ, เสาวนีย เทียมเมือง, สุดาวรรณ เข็มทอง ฝายบัญชีและการเงิน: เบญจวรรณ มณีพันธุ ติดตอลงโฆษณาไดที่ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โทร. 02-697-6861-3 แฟกซ 02-277-1803
CONTENTS
April 2018
10
40
54
สาลินี รัตนชัยสิทธิ์
ธนกฤต ศิริไพรวัน
เจาของแบรนด CyranoDesign ผูแปลง Skill ความชอบใหเปนธุรกิจ
ประธาน YEC ปตตานี ทายาทหางทองเกาแกคูเมือง
เศรษฐกิจ-สงออก-ทองเที่ยวปรับตัวบวก ดันดัชนีความเชื่อมั่นเดือนมี.ค.แตะ 79.9 หวั่นการเมือง-สงครามการคา และเงินบาทแข็งคาจากตางประเทศ แนวโนมผูบริโภควัยเด็กโลก … สรางโอกาสขยายตลาด สินคาและบริการ
14
ถาเกิดภาวะสงครามทางการคาหรือสงครามจริงเกิดขึ้น จะทำใหภาคการสงออกและภาคการทองเที่ยวของไทย อาจจะกลับมาชะลอตัวอีกครั้งได และภาวะสงครามตางๆ อาจทำใหกำลังซื้อของทั้งโลกซึมตัวลง และสงผลใหราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำลง หรือทรงตัวอยูในระดับต่ำไปอีกนาน ซึ่งจะ ไมเปนผลดีตอเศรษฐกิจไทยเลย
กรอบนโยบาย ความเปนผูประกอบการ และ แนวทางการปฏิบัติซึ่งจัดทำ UNCTAD มีความครอบคลุมในมิติ สำคัญที่จำเปนตอการสรางและพัฒนา ผูประกอบการเยาวชนใหสามารถเติบโต เปนพลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา เศรษฐกิจที่ประเทศไทยซึ่งมีนโยบายพัฒนา ผูประกอบการควรใหความสำคัญ และนำมาใชให ครบทุกมิติ รวมทั้งตองการศึกษาประเมินวาประเทศไทย ไดดำเนินการพัฒนาผูประกอบการ ครบถวนทุกมิติหรือไม
23
ธุรกิจครอบครัว ตอน ภาวะผูนำ 12
ประชากรวัยเด็ก (อายุระหวาง 0-14 ป) มีแนวโนมจะเปนกลุมผูบริโภคที่นาสนใจไมแพ กลุมประชากรวัยอื่นๆ เพราะนอกจากมีจำนวนสูงถึงราว 1.93 พันลานคน ในป 2558 คิดเปนสัดสวนสูงถึง 1 ใน 4 ของประชากรโลกแลว ยังคาดวาประชากรวัยเด็ก จะเพิ่มขึ้นตอเนื่องเปน 1.99 พันลานคน ในป 2563 และ 2.02 พันลานคน ในป 2568
58
การเปนผูนำที่ดีนั้น นอกเหนือจาก คุณสมบัติขั้นพื้นฐาน เชน การมีน้ำใจ จริงใจ คิดถึงประโยชนสวนรวมเปนหลัก มีความ ยุติธรรม มีทัศนคติที่ดีแลว ยังมีอีก 3 ดาน ที่ผูนำควรพัฒนา คือ 1. Equip with Capability 2. High Acceptability การบริหารจัดการและการเปนผูนำ 3. Dream of Reality ตางก็มีความสำคัญ อยางไรก็ตามในธุรกิจ ครอบครัวที่ใหความสำคัญการบริหารจัดการ จนเกินพอดี มีการจัดการและควบคุมมาก ยอมไมกอใหเกิดความสรางสรรคและ สรางความยั่งยืนอยางแทจริงใหกับ ธุรกิจครอบครัวได
46
กรอบนโยบาย ความเปนผูประกอบการ และแนวทางการปฏิบัติ (ตอนจบ)
34
นักธุรกิจรุนใหม หอการคาไทย กับความเปนผูนำ
Economic Review
เศรษฐกิจ-ส่งออก-ท่องเที่ยวปรับตัวบวก ดันดัชนีความเชื่อมั่นเดือนมี.ค.แตะ 79.9 หวั่นการเมือง-สงครามการค้า และเงินบาทแข็งค่าจากต่างประเทศ º·ÊÑÁÀÒɳ
ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชัย Ãͧ͸ԡÒú´ÕÍÒÇØâʽ†ÒÂÇÔªÒ¡ÒÃáÅÐÇԨѠáÅмٌÍӹǡÒÃÈٹ ¾Âҡó àÈÃÉ°¡Ô¨áÅиØáԨ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â àÃÕºàÃÕ§â´Â ·ÕÁºÃóҸԡÒÃ
ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชัย ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณ เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เปดเผยผลของ การสำรวจความเชื่อมั่นของผูบริโภคใน เดือนมีนาคม 2561 วา มีการปรับตัว ดีขึ้น เนื่องจากผูบริโภครูสึกวาการสง ออกและการทองเที่ยวเริ่มปรับตัวดีขึ้น อย า งต อ เนื ่ อ งส ง ผลให เ ศรษฐกิ จ เริ ่ ม ปรับตัวดีขึ้นเปนลำดับ อยางไรก็ตาม ผูบริโภคยังมีความ กังวลเกี่ยวกับสถานการณทางการเมือง ไทยและสถานการณการเมืองที่อาจมี การเลื่อนการเลือกตั้งออกไป สภาวะ สงครามการคา ตลอดจนราคาพืชผล ทางการเกษตรโดยสวนใหญยังทรงตัว อยูในระดับต่ำทำใหกำลังซื้อทั่วไปใน หลายจั ง หวั ด ทั ่ ว ประเทศขยายตั ว ใน ระดับต่ำ นอกจากนี้ ผูบริโภคสวนหนึ่ง ยังกังวลตอผลกระทบจากการแข็งคา ของเงินบาทอยางรวดเร็ว และการปรับ ขึ ้ น ค า แรงขั ้ น ต่ ำ ที ่ อ าจส ง ผลต อ การ
ผ
14
ฟ น ตั ว ของเศรษฐกิ จ ไทยในอนาคต นอกจากนี้ ผูบริโภคยังมีความรูสึกวา เศรษฐกิจไทยฟนตัวไมมากนัก อีกทั้ง ยังฟนตัวชา และการฟนตัวยังกระจุก
97.4 ตามลำดับ ทัง้ นี้ ดัชนียงั อยูใ นระดับ ต่ำกวาปกติ (ที่ระดับ 100) แสดงวา ผู บ ริ โ ภคยั ง ไม ม ี ค วามมั ่ น ใจเกี ่ ย วกั บ สถานการณทางเศรษฐกิจ โอกาสใน
ผู้บริโภคยังมีความกังวลเกี่ยวกับสถานการณ์ทาง การเมืองไทยและสถานการณ์การเมืองที่อาจมีการ เลื่อนการเลือกตั้งออกไป สภาวะสงครามการค้า ตลอดจนราคาพืชผลทางการเกษตรโดยส่วนใหญ่ ยังทรงตัวอยู่ในระดับต่ำทำให้กำลังซื้อทั่วไปใน หลายจังหวัดทั่วประเทศขยายตัวในระดับต่ำ ตัวไมกระจายตัวทั่วทุกภูมิภาค ดัชนีความเชือ่ มัน่ เกีย่ วกับเศรษฐกิจ โดยรวม ดัชนีความเชื่อมั่นเกี่ยวกับ โอกาสหางานทำโดยรวม และดัชนี ความเชื่อมั่นเกี่ยวกับรายไดในอนาคต อยูที่ระดับ 66.8 74.9 และ 98.0 ตามลำดับ โดยปรับตัวลดลงทุกรายการ เมื่อเทียบกับดัชนีในเดือนกุมภาพันธ 2561 ที่อยูในระดับ 66.2 74.2 และ
การหางานทำ มากนัก
และรายไดในอนาคต
สงครามโลก กับความเสี่ยง ของเศรษฐกิจไทย
เดือนมีนาคมที่ผานมา คำวา "สงคราม" สรางความกังวลใจใหกับผู คนทั่วโลก โดยเฉพาะคอเศรษฐกิจรูสึก
Economic Review
15
Economic Review
ไมสบายใจกับ "สงครามการคา หรือ Trade War" ระหวางสหรัฐกับจีน แต ในชวง 2 สัปดาหที่ผานมา ผูคนทั่วโลก เผชิญกับความนากังวลกับ "สงคราม" คูใหม ระหวางสหรัฐกับรัสเซีย แตครั้งนี้ ไมใชภาวะสงครามทางการคา แตเปน สงครามทางการทหารที่อาจจะมีการ เผชิญหนากันโดยใชอาวุธเขาห้ำหั่นกัน ระหวางสหรัฐกับรัสเซีย ทำไมสงครามทั้ง 2 เรื่องจึงกลาย เปนความเสีย่ งตอเศรษฐกิจไทย คำตอบ งายๆ ก็คือเศรษฐกิจไทยในปจจุบันที่ กำลังฟนตัวอยูในขณะนี้เปนการฟนตัว แบบกระจุกตัว โดยเฉพาะภาคเศรษฐกิจ และธุรกิจที่ผูกพันกับการฟนตัวของ เศรษฐกิจโลก นั่นคือภาคการสงออก และภาคทองเที่ยว หากเศรษฐกิจโลก ที่กำลังฟนตัวอยูกลับชะงักงันลงหรือ การฟนตัวสะดุดลง จะทำใหเศรษฐกิจ ไทยที่กำลังฟนตัวอยูมีปญหาและอาจ กลับมาชะลอตัวลงได เพราะกำลังซื้อ ในประเทศโดยเฉพาะกำลังซื้อในตาง จังหวัดและพื้นที่ที่ผูกพันกับภาคการ 16
เกษตรแถบทุกหมวดไมวาจะเปนสินคา พืชไร ประมงและปศุสตั ว ลวนแตประสบ กับปญหาราคาตกต่ำ หรือทรงตัวอยูใน ระดับต่ำกวาคาเฉลี่ยในชวง 3 ปที่ผาน มาหลายรายการ ทำใหกำลังซื้อภายใน ประเทศ โดยเฉพาะในตางจังหวัดยัง เปราะบาง
หลายฝ่ายยังไม่ไว้วางใจ สถานการณ์ ในยุค นายกฯทรัมป์
ดังนั้น ถาเกิดภาวะสงครามทาง การคาหรือสงครามจริงเกิดขึน้ จะทำให ภาคการสงออกและภาคการทองเที่ยว ของไทยอาจจะกลับมาชะลอตัวอีกครั้ง ได และภาวะสงครามตางๆ อาจทำให กำลังซื้อของทั้งโลกซึมตัวลง และสง ผลใหราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำ ลง หรือทรงตัวอยูในระดับต่ำไปอีกนาน ซึ่งจะไมเปนผลดีตอเศรษฐกิจไทยเลย แมวาสถานการณภาวะสงครามทั้ง 2 เรื่องที่ไดอางถึงขางตนทั้งสงครามการ ค า และสงครามการเมื อ งระหว า ง
ประเทศจะมีทาทีคลี่คลายลง แตนัก ลงทุนและนักวิเคราะหทั่วโลกตางยัง ไมไววางใจในสถานการณตางๆ มากนัก เพราะไมแนใจวาจะมีเหตุการณแปลกๆ อื่นๆ ที่จะทำใหเกิดความผันผวนตอ ภาวะการฟนตัวของเศรษฐกิจโลกไดอีก หรือไม โดยเฉพาะอยางยิง่ ในสถานการณ ที่ประธานาธิบดีสหรัฐคนปจจุบันชื่อ โดนัลด ทรัมป ซึ่งเปนบุคคลที่ทำเรื่อง ราวที่ไมคาดฝนเกิดขึ้นกับคนทั้งโลก ไดตลอดเวลา สงครามการคาของจีนกับสหรัฐที่ เริ ่ ม เกิ ด ขึ ้ น ในช ว งต น เดื อ นมี น าคม 2561 เปนตนมา ที่มีการปรับขึ้นภาษี ศุลกากรของสหรัฐหลายรายการ โดย พุงเปาไปที่สินคาของประเทศจีนเปน หลัก จนที่การตอบโตดวยวาจาจาก ผูนำประเทศและผูบริหารระดับสูงของ ทั ้ ง สองประเทศหลายครั ้ ง หลายครา หลังจากจีนและอเมริกาผลัดกันขูขึ้น ภาษีสินคานำเขาตอบโตกันรวมมูลคา หลายแสนลานดอลลาร อยางไรก็ตาม สัปดาหท่แี ลว ประธานาธิบดีของจีนมี
Economic Review
น้ำเสียงและทาทีประนีประนอมมากขึ้น โดยใหสัญญาลดภาษีศุลกากรรถยนต และจะเปดตลาดจีนมากขึ้น ขณะที่สงครามการเมืองระหวาง ประเทศสหรัฐกับรัสเซียเกี่ยวกับซีเรีย ที ่ ส หรั ฐ ร ว มกั บ พั น ธมิ ต รยิ ง จรวจใส สถานที่ตั้งที่สันนิษฐานวาเปนโรงงาน ผลิตอาวุธเคมีในซีเรีย จนประธานาธิบดี รัสเซียประกาศตอบโต และประกาศ พรอมทำสงครามกับสหรัฐและพันธมิตร จนกระทั่งมีกระแสวาสหรัฐจะประกาศ มาตรการตอบโต ท างเศรษฐกิ จ หรื อ คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจกับรัสเซีย แต ในที่สุดประธานาธิบดีสหรัฐตัดสินใจ ไมออกมาตรการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจ กับรัสเซียหลังจากที่ทาทีของรัสเซียกับ ประเทศตะวันตกและสหรัฐมีทาทีวา จะเจรจากันได
ท่าทีระหว่างสหรัฐ และ รัสเซีย ต่อกรณีซีเรีย ยังแข็งกร้าว
อยางไรก็ตาม สถานการณทั้งสอง ไมใชวาจะคลี่คลายลงไปอยางหมดสิ้น เพราะความคุกรุนยังคงมีอยู โดยลาสุด เมื่อไมกี่วันที่ผานมา ประธานาธิบดี โดนัลด ทรัมป ของสหรัฐอเมริกา ยัง คงแสดงทาทีแข็งกราวอยางตอเนื่อง ดวยการสำทับซ้ำตอรัฐบาลของซีเรียวา สหรัฐยังคงอาวุธเพื่อการถลมซีเรียใหม อี ก ครั ้ ง หากยั ง คงใช อ าวุ ธ เคมี ใ นการ ปราบปรามฝายกบฏในสงครามกลาง เมืองที่ดำเนินมาตอเนื่องกวา 7 ป หลัง จากสหรัฐอเมริการวมมือกับพันธมิตร
อยางอังกฤษและฝรั่งเศสยิงมิสไซลกวา 100 ลูกถลม 3 เปาหมายใน 2 เมือง ใหญของซีเรีย เมื่อคืนวันที่ 13 เมษายน ทีผ่ า นมา ซึง่ เรือ่ งนีเ้ อกอัครราชทูตผูแ ทน
ตอบโต ส หรั ฐ หากมี ก ารออกนโยบาย ในทิศทางผิดๆ เพิ่มเติม โดยสหรัฐไม ควรประเมินสถานการณผิด และจีนเอง ยังมีความมุงมั่นที่จริงจังในการปฏิรูป
ถ้าเกิดภาวะสงครามทางการค้าหรือสงครามจริง เกิดขึ้น จะทำให้ภาคการส่งออกและภาคการ ท่องเที่ยวของไทยอาจจะกลับมาชะลอตัวอีกครั้งได้ และภาวะสงครามต่างๆ อาจทำให้กำลังซื้อของ ทั้งโลกซึมตัวลง และส่งผลให้ราคาพืชผลทาง การเกษตรตกต่ำลง หรือทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ ไปอีกนาน ซึ่งจะไม่เป็นผลดีต่อเศรษฐกิจไทยเลย ถาวรรัสเซียประจำยูเอ็น อานคำกลาว ของประธานาธิบดี วลาดิมีร ปูติน กล า วหาสหรั ฐ และพั น ธมิ ต รว า ดู ถ ู ก เหยียดหยามองคกรระหวางประเทศ ทั้งหมดโดยสิ้นเชิงจากการลงมือโจมตี โดยไมยอมรอผลการตรวจสอบที่แนชัด จากองคการเพื่อการหามใชอาวุธเคมี ซึ่งอยูระหวางการพบหารือกับทางการ ซีเรียในเวลานี้ พรอมทั้งตำหนิวาการ กระทำของสหรัฐและพันธมิตรเปรียบ เสมือนการกระทำของ "อันธพาล" และ เปนการแสดงออกวาไมไดเคารพกฎหมาย ระหวางประเทศแมแตนอย สำหรับเรือ่ งสงครามการคาระหวาง สหรัฐกับจีนก็ยงั มีสถานการณนา ติดตาม เพราะเมื่อไมกี่วันที่ผานมานี่เอง สำนัก ขาวซินหัวของจีนรายงานวา โฆษก ประจำกระทรวงพาณิชยจีนเปดเผยวา จี นไมต องการเพิ่ มแรงเสียดทานทาง การคารวมกับสหรัฐ แตก็พรอมที่จะ
และเปดกวาง รวมถึงตอตานการกีดกัน ทางการคา ทั้งนี้ การกีดกันทางการคา ของสหรัฐจะสงผลกระทบตอผูบริโภค ในสหรัฐเอง รวมถึงสงผลเสียตอการ เติบโตของเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ กองทุนการเงินระหวาง ประเทศ (IMF) แสดงความเปนหวงวา การทีป่ ระเทศทัว่ โลกเริม่ ดำเนินนโยบาย คุ ม เข ม ด า นการเงิ น นโยบายปกป อ ง อุ ต สาหกรรมในประเทศของตนเอง และความตึงเครียดดานภูมิรัฐศาสตร ที่สูงขึ้นตลอด จนความตึงเครียดดาน การค า ที ่ ก ำลั ง ทวี ค วามรุ น แรงขึ ้ น ใน ขณะนี้ จะสงผลใหเศรษฐกิจในภูมิภาค เอเชี ย มี ค วามเสี ่ ย งที ่ จ ะเผชิ ญ ภาวะ ขาลงแนนอนครับ วาผลกระทบตางๆ นั้นจะสงผลเสียตอเศรษฐกิจไทยอยาง หลีกเลี่ยงไมได
17
POLL
สถานภาพแรงงานไทย: Created by Freepik
กรณีศึกษา ผู้มีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และหอการค้าไทย
สำรวจทั่วประเทศ จำนวน 1,194 ตัวอย่าง วันที่ 26 เมษายน 2561 เพศ
การศึกษา ชาย 49.7%
สูงกว่าปริญญาตรี 0.3%
หญิง 50.3%
ปริญญาตรี 5.7% ไม่ได้เรียนหนังสือ 8.3%
อายุ
ปวส./อนุปริญญา 19.7% 60 ปีขึ้นไป 11.8%
20-29 ปี 21.9%
ปวช./ม.ปลาย 30.6% มัธยมศึกษา 35.5%
ภูมิภาค
50-59 ปี 14.4%
กลาง 21.7%
30-39 ปี 25.8%
40-49 ปี 26.2%
เหนือ 18.8%
ตะวันออกเฉียงเหนือ กทม.และ 29.5% ปริมณฑล ใต้ 16.5% 13.5%
หนวย:รอยละ
อาชีพ รับราชการ รับจาง (ไดรับเปนเงินเดือน) พนักงานเอกชน รัฐวิสาหกิจ รับจางรายวัน/รายสัปดาห/ เปนชิ้นงาน
ลักษณะงาน 2.1 24.0 25.9 1.0 47.0
งานในสำนักงาน ปฎิบัติการ ใชแรงงาน ใหบริการในโรงแรม/รานอาหาร บริการอื่นๆ อื่นๆ
จำนวนสมาชิกในครัวเรือน หนวย:คน
จำนวน รอยละ มีรายได ไมมีรายได สมาชิก 1-2 คน 7.1 1-2 1 3-4 คน 28.6 2-3 1-2 5-6 คน 48.8 2-3 2-3 มากกวา 6 คน 15.1 3 3-4 ขึ้นไป รวม 100.0 18
13.5 4.5 60.3 13.4 6.3 2.0
สถานที่ทำงาน ในสำนักงาน 20.1 ในโรงงาน/ไซดงาน 29.1 บานนายจาง 19.2 รานคา 20.8 รานใหบริการอื่น 10.8
รายได้เฉลี่ย ตัวเอง ครัวเรือน (รอยละ) (รอยละ) ต่ำกวา 5,000 บาท 45.4 0.5 5,000-10,000 บาท 40.4 10.2 10,001-15,000 บาท 14.2 15.7 15,001-30,000 บาท 0.0 60.4 30,001-60,000 บาท 0.0 11.8 สูงกวา 60,000 บาทขึ้นไป 0.00 1.4
รูปแบบของรายได รายวันเทากับคาแรงขั้นต่ำ รายวันสูงกวาคาแรงขั้นต่ำ รายวันต่ำกวาคาแรงขั้นต่ำ รายเดือน
34.6 16.1 34.7 14.6
รายจ่ายเฉลี่ย ต่ำกวา 5,000 บาท 5,000-10,000 บาท 10,001-15,000 บาท 15,001-30,000 บาท 30,001-60,000 บาท สูงกวา 60,000 บาทขึ้นไป
ตัวเอง ครัวเรือน (รอยละ) (รอยละ) 74.6 9.3 19.0 20.6 5.4 12.7 0.6 53.2 0.2 3.6 0.2 0.6
POLL
การเก็บออมในปัจจุบันของแรงงาน ไม่มี 58.6%
มี 41.4%
เงินออมคิดเป็น ร้อยละ 8.3 ของรายได้
ออมเฉลี่ย 498.48 บาทต่อเดือน
เงินออมตอเดือน
รอยละ
ต่ำกวา 500 บาท 500-1,000 บาท 1,001-2,500 บาท 2,501-5,000 บาท มากกวา 5,000 บาทขึ้นไป
75.8 15.4 6.2 2.1 0.5
เงินออมตอเดือน ต่ำกวา 500 บาท 500-1,000 บาท 1,001-2,500 บาท 2,501-5,000 บาท มากกวา 5,000 บาทขึ้นไป
รอยละ 68.3 11.7 11.1 7.0 1.8
อาชีพเสริมในปัจจุบันของแรงงาน มี 34.9%
ไม่มี 65.1% รายได้เฉลี่ย 521.13 บาทต่อเดือน
ลักษณะทั่วไปของแรงงานไทย ระดับรายได้กับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่าง
มัธยมศึกษา ปวช./ม.ปลาย ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกวาปริญญาตรี ไมไดเรียนหนังสือ รวม
ต่ำกวา 5,000 บาท 52.4 23.3 5.0 2.4 0.4 16.5 100.0
5,000 บาท ถึง 10,000 บาท 22.4 39.3 34.7 1.9 0.0 1.7 100.0
สถานที่ทำงานแยกตามระดับรายได้
หนวย:รอยละ
ต่ำกวา 5,000 บาท 7.2 ในสำนักงาน 13.3 ในโรงงาน/ไซดงาน 31.4 บานนายจาง 33.1 รานคา 15.0 รานใหบริการอื่น 100.0 รวม
10,001 บาท ถึง 15,000 บาท 17.7 29.6 24.3 27.2 0.6 0.6 100.0
5,000 บาท ถึง 10,000 บาท 22.9 41.4 12.0 14.3 9.4 100.0
หนวย:รอยละ
10,001 บาท ถึง 15,000 บาท 50.0 40.4 3.6 3.6 2.4 100.0
สถานภาพของแรงงานไทย ภาระหนี้ของแรงงานไทย มีภาระหนี้ ร้อยละ 96.0 ไม่มีภาระหนี้ ร้อยละ 4.0
วัตถุประสงค์ในการกู้ วัตถุประสงคในการกู ใชจายประจำวัน ยานพาหนะ ลงทุน ที่อยูอาศัย ใชคืนเงินกู คารักษาพยาบาล อื่นๆ รวม
รอยละ 36.1 24.9 13.6 10.8 7.2 6.7 0.7 100.0
ภาระหนี้ของครัวเรือน หนี้สิน
จำนวนหนี้สิน เฉลี่ยตอ ครัวเรือน (บาท)
ผอนชำระ ตอเดือน (บาท)
อัตรา ดอกเบี้ย เงินกูเฉลี่ย
รวม ในระบบ
137,988.21 65.4%
5,326.90 5,719.97
นอกระบบ
34.6%
4,761.12
10.6% ตอป 20.1% ตอเดือน 19
POLL
ในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา ท่านเคยประสบ ปัญหาผิดนัดการผ่อนชำระหรือไม่ สาเหตุ รายไดลดลง คาใชจายสูงขึ้น ราคาสินคาแพงขึ้น ภาระหนี้สินมากขึ้น อัตราดอกเบี้ยเงินกูสูงขึ้น เศรษฐกิจไมดี
ไม่เคย 14.6%
เคย 85.4%
พฤติกรรมการใช้จ่ายในปัจจุบัน รอยละ 37.7 25.1 15.6 10.2 7.8 3.6
ในปัจจุบันนั้นท่านมีการใช้จ่ายอย่างไร เมื่อเทียบกับรายได้ที่ได้รับ
ใช้จ่ายเท่ากับรายได้ที่ได้รับ 58.1% ใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ที่ได้รับ 24.9% ใช้จ่ายมากกว่ารายได้ที่ได้รับ 17.0%
สถานภาพทางการเงินของแรงงาน: การใช้จ่ายอย่างไรเมื่อเทียบกับรายได้ที่ได้รับ ใช้จ่ายเท่ากับรายได้ (58.1%)
สาเหตุ ใชอยางประหยัด สินคามีราคาสูง รายไดนอย ภาระหนี้สิน คาใชจายเพิ่มขึ้น เศรษฐกิจไมดี
ใช้จ่ายมากกว่ารายได้ (17.0%)
ใช้จ่ายน้อยกว่ารายได้ (24.9%)
รอยละ 42.5 18.8 11.2 11.2 8.8 7.5
สาเหตุ ใชอยางประหยัด รายไดนอย สินคาแพง ภาระหนี้สิน เศรษฐกิจไมดี เก็บออม
รอยละ 52.4 12.7 11.4 8.5 7.8 7.2
สาเหตุ สินคามีราคาสูง เศรษฐกิจไมดี คาใชจายเพิ่มขึ้น คาครองชีพสูง รายไดนอย ภาระหนี้สิน
รอยละ 58.8 16.5 9.2 6.2 6.2 3.1
ทัศนะทั่วไปของแรงงานไทยในปัจจุบัน ทัศนะต่อสถานการณ์เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน
ทัศนะต่องานที่ท่านทำอยู่ในปัจจุบัน
คงเดิม 37.6%
ไม่แน่ใจ 30.6%
ดีขึ้น 28.2% มั่นคง 28.1%
ดีขึ้นมาก 9.9% แย่ขึ้น 5.2%
ไม่มั่นคง 41.3%
แย่มาก 19.1%
ทัศนะต่อโอกาสในการตกงาน โอกาสในการตกงาน ไมมีโอกาสเกิดเลย นอย นอยมาก ปานกลาง มาก มากที่สุด 20
56 0.3 4.6 20.5 55.4 17.8 1.4
57 0.4 0.9 14.6 44.5 28.9 10.8
58 0.8 0.4 9.9 39.4 30.9 18.6
59 1.8 5.6 9.4 29.0 44.1 10.1
60 17.5 20.2 18.4 29.6 11.2 3.1
61 17.4 19.2 13.5 30.5 14.6 4.8
POLL
ทัศนะต่อประเด็นต่างๆ ความกังวลในประเด็นต่างๆ ในปัจจุบัน
ความกังวลในประเด็นต่างๆ ในปัจจุบัน
การใชแรงงานตางดาวแทน 1.1 35.3 การชำระหนี้ที่อาจไมพอ 29.6 10.5 หนี้สินของทานในปจจุบัน 28.6 13.0 การใชหุนยนตแทนแรงงานคน 5.1 37.3 รายไดในอนาคต 31.6 1.8 ราคาสินคาในอนาคต 36.6 2.3 เศรษฐกิจของประเทศไทย 36.4 4.3 ราคาสินคาในปจจุบัน 37.8 3.2 การใชเทคโนโลยี(แอพพลิเคชั่น) 3.1 38.7 รายไดในปจจุบัน 42.8 3.3 การตกงาน 39.8 8.9
ดูแลเรื่องการเพิ่มคาแรงขั้นต่ำ ดูแลเรื่องปญหาแรงงานตางดาว ดูแลการใชแรงงานมากเกินขอบเขต ดูแลเรื่องคาครองชีพ (ราคาสินคา) ดูแลเรื่องการวางงาน ดูแลเรื่องฝมือแรงงาน ดูแลเรื่องการรับบริการรักษา พยาบาลของผูประกันตน ดูแลเรื่องหนี้ของแรงงาน ดูแลเรื่องเงินชวยเหลือแรงงาน
40.2
23.5
39.6
20.4 21.6
36.8
21.8
35.8 33.2
33.5 28.4
32.7
26.5
32.7
27.7
31.3
28.4
29.8 24.3
29.6
20.7
30.6
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
ไมมีความกังวลเลย
นอย
ปานกลาง
ไมตองการเลย
มาก
17.4
25.6
55.9
19.0
25.9
53.6
18 .7
31.6 32 .8
48 .9
21 .4
38 .5
44 .5
20 .3
40 .4
31 .0
30 .3
37 .7
29 .1
32 .5
37 .6
35 .7
29 .0
35 .9
34 .5
31 .2
32 .0
0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%
นอย
ปานกลาง
มาก
เปรียบเทียบระหว่างปี 2552-2561
2558
2559
2560
2561
96.0%
2557
97.0%
2556
95.9%
2555
94.1%
2554
93.7%
2553
90.4%
2552
18.4% 13.4%15.7% 9.4%
16.7%
มี
6.3% 5.9% 4.1% 3.0% 4.0% 11.6%10.2% 9.6%
89.8%
9.3% 6.6%
ไมมี
4.6%
88.4%
41.7% 34.9% 37.4%
22.6%
100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
95.4%
65.1%
62.6%
58.3%
73.8%
90.6%
มี 84.3%
86.6%
81.6%
93.4%
ไมมี 90.7%
100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
ภาระหนี้ของแรงงานไทย
83.3%
อาชีพเสริม
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
วัตถุประสงค์ในการกู้ วัตถุประสงคในการกู หนี้ซื้อบาน หนี้ซื้อทรัพย(รถยนต/จักรยานยนต) หนี้เพื่อใชจายทั่วไป คารักษาพยาบาล ลงทุน ใชคืนเงินกู อื่นๆ รวม
2553 8.4 15.1 60.8 n.a n.a n.a 15.7 100.0
2555 17.2 26.2 38.0 13.2 5.1 n.a 0.3 100.0
2554 16.3 28.9 36.5 n.a n.a n.a 18.3 100.0
2556 19.6 17.1 35.5 15.1 11.7 n.a 1.0 100.0
2557 23.2 14.7 51.8 1.6 6.2 0.0 2.5 100.0
2558 16.9 16.3 34.3 3.5 6.5 21.9 0.6 100.0
2559 16.7 15.2 36.4 8.0 6.8 16.1 0.8 100.0
2560 14.3 37.5 24.4 3.9 10.7 8.7 0.6 100.0
2561 10.8 24.9 36.1 6.7 13.6 7.2 0.7 100.0
ภาระหนี้ของครัวเรือนของแรงงานไทย หนี้สิน หนี้สินรวม ขยายตัว ในระบบ นอกระบบ
2553 91,063.90 n.a. 51.88% 48.12%
2554 87,641.08 -3.76% 53.3% 46.7%
2555 91,710.08 4.64% 52.3% 47.7%
จำนวนหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน (บาท) 2556 2557 2558 98,428.60 106,216.67 117,839.90 7.33% 7.9% 10.94% 48.1% 43.9% 40.4% 51.9% 56.1% 59.6%
2559 119,061.74 1.04% 39.38% 60.62%
2560 2561 131,479.89 137,988.21 10.43% 4.95% 46.4% 65.4% 53.6% 34.6% 21
POLL
ภาระหนี้ของครัวเรือนของแรงงานไทย หนี้สิน รวม ในระบบ นอกระบบ
2555 5,773.47 5,009.31 4,582.49
2554 5,263.64 4,418.67 4,097.18
2553 5,405.78 4,708.23 4,099.02
ผอนชำระตอเดือน (บาท) 2558 2557 2556 7,377.96 6,639.09 5,990.33 5,639.44 5,456.90 5,539.42 8,245.45 7,412.70 5,163.65
ความสามารถในการชำระหนี้ในรอบปีที่ผ่านมา
การออม
100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
100% 90% 80% 70% 60% 50% 40% 30% 20% 10% 0%
2561
มีปญหา
41.4%
85.4%
2560
62.6%
78.6%
2559
39.4%
83.5%
2558
21.8%
81.8%
2557
23.9%
80.1%
2556
59.0%
77.9%
2555
63.9%
79.1%
2554
68.5%
69.3%
2553
36.1% 76.1% 24.1% 58.6% 60.6% 41.0% 31.5% 78.2% 37.4%
75.9%
70.2%
2552
5.0%
95.0%
69.9%
18.2% 22.1% 14.6% 16.5% 20.9% 19.9% 29.8% 21.4% 30.1% 30.7%
2552
2553
2554
2555
2556
2557
2558
2559
2560
2561
ไมมีปญหา
ไมมี
ปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำที่มีผล เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2561 มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด
2561 5,326.90 5,719.97 4,761.12
2560 5,080.48 5,587.28 5,244.88
2559 8,114.31 5,889.53 9,657.78
มี
การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำเพิ่มขึ้น
ไม่มีเลย 1.2% น้อยมาก 16.0% น้อย 24.2% ปานกลาง 45.5% มาก 11.4%
ควร 97.9% ไม่ควร 2.1%
สาเหตุ ควรปรับขึ้นทุกป ควรปรับขึ้นตามภาวะคาครองชีพ ควรปรับขึ้น 2 ปครั้ง รวม
มากที่สุด 1.8%
การคาดหวังในการปรับค่าแรง กรณีไม่สามารถเพิ่มค่าแรงได้อย่างที่คาดหวัง การคาดหวังในการปรับคาแรง เพิ่มเทากับคาครองชีพที่เพิ่มสูงขึ้น เพิ่มเทากับคาเดินทางที่เพิ่มสูงขึ้น เพิ่มเทากับราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้น เพิ่มเทากับคาสาธารณูปโภคที่เพิ่มสูงขึ้น อื่นๆ เชน อัตราดอกเบี้ยเงินกู, คาเชาบาน รวม 22
รอยละ 44.7 18.2 15.3 13.6 8.2 100.0
ประเด็นที่ต้องการให้ภาครัฐ ช่วยเหลือหรือดำเนินการ ควรมีการปรับเพิ่มคาแรงขั้นต่ำทุกป ลดปญหาการวางงาน ชวยเหลือผูวางงาน ควบคุมราคาสินคา และดูแลคาครองชีพ แกไขปญหาแรงงานตางดาว การดูแลประกันสังคม ในเรื่องคารักษาพยาบาล ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู ดูแลควบคุมหนี้สินนอกระบบ
รอยละ 62.3 28.0 9.6 100.0
ITD Policy Brief
กรอบนโยบายความเป็น ผู้ประกอบการและแนวทาง การปฏิบัติ (ตอนจบ) â´Â
สำนักพัฒนาองคความรู ʶҺѹÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èà¾×่Í¡ÒäŒÒáÅСÒþѲ¹Ò (ITD)
บทความตอนที่ 2 ไดนำเสนอกรอบนโยบาย ความเป น ผู ป ระกอบการและแนวทางการ ปฏิบัติของที่ประชุมสหประชาชาติวาดวยการ คาและการพัฒนา (UNCTAD) ดานการสรางสภาพแวดลอม ที ่ เ หมาะสมและการยกระดั บ การพั ฒ นาการศึ ก ษาและ ทักษะความเปนผูประกอบการ บทความตอนสุดทายจะ กล า วถึ ง การอำนวยความสะดวกด า นการแลกเปลี ่ ย น เทคโนโลยีและนวัตกรรม การปรับปรุงการเขาถึงเงินทุน และกลาวถึงการสงเสริมการสรางการรับรูและการสราง เครือขาย
บ
การอำนวยความสะดวกด้านการ แลกเปลี่ยนเทคโนโลยีและนวัตกรรม
ผูประกอบการและปจจัยดานเทคโนโลยี/นวัตกรรม สนับสนุนซึ่งกันและกัน เทคโนโลยีจัดหาเครื่องมือใหมๆ ให ผูประกอบการเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพและประสิทธิผล ของธุรกิจ ผูประกอบการกระตุนนวัตกรรมทางเทคโนโลยี โดยพัฒนาผลิตภัณฑใหมหรือปรับปรุงผลิตภัณฑเดิม รวม ถึงบริการหรือกระบวนการ และการสรางความมั่นใจเชิง พาณิชย ในประเทศกำลังพัฒนาทั้งสองปจจัยมีความสำคัญ แตมีองศาที่ตางกันขึ้นกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทองถิ่น อัตราการรับเทคโนโลยีมาใชงานในระดับนานาชาติ
และความสามารถทางนวั ต กรรมของบริ ษ ั ท ท อ งถิ ่ น หรื อ สถาบันวิจัย การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในประเทศเกี่ยว พันกับชุดความสั มพันธที่ซั บซอนระหวางผู ดำเนินการที่ แตกตางกันที่เกี่ยวของ ดังนั้น ในหลาย ๆ ประเทศได พัฒนาระบบนวัตกรรมแหงชาติ (National System of Innovation: NSI) เพื่อชวยประสานงานและสื่อสารระหวาง ผูดำเนินการที่เกี่ยวของ ระบบนวัตกรรมแหงชาติ สามารถ รวมการสงเสริมกิจกรรมผูประกอบการและการลงทุนใน เทคโนโลยีที่สนับสนุนคนจนและเทคโนโลยีทางการเกษตร • วัตถุประสงคของนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่ แนะนำ - สนับสนุนการกระจายของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) ไปยังภาคเอกชน ผูประกอบการสามารถไดรั บประโยชนอยางสูงจาก การใช ICT ที่ทันสมัยในการปฏิบัติทางธุรกิจ และผูกำหนด นโยบายควรเพิ ่ ม ความตระหนั ก ของความได เ ปรี ย บของ การใช ICT และตองใชมาตรการชัดเจนสนับสนุนใหเกิด การใช ICT ผูประกอบการอาจจะไดรับประโยชนจากการ ใช ICT ชนิดที่แตกตางกัน โดยผันแปรตามขนาดของบริษัท อุตสาหกรรม และการตลาดที่มุงเนน การใช โ ทรศั พ ท ม ื อ ถื อ เพิ ่ ม มากขึ ้ น ในประเทศกำลั ง 23
ITD Policy Brief
พัฒนา ซึ่งการเพิ่มการใชโทรศัพทผูประกอบการในชนบท จะชวยใหธุรกิจเติบโตและสามารถเขาถึงตลาด ผูประกอบ การสามารถไดรับขอมูลทางการตลาดไดโดยตรงจากระยะ ทางที่ไกล ทำใหผูประกอบการมีความเขาใจที่ดีขึ้นในทาง เลือกของการซื้อและขายสินคาทางการเกษตร รวมถึงสินคา และบริการอื่น ๆ ผูกำหนดนโยบายสามารถสนับสนุนการ พัฒนาเหลานี้โดยการพัฒนา Platform บนออนไลนและ มือถือ ทางเลือกนโยบายที่เกี่ยวของรวมถึงการอบรมและ โปรแกรมสรางความสามารถสำหรับผูประกอบการ ใหแรง จูงใจสำหรับการนำ ICT มาใช เปนตน บางประเทศผูหญิง มีการเขาถึง ICT ที่ต่ำกวาผูชาย ซึ่งเปนผลจากระดับการ ศึกษาที่ต่ำและตนทุนที่สูงของการเขาถึง ICT ดังนั้น ผู กำหนดนโยบายควรจัดหาการอบรม ICT ใหกลุมเปาหมาย อาทิ ผูหญิง และผูประกอบการในชนบท หรือเกษตรกร - ส ง เสริ ม เครื อ ข า ยระหว า งบริ ษ ั ท ซึ ่ ง ช ว ยการ แพรกระจายเทคโนโลยีและนวัตกรรม การรวมกลุ ม อุ ต สาหกรรมเพื ่ อ แข ง ขั น สามารถช ว ย สร า งโอกาสสำหรั บ ผู ป ระกอบการเพื ่ อ เข า ถึ ง ตลาดใหม ทรัพยากร และไดพัฒนาความเชี่ยวชาญใหมและความ สามารถใหม ๆ การรวมกลุมอุตสาหกรรมเพื่อแขงขันเปน ปจจัยสำคัญในการดึงดูดการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศ การรวมกลุมอุตสาหกรรมและเครือขายสามารถชวยธุรกิจ ทองถิ่นเพื่อสรางสรรคสิ่งใหม ๆ ผูกำหนดนโยบายสามารถ อำนวยความสะดวกโดยใหความชวยเหลือแกบริษัทที่อยู ในกลุมอุตสาหกรรมใหไดตามมาตรฐานคุณภาพสากล ทั้งนี้ การเชื่อมโยงระหวางบรรษัทขามชาติและ SMEs ทองถิ่น สามารถทำใหบริษัทในประเทศกำลังพัฒนายกระดับการ จัดการและเทคโนโลยีและกลายมาเปนสวนหนึ่งของการ รวมหวงโซสากลของการผลิต ซึ่งเปนแนวทางที่สำคัญใน การพัฒนาผูประกอบการ - สรางสะพานเชื่อมโยงระหวางภาครัฐ สถาบัน วิจัย สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน กระบวนการนวั ต กรรมของประเทศขึ ้ น อยู ก ั บ การ 24
ปฏิสัมพันธในการแลกเปลี่ยนขอมูล แนวคิดและเทคโนโลยี ระหวางรัฐบาล สถาบันการศึกษา สถาบันวิจัย และภาค เอกชน งานวิจัยของมหาวิทยาลัยสามารถปรับใหเขากับ ความต อ งการของตลาดและจะมี ผ ลกระทบเศรษฐกิ จ ใน วงกวางโดยอาจจะเกี่ยวของกับการดัดแปลงความไดเปรียบ ทางเทคโนโลยีแกความตองการทองถิ่น หรือการพัฒนาของ การแกปญหาทางเทคโนโลยีสนับสนุนคนจน ขณะเดียวกัน บริษัทเอกชนจะเพิ่มการอบรม การแบงปนองคความรู และ ความรวมมือกับมหาวิทยาลัย - สนับสนุนการเริ่มตนธุรกิจเทคโนโลยีขั้นสูง การกอตั้งศูนยกลางเทคโนโลยีและศูนยบมเพาะเพื่อ สรางโอกาสการรวมตัวกันเชิงพื้นที่ของบริษัทเทคโนโลยี ขั้นสูงเนนการเติบโต มีขอบเขตตั้งแตศูนยกลางการวิจัยทาง เทคโนโลยีขนาดใหญ ถึงอุทยานวิทยาศาสตรขนาดเล็ก การ อำนวยความสะดวกตั ้ ง แต ก ารบริ ก ารสนั บ สนุ น ที ่ ส ำคั ญ อาทิ โครงสรางพื้นฐาน อาคารสำนักงาน หรือการใชพื้นที่ สำนักงานรวมกัน รวมทั้งโปรแกรมการพัฒนาของธุรกิจ เปาหมาย การบริการระบบพี่เลี้ยงและการแนะนำเพื่อเขา ถึงทางการเงินหรือการปองกันทรัพยสินทางปญญา รัฐบาลสามารถอำนวยความสะดวกในระยะเริม่ แรกของ ธุรกิจในแนวคิดเชิงธุรกิจของเทคโนโลยีขั้นสูง ยกตัวอยาง รางวัลนวัตกรรมภาครัฐอาจจะชวยผูประกอบการใหเริ่มตน โครงการธุรกิจเทคโนโลยีขั้นสูงใหม ๆ รัฐบาลอาจใหนักวิจัย และนักนวัตกรรมเขาถึงขอมูลตนทุนและประสิทธิผลขอมูล สิทธิบัตร และการปองกันสิทธิบัตร
การปรับปรุงการเข้าถึงเงินทุน
การเขาถึงแหลงเงินทุนเปนปญหาสำคัญของผูประกอบ การทั่วโลกโดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา ทั้งนี้ กลุม ผูประกอบการที่มีปญหาการเขาถึงแหลงเงินทุนมากที่สุด คือ ผูประกอบการขนาดจิ๋ว และผูประกอบการขนาดกลาง และขนาดยอม ผูประกอบการเหลานี้ตองการบริการทาง การเงินที่เหมาะสมกับเงื่อนไขของตนเอง ทั้งการกูยืมและ
ITD Policy Brief
การบริการรับฝากเงิน การเขาถึงสินเชื่อ บริการเกี่ยวกับ หุน การค้ำประกัน การพัฒนาการเขาถึงแหลงเงินทุนควร เริ่มโดยการมุงเนนการชวยเหลือใหผูประกอบการสามารถ สรางนวัตกรรม การพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียวที่มีความยั่งยืน ธุรกิจเหลานี้ตองการเงินทุนในรูปแบบการขายหุนหรือการ รวมทุน นอกเหนือจากทางเลือกในการใชบริการธนาคาร พาณิชยสมัยใหม • วั ต ถุ ป ระสงค ข องนโยบายและแนวทางปฏิ บ ั ต ิ ท ี ่ แนะนำ - ปรับปรุงการเขาถึงบริการทางเงินภายใตเงื่อนไข ที่เหมาะสม ปญหาสำคัญของผูประกอบการในประเทศกำลังพัฒนา คื อ การไม ส ามารถเข า ถึ ง บริ ก ารทางการเงิ น ที ่ เ หมาะสม หรือเขาถึงแหลงเงินทุนแตตองจายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง หรือตองใชหลักทรัพยค้ำประกันมากเกินความเหมาะสม เนื่องจากความลมเหลวของกลไกตลาด ปญหาเหลานี้รุนแรง ในกลุมผูประกอบการรุนใหม ผูประกอบการผูหญิง เพื่อ แกปญหาเหลานี้ภาครัฐควรใชโครงการค้ำประกันเครดิต โดยการกำหนดเงื่อนไขการกู กำหนดสัดสวนการกูยืม คา ธรรมเนียม รวมทัง้ กำหนดเงือ่ นไขการจายคืนเงินกูท เ่ี หมาะสม กับแตละกลุมผูประกอบการ รวมทั้งมีมาตรการลดความ เสี่ยงในการปลอยกูใหแกสถาบันการเงิน ทั้งนี้ การค้ำ ประกั น เครคิ ต อาจดำเนิ น การภายใต อ งค ก รที ่ ข ับ เคลื ่ อ น โดยกลไกตลาดซึ่งมีหนาที่เปนตัวกลางระหวางธนาคารกับ ผูประกอบการ การสงเสริมและสนับสนุนการลงทุนโดยตรงในภาค การเงินก็สามารถปรับปรุงการเขาถึงเงินทุนของผูประกอบ การทองถิ่นได เนื่องจากภาคการเงินจากประเทศพัฒนา แลวที่มีการกำกับดูแลภาคการเงินที่ดีสามารถชวยประเทศ กำลั ง พั ฒ นาในการผสมผสานการให บ ริ ก ารทางเงิ น และ การใชเครื่องมือการจัดการความเสี่ยงที่ดี นอกจากนั้น การ เพิ ่ ม การเข า ถึ ง เงิ น ทุ น โดยการส ง เสริ ม ให ส ามารถเข า ถึ ง บริการการซื้อหนี้สินเชื่อการคาและการเชาซื้อของกลุมผู
ประกอบการที่ดำเนินกิจการภายใตหวงโซคุณคาของบริษัท ขนาดใหญก็เปนทางเลือกที่ดี การบริการเชาซื้อสินทรัพย อาทิ เครื่องจักร ยานพาหนะ เครื่องมือ โดยกำหนด ระยะเวลาการเชาซื้อและเงื่อนไขดอกเบี้ยที่เหมาะสม รวม ทั้งกำหนดเงื่อนไขการรับซื้อเครื่องจักรหรือเครื่องมือเมื่อ ครบกำหนดการผอนชำระนับเปนทางเลือกที่ดี
กรอบนโยบายความเป็นผูป ้ ระกอบการ และแนวทางการปฏิบัติซึ่งจัดทำ UNCTAD มีความครอบคลุมในมิติ สำคัญที่จำเป็นต่อการสร้างและ พัฒนาผู้ประกอบการเยาวชนให้ สามารถเติบโตเป็นพลังสำคัญในการ ขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจที่ ประเทศไทยซึ่งมีนโยบายพัฒนา ผู้ประกอบการควรให้ความสำคัญ และนำมาใช้ให้ครบทุกมิติ รวมทั้ง ต้องการศึกษาประเมินว่าประเทศไทย ได้ดำเนินการพัฒนาผู้ประกอบการ ครบถ้วนทุกมิติหรือไม่ - สงเสริมเงินทุนเพื่อนวัตกรรม กิจการเชิงนวัตกรรมเปนกิจการมีความเสี่ยงสูงและ ไมมีผลตอบแทนในชวงตนของการดำเนินกิจการ จึงไม สามารถเขาถึงแหลงเงินทุนในรูปแบบปกติได เนื่องจากมี ความไมแนนอนสูง มีความเสี่ยงในหลายมิติ กิจการประเภท นี้สวนใหญเกี่ยวของกับโทรศัพทเคลื่อนที่ เทคโนโลยีสีเขียว กิจการพลังงานทดแทน ซึ่งประเทศกำลังพัฒนาสามารถ พัฒนาเทคโนโลยีแบบกาวกระโดดได โครงการดานการ เงิ น ที ่ เ หมาะสมควรออกแบบให ส ามารถลดความเสี ่ ย งที ่ เกี่ ย วข อ งกั บ การดำเนิ น กิ จ การตั้ ง แตขั้ น ตอนการเริ ่ ม ต น 25
ITD Policy Brief
กิจการ โดยภาครัฐควรมีมาตรการกระตุนใหนักธุรกิจที่มี ความพรอมดานเงินทุนใหการอุดหนุนดานการเงินรวมทั้ง ให ค วามรู แ ละประสบการณ แ ก ผ ู ป ระกอบการรายใหม โดยเฉพาะความรูดานการตลาดเพื่อเพิ่มโอกาสความสำเร็จ ของผูประกอบการรายใหม ภาครัฐควรสนับสนุนการรวมทุน ในกิจการนวัตกรรมโดยการใหแรงจูงใจแกนักลงทุนประเภท รวมทุน โดยการใชนโยบายการคลังในรูปแบบการคืนภาษี การค้ำประกันหุนบางสวนของกิจการที่มีความเสี่ยงกรณีที่ มีการรวมทุนระหวางผูประกอบการรายใหมและนักธุรกิจ รวมทุน - เสริมสรางศักยภาพภาคการเงินเพื่อตอบสนอง ความตองการของธุรกิจเกิดใหม ภาครัฐควรรวมกับสถาบันการเงินสรางความรูความ เขาใจรวมกันเกี่ยวกับกิจการเกิดใหม กิจการที่มีอัตราการ เติบโตสูง ผูประกอบการผูหญิง ผูประกอบการในชนบท เพื่อใหสถาบันการเงินมีความรูเขาใจเกี่ยวกับจุดเดนและ ขอจำกัดของกิจการเหลานี้และสามารถนำขอจำกัดมาใช ประกอบการใหบริการทางการเงินแกกิจการเหลานี้ไดอยาง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ภาครัฐควรรวมกับ ภาคการเงิ น ร ว มกั น จั ด ทำพิ ม พ เขี ย วการเงิ น เพื ่ อ รองรั บ ยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศ รวมทั้งการริเริ่มดำเนินการ รูปแบบการลงทุนภายใตความรวมมือระหวางภาครัฐและ เอกชน - การฝกอบรมใหความรูดานการเงินและกระตุน ความรับผิดชอบในการกูยืมของผูประกอบการ ความรู ด า นการเงิ น และบั ญ ชี ม ี ค วามสำคั ญ ต อ การ เขาถึงเงินทุนของผูประกอบการ โดยเฉพาะทักษะการวาง แผนการเงิน และการมีวิธีปฏิบัติดานบัญชีที่ไดมาตรฐาน นับเปนเงื่อนไขที่จำเปนสำหรับผูประกอบการในการขอรับ บริการทางการเงินจากสถาบันการเงินและธนาคารพาณิชย นอกเหนือจากการพัฒนาทักษะดานการวางแผนการคาด การณภาวะตลาดแลว ผูประกอบการยังตองไดรับความรู ด า นความรั บ ผิ ด ชอบด า นการใช เ งิ น เพื ่ อ นำไปสู ค วามรั บ 26
ผิดชอบในการกูยืมเงินดวย เพื่อปกปองตนเองและปกปอง ผูใหกูยืมดวย ทั้งนี้ ภาครัฐตองออกแบบสภาวะแวดลอมทาง การเงินที่เหมาะสมสำหรับภาคธุรกิจที่ออนไหวโดยเฉพาะ อย า งยิ ่ ง ธุ ร กิ จ ขนาดจิ ๋ ว และธุ ร กิ จ เชิ ง สั ง คม รวมทั ้ ง ต อ ง กำหนดมาตรการและนโยบายเพื ่ อ ป อ งกั น ความเสี ย หาย จากกูยืมและปองกันการเปนหนี้มากเกินความจำเปน ทั้งนี้ ภาครั ฐ ต อ งพั ฒ นากลไกการเข า ถึ ง ข อ มู ล ด า นเครดิ ต ให สามารถเขาถึงงาย รวมทั้งมีระบบสนับสนุนการใชขอมูล รวมกันของสถาบันการเงินเกี่ยวกับประวัติทางการเงินของ ผูประกอบการรายใหม บริษัทขอมูลเครดิตควรมีขอบเขต การดำเนิ น งานครอบคลุ ม การใช บ ริ ก ารสถาบั น การเงิ น ทุกประเทศ รวมทั้งสถาบันการเงินรายยอยดวย
การส่งเสริมการสร้างการรับรู้ และการสร้างเครือข่าย
ความเขาใจดานลบทางสังคมและวัฒนธรรมเกี่ยวกับ ความเปนผูประกอบการ ถือเปนอุปสรรคสำคัญในการสราง วิสาหกิจ และสามารถทำลายผลกระทบจากการแทรกแซง ทางนโยบายในการสนับสนุนความเปนผูประกอบการ ผล กระทบของการปฏิรูปกฎระเบียบเพื่อสนับสนุนผูประกอบ การใหม (start-ups) หรือเพื่ออำนวยความสะดวกในการ เขาถึงแหลงเงิน เครื อ ข า ยความเป น ผู ป ระกอบการสามารถส ง เสริ ม วิวัฒนาการของวัฒนธรรมความเปนผูประกอบการ อีกทั้ง การสร า งเครื อ ข า ยยั ง เป น เครื ่ อ งมื อ สำคั ญ ในการแสดง ผลงาน ผูประสบความสำเร็จและการอางอิงความสำเร็จ ของผูประกอบการ ทั้งนี้ การสรางเครือขายผูประกอบการ ในประเทศกำลังพัฒนานั้นมีความสำคัญดวยหลายเหตุผล ไดแก - ความเชื ่ อ ถื อ เป น สิ ่ ง ที ่ ส ำคั ญ มากสำหรั บ การทำ ธุ ร กิ จ ในสภาพแวดล อ มที ่ ร ะบบการปฏิ บ ั ต ิ ต ามสั ญ ญายั ง ไมดีพอ สิ่งนี้สำคัญมากตอผูประกอบการใหมและผูที่เพิ่ง เริ่มตนกิจการ ซึ่งยังไมมีชื่อเสียง สำหรับขอบเขตของ
ITD Policy Brief
เครือขายนั้นขึ้นอยูกับเอกลักษณเฉพาะ ดังนั้น การสราง ความเข ม แข็ ง ให ก ลุ ม เหล า นี ้ จ ึ ง ครอบคลุ ม สายอาชี พ ได มากกวา เนื่องจากลักษณะเฉพาะตัวนั้นขึ้นอยูกับชาติพันธุ หรือภูมิหลังทางสังคมและเศรษฐกิจ - การศึกษาที่มีทรัพยากรไมเพียงพอ เปนเสมือน ขอจำกัดในการสนับสนุนความเปนผูประกอบการ - ความเหลื ่ อ มล้ ำ ทางดิ จ ิ ท ั ล ทำให ป ระเทศกำลั ง พัฒนามีโครงสรางพื้นฐานดานการสื่อสารที่มีความทันสมัย นอยกวาประเทศพัฒนาแลว ถือเปนอุปสรรคหลักในการ สรางการรับรูความเปนผูประกอบการ • วัต ถุ ป ระสงค ข องนโยบายและแนวทางปฏิ บ ั ต ิ ที่แนะนำ - มุ ง เน น การสร า งค า นิ ย มของความเป น ผู ป ระกอบการสูสังคม และจัดการปญหาเกี่ยวกับอคติทาง วัฒนธรรม ทัศนคติทั่วไปของประเทศเกี่ยวกับความเปนผูประกอบการ ไดแก ผลจากคานิยมทางสังคม การยอมรับ ความเสี่ยง ความกลัวตอความลมเหลว การใหรางวัลกับ ความสำเร็จ การสนับสนุนความคิดสรางสรรค และการ ทดลองและการยอมรั บ ในความมุ ง มั ่ น น อ ยไปกว า สิ ่ ง ที ่ เรี ย กว า อุ ป สรรคหรื อ ความเข า ใจด า นลบทางวั ฒ นธรรม เพราะสิ่งเหลานี้กำลังฝงแนนในสังคม อยางไรก็ดี การ สื่อสารสามารถใชเปนเครื่องมือชวยแกปญหาอันเนื่องมา จากอคติตอความเปนผูประกอบการได - เพิ ่ ม การรั บ รู เ กี ่ ย วกั บ โอกาสของความเป น ผู ประกอบการ การสงเสริมวัฒนธรรมของความเปนผูประกอบการนั้น จำเปนที่จะตองสรางทางเลือกของความเปนผูประกอบการ ใหสามารถจับตองไดมากขึ้น โดยการอำนวยความสะดวก ดานการเขาถึงขอมูลเกี่ยวกับโอกาสทางธุรกิจ รวมถึงโอกาส สำหรับกลุมคนที่อยูนอกระบบที่ตองการดำเนินธุรกิจใน ระบบ ดังนั้น รัฐบาลจึงควรมีบทบาทในการชวยเชื่อมโยง ขอมูลที่ยังไมสมมาตร อีกทั้งในการจัดประชุมวิชาการ
(forums) จะชวยดึงผูประกอบการเขามารวมกัน และจะ ชวยสรางการรับรูถึงโอกาสทางธุรกิจไดมาก ซึ่งถือวาเปน การเผยแพร ข อ มู ล และเป น เครื ่ อ งมื อ สร า งเครื อ ข า ยที ่ ม ี ประสิทธิผล - กระตุนความคิดริเริ่มที่นำโดยภาคเอกชน และ สรางความเขมแข็งของเครือขายผูประกอบการ ความริเริ่มในการสรางการรับรูและการพัฒนาธุรกิจ จำนวนมากที่นำโดยผูประกอบการ เปนการตอบสนองของ ภาคเอกชน เพื่อเรียกรองใหภาครัฐชวยสรางความเจริญ เติบโตและฟนฟูวิสาหกิจ ความริเริ่มเหลานี้จะแพรกระจาย ไปในหลายประเทศดวย บริษัทระดับโลกที่ประกาศวาจะ สนับสนุนผูประกอบการใหม ผานมาตรการที่หลากหลาย เพื่อชวยเหลือทางดานการเงินและการใหคำปรึกษา อาทิ บริษัท กูเกิล (Google) สนับสนุนผูประกอบการใหม ดวย การใหลงโฆษณาออนไลนโดยไมคิดคาใชจาย อีกทั้งยังมี โอกาสทางธุรกิจรูปแบบใหมสำหรับคนที่อยูในพื้นที่ชนบท ที่ทำงานเปนตัวแทนจำหนายในธุรกิจแฟรนไชสขนาดจิ๋ว ซึ่งขายสินคาใหกับบริษัทขนาดใหญ กรอบนโยบายความเปนผูประกอบการและแนวทาง การปฏิบัติซึ่งจัดทำ UNCTAD มีความครอบคลุมในมิติ สำคัญที่จำเปนตอการสรางและพัฒนาผูประกอบการเยาวชน ใหสามารถเติบโตเปนพลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา เศรษฐกิจที่ประเทศไทยซึ่งมีนโยบายพัฒนาผูประกอบการ ควรใหความสำคัญและนำมาใชใหครบทุกมิติ รวมทั้งตองการ ศึกษาประเมินวาประเทศไทยไดดำเนินการพัฒนาผูประกอบการครบถวนทุกมิติหรือไม ทั้งนี้ เพื่อใหนโยบายการ พัฒนาผูประกอบการเยาวชนประสบความสำเร็จสมดั่งที่ มุงหมายไว
27
Cover Story
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ SMEs และ ดัชนีความสามารถในการแข่งขันของ ธุรกิจ SMEs ประจำไตรมาสที่ 1/2561 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ร่วมกับศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ลักษณะทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่าง (1)
ชวงที่สำรวจขอมูล: 5-20 เมษายน 2561 จำนวนตัวอยาง: 1,253 ตัวอยาง ประเภทของธุรกิจ
จำแนกตามภูมิภาค 18.7%
27.8%
14.4%
ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต
12.9%
15.6%
10.6%
ภาคกลาง
กรงุเทพและปริมณฑล
ธุรกิจการผลิต 35.1% ธุรกิจการคา 39.6% ธุรกิจการบริการ 25.4%
ภาคตะวันออก
สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่าง (2)
จำแนกตามขนาดของธุรกิจ ธุรกิจขนาดเล็ก (S) ธุรกิจ ขนาดกลาง (M) 26.1%
28
รูปแบบการดำเนินธุรกิจ 36.6%
73.9%
16.5%
28.3% 14.6% 1.3% 0.5%
SMEs แบบที่ไมได จดทะเบียนการคา SMEs แบบที่ จดทะเบียนการคา บริษัทจำกัด หางหุนสวนจำกัด กลุมวิสาหกิจชุมชน หางหุนสวนสามัญ
Cover Story
สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่าง (3)
จำแนกตามระดับตลาดการแขงขัน
จำแนกระยะเวลาที่เปดดำเนินการ 38.0% 52.4% 9.1%
18.7%
0.5%
ตลาดระดับทองถิ่น
ตลาดระดับอำเภอ/จังหวัด
ตลาดระดับระหวางประเทศ
ตลาดระดับภาค/ประเทศ
1-10 ป 11-20 ป 21-30 ป 30 ปขึ้นไป
40.4% 37.6%
3.4%
สัดส่วนของกลุ่มตัวอย่าง (4)
จำแนกตามลักษณะการเปนลูกคา
ไมใชลูกคาของ SME Bank 51.6%
ลูกคาของ SME Bank 48.4%
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ประจำไตรมาสที่ 1/2561 องค์ประกอบของ ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ
ค่าดัชนีฯ จะมีค่าสูงสุดเท่ากับ 100 และมีค่าต่ำสุดเท่ากับ 0 โดยถ้าหาก ....
ดัชนีสถานการณธุรกิจ SMEs (SMEs Situation Index)
ดัชนีความสามารถ ในการทำธุรกิจฯ (SMEs Competency Index)
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ SMEs (SMEs Sustainability Index)
ดัชนีความสามารถ ในการแขงขันฯ (SMEs Competitiveness Index)
ดัชนีฯ มีคา สูงกวา ระดับ 50
แสดงวา ผูประกอบการธุรกิจ SMEs เห็นวาสถานการณดานนั้นๆ อยูใน เกณฑที่ดี หรือมีแนวโนมที่จะดีขึ้น
ดัชนีฯ มีคา เทากับ ระดับ 50
แสดงวา ผูประกอบการธุรกิจ SMEs เห็นวาสถานการณดานนั้นๆ อยูใน เกณฑปานกลาง หรือมีแนวโนมทรงตัว
ดัชนีฯ มีคา ต่ำกวา ระดับ 50
แสดงวา ผูประกอบการธุรกิจ SMEs เห็นวาสถานการณดานนั้นๆ อยูใน เกณฑที่แย หรือมีแนวโนมที่จะแยลง 29
Cover Story ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561
H2: สตอกของวัตถุดิบ
H3: หนี้สินรวม
H4: สัดสวนหนี้สินตอทุน
H5: ยอดขายรวม
H6: กำไรสุทธิ
H7: กำไรสะสม
H8: สินทรัพยรวม H9: ส/ท ที่กอใหเกิด รายได
39.1 39.0 41.4 39.3 -2.1
39.6 39.4 45.7 46.4 0.7
41.9 41.6 44.1 45.5 1.4
40.0 39.8 42.0 44.1 2.1
39.7 39.7 41.2 41.5 0.3
41.3 41.0 40.5 39.9 -0.4
42.1 41.8 40.9 40.7 -0.2
45.6 45.3 44.8 46.5 1.7
ดัชนี สถานการณ ธุรกิจ
42.4 42.1 40.3 41.5 1.2
41.3 41.1 42.3 42.8 0.5
ดัชนีสถานการณธุรกิจ 60.0 57.2 56.0 53.4 52.0 49.1 47.6 47.2 45.6 48.0 48.9 45.8 42.4 42.4 44.0 42.0 42.1 41.741.3 41.142.843.7 42.3 40.0
Q1/2557 Q2/2557 Q3/2557 Q4/2557 Q1/2558 Q2/2558 Q3/2558 Q4/2558 Q1/2559 Q2/2559 Q3/2559 Q4/2559 Q1/2560 Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 Q2/2561F
Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 การเปลี่ยนแปลง
H1: สภาพคลอง
ดัชนีสถานการณธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 อยูที่ระดับ 42.8 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.5 จุด เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา
H5: ยอดขายรวม
H6: กำไรสุทธิ
H7: กำไรสะสม
H8: สินทรัพยรวม
H9: ส/ท ที่กอใหเกิด รายได ดัชนีสถานการณธุรกิจ
41.4 48.4 43.7 49.4 2.3 1.0
38.2 42.6 38.3 44.9 0.1 2.3
40.2 44.5 39.4 46.4 -0.8 1.9
H8: สินทรัพยรวม
H9: ส/ท ที่กอใหเกิด รายได ดัชนีสถานการณธุรกิจ
ธุรกิจ อาหาร และเครื่องดื่ม สิ่งทอ และแฟชั่น หัตถกรรม พลาสติก และยาง อัญมณี และเครื่องประดับ ชิ้นสวนยานยนต สิ่งพิมพ เฟอรนเิ จอร และผลิตภัณฑจากไม รวม
44.9 42.9 46.9 45.2 36.1 42.9 27.3 32.9 39.3
48.9 40.2 46.9 51.6 55.6 46.4 38.6 40.2 46.4
42.1 44.0 43.8 54.8 36.1 46.4 45.5 46.3 45.5
41.0 41.7 43.8 51.6 36.1 46.4 45.5 40.2 44.1
38.8 44.0 37.5 40.3 33.3 46.4 38.6 42.7 39.9
37.1 45.2 37.5 46.8 41.7 50.0 45.5 37.8 40.7
42.7 45.2 43.8 59.7 44.4 50.5 54.5 42.7 46.5
32.0 39.3 28.1 53.2 36.1 50.0 50.0 42.7 41.5
38.8 41.7 34.4 51.6 30.6 50.0 36.4 47.6 41.5
40.7 42.7 40.3 50.5 38.9 47.6 42.4 41.5 42.8
32.4 36.6 39.1 39.5 35.7 35.0 34.7 38.6 34.3 36.2 38.4 49.5 51.8 50.3 44.8 41.3 44.3 54.8 52.3 47.5 39.3 46.4 45.5 44.1 41.5 39.9 40.7 46.5 41.5 42.8
H8: สินทรัพยรวม H9: ส/ท ที่กอใหเกิด รายได ดัชนีสถานการณธุรกิจ
H7: กำไรสะสม
ธุรกิจ รานอาหาร/ภัตตาคาร บริการเสริมสวย (รานเสริมสวย เครื่องสำอางค) บริการดานสุขภาพและความงาม ทองเที่ยว/สันทนาการ โรงแรม/เกสตเฮาส บริการดานการศึกษา ขนสง และโลจิสติกส กอสราง/พัฒนาอสังหาริมทรัพย รวม
H6: กำไรสุทธิ
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการผลิต H9: ส/ท ที่กอใหเกิด รายได ดัชนีสถานการณธุรกิจ
H8: สินทรัพยรวม
H7: กำไรสะสม
H6: กำไรสุทธิ
H5: ยอดขายรวม
39.5 42.3 39.4 42.1 -0.1 -0.2
H7: กำไรสะสม
H5: ยอดขายรวม
H4: สัดสวนหนี้สินตอทุน
H3: หนี้สินรวม
H2: สตอกของวัตถุดิบ
H1: สภาพคลอง
30
40.2 40.8 37.8 42.2 -2.4 1.4
H6: กำไรสุทธิ
รวม
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการค้า
ธุรกิจคาสง ธุรกิจคาปลีก รวม
39.9 42.6 39.4 43.8 -0.5 1.2
H4: สัดสวนหนี้สิน ตอทุน H5: ยอดขายรวม
การบริการ
H4: สัดสวน หนี้สินตอทุน H6: กำไรสุทธิ
38.9 45.3 40.3 48.1 1.4 2.8
H3: หนี้สินรวม
H8: สินทรัพย รวม
H7: กำไรสะสม
การคา
H3: หนี้สิน รวม
41.6 46.7 43.0 48.2 1.4 1.5
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการผลิต การผลิต
H2: สตอก ของวัตถุดิบ
43.1 48.4 37.8 55.7 -5.3 7.3
H3: หนี้สินรวม H4: สัดสวนหนี้สิน ตอทุน H5: ยอดขายรวม
ดัชนีสถานการณธุรกิจ H1: สภาพคลอง 55.0 50.0 45.0 44.9 H9: ส/ท 42.7 40.0 ที่กอใหเกิด 40.8 35.0 รายได 30.0
39.7 43.2 35.2 43.7 -4.5 0.5
H2: สตอกของวัตถุดิบ
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามประเภทธุรกิจ
H4: สัดสวนหนี้สินตอทุน
H5: ยอดขายรวม
H6: กำไรสุทธิ
ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank Q1/2561 ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank การ ไมใชลูกคา เปลี่ยน ลูกคา SME Bank แปลง
H3: หนี้สินรวม
H4: สัดสวน หนี้สินตอทุน
Q4/2560
H2: สตอกของวัตถุดิบ
รวม
H2: สตอกของวัตถุดิบ
H7: กำไรสะสม
ลูกคาของ SME Bank
H1: สภาพคลอง
H8: สินทรัพย รวม
ไมใชลูกคา ของ SME Bank
H1: สภาพคลอง
ดัชนีสถานการณธุรกิจ H1: สภาพคลอง 55.0 H2: สตอก 50.0 ของวัตถุดิบ 46.4 45.0 H9: ส/ท 42.8 H3: ที่กอใหเกิด 39.4 40.0 หนี้สิน 35.0 รายได รวม 30.0
H1: สภาพคลอง
ดัชนีสถานการณ์ธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามลักษณะการเป็นลูกค้า
39.3 44.7 45.6 45.1 43.2 36.9 35.9 40.3 36.3 40.8 23.5 27.3 35.3 30.9 32.4 32.4 42.6 45.6 54.5 36.1 42.9 44.2 56.6 31.3 39.8 42.2 39.3
45.0 60.5 54.9 37.5 52.0 57.8 46.4
52.4 45.3 54.2 40.6 55.1 44.3 45.5
50.0 47.7 52.4 31.3 49.0 42.0 44.1
40.5 46.5 47.0 31.3 49.0 42.2 41.5
28.6 43.0 47.0 37.5 49.0 44.4 39.9
42.9 40.7 51.2 31.3 44.9 45.6 40.7
40.5 52.3 51.2 34.4 51.0 54.4 46.5
28.6 42.9 49.4 18.8 39.6 51.1 41.5
41.2 47.0 51.5 32.6 47.7 47.1 42.8
Cover Story ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561
C3: คุณภาพ
C4: ความแตกตาง
C5: การตั้งราคา
C6: กำไรจากการขาย
C7: การเขาถึงแหลงเงินทุน
C8: ความสามารถของ พนักงาน C9: ความสัมพันธกับลูกคา
40.0 39.8 37.7 39.1 1.4
42.9 42.6 40.7 40.1 -0.4
51.9 52.3 56.2 56.1 0.1
54.5 54.7 53.4 52.3 -1.1
53.1 52.4 50.5 52.4 1.9
48.7 48.4 48.0 48.4 0.4
53.3 54.2 54.2 53.5 -0.7
50.6 49.8 54.4 52.3 -2.2
ดัชนี ความ สามารถ ในการทำ ธุรกิจ
59.4 58.9 56.7 58.8 2.1
50.5 50.3 50.2 50.3 0.1
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ 65.0 60.0 55.0 54.2 52.7 51.1 51.1 51.2 50.3 50.3 51.3 49.951.4 51.6 51.9 50.9 50.9 50.5 50.2 50.0 49.0 51.2 45.0 40.0
Q1/2557 Q2/2557 Q3/2557 Q4/2557 Q1/2558 Q2/2558 Q3/2558 Q4/2558 Q1/2559 Q2/2559 Q3/2559 Q4/2559 Q1/2560 Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 Q2/2561F
C2: ตนทุนฯ เปรียบเทียบ
Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 การเปลี่ยนแปลง
C1: ตนทุนตอหนวย
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 อยูที่ระดับ 50.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.1 จุด เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา
C4: ความ แตกตาง C6: กำไรจากการขาย
C5: การตั้งราคา
ธุรกิจคาสง ธุรกิจคาปลีก รวม
C7: การเขาถึงแหลง เงินทุน C8: ความสามารถของ พนักงาน C9: ความสัมพันธกับ ลูกคา ดัชนีความสามารถใน การทำธุรกิจ
C6: กำไรจากการขาย
C5: การตั้งราคา
C4: ความแตกตาง
C2: ตนทุนฯ เปรียบเทียบ C3: คุณภาพ
C1: ตนทุนตอหนวย
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการค้า
35.3 35.5 53.4 48.3 44.1 44.3 50.5 46.4 49.1 45.2 42.5 46.8 62.0 55.4 62.6 50.2 59.8 59.1 69.6 56.4 39.1 40.1 56.1 52.3 52.4 48.4 53.5 52.3 58.8 50.3
C5: การตั้งราคา
C6: กำไรจากการขาย
C7: การเขาถึงแหลง เงินทุน C8: ความสามารถของ พนักงาน C9: ความสัมพันธกับ ลูกคา ดัชนีความสามารถใน การทำธุรกิจ
45.7 63.6 45.4 59.6 -0.3 -4.0
51.3 62.2 54.0 63.9 2.7 1.7
44.7 56.0 44.9 56.2 0.2 0.2
ธุรกิจ อาหาร และเครื่องดื่ม สิ่งทอ และแฟชั่น หัตถกรรม พลาสติก และยาง อัญมณี และเครื่องประดับ ชิ้นสวนยานยนต สิ่งพิมพ เฟอรนเิ จอร และผลิตภัณฑจากไม รวม
38.2 47.6 46.9 46.8 38.9 35.7 38.6 36.6 39.1
34.8 45.2 43.8 41.9 38.9 42.9 43.2 35.4 40.1
51.1 52.4 46.9 62.9 52.8 53.6 59.1 58.5 56.1
C7: การเขาถึงแหลง เงินทุน C8: ความสามารถของ พนักงาน C9: ความสัมพันธกับ ลูกคา ดัชนีความสามารถใน การทำธุรกิจ
รวม
46.1 62.8 45.9 61.8 -0.2 -1.0
44.4 56.0 43.8 56.5 44.4 61.5 54.5 51.2 52.3
47.2 58.3 40.6 61.3 52.8 57.1 54.5 54.9 52.4
53.4 50.0 34.4 51.6 38.9 53.8 59.1 40.2 48.4
46.1 51.2 34.4 51.6 55.6 57.7 56.8 48.8 53.5
49.4 52.4 43.8 61.3 41.7 71.4 54.5 48.8 52.3
53.4 56.0 65.6 71.0 63.9 71.4 68.2 57.3 58.8
46.4 52.1 44.4 56.1 47.5 56.1 54.3 48.0 50.3
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการบริการ
ธุรกิจ รานอาหาร/ภัตตาคาร บริการเสริมสวย (รานเสริมสวย เครื่องสำอางค) บริการดานสุขภาพและความงาม ทองเที่ยว/สันทนาการ โรงแรม/เกสตเฮาส บริการดานการศึกษา ขนสง และโลจิสติกส กอสราง/พัฒนาอสังหาริมทรัพย รวม
C7: การเขาถึงแหลง เงินทุน C8: ความสามารถของ พนักงาน C9: ความสัมพันธกับ ลูกคา ดัชนีความสามารถใน การทำธุรกิจ
C3: คุณภาพ
42.7 53.6 42.3 55.0 -0.4 1.4
C6: กำไรจากการขาย
C7: การเขาถึง แหลงเงินทุน
การบริการ
47.1 54.0 49.9 55.0 2.8 1.0
C6: กำไรจากการขาย
C8: ความ สามารถของ พนักงาน
55.0
50.8 50.0 50.3 45.0 49.8 40.0
48.6 58.4 47.2 57.7 -1.4 -0.7
C5: การตั้งราคา
C9: ความ สัมพันธ กับลูกคา
การคา
เปรียบเทียบ
43.3 69.6 41.5 71.7 -1.8 2.1
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการผลิต
การผลิต
นทุนตอหนวย ดัชนีความสามารถ C1: ต65.0 C2: ตนทุนฯ ในการทำธุรกิจ 60.0
39.1 42.4 38.1 42.2 -1.0 -0.2
C5: การตั้งราคา
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามประเภทธุรกิจ
38.1 37.4 39.4 38.8 1.3 1.4
C4: ความแตกตาง
C5: การตั้งราคา
C4: ความแตกตาง
ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank Q1/2561 ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank การ ไมใชลูกคา เปลี่ยน ลูกคา SME Bank แปลง
C4: ความ แตกตาง C6: กำไรจากการขาย
Q4/2560
C4: ความแตกตาง
รวม
C3: คุณภาพ
C3: คุณภาพ
C2: ตนทุนฯ เปรียบเทียบ
ลูกคาของ SME Bank
C2: ตนทุนฯ เปรียบเทียบ C3: คุณภาพ
C7: การเขาถึง แหลงเงินทุน
เปรียบเทียบ
C1: ตนทุนตอหนวย
C8: ความ สามารถของ พนักงาน
60.0
56.2 55.0 50.3 50.0 45.0 44.940.0 35.0
C2: ตนทุนฯ เปรียบเทียบ C3: คุณภาพ
C9: ความ สัมพันธ กับลูกคา
ไมใชลูกคา ของ SME Bank
C1: ตนทุนตอหนวย
นทุนตอหนวย ดัชนีความสามารถ C1: ต70.0 C2: ตนทุนฯ ในการทำธุรกิจ 65.0
C1: ตนทุนตอหนวย
ดัชนีความสามารถในการทำธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามลักษณะการเป็นลูกค้า
33.0 34.5 53.4 51.0 47.6 38.8 49.5 50.5 50.0 45.4 33.8 32.4 38.2 51.5 50.0 52.9 58.8 47.1 61.8 47.4 40.5 43.0 44.6 31.3 39.8 43.3 39.1
31.0 45.3 44.0 40.6 42.7 46.7 40.1
45.2 59.3 53.0 50.0 50.0 63.6 56.1
54.8 55.8 55.4 46.9 56.1 64.8 52.3
47.6 61.6 60.2 46.9 51.0 52.3 52.4
38.1 46.5 54.8 40.6 61.2 51.2 48.4
52.4 54.7 54.2 28.1 61.5 55.7 53.5
47.6 58.1 51.8 40.6 53.1 62.2 52.3
45.2 66.3 60.8 53.1 59.2 61.1 58.8
44.7 54.5 53.2 42.0 52.7 55.7 50.3
31
Cover Story ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561
S9: การมีภูมิคุมกันที่ดี S10: การกำกับดูแล กิจการที่ดี S11: การใชจายดาน CSR
63.3 63.3 58.7 55.7 -3.0
64.9 64.8 59.6 57.7 -1.9
64.2 64.3 60.6 57.9 -2.7
51.7 51.4 50.3 51.6 1.3
49.0 48.2 47.1 46.7 -0.4
58.8 57.9 52.3 52.8 0.5
36.4 36.1 35.9 38.8 2.9
42.1 42.6 51.1 53.2 2.1
39.5 39.7 48.2 52.3 4.1
63.7 63.8 62.6 63.4 0.8
36.1 36.1 36.2 36.3 0.1
ดัชนี ความ ยั่งยืน ของ ธุรกิจ 51.8 51.7 51.2 51.5 0.3
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ 68.0 64.0 60.0 56.6 54.3 56.0 52.5 51.1 51.7 51.6 51.6 51.8 51.8 51.552.5 52.0 51.5 51.2 50.8 50.7 48.0 44.0 40.0
Q1/2557 Q2/2557 Q3/2557 Q4/2557 Q1/2558 Q2/2558 Q3/2558 Q4/2558 Q1/2559 Q2/2559 Q3/2559 Q4/2559 Q1/2560 Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 Q2/2561F
S8: การมีเหตุมีผล
Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 การ เปลี่ยนแปลง
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายไดหดตัว ฉับพลัน S3: Risk ปจจัยการผลิต ขาด S4: การลงทุนดาน HR/OD S5: การลงทุนดาน การตลาด S6: การลงทุนดาน IT/R&D S7: ความพอประมาณ
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 อยูที่ระดับ 51.5 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.3 จุด เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา
ลูกคาของ SME Bank ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank Q1/2561 ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank การ ไมใชลูกคา เปลี่ยน ลูกคา SME Bank แปลง
การผลิต
ดัชนีความยั่งยืน S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายได 65.0 ของธุรกิจ หดตัวฉับพลัน 60.0 52.0 55.0 S11: การใช S3: Risk ปจจัย 51.8 50.0 จายดาน CSR การผลิตขาด 50.8 45.0
S10: การ กำกับดูแล กิจการที่ดี S9: การมี ภูมิคุมกันที่ดี S8: การมี เหตุมีผล
40.0 35.0 30.0
S7: ความพอประมาณ
การคา การบริการ
S4: การลงทุน ดาน HR/OD
รวม
S5: การลงทุน ดานการตลาด S6: การลงทุน ดาน IT/R&D
32
S9: การมีภูมิคุมกันที่ดี S10: การกำกับดูแล กิจการที่ดี S11: การใชจายดาน CSR ดัชนีความยั่งยืนของ ธุรกิจ
S8: การมีเหตุมีผล
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายไดหดตัว ฉับพลัน S3: Risk ปจจัย การผลิตขาด S4: การลงทุนดาน HR/OD S5: การลงทุนดาน การตลาด S6: การลงทุนดาน IT/R&D S7: ความพอประมาณ
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการค้า
ธุรกิจคาสง ธุรกิจคาปลีก รวม
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการผลิต
49.7 42.0 49.3 34.6 52.6 54.8 52.1 54.0 54.0 52.8 34.7 48.2 54.5 54.2 47.8 36.6 51.5 47.5 62.0 64.4 68.1 78.0 35.1 54.5 51.3 48.4 49.9 38.7 53.2 54.1 55.7 57.7 57.9 63.5 36.3 51.5
ธุรกิจ อาหาร และเครื่องดื่ม สิ่งทอ และแฟชั่น หัตถกรรม พลาสติก และยาง อัญมณี และเครื่องประดับ ชิ้นสวนยานยนต สิ่งพิมพ เฟอรนเิ จอร และผลิตภัณฑจากไม รวม
S9: การมีภูมิคุมกันที่ดี S10: การกำกับดูแล กิจการที่ดี S11: การใชจายดาน CSR ดัชนีความยั่งยืนของ ธุรกิจ
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามประเภทธุรกิจ
47.2 42.7 47.2 37.6 47.8 49.4 48.3 50.0 48.9 52.8 37.1 46.3 48.8 42.9 56.0 50.0 44.0 54.8 45.2 50.0 58.3 64.6 42.9 50.7 46.9 37.5 43.8 25.0 53.1 37.5 43.8 46.9 37.5 40.6 25.0 39.8 54.8 51.6 58.1 54.8 64.5 63.3 60.0 53.3 69.4 72.6 41.9 58.6 38.9 41.7 52.8 38.9 52.8 52.8 41.7 52.8 52.8 55.6 41.7 47.5 65.4 39.3 61.5 57.1 57.1 50.0 57.7 53.8 61.5 73.1 42.3 56.3 59.1 54.5 50.0 54.5 52.3 54.5 54.5 61.4 75.0 70.5 47.7 57.6 51.2 42.7 58.5 41.5 58.5 56.1 52.4 56.1 62.2 67.1 46.3 53.9 51.3 48.4 49.9 38.7 53.2 54.1 55.7 57.7 57.9 63.5 36.3 51.5
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจบริการ
ธุรกิจ รานอาหาร/ภัตตาคาร บริการเสริมสวย (รานเสริมสวย เครื่องสำอางค) บริการดานสุขภาพและความงาม ทองเที่ยว/สันทนาการ โรงแรม/เกสตเฮาส บริการดานการศึกษา ขนสง และโลจิสติกส กอสราง/พัฒนาอสังหาริมทรัพย รวม
S9: การมีภูมิคุมกันที่ดี S10: การกำกับดูแล กิจการที่ดี S11: การใชจายดาน CSR ดัชนีความยั่งยืนของ ธุรกิจ
S5: การลงทุน ดานการตลาด S6: การลงทุน ดาน IT/R&D
45.2 42.9 45.6 36.3 50.0 48.6 48.9 48.2 51.5 53.3 41.1 46.5 59.5 51.4 55.3 35.5 52.0 47.9 69.1 71.6 70.2 72.5 31.0 56.0 44.6 41.9 46.0 39.8 44.3 53.9 40.7 43.2 46.5 52.1 40.8 44.9 61.6 51.8 57.5 37.6 62.7 50.7 71.8 73.1 70.0 75.5 31.5 58.5 -0.6 -1.0 0.4 3.5 -5.7 5.3 -8.2 -5.0 -5.0 -1.2 -0.3 -1.6 2.1 0.4 2.2 2.1 10.5 2.8 2.7 1.5 -0.2 3.0 0.5 2.5
S8: การมีเหตุมีผล
S7: ความพอประมาณ
Q4/2560
S8: การมีเหตุมีผล
รวม
S4: การลงทุน ดาน HR/OD
S9: การมีภูมิคุมกันที่ดี S10: การกำกับดูแล กิจการที่ดี S11: การใชจายดาน CSR ดัชนีความยั่งยืนของ ธุรกิจ
ไมใชลูกคา ของ SME Bank
S2: Risk รายได หดตัวฉับพลัน S3: Risk ปจจัย การผลิตขาด
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายไดหดตัว ฉับพลัน S3: Risk ปจจัย การผลิตขาด S4: การลงทุนดาน HR/OD S5: การลงทุนดาน การตลาด S6: การลงทุนดาน IT/R&D S7: ความพอประมาณ
58.5 51.5 44.9
80.0 75.0 70.0 65.0 60.0 55.0 50.0 45.0 40.0 35.0 30.0
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายไดหดตัว ฉับพลัน S3: Risk ปจจัย การผลิตขาด S4: การลงทุนดาน HR/OD S5: การลงทุนดาน การตลาด S6: การลงทุนดาน IT/R&D S7: ความพอประมาณ
S11: การใช จายดาน CSR S10: การ กำกับดูแล กิจการที่ดี S9: การมี ภูมิคุมกันที่ดี S8: การมี เหตุมีผล
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ
S1: วิสัยทัศน/กลยุทธ S2: Risk รายไดหดตัว ฉับพลัน S3: Risk ปจจัย การผลิตขาด S4: การลงทุนดาน HR/OD S5: การลงทุนดาน การตลาด S6: การลงทุนดาน IT/R&D S7: ความพอประมาณ
ดัชนีความยั่งยืน ของธุรกิจ
S8: การมีเหตุมีผล
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามลักษณะการเป็นลูกค้า
44.7 48.1 42.2 28.6 40.3 50.5 44.1 46.1 49.0 51.9 24.3 42.7 50.0 39.7 45.6 47.1 55.9 57.6 61.8 66.2 67.6 76.5 48.5 56.0 45.2 42.9 38.1 28.6 50.0 42.9 38.1 47.6 38.1 50.0 38.1 41.8 55.8 53.5 61.6 36.0 50.0 48.8 59.3 58.1 55.8 62.8 37.2 52.6 53.0 45.8 50.6 42.8 57.2 57.3 51.8 54.9 47.6 58.5 40.2 50.9 59.4 34.4 43.8 40.6 46.9 56.3 50.0 50.0 46.9 53.1 34.4 46.9 64.3 39.8 57.1 41.8 62.2 55.1 66.3 64.3 60.2 74.5 37.5 56.7 57.8 57.8 65.6 55.7 62.2 47.7 75.0 76.1 76.7 83.0 42.2 63.6 51.3 48.4 49.9 38.7 53.2 54.1 55.7 57.7 57.9 63.5 36.3 51.5
Cover Story ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 4/2560 ดัชนีความสามารถในการแขงขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 อยูที่ระดับ 48.2 ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.2 จุด เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผานมา
Q4/2559 Q1/2560 Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 การเปลี่ยนแปลง
42.1 41.7 41.3 41.1 42.3 42.8 0.5
ดัชนีความ สามารถ ในการ ทำธุรกิจ 51.2 50.9 50.5 50.3 50.2 50.3 -0.1
ดัชนี ความ ยั่งยืน ของธุรกิจ 51.8 51.8 51.8 51.7 51.2 51.5 0.3
ดัชนี ความสามารถ ในการแขงขัน ของธุรกิจ 48.4 48.1 47.9 47.7 47.9 48.2 0.2
ดัชนีความสามารถในการแขงขันฯ
60.0 56.0 56.0 53.5 50.5 50.0 49.3 52.0 47.9 49.2 49.8 49.8 49.4 48.2 48.1 48.0 48.4 48.4 47.9 47.7 48.5 44.0 40.0
Q1/2557 Q2/2557 Q3/2557 Q4/2557 Q1/2558 Q2/2558 Q3/2558 Q4/2558 Q1/2559 Q2/2559 Q3/2559 Q4/2559 Q1/2560 Q2/2560 Q3/2560 Q4/2560 Q1/2561 Q2/2561F
ดัชนี สถานการณ ธุรกิจ
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามลักษณะการเป็นลูกค้า สถานการณธุรกิจ
ดัชนีความ สามารถใน การแขงขันฯ
60.0 55.0 50.0 45.0 40.0 35.0 53.7 43.130.0 48.2
ไมใชลูกคาของ SME Bank รวม
ดัชนีความ สามารถใน การทำธุรกิจ
Q4/2560
ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank Q1/2561 ไมใชลูกคา ลูกคา SME Bank การ ไมใชลูกคา เปลี่ยน ลูกคา SME Bank แปลง
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามประเภทธุรกิจ 55.0 50.0 45.0 40.0 35.0 ดัชนีความ 49.2 30.0 สามารถใน 48.3 47.1 การแขงขันฯ
การคา การบริการ รวม
ดัชนีความ สามารถใน การทำธุรกิจ
ดัชนีความยั่งยืนของธุรกิจ
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการค้า ดัชนี ดัชนีความ ดัชนี ความ สามารถ สถานการณ ยั่งยืน ในการ ธุรกิจ ทำธุรกิจ ของธุรกิจ 36.2 47.5 42.8
45.2 56.4 50.3
48.2 54.5 51.5
40.2 44.5 39.4 46.4 -0.8 1.9
44.7 56.0 44.9 56.2 0.2 0.2
46.5 56.0 44.9 58.5 -1.6 2.5
43.8 52.2 43.1 53.7 -0.7 1.5
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการผลิต
การผลิต
สถานการณธุรกิจ
ธุรกิจคาสง ธุรกิจคาปลีก รวม
ดัชนี ดัชนี ดัชนีความ ความ ดัชนี ความ สามารถใน สถานการณ สามารถ ยั ่งยืน ในการ งขัน ธุรกิจ ทำธุรกิจ ของธุรกิจ การแข ของธุรกิจ
ลูกคาของ SME Bank
ธุรกิจ อาหาร และเครื่องดื่ม สิ่งทอ และแฟชั่น หัตถกรรม พลาสติก และยาง อัญมณี และเครื่องประดับ ชิ้นสวนยานยนต สิ่งพิมพ เฟอรนเิ จอร และผลิตภัณฑจากไม รวม
ดัชนี ดัชนี ดัชนีความ ความ ดัชนี ความ สามารถใน สถานการณ สามารถ ยั ่งยืน ในการ งขัน ธุรกิจ ทำธุรกิจ ของธุรกิจ การแข ของธุรกิจ 40.7 42.7 40.3 50.5 38.9 47.6 42.4 41.5 42.8
46.4 52.1 44.4 56.1 47.5 56.1 54.3 48.0 50.3
46.3 50.7 39.8 58.6 47.5 56.3 57.6 53.9 51.5
44.5 48.5 41.5 55.1 44.6 53.3 51.5 47.8 48.2
ดัชนีความสามารถในการแข่งขันฯ ไตรมาสที่ 1/2561 จำแนกตามธุรกิจการบริการ
ดัชนีความ สามารถใน การแขงขัน ของธุรกิจ 43.2 52.8 48.2
ธุรกิจ รานอาหาร/ภัตตาคาร บริการเสริมสวย (รานเสริมสวย เครื่องสำอางค) บริการดานสุขภาพและความงาม ทองเที่ยว/สันทนาการ โรงแรม/เกสตเฮาส บริการดานการศึกษา ขนสง และโลจิสติกส กอสราง/พัฒนาอสังหาริมทรัพย รวม
ดัชนี ดัชนีความ ดัชนีความ ดัชนี สามารถ ความ สามารถใน สถานการณ ยั่งยืน การแขงขัน ในการ ธุรกิจ ทำธุรกิจ ของธุรกิจ ของธุรกิจ 40.8 36.1
45.4 47.4
42.7 56.0
43.0 46.5
41.2 47.0 51.5 32.6 47.7 47.1 42.8
44.7 54.5 53.2 42.0 52.7 55.7 50.3
41.8 52.6 50.9 46.9 56.7 63.6 51.5
42.6 51.4 51.9 40.5 52.4 55.5 48.2 33
Exim Bank
แนวโน้มผู้บริโภควัยเด็กโลก… สร้างโอกาสขยายตลาด สินค้าและบริการ â´Â: ½†ÒÂÇԨѸØáԨ ¸¹Ò¤ÒÃà¾×่Í¡ÒÃÊ‹§ÍÍ¡áÅйÓࢌÒáË‹§»ÃÐà·Èä·Â
จากขอมูล World Population Prospects 2017 พบว า ประชากรวั ย เด็ ก (อายุระหวาง 0-14 ป) มีแนวโนมจะ เป น กลุ ม ผู บ ริ โ ภคที ่ น า สนใจไม แ พ กลุมประชากรวัยอื่นๆ เพราะนอกจาก มีจำนวนสูงถึงราว 1.93 พันลานคน ในป 2558 คิดเปนสัดสวนสูงถึง 1 ใน 4 ของประชากรโลกแลว ยังคาดวา ประชากรวั ย เด็ ก จะเพิ ่ ม ขึ ้ น ต อ เนื ่ อ ง เปน 1.99 พันลานคน ในป 2563 และ 2.02 พันลานคน ในป 2568 โดย พบวาประเทศที่มีประชากรเด็กสูงสุด ของโลก คือ อินเดีย รองลงมาคือ จีน และไนจีเรีย ขณะเดียวกันความกังวล วาปญหาโครงสรางประชากรที่เปลี่ยน แปลงไปอาจกอใหเกิดปญหาขาดแคลน แรงงาน และอาจกระทบตอการผลิต สินคาและกำลังซื้อในอนาคต ทำให หลายประเทศเริ ่ ม หั น มาใส ใ จเพิ ่ ม จำนวนประชากรผ า นนโยบายต า งๆ โดยเฉพาะจีน ไดยกเลิกนโยบายลูก คนเดียว (One Child Policy) ที่ บังคับใชมาตั้งแตป 2522 และอนุญาต
จ
34
ใหทุกครอบครัวมีลูกคนที่สองได เชน เดียวกันกับญี่ปุนที่มีมาตรการมากมาย ในการสนับสนุนการมีบุตรเพิ่ม อาทิ การให ส ว นลดซื ้ อ สิ น ค า สำหรั บ เด็ ก และใหเงินสนับสนุนคาใชจายสำหรับ เลี้ยงดูบุตร และสิงคโปรที่เพิ่มเงิน
เบี้ยเลี้ยงดูแลบุตร รวมทั้งอนุญาตให สามีลางานเพื่อดูแลภรรยาหลังคลอด บุตรโดยไดรับเงินเดือนตามปกติ จำนวนประชากรเด็ ก ที ่ เ พิ ่ ม ขึ ้ น สงผลใหสินคาและบริการเกี่ยวกับเด็ก มี ศ ั ก ยภาพในการขยายตั ว ได อ ี ก มาก
ประเทศที่มีจำนวนประชากรเด็กสูงสุด 5 อันดับแรกของโลกในปี 2568
1
2
3
อินเดีย 359.6 ลานคน
จีน 239.5 ลานคน
ไนจีเรีย 98.9 ลานคน
4
ปากีสถาน 74.3 ลานคน
5
อินโดนีเซีย 71.2 ลานคน
ที่มา : World Population Prospects 2017, United Nations
Exim Bank
โดยมีแนวโนมที่นาสนใจ ดังนี้ ชอปปงออนไลนกลายเปน Lifestyle ปกติของคุณแมยุคดิจิทัล ด ว ยข อ จำกั ด ของคุ ณ แม ท ี ่ เ พิ ่ ง คลอด บุ ต รที ่ ต อ งพั ก ฟ น และดู แ ลบุ ต รหลั ง คลอดอยางใกลชิด ขณะที่หลังระยะ พักฟนแลวคุณแมบางรายตองทำงาน นอกบานเพื่อหารายไดดูแลครอบครัว ไปพรอมๆ กับดูแลบุตร ทำใหคุณแม
ยุคใหมไมคอยมีเวลาไปเลือกซื้อสินคา ดวยตนเองในศูนยการคาหรือหางสรรพ สินคา จึงนิยมคนหาและเลือกซื้อสินคา สำหรับเด็กผานรานคาออนไลน เพราะ นอกจากความสะดวกในการเลือกและ สั่งซื้อสินคาไดจากผูผลิตทั่วโลกดวย ตนเองจากเว็บไซตแลว ยังสามารถ เปรียบเทียบคุณสมบัติและราคาสินคา ไดงาย การเลือกซื้อสินคาสำหรับเด็ก
ตัวอย่างสินค้าเด็กที่จำหน่ายในเว็บไซต์ Alibaba
ที่มา : https://www.alibaba.com/products/F0/baby_products
ผ า นช อ งทางออนไลน จ ึ ง ได ร ั บ ความ นิยมในหลายประเทศ โดยเฉพาะจีน ลาสุดในชวงวันคนโสด หรือ Singles' Day เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2560 พบวายอดคำสั่งซื้อสินคาผาน Alibaba .com (เว็บไซตจำหนายสินคาออนไลน ใหญที่สุดของจีน) มีมูลคาถึง 2.5 หมื่น ลานดอลลารสหรัฐ โดยผาออมเด็ก ติดหนึ่งในสินคาที่มียอดจำหนายสูงสุด และพบว า ชาวจี น ยั ง นิ ย มเลื อ กซื ้ อ สิ น ค า เกี ่ ย วกั บ แม แ ละเด็ ก จากหลาย เว็บไซต อาทิ yhd.com และ mia .com เชนเดียวกันกับ สหรัฐฯ ซึ่งพบ วาคุณแมชาวอเมริกันที่มีอายุระหวาง 18-34 ป ชอบคนหาและสั่งซื้อสินคา จำพวกอาหาร เสื้อผา และของเลน เด็กผานชองทางออนไลน นอกจากนี้ ผูบริโภคในอินโดนีเซีย ซึ่งเปนประเทศ ที ่ ม ี ป ระชากรวั ย เด็ ก มากที ่ ส ุ ด ใน อาเซียน นิยมสั่งซื้อผาออมสำเร็จรูป และผลิตภัณฑทำความสะอาดสำหรับ เด็กผานทางเว็บไซต อาทิ lazada
ตัวอย่างนวัตกรรมสำหรับเด็ก
เตียงนอนเด็กอัจฉริยะ CloudTot
เครื่องตรวจสุขภาพเด็ก TytoHome
เครื่องชวยควบคุมการนอน REMI
ที่มา : https://www.maerakluke.com/topics/26739 35
Exim Bank
ตัวอย่างอาหาร พร้อมรับประทาน สำหรับเด็กบรรจุขวด
ขาวโพดผสมเนื้อไกบด ที่มา : www.wcf.co.th
.co.id และ bhinneka.com ทั้งนี้ พฤติกรรมของคุณแมยุคดิจิทัลดังกลาว ทำใหการจำหนายและประชาสัมพันธ สิ น ค า บนเว็ บ ไซต เ ป น ทางเลื อ กที ่ น า สนใจของผูประกอบการเพราะใชเงิน ลงทุนไมมากนัก แตมีศักยภาพในการ เข า ถึ ง ลู ก ค า เป า หมายได เ ป น จำนวน มาก ผูผลิตสินคาหันมาพัฒนา นวัตกรรมสำหรับเด็กเพิ่มขึ้น ยก ตัวอยางเชน เตียงนอนเด็กอัจฉริยะ CloudTot ที่ติดตั้งเทคโนโลยีวัด อุณหภูมิ ความชื้น อัตราการหายใจ และระดับเสียง สามารถสงเสียงเตือน ไปยังแอพพลิเคชั่นในโทรศัพทมือถือ ของพอแมหากพบวาเตียงเปยก และ เมื ่ อ เด็ ก ไม เ คลื ่ อ นไหวร า งกายหรื อ หยุดหายใจนานกวาเวลาที่กำหนด จะ มีอุปกรณที่ชวยดุนตัวเด็กเบาๆ และ สงเสียงใหเด็กรูตัว รวมทั้งสงสัญญาณ เตือนไปยังพอแม เครื่องตรวจสุขภาพ 36
เด็ก TytoHome ชวยใหพอ แมวดั อัตรา การเตนของหัวใจ อุณหภูมิรางกาย รวมไปถึ ง ใชส อ งและบั น ทึ ก ภาพภาย ในหู แ ละคอของลู ก ด ว ยตนเองจากที ่ บาน กอนที่จะสงขอมูลใหแพทยเพื่อ รับผลการวินิจฉัยโรค เครื่องชวยติด ตามและควบคุ ม การนอนของเด็ ก REMI เปนอุปกรณที่สามารถบอกเวลา เลนเพลงกลอมลูก และชวยใหพอแม บันทึก ติดตาม และควบคุมการนอน (ตั้งเวลาปลุกและเวลาเขานอน) ของ ลูก ดวยแอพพลิเคชัน่ ทีต่ ดิ ตัง้ ในโทรศัพท มือถือ ผูผ ลิตนมผงสำหรับเด็กพัฒนา ผลิตภัณฑใหมๆ อยางตอเนื่อง เพื่อ
ตอบสนองความตองการของผูปกครอง บางกลุ ม ที ่ เ ห็ น ว า บุ ต รควรได ร ั บ สาร อาหารพิ เ ศษเพิ ่ ม เติ ม เพื ่ อ เสริ ม สร า ง พัฒนาการทัง้ ทางรางกายและสติปญ ญา ผูผลิตนมผงรายใหญของโลกจึงพัฒนา สู ต รนมผงสำหรั บ เด็ ก ให ม ี ส ว นผสม พิเศษ อาทิ DHA ซึ่งเปนกรดไขมัน จำเปนที่มีสวนชวยสงเสริมพัฒนาการ ทางสมองและจอประสาทตาของเด็ก Alpha Lactalbumin และ Choline ซึ่งเปนสารตั้งตนในการสรางสารสื่อ ประสาท ชวยในการทำงานของสมอง อาหารพร อ มรั บ ประทาน สำหรับเด็กไดรับความนิยมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในประเทศพัฒนาแลวและ
แชมพู-สบู่เด็กที่ใช้ส่วนผสมจากธรรมชาติ
สบูและแชมพูเด็กที่มี สวนผสมของวานหางจระเข
สบูเด็กที่มีสวนผสมของ ดอกดาวเรืองและดอกคาโมมายล
ที่มา : https://www.bestproducts.com/parenting/baby/g107/ natural-baby-washes-shampoos/
Exim Bank
ในเมืองใหญ เพราะนอกจากพกพาได งายเหมาะใหเด็กรับประทานขณะทำ กิจกรรมนอกบานแลว ยังเขากันดีกับ ไลฟสไตลของพอแมยุคใหมที่มีวิถีชีวิต ที่เรงรีบ จึงไมคอยมีเวลาเตรียมอาหาร ใหลูกแตตองการใหลูกไดรับประทาน อาหารทีถ่ กู สุขลักษณะและมีสารอาหาร ครบถวน พอแมหันมาเลือกซื้อของใช สำหรับเด็กที่ใชวัตถุดิบจากธรรมชาติ มากขึ้น เพื่อหลีกเลี่ยงสารเคมีที่อาจ เปนอันตรายตอผิวเด็กที่บอบบางและ มักระคายเคืองงาย อาทิ สบู แชมพู และผลิตภัณฑทำความสะอาดสำหรับ เด็ก ที่มีสวนผสมของพืชสมุนไพรตางๆ แปงเด็กที่ผลิตจากขาวเจาปราศจาก
ทั ล คั ม ที ่ อ าจก อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ รางกายเด็กในระยะยาว รวมไปถึง ผลิ ต ภั ณ ฑ ท าผมหรื อ คิ ้ ว ที ่ ผ ลิ ต จาก ดอกอัญชันซึ่งเชื่อวาจะชวยใหคิ้วหรือ ผมของเด็กหนาขึ้นหรือเขมขึ้น พอแมนิยมพาลูกไปทำกิจกรรมนอกบานมากขึ้น เพื่อเปดโลก กวางใหเด็กเรียนรูสิ่งใหมๆ และชวย เสริมพัฒนาการดานตางๆ ของเด็กให ดียิ่งขึ้น คาดวาจะเปดโอกาสใหกับ หลายธุรกิจที่เกี่ยวของกับเด็ก อาทิ ธุรกิจสวนสนุกและธีมปารค โดย Global Industry Analysts, Inc. คาดว า มู ล ค า ตลาดสวนสนุ ก และธี ม ปารคจะพุงแตะระดับ 4.4 หมื่นลาน ดอลลารสหรัฐในป 2563 โดยจีนเปน
Shanghai Disney Resort
ที่มา : https://d23.com/disney-twenty-three-unlocks-the-gates-to-shanghaidisney-resort/
ตลาดที่มีแนวโนมขยายตัวสูง และลา สุด Walt Disney ไดเปด Shanghai Disney Resort ในจีนเพื่อเนนเจาะ ลูกคาเด็กที่มีจำนวนมาก แนวโนมดังกลาวขางตนอาจเปน แนวทางสำหรับผูประกอบการในการ พั ฒ นาสิ น ค า และบริ ก ารให ต รงกั บ ความตองการ เพื่อควาโอกาสจากการ ขยายตั ว ของตลาดสิ น ค า และบริ ก าร สำหรับเด็ก โดยเฉพาะสินคาในกลุม อาหารพร อ มรั บ ประทานและของใช สำหรั บ เด็ ก ที ่ ไ ทยมี ค วามพร อ มด า น วัตถุดิบสามารถตอยอดไปผลิตสินคา สำหรับเด็กอยูแลว และอาจเลือกใช ออนไลน เ ป น หนึ ่ ง ในช อ งทางวาง จำหน า ยหรื อ ประชาสั ม พั น ธ ส ิ น ค า เพื่อเขาถึงลูกคาเปาหมายไดแพรหลาย นอกจากนี้ แมวาผูประกอบการ SMEs จะไม ส ามารถผลิ ต สิ น ค า และบริ ก าร บางประเภทได เพราะเปนธุรกิจขนาด ใหญ ท ี ่ ต อ งใช เ งิ น ลงทุ น จำนวนมาก อยางธุรกิจสวนสนุกและธีมปารค แต ผูประกอบการ SMEs ยังมีโอกาสใน ธุรกิจที่เกี่ยวของอยางสินคาที่ระลึกที่ วางจำหนายในสวนสนุกและธีมปารค อาทิ ตุกตา เสื้อที่ระลึก หมวก พวง กุญแจ แกวน้ำ และแมเหล็กติดผนัง รวมถึงสินคาที่ตองใชในสวนสนุก ยก ตัวอยางเชน ภาชนะใสอาหาร กระดาษ เช็ ด ปากที ่ ม ี ล วดลายหรื อ สั ญ ลั ก ษณ เฉพาะของสวนสนุก เปนตน
Disclaimer : ข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏ เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการเผยแพร่ข้อมูลเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ ในการให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเท่านั้น โดยธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลนำข้อมูลนี้ไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด 37
Press Release
นักธุรกิจไทย-อิตาลี
เข้าร่วมการประชุม Thai-Italian Business Forum ครั้งที่ 4
ภูเก็ต – 30 บริษัทไทย และอิตาลี เขารวมการ ประชุม Thai-Italian Business Forum ครั้งที่ 4 ณ จังหวัดภูเก็ต ประเทศไทย ไทย-อิตาเลียน บิสสิเนส ฟอรั่ม กอตั้งขึ้นเมื่อป 2558 โดยการริเริ่มของ ฯพณฯ ฟรานเซสโก นิสโิ อ เอกอัครราชทูต อิตาลี ประจำประเทศไทย รวมมือกับ สภาหอการคาแหงประเทศไทย และ ไดรับการสนับสนุนจากกระทรวงการ ตางประเทศอิตาลี โดยในการประชุม ครั้งที่ 3 ณ เมืองมิลาน ประเทศอิตาลี ไดมีพิธีลงนามบันทึกความเขาใจในการ
ภ
38
จัดตั้งบิสสิเนสฟอรั่มอยางเปนทางการ โดยประธานฟอรั่มฝายไทยและอิตาลี คือคุณบุษบา จิราธิวัฒน รองกรรมการ ผูจัดการใหญ ฝายสื่อสารองคกร บริษัท กลุมเซ็นทรัล จำกัด และคุณคารโล เปซานตี ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั อิตาโมบิเลียเร การลงนามบันทึกดังกลาว แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ที่แนนแฟนของทั้งสองประเทศ ทั้งนี้ ฟอรัม่ ฯ ไดรบั การสนับสนุนจากกระทรวง การต า งประเทศของทั ้ ง สองประเทศ เนื่องในโอกาสการพบปะกันระหวาง รั ฐ มนตรี ก ระทรวงการต า งประเทศ อิตาลีและสมาชิกฟอรั่มฯ เมื่อวันที่ 9
กุมภาพันธ 2561 ณ ประเทศไทย และ การพบปะกันระหวางรัฐมนตรีกระทรวง การตางประเทศไทยกับสมาชิกฟอรั่มฯ เมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2561 ณ ประเทศ อิตาลี ไทย-อิตาเลียน บิสสิเนส ฟอรั่ม เปนเวทีการพบปะกันระหวางนักธุรกิจ ระดับสูงจากไทยและอิตาลี และยังเปน ชองทางในการสรางความรวมมือระหวาง กัน รวมไปถึงการพัฒนาความสัมพันธ ทางเศรษฐกิจของทัง้ สองประเทศอีกดวย โดยสมาชิกของไทยและอิตาลี มีมูลคา ทรัพยสินรวมกันประมาณ 5 แสนลาน เหรียญสหรัฐฯ
Press Release
ในป 2561 ฝายไทยเปนเจาภาพ ในการจั ด การประชุ ม ไทย-อิ ต าเลี ย น บิสสิเนส ฟอรัม่ ครัง้ ที่ 4 นำโดยประธาน ฝายไทย คุณบุษบา จิราธิวัฒน และมี บริษัทสมาชิกเขารวมการประชุม อาทิ อิตาโมบิเลียเร คาวักนา ซีเอ็มซีราเวนนา ซีเอ็นเอช แดเนียลลี่ ดูคาติ เฟเบอร อินาลคัลฟูด แอนดเบฟเวอรเรจ เฟอรเรโร เจเนราลี่ ลีโอนารโดเฮลิคอปเตอร ปเรียลลี่ ซาเช ไซเปม ยูนิเครดิต วิตตอเรีย กลุม เซ็นทรัล จีพีเอสซี(เครือ ปตท.) ธนาคาร กรุงเทพ การบินไทย ไทยซัมมิท สิงห มิตรผล ดุสิตธานี ไทยยูเนี่ย อีโนเวรับเบอร วงศบณ ั ฑิต เมอรชน่ั พารทเนอร ไทยวิวัฒน และอุตสาหกรรมดีสวัสดิ์ โดยในปนี้บริษัทไซเปม และ อินาลคัล ฟูด แอนดเบฟเวอรเรจ ไดเขาเปนสมาชิก ใหมของฟอรั่มฯ ในการประชุมดังกลาวฯ นักธุรกิจ จากทั ้ ง สองประเทศได ห ารื อ ถึ ง การ สงเสริมการคาและการลงทุนระหวาง กัน ซึ่งในปที่ผานมา อิตาลีและไทยมี มูลคาการคาระหวางกันประมาณ 3.7
พันลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป 2559 ประมาณ 0.8% ฟอรั่มฯ ยัง เวที ใ นการแลกเปลี ่ ย นข อ มู ล ข า วสา รดานการคาและการลงทุน อาทิ ขอมูล การลงทุนในระเบียงเขตเศรษฐกิจภาค ตะวันออก แผนการพัฒนาภายใตนโยบาย ไทยแลนด 4.0 โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการพัฒนา Eastern Seaboard ที่สงเสริมใหไทยเปนโรงไฟฟาสำหรับ การผลิตอุตสาหกรรมในอีก 30 ป ใน อนาคต นอกจากนี้ สมาชิกทั้งสองฝายยัง
มีความมุง มัน่ ในการผลักดันความรวมมือ ทางอาชีวะศึกษา ความรวมมือดานการ ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ และ การฝกอบรมเพื่อพัฒนาผูประกอบการ ซึ่งเปนประเด็นที่ทางสภาหอการคาฯ ใหความสำคัญอยางยิง่ สุดทายนี้ ฟอรัม่ ฯ ขอรวมแสดงความยินดีกบั การเฉลิมฉลอง ครบรอบความสัมพันธทางการทูต 150 ป ไทย-อิตาลี ในป 2561 นี้อีกดวย อนึง่ การประชุมของไทย-อิตาเลียน บิสสิเนส ฟอรั่ม ครั้งที่ 5 ในป 2562 จะจัดขึ้น ณ ประเทศอิตาลี 39
Inspire
40
Inspire
สาลินี รัตนชัยสิทธิ์ เจ้าของแบรนด์ CyranoDesign ผู้แปลง Skill ความชอบให้เป็นธุรกิจ ã¹Âؤâ«àªÕÂÅ·ÕèËÅÒ¸ØáԨà¡Ô´¢Öé¹ä´ŒäÁ‹ÍÂÒ¡ ¹‹Ò¨Ð¤ØŒ¹¡Ñº¤ÓÇ‹Ò “¢ÒÂÊÔ¹¤ŒÒÍ͹äŹ ” àÃÔèÁ§‹ÒÂáÅŒÇ ¨ÐÂÑè§Â×¹ËÃ×ÍäÁ‹ ¤Óμͺ¤×Í Product Quality ¶ŒÒÊÔ¹¤ŒÒ´Õ¨ÃÔ§ ¢Í§¨ÃÔ§ ÃѺÃÍ§Ç‹Ò ä»ä´ŒÍÕ¡ä¡Å Íա˹Öè§âÁà´Å ÊÓËÃѺ¸ØáԨ Start Up ·Õ蹋Òʹ㨠໚¹¸ØáԨ·ÕèÁÒ¨Ò¡ Skill áÅоÃÊÇÃä ¢Í§ ਌ҢͧáºÃ¹´ ÊÔ¹¤ŒÒ tailor made ·ÕèÁÕÅÒÂàÊŒ¹ (Signature)໚¹Í§¤ »ÃСͺ ÁÕ¤ÇÒÁ Unique ੾ÒÐμÑÇ ·ÕèäÁ‹ àËÁ×͹ã¤Ã à¸Í¤×Í ¤Ø³ÊÒÅÔ¹Õ ÃÑμ¹ªÑÂÊÔ·¸Ôì ¤ÃÕàÍ·Õ¿ÊÒÇμÒâμ¼ÙŒ¾ÅÔ¡ªÕÇÔμ¨Ò¡¤ÃÕàÍ·Õ¿ÃÒ¡Ò÷ÕÇմѧ ÊÙ‹ªÕÇÔμ ਌ Ò ¢Í§¸Ø à ¡Ô ¨ áºÃ¹´ ã ËÁ‹ CyranoDesign ·Õ è ¹ Ó Skill ¡ÒÃà¢Õ  ¹ÅÒÂàÊŒ ¹ ¡Òà μ Ù ¹ ´Œ Ç Â¤ÇÒÁ¶¹Ñ ´ ÁÒ¾Ñ ² ¹Ò ãËŒ¡ÅÒÂÊÔ¹¤ŒÒẺ੾ÒÐμÑÇ ¢Ò´Ժ ¢ÒÂ´Õ ÂÔè§Ã͹ҹ ÂÔè§ÁÕ¤¹μŒÍ§¡Òà ¡ÅÒÂ໚¹ Most Wanted º¹âÅ¡â«àªÕÂÅ à¾ÃÒÐÍÐäÃáºÃ¹´ ¨Ö§à»š¹·ÕèμŒÍ§¡Òâ¹Ò´¹Õé ÊÔ¹¤ŒÒ¤×ÍÍÐäáѹṋ μŒÍ§ÁÒÍ‹Ò¹¡Ñ¹
น
เธอคือใคร คุ ณ สาลี น ี รั ต นชั ย สิ ท ธิ ์ หรื อ “สา” นักวาดภาพประกอบอิสระ เจา ของแบรนด CyranoDesign (ไซลาโน ดีไซน) ประกอบดวยสินคา ผาพันคอ เคสโทรศัพทมือถือ ของขวัญ ภาพวาด คาแรคเตอร และสินคา Lifestyle สำหรับ ผูหญิง เธอไมไดเรียนจบตรงดานวาด ภาพจากที่ไหนเลย เปนความชอบขีด ชอบเขี ย นวาดลายเส น ฝ ก ฝนเองมา ตั้งแตเด็ก มีสไตลเปนของตัวเอง เธอ ยอมรับวา การเลือกเรียนวิชาเอกสาขา การละคอน คณะศิ ล ปกรรมศาสตร มหาวิ ท ยาลั ย ธรรมศาสตร แม จ ะไม ตรงตามพรสวรรคทต่ี ดิ ตัวมา แตเปนอีก สวนหนึง่ ทีเ่ ธอชอบ และมีสว นสนับสนุน ความคิดสรางสรรคใหงานของเธอไม นอย ซึ่งพื้นฐานการขีดเขียนลายเสน เป น รู ป ร า งต า งๆ มี ค วามเป น ตั ว เอง สูงมาก
“พอจบมาแล ว ป 2551 ก็ ม า ทำรายการ ตาสวาง และรายการที่นี่ หมอชิต ของคุณดู สัญญา คุณากร ใน
แล ว เราก็ อ ยากมี ธ ุ ร กิ จ หรื อ สิ ่ ง ที ่ เรา สรางขึ้นเองบางเหมือนกัน และถามี โอกาส ก็อยากใหผลงานเรานอกจาก
ด้วยความที่สาเป็นคนชอบวาดรูป หรืองานศิลปะ ตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆ และครอบครัวก็จะทราบกันว่า สาชอบวาดรูป แต่เราไม่ได้ไปเรียนเฉพาะด้าน จริงจังเอาแค่มีปากกา กับกระดาษก็วาดได้เรื่อยๆ และมีโอกาสได้ทำภาพประกอบบ้างเล็กน้อย ในรายการที่นี่หมอชิต ก็เป็นอะไรที่สนุก และปลื้มที่ ลายเส้นของเราได้เป็นส่วนประกอบในรายการบ้าง เล็กๆน้อยๆ ตำแหนงครีเอทีฟ ทำงานที่นี่ มารวม 7 ป ไดประสบการณเยอะมาก ๆ และ เห็ น ผู ค นหลากหลายอาชี พ ไม ว า จะ เปนศิลปนในวงการบันเทิง บุคคลที่มี ความสามารถ นักธุรกิจที่ประสบความ สำเร็จ เลยมองยอนดูตัวเองวา จริงๆ
จะจรรโลงใจแล ว ก็ อ ยากให จ รรโลง สังคมดวย”
ที่มาของแรงบันดาลใจ ในการทำธุรกิจไอเดียเท่ กอนที่คุณสาจะตัดสินใจเบี่ยงเบน 41
Inspire
เปนชื่อบทละคอนฝรั่งเศส ที่ประพันธ ขึ้นในป 1897 ผูประพันธคือ Edmond Rostand ยิ่งอานยิ่งหลงรัก และ ประทับใจในตัวละคอน Cyrano ตัวนี้ (มีตัวตนจริงในประวัติศาสตร)อัศวิน ที่เพียบพรอมทุกอยาง ติดอยูตรงที่ จมูกโต คาแรคเตอรเปนเอกลักษณ มาก แมวา ตอนจบจะเปนโศกนาฏกรรม แตคุณสาก็หลงรักความเปน Cyrano ไปแลว “ความจมูกโต ไมเพอรเฟค แต เปนคนดี ก็เหมือนกับลายเสนของสา ที่อาจไมสมบูรณพรอม แตมีดีขางใน สาเลยตัดสินใจใหคำวา Cyrano เปน ตัวแทนลายเสนของสา”
Instagram เป็นสื่อที่ดี สำหรับการกระจายภาพ สินค้าสู่ผู้บริโภค อาชี พ จากครี เ อที ฟ รายการโทรทั ศ น มาทำอาชี พ นั ก วาดภาพลายเส น นอกจากการวาดและพิ ม พ ภ าพบน เคสโทรศัพทมือถือแลว งานพิมพลาย บนผาก็เปนงานถนัด เนื่องจากบาน ของคุณสาทำธุรกิจโรงงานยอมผา ชื่อ เจริญกิจอุดมทรัพย จึงเห็นธุรกิจที่ เกี่ยวกับผามาตั้งแตเด็ก โดยมีอากง อามา เปนผูบุกเบิก และทำตอมาจน รุนคุณพอ คุณอา ถือเปนธุรกิจของ ครอบครัว แตตัวคุณสาเองไมไดเรียน มาทางดานธุรกิจเลย “ดวยความที่สาเปนคนชอบวาด รูป หรืองานศิลปะตั้งแตเด็ก เพื่อนๆ และครอบครัวก็จะทราบกันวาสาชอบ วาดรูป แตเราไมไดไปเรียนเฉพาะดาน จริงจังเอาแคมีปากกา กับกระดาษก็ 42
วาดไดเรื่อยๆ และมีโอกาสไดทำภาพ ประกอบบางเล็กนอย ในรายการที่นี่ หมอชิต ก็เปนอะไรที่สนุก และปลื้ม ที่ลายเสนของเราไดเปนสวนประกอบ ในรายการบางเล็กๆนอยๆ”
ทำไมต้องเป็น “CyranoDesign” สมัยเรียนมหาวิทยาลัยเวลาวาด รูปอะไรจะลงนามปากกาวา Cyrano de Salinian (ตอนนี้ปรับใหมเปน Cyrano Design เพื่อใหเรียก และเขาใจงาย ขึ้น) คำวา Cyrano เปนคำที่คุณสา รูจักตอนเรียนที่ธรรมศาสตร เพราะ ตองเรียน และอานบทละคอนเยอะ โดยเฉพาะเรือ่ ง Cyrano de Bergerac
ยอนกลับไปชวง ป 2010 ที่ Instagram เขามามีบทบาทกับคุณสา ทำใหภาพวาดในกระดาษปกติ เขาไป อยูในโลกออนไลน จากคนรอบตัวกด ไลค ก็เริ่มมีคนที่ไมรูจัก มาเปนแฟน ผลงานมากขึ้น ทุกภาพที่คุณสาวาด ออกไป เริ่มมีคนอยากได ชวงแรกจะ วาดใหเพื่อน คนรูจักบาง รวมทั้งลอง เอาภาพที่วาดลงกระดาษ มาใสในเคส โทรศัพทมือถือแบบใส กลายเปนเคส โทรศัพทมือถือแบรนด Cyrano ที่ไม เหมือนใคร โพสตรูปไปปุบ ก็มีแตคน อยากไดเลยเกิดไอเดียวา อยางนั้น ลองทำเคสโทรศั พ ท ม ื อ ถื อ ขายดี ก วา นาจะเปนรายไดเสริมเล็กๆ ของเราได “สาเลยลองคนหาจาก Google วามีโรงงาน หรือที่ไหนรับพิมพเคส
Inspire
โทรศัพทหรือเปลา ก็ไลหาไปจนเจอ ตอนแรกทางเจาของตั้งใจขายเครื่อง พิมพเลย แตตองใชเงินลงทุนเยอะ ทางพี่เจาของก็ใจดี รับพิมพภาพให เราแบบ On Demand เริ่มตนก็ ทำออกมานอยๆ กอน เพื่อเปดรับ พรีออเดอร จากผลตอบรับกลับมา ทำใหเรายิ่งดีใจ เพราะมีลูกคาเขามา สั่งอยูเรื่อยๆหลังจากนั้นก็ไดมีโอกาส วาดรูป คุณนุน วรนุช ภิรมยภักดี และทำเปนเคสให ชิ้นเดียวในโลก ตอง ขอบคุณ คุณนุนที่ลงภาพโปรโมตไป เราเลยไดออเดอรกลับมาอีกเยอะเลย เรียกวารับงานแบบจองกันขามป”
เส้นทางการพัฒนา สินค้า หลังจากแบรนด์ เป็นที่ต้องการ จากเคสโทรศัพท เริม่ เพิม่ โปรดักส เปนผาพันคอ กลายเปนวาผาพันคอ ไดรับกระแสตอบรับที่ดีมาก เพราะ กลุมลูกคาจะเปนสาวๆ วัยทำงาน อยู ออฟฟศ ยิ่งสรางแรงบันดาลใจในการ ทำมากขึ้น นอกเหนือจากโปรดักส ของตัวเองแลว ก็มีคนสนใจใหคุณสา ไปวาดภาพ เพนทผนังรานกวยเตี๋ยว
กิน-เตี๋ยว-กัน เปนจุดเริ่มตนที่ประทับ ใจมาก ประจวบกับ คุณลิง สมเกียรติ จันทรพราหมณ (เสนาลิง) ใหโอกาส
เอกลักษณ ไมเหมือนใคร เพราะวาด เองทั ้ ง หมด เน น คาแรคเตอร ผ ู ห ญิ ง ดวงตากลมโต มีความเปน Feminine
CyranoDesign คือ ผู้หญิงที่เป็นตัวของตัวเอง ลายเส้นต่างๆ มีเอกลักษณ์ ไม่เหมือนใคร เพราะ วาดเองทั้งหมด เน้นคาแรคเตอร์ผู้หญิงดวงตา กลมโต มีความเป็น Feminine ที่หลายคนชมว่า น่ารัก สินค้า CyranoDesign มีลายเส้นที่สะดุดตา เห็นแล้วจำได้ ไปวาดภาพ เพนทผนังที่รีสอรต Villa Moreeda อีกดวย จากโอกาสทั้งหมด จึงเริ่มเห็น ศักยภาพของตัวเอง วา “ลายเสน ของเรา สามารถสรางรายไดไดจริง” เลยตัดสินใจออกมาลุยงานของตัวเอง เพื่อสรางใหเปนแบรนด และตั้งใจให เปนธุรกิจที่เติบโตตอไป
นิยาม จุดเด่น และไลน์สินค้าของ CyranoDesign CyranoDesign คื อ ผู ห ญิ ง ที ่ เป น ตั ว ของตั ว เอง ลายเส น ต า งๆ มี
ที่หลายคนชมวานารัก สินคา Cyrano Design มี ล ายเส น ที ่ ส ะดุ ด ตา เห็ น แล ว จำได มี โ ปรดั ก ส ห ลากหลายที ่ รองรับไลฟสไตลของสาวๆ ใหสามารถ ใชไดทุกวัน ปจจุบัน ลายเสนของคุณ สาพั ฒ นาออกไปหลากหลาย เพื ่ อ รองรับความตองการของลูกคาที่อยาก ได ภ าพวาดครอบครั ว อยากได ภ าพ ผูชายบาง หรือภาพสัตวเลี้ยง รวมถึง ลายเสนที่เปนแนว Portrait เพิ่มขึ้น สินคา CyranoDesign ไดแก เคส โทรศัพทมือถือ ผาพันคอ กระเปาผา หมอน ภาพพิมพเฟรมแคนวาส และ อื ่ น ๆ โดยจะแบ ง เป น 2 ประเภท ที ่ ม ี จ ำหน า ยตามปกติ แบบลายเส น Signature ซึ ่ ง ลู ก ค า สามารถเลื อ ก เพิ่มชื่อ เพื่อความพิเศษที่สินคา หรือ ออกแบบใหม วาดตามคาแรคเตอร ของลูกคา ซึ่งไดรับการตอบรับที่ดีมาก เพราะคนปจจุบนั ตองการความแตกตาง ไม เ หมื อ นใคร นำไปเป น ของขวั ญ ก็ พิเศษ ชิ้นเดียวในโลก อยางหลังเธอ บอกตองจองคิวเปนเดือน เพราะคุณสา รับจำนวนจำกัด 43
Inspire
ยิ่ง Supply จำกัด ยิ่ง สร้าง Demand ปังมาก ทะลุจาก Online สู่ห้างดัง - Go Inter เนื่องจากงานเปนความสามารถ เฉพาะตัว ที่ตองคุณสาเทานั้นที่เปน สรางสรรคเอง จึงทำใหออเดอรแบบ วาด Character เปนที่ตองการกันแบบ คิวยาวก็ยอมกันเลย แตเธอยังจัดเวลา มาทำงานวาดอื่นๆ เชน งานออกแบบ โลโก เพนทผนัง ออกแบบสติกเกอรไลน หรือออกแบบคาแรคเตอรใหแบรนด ตางๆ สามารถนำไปใชถายทอดเรื่อง ราวของสินคา หรือเปนตัวแทนสินคา นั้นๆ
ช่องทางการจำหน่าย จากปแรกๆ ทีส่ นิ คาจำหนายเฉพาะ Online คือทาง Line / Fanpage จนไดรับการติดตอใหไปวางจำหนาย ที่หางสรรพสินคา Siam Paragon (BEtrend) และตอมาไดขยายเพิ่มไป ที่ The Mall Sky Port ที่สนามบิน ดอนเมือง และ Megafash, 100 am Branch และ Megafash, Suntec City Tower 2 ประเทศสิงคโปร ONLINE SHOP http://th.pinkoi .com/store/cyranodesalinian เปนความสำเร็จจากการสรางชองทาง การจัดจำหนายที่ครอบคลุมตามกลุม เปาหมายอยางแทจริง
เคล็ดลับการบริหารสื่อ Social ให้แบรนด์ ไม่ตกเทรนด์ คุณสา มีกลเม็ดเคล็ดลับมาฝาก 44
จะสราง Awareness ใหมากขึ้น ตอง รูจักตามกระแส เชน กระแสชวงนี้ คือบุพเพสันวาส ดูละครไป วาดรูป คุณพี่ และแมการะเกดไป คนที่ติดตาม ก็จะชอบ กดไลค แชร สงตอ นอกจาก วาดเพราะชอบแลว ยังทำใหแบรนด ไมตกกระแส และสิ่งสำคัญอีกอยาง คือ Word of Mouth การบอกตอ ชวยไดมาก โดยเฉพาะกลุมลูกคาเกา เพราะหากลู ก ค า ประทั บ ใจในสิ น ค า เห็นความตั้งใจ เขาก็พรอมอุดหนุนตอ บอกตอ ใหกับคนรอบขาง หรือเพื่อน เขาเอง
“ถาเรารักษาลูกคาเราไวได ก็จะ เหมือนมีทีมพีอารที่ทรงพลังอยูขางๆ เราตลอดเวลา”
กลวิธีหาความรู้ธุรกิจ และการสร้างแบรนด์ อย่างไรให้ไม่ถูกกลืน เนื ่ อ งจากคุ ณ สาไม ไ ด เรี ย นด า น การทำธุรกิจมาเลย จะเนนไปเรื่อง งานดีไซนอยางเดียว ทำใหตองใชเวลา ในการศึกษาคอนขางมาก ดวยวิธี การสอบถามการทำงานจากที่บาน ไป ลงเรียนคอรสตางๆเพิ่ม เพื่อจะไดพบ
Inspire
เจอผูคนใหมๆ หรือกลุมคนที่มีความรู จะช ว ยให ม องภาพธุ ร กิ จ ได ช ั ด ขึ ้ น เนื่องจากธุรกิจผาพันคอ ของขวัญ หรือสินคาไลฟสไตลสำหรับสาวๆ ใน ปจจุบันมีคอนขางเยอะ ลูกคามีทาง เลือกที่หลากหลาย ทำใหบางทีสินคา อาจจะถูกกลืน หรือหายไปไดโดยไม รูตัว ดังนั้นจึงตองสรางเอกลักษณใน ชิ้นงานใหโดดเดน ใหเปนที่ยอมรับ และจดจำ รวมทั้งตองพัฒนาปรับปรุง คุณภาพผลงานอยูตลอดเวลา อยาง ไมหยุดนิ่ง
Key Success ในการ ทำธุรกิจให้ประสบความ สำเร็จ CyranoDesign อาจยังเปนแบรนด เล็กๆ แตอนาคตคุณสามั่นใจวา จะยัง คงเติบโตตอไป โดย 3 สิ่งสำคัญคือ “การเปนตัวของตัวเอง ใสใจในราย ละเอียด และไมหยุดพัฒนา” การเปน ตัวของตัวเอง คือ ตองมีเอกลักษณ หาความเปนตัวเองใหเจอ สาเชื่อวา สิ่งนี้จะทำใหสินคาแตกตาง นาสนใจ และดึงดูดลูกคา เมื่อมีเอกลักษณ จนคนสนใจ แลว ยิ่งตองใสใจในรายละเอียดมาก ขึ้น ในทุกขั้นตอน ทั้งการออกแบบ คุณภาพ การผลิต การจัดสินคาบน
เชลฟ หรือ การสงมอบสินคา ควรให ลูกคามากกวาที่ลูกคาคาดหวัง
การใส ใจในรายละเอี ย ดนี ้ แ ม จ ะเป น จุดเล็กๆ แตสาถือวาเปนสิ่งสำคัญใน
CyranoDesign อาจยังเป็นแบรนด์เล็กๆ แต่ อนาคตคุณสามั่นใจว่า จะยังคงเติบโตต่อไป โดย 3 สิ่งสำคัญคือ “การเป็นตัวของตัวเอง ใส่ใจใน รายละเอียด และไม่หยุดพัฒนา” การเป็นตัวของ ตัวเอง คือ ต้องมีเอกลักษณ์ หาความเป็นตัวเอง ให้เจอ สาเชื่อว่า สิ่งนี้จะทำให้สินค้าแตกต่าง น่าสนใจ และดึงดูดลูกค้า “สินคา Online ทุกชิ้นที่ออก จากมือสาไป จะมีการดขอความเล็กๆ ที่เขียนดวยลายมือสาเอง ทั้งชื่อของ คุณลูกคา และคำขอบคุณ เพื่อแสดง ถึงความตั้งใจของเราที่สงมอบใหเขา
การดำเนินธุรกิจ สุดทายคือ ไมหยุด พัฒนาทั้งตัวเอง และพัฒนาสินคาของ เราไปเรื่อยๆ เพราะโลกหมุนเร็ว และ สิ่งที่เราเคยคิดวามันดีแลว มันยอม ดีกวานี้ไดเสมอ” 45
Family Business
ธุรกิจครอบครัว ตอน ภาวะผู้นำ â´Â
ผูชวยศาสตราจารย ดร. เอกชัย อภิศักดิ์กุล ¼ÙŒÍӹǡÒÃÈٹ ¸ØáԨ¤Ãͺ¤ÃÑÇ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â
เนื่องจากธุรกิจครอบครัว มีความซับซอนและ ละเอียดออนมากกวาธุรกิจทั่วไปที่เนนไปที่ ผลกำไรของกิจการเปนหลัก แตธรุ กิจครอบครัว ตองมองในมิติที่หลากหลายอีกทั้งมีเรื่องของอารมณเขามา เกี่ยวของดวยมาก ทำใหบทบาทของการเปนผูนำในธุรกิจ ครอบครัวมีความยากมากกวา ผูนำของธุรกิจครอบครัว จึงหมายถึง การเปนผูนำที่ เปนผูรับใช การประนีประนอม ออนนอมถอมตน การมี อิทธิพลมาจากหลักการที่ถูกตอง การใหบริการ การเกื้อกูล
น
และเอาใจใสตอผูอื่น เนื่ อ งจากสมาชิ ก ครอบครั ว จะมี ค วามอ อ นไหวเรื ่ อ ง ของการใชอำนาจบงการ หากรูสึกวาผูนำธุรกิจครอบครัวมี การใชอำนาจในตำแหนงอาจเกิดการตอตานและนำมาซึ่ง ปญหาความขัดแยงในที่สุด ผูนำในธุรกิจครอบครัวจึงตอง ระมัดระวังเรื่องการใชอำนาจโดยตำแหนงกับคนในครอบครัว เปนอยางมาก ตารางที่ 1 จะแสดงความแตกตางของผูนำ โดยการใชสิทธิอำนาจบงการ และ ผูนำที่เปนผูรับใช และ ยึดมั่นในหลักการ
ตาราง 1 แสดงความแตกตางของผูนำโดยการใชสิทธิอำนาจบงการ และผูนำที่เปนผูรับใช และยึดมั่นในหลักการ ผูนำโดยสิทธิอำนาจ :
46
ผูนำตามหลักการ ผูนำโดยการเลือก :
สิทธิอำนาจที่เปนทางการ
สิทธิอำนาจทางศีลธรรม เปนผูรับใช
อำนาจทำใหเกิดความถูกตอง
ความถูกตองทำใหเกิดอำนาจ
ความภักดีอยูเหนือความซื่อสัตยสุจริตตอหลักการ
ความซื่อสัตยสุจริตตอหลักการคือความภักดี
ถาอยากกาวหนาก็ตองทำตามกระแส
ปฎิบัติอยางดื้อดึง ไมยอมทำสิ่งผิด
ไมไดดำเนินชีวิตตามหลักการ
ทำตนเปนแบบอยาง ไมทำตนเปนนักวิจารณ
ภาพลักษณคือทุกสิ่งทุกอยาง
จะเปนอะไรก็จงเปนอยางแทจริง อยาเปนแตเปลือก
“ไมมีใครบอกฉัน”
ถาม และ ใหคำแนะนำ
ฉันทำตามที่คุณบอก แตไมไดผลแลวจะทำยังไงตอไป
“ฉันตั้งใจทำแบบนี้”
มีอยูเพียงเทานี้
มีมากพอและยังมีอีกเหลือเฟอ
Family Business
การเป็นผู้นำและผู้จัดการ(ผู้บริหาร)
การบริหารจัดการและการเปนผูนำ ตางก็มีความสำคัญ อยางไรก็ตามในธุรกิจครอบครัวที่ใหความสำคัญการบริหาร
จัดการจนเกินพอดี มีการจัดการและควบคุมมาก ยอมไม กอใหเกิดความสรางสรรคและสรางความยั่งยืนอยางแทจริง ใหกับธุรกิจครอบครัวได
ตาราง 2 แสดงความหมายของการเปนผูนำและการบริหารจัดการ การเปนผูนำ
การบริหารจัดการ
วอรเร็น เบ็นเนส
“ผูนำ ทำสิ่งที่ควรทำ”
ผูจัดการ คือ ผูที่ทำสิ่งตางๆใหถูกตอง
จอรน คอตเตอร
“การเปนผูนำ เปนเรื่องของการรับมือ กับการเปลี่ยนแปลง”
“การจัดการเปนเรื่องการรับมือกับ ความสลับซับซอน”
คูซิส และ พอสเนอร
คำวา การเปนผูนำ ใหความรูสึกถึงการเคลื่อนไหว ไมหยุดนิ่ง
“การจัดการเปนเรื่องการ จับ/จัด สิ่งของตางๆ เปนเรื่องของการ รักษาระบบระเบียบ การจัดองคกร และการควบคุม”
อัมราฮัม ซาเลนิก
“...ผูนำยอมใสใจวาสิ่งตางๆ มีความหมายตอคนเราอยางไร”
“ผูจัดการใสใจวาสิ่งตางๆ ทำสำเร็จลุลวงไดอยางไร”
จอรน มาริออทติ
“ผูนำคือสถาปนิก”
“ผูจัดการคือนักกอสราง”
จอรจ เวเทอรสบี
“ผูนำมุงใสใจการสรางวิสัยทัศน รวมกัน”
การจัดการ คือการออกแบบการ ทำงาน..เปนเรื่องเกี่ยวกับการ ควบคุม..”
ผูนำ แตกตางจาก ผูจัดการ ในขั้นพื้นฐานหลาย ประการ ในขณะที่ผูจัดการมุงการบริหาร(Administer) ทว า ผู น ำมุ ง ประดิ ษ ฐ ค ิ ด สร า งสิ ่ ง ใหม ๆ เสมอ(Innovate) ดังนั้นผูจัดการจึงไดแตรักษาสถานะการบริการ(Maintain) ทวาผูนำมุงพัฒนา(Develop) ผูจัดการวางใจในระบบและ ตัดสินดวยการควบคุม(Control) แตผูนำวางใจในคนทำงาน และความรับผิดชอบ(Trust) ผูจัดการจะเปนคนที่ใหความสำคัญกับการทำงานให ลุลวง การทำงานของผูจัดการจึงมีระเบียบแบบแผน เปน ขั้นเปนตอน และใหความสำคัญกับปริมาณ ซึ่งยึดตาม
กระบวนการและมาตราการควบคุมตางๆ โดยมีการกำหนด เนื้องานและผลลัพธที่ชี้วัดไดไวอยางชัดเจน ความสำเร็จ ของการบริหารจึงขึ้นอยูกับการวางแผน การจัดการ การ สรางผลลัพธ และการควบคุม ผูจัดการจะแบงงานออกมาไดอยางชัดเจนตามกลยุทธ ที่กำหนดไว โดยใหความสนใจกับรายละเอียดและความ เปนไปไดในการทำสิ่งตางๆใหเกิดขึ้นไปทีละขั้นในแตละวัน ซึ่งเปนกรอบความคิดที่มุงเนนตัวงาน โดยใหความสำคัญ กับการตัดสินใจอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการสงมอบ สินคาและบริการที่ตรงเวลา ประหยัดตนทุน และสราง 47
Family Business
รายไดตามเปาหมายในแตละไตรมาส อยางไรก็ตามเนื่องจากความสำเร็จของผูจัดการขึ้น อยูกับการกระทำของผูอื่น ความสามารถในการสรางแรง จูงใจจึงเปนคุณสมบัติที่สำคัญอยางยิ่ง เชนเดียวกับการ เขาใจวาอะไรที่มีอิทธิพลตอความรูสึกของผูคน การเขาใจ วาจะประพฤติตัวอยางไรใหสามารถดึงคนเขามีสวนรวมใน การทำงาน ทั้งคนที่เปนผูใตบังคับบัญชาของพวกเขาโดย ตรง ผูบริหารระดับเดียวกันในสวนอื่นขององคกร และที่ สำคัญคือผูบังคับบัญชาของพวกเขาเอง ผูนำ มักจะเปนคนที่อยูตรงขามกับ ผูบริหารจัดการ โดยผูบริหารและผูนำนั้นเปรียบเสมือน “หยินและหยาง” ขององคกร โดยผูจัดการจะมุงเนนทำสิ่งที่อยูตรงหนา มุง เนนเฉพาะบางเรื่องและการดำเนินการควบคุม แตผูนำจะ มองไปขางหนาสรางวิสัยทัศนและความสัมพันธกับผูอื่น และสร า งวิ ส ั ย ทั ศ น ท ี ่ ท ำให ค นในองค ก รก อ ให เ กิ ด แรง บันดาลใจที่จะเดินตามพวกเขา ผูนำจะดึงคนใหเขามามี ส ว นร ว มและเกิ ด การกระตื น รื อ ร น ที ่ จ ะทำตามวิ ส ั ย ทั ศ น ของผูนำ มากกวาผลักดันใหทำสิ่งที่ผูนำตองการ ผูนำจะตองเปนคนแรกที่คาดการณถึงการเปลี่ยนแปลง และวางแผนรั บ มื อ กั บ การเปลี ่ ย นแปลงล ว งหน า อย า งมี ประสิทธิผล โดยมีความยืดหยุนปรับตัวงาย เปดรับทาง เลือกอื่นและเต็มใจรับความเสี่ยง เปนผูนำการเปลี่ยนแปลง มากกวาจะพยายามรักษาสภาพเดิมที่เปนอยู และทำให เกิดเปนความจริง ในหนึ ่ ง คนสามารถมี ท ั ้ ง คุ ณ ลั ก ษณะของผู น ำและผู บริหารที่ชวยสงเสริมซึ่งกันและกัน ซึ่งจะทำใหการบริหาร ธุรกิจครอบครัวเปนไป
รูปแบบภาวะผู้นำในธุรกิจครอบครัว
มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โดยศูนยศึกษาธุรกิจ ครอบครัว ไดทำการวิจัยถึงรูปแบบผูนำในธุรกิจครอบครัว โดยใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูลจากเจาของ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมจำนวน 58 คน และทดสอบ 48
รูปแบบของภาวะผูนำ ซึ่งประกอบดวย 1. ภาวะผูนำแบบผูประกอบการ (Entrepreneurial Style) คือ จิตใจพรอมที่จะแขงขันสูง พยายามแสวงหา มุมมองหรือวิธีการใหมๆ ที่จะทำใหเกิดขอไดเปรียบเชิงการ
ผูน ้ ำของธุรกิจครอบครัว จึง หมายถึง การเป็นผูน ้ ำทีเ่ ป็นผูร้ บ ั ใช้ การประนีประนอม อ่อนน้อมถ่อมตน การมีอท ิ ธิพลมาจากหลักการที่ ถูกต้อง การให้บริการ การเกือ ้ กูล และเอาใจใส่ตอ ่ ผูอ ้ น ่ื เนือ ่ งจากสมาชิกครอบครัวจะมี ความอ่อนไหวเรือ ่ งของการใช้ ้ ำธุรกิจ อำนาจบงการ หากรูส ้ ก ึ ว่าผูน ครอบครัวมีการใช้อำนาจในตำแหน่ง อาจเกิดการต่อต้านและนำมาซึง ่ ปัญหาความขัดแย้งในทีส ่ ด ุ แขงขัน กลาเสี่ยง กลาคิด กลาตัดสินใจ กลาลองสิ่งใหมๆ เนนการกระทำเพื่อผลงานและรูสึกวาตนเองเปนเจาของ กิจการจริงๆ จึงมีความมุงมั่นที่จะทำใหดีที่สุด เพื่อใหกิจการ ที่ตนบริหารประสบความสำเร็จ โดยมีแนวคิดที่จะผลักดัน ใหกิจการประสบความสำเร็จควบคูไปกับการใหความสำคัญ ในประเด็นตนทุนต่ำ กำไรสูง 2. ผูนำแบบเผด็จการ (Authoritative Style) ภาวะ ผูนำแบบชี้นำ (Directive Style) = AD Style เนนการ บังคับบัญชาและการออกคำสั่งเปนสำคัญ มักจะตัดสินใจ ดวยตนเองแตผูเดียว บัญชาการทำงานแบบสั่งการลงมา เลย และไมคอยมอบหมายอำนาจหนาที่ใหแกลูกนองมาก นัก มักใชวิธีการใหรางวัลและลงโทษใหลูกนองรูถึงความ คาดหวัง ใหทิศทางวาควรทำอะไรและควรทำอยางไร ให
Family Business
กำหนดการเกี่ยวกับงานที่ตองทำใหและรักษามาตรฐานการ ปฏิบตั ทิ แ่ี นนอนชัดเจน และใหทกุ คนเขาใจตรงกันวาบทบาท ของผูนำคืออะไรบาง 3. ผูนำแบบประชาธิปไตย (Democratic Style = DP Style เป ด โอกาสให ล ู ก น อ งมี โ อกาสแสดงความคิ ด เห็ น และ พูดคุยดวย เอาความคิดเห็นขอเสนอแนะจากลูกนองมา อภิปรายแสดงความคิดเห็นในปญหาตางๆ เพื่อเอาความ คิดที่ดีที่สุดมาใชและใชการใหขอมูลยอนกลับเปนโอกาส ในการชี้แนะชวยให ลูกนองมีพัฒนาการที่ดีขึ้น สามารถ ทำใหลูกนองมีใจใหกับการรวมตัดสินใจ ผูนำจะปรึกษา ปญหากับลูกนองและขอใหลูกนองเสนอแนะรวมทั้งนำมา ใชประกอบการตัดสินใจอยางจริงจัง 4. ภาวะผูนำการเปลี่ยนแปลง (Transformational style) เปนผูที่ไดรับความชื่นชม การยอมรับเคารพนับถือ และความไววางใจเปนอยางสูงจากลูกนอง เปนแบบอยาง ที่ดีตอลูกนองมีอิทธิพลตอความคิดและการปฎิบัติงานของ ลูกนองมีพฤติกรรมที่สรางแรงบันดาลใจใหกับผูที่อยูรอบตัว มีความกระตือรือรนและมองโลกในแงดี สามารถกระตุน และสรางความเชื่อมั่นใหลูกนองเกิดความคิดริเริ่มสรางสรรค ในการแกปญหาในการทำงาน และสงเสริมใหสมาชิก ทุกคนขององคกรเกิดการเรียนรูและยังเอาใจใสในความ ต อ งการของลู ก น อ งเพื ่ อ ความสำเร็ จ และความก า วหน า ของแตละบุคคล โดยสามารถเปนที่ปรึกษา ดูแลเอาใจใส และทำใหลูกนองรูสึกมีคุณคาและมีความสำคัญ
โดยสรุปผลวิจัย
1. รูปแบบภาวะผูนำในธุรกิจครอบครัว ผลการวิจัยพบวาธุรกิจรุนที่ 1 (ผูกอตั้ง) มีแนวโนม ที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP Style และผูนำแบบผูประกอบ การมากที่สุด ในขณะที่รุนที่ 2 มีแนวโนมที่จะมีเฉพาะ ภาวะผูนำแบบ DP และ ผูนำการเปลี่ยนแปลง มากที่สุด และรุนที่ 3 จะมีแนวโนมที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP มาก
ที่สุด
และพบว า คุ ณ ลั ก ษณะของผู น ำที ่ จ ะทำให ธ ุ ร กิ จ ครอบครัวประสบความสำเร็จ ไดแก ความเด็ดขาด/กลา ตัดสินใจ รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ความซื่อสัตย คุณธรรม การหาความรูและวิธีการใหมๆ อยูเสมอ ภาวะ ผูนำและความยุติธรรม ตามลำดับ
การบริหารจัดการและการเป็นผูน ้ ำ ต่างก็มค ี วามสำคัญ อย่างไรก็ตาม ในธุรกิจครอบครัวทีใ่ ห้ความสำคัญ การบริหารจัดการจนเกินพอดี มีการ จัดการและควบคุมมาก ย่อมไม่กอ ่ ให้เกิดความสร้างสรรค์และสร้าง ความยัง ่ ยืนอย่างแท้จริงให้กบ ั ธุรกิจ ครอบครัวได้ 2. รูปแบบภาวะผูนำของผูสืบทอดธุรกิจครอบครัว จากผลการวิจัยพบวาในภาพรวมผูสืบทอดธุรกิจทั้ง 3 รุน มีระดับภาวะผูนำแบบ DP ในระดับตรงมากที่สุด ทั้งนี้ อาจเปนเพราะธุรกิจครอบครัวนั้นมีเรื่องของอารมณเขามา เกี่ยวของดวย ซึ่งเปนเรื่องที่ตองระมัดระวังเปนพิเศษ เมื่อ ความเปนคนกันเองในเดียวกัน ทำใหเกิดความคุนเคย แต ก็ไมอาจละเลยในเรื่องความเกรงใจกัน โดยเฉพาะที่เปน สามีภรรยา หรือพอแมลูก โดยไมสามารถออกคำสั่งตาม ใจชอบได เพราะเรื่องนี้อาจทำใหเกิดความหมางใจผิดกันได งายกวาคนนอกเสียอีก ผูนำตองตระหนักในความออนไหว ในเรื่องของความรูสึก ความเห็นหรือความคิดของคนอื่น ดวย เมื่อองคกรเติบโตขึ้นตองทิ้งรูปแบบการบริหารของ ตนเอง ความสามารถในการมอบอำนาจและพัฒนาทีมเปน สิ่งสำคัญในการบริหารธุรกิจครอบครัว ซึ่งตองใชภาวะ ผูนำแบบ DP ที่เปดโอกาสใหทุกคนไดคิดและมีสวนรวม ในการทำงานและการตัดสินใจ ซึ่งจะทำใหทุกคนรูสึกเปน 49
Family Business
สวนหนึ่งของความสำเร็จ และรูสึกมีสวนรวมเปนเจาของ และทำงานดวยจิตใจของคนที่เปนเจาของ มีความผูกพัน และความสามัคคี ซึ่งเปนคุณลักษณะเดนอยางหนึ่งของ
ธุรกิจครอบครัวที่มีใหเห็นในทุกรุน และหากพิจารณาทีละ รุนจะพบรายละเอียดดังตาราง
ตาราง 3 แสดงรุนของธุรกิจครอบครัวและลักษณะเดนของภาวะผูนำ รุนที่
ชวงอายุ
รุนที่ 1 ผูกอตั้ง
41-65 ป
DP Style Entrepreneurial Transformational
รุนที่ 2 หุนสวนพี่นอง
20-65 ป
DP Style Transformational
รุนที่ 3 ทายาท
20-45 ป
DP Style Entrepreneurial Transformational
รุนที่ 1 ผูสืบทอดธุรกิจรุนที่ 1 ผูกอตั้ง จะอยูในชวงอายุ 41-65 ป ขึ้นไป มีแนวโนมที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP กับ Entrepreneurial มากที่สุด และมีสวนผสมของภาวะผูนำ Transformational ดวย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากในระยะ เริ ่ ม แรกขององค ก รเรี ย กว า ยุ ค การเป น ผู ป ระกอบการ (Entrepreneurial Stage) ตองการผูนำแหงการเปลี่ยน แปลงเพราะตองการการเติบโต ความคิดริเริ่มสรางสรรค เพื่อใหเกิดความกาวหนา ซึ่งผูกอตั้งมักมีความรูสึกเปน เจาของ มีความทุมเทใหกับงานและทำงานดวยจิตใจที่มี ความเปนเจาของ (Intrapreneurial Spirit) จึงมักมี ลักษณะภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial ที่มีความรูสึก วาตนเองเปนเจาของกิจการจริงๆ(Sense of Ownership) อยางไรก็ตามเมื่อธุรกิจขยายตัวใหญขึ้นความสามารถ หรือทักษะของธุรกิจครอบครัวไมพอในการจัดการธุรกิจ ตองใชความสามารถและบุคลากรเขามารวมมือหรือใชทีม 50
ภาวะผูนำ
ทำงานที่ใหญขึ้น จึงจำเปนตองใชวิธีการบริหารงานแบบ กระจายดำนาจโดยการเปดโอกาสใหพนักงานมีสวนรวม ในการตัดสินใจและแสดงฝมือ ในการบริหารบางเพื่อให การดำเนินงานคลองตัวและรวดเร็วทันกับสภาพการแขงขัน ได ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Salahuddin(2010) ที่ พบวาคนรุน Baby Broomers อายุอยูในชวง 52-69 ป/ 48-66 ป มีความเชื่อมั่นในภาวะผูนำแบบ Participative โดยภาวะผูนำแบบ DP จะใหพนักงานมีสวนรวมในการ ตัดสินใจและพิจารณาวาจะทำอะไรและอยางไรเกี่ยวกับ นโยบาย อยางไรก็ตามการตัดสินใจขั้นสุดทายของผูนำจะ ยอมรับขอเสนอแนะเหลานัน้ หรือไม การใชภาวะผูน ำรูปแบบ นี้จะเปนประโยชนตอผูนำ คือทำใหเปนสวนหนึ่งของทีม และชวยทำใหการตัดสินใจไดถูกตอง แตในบางครั้งก็จะ ทำใหเสียคาใชจายจากการประชุมที่ไมเสร็จสิ้นและทำให พนักงานสับสนรูสึกวาขาดผูนำ(Goleman ,2000) นอกจากนี้ แมรุนที่ 1 จะมีแนวโนมภาวะผูนำทั้ง 2
Family Business
แบบ ในขางตนมากที่สุด แตในรุนนี้ยังปรากฏลักษณะ ของผูนำ Transformational ผสมผสานเขามาดวย อาจ เนื ่ อ งมาจากการที ่ โ ลกธุ ร กิ จ ทุ ก วั น นี ้ ท ี ่ ม ี ก ารแข ง ขั น สู ง บริษัทที่ประสบความสำเร็จจึงตองเปลี่ยนแปลงอยางตอ เนื ่ อ งเพื ่ อ ตอบสนองความต อ งการของโลกที ่ พ ลิ ก ผั น ไป อยางรวดเร็ว ผูนำที่มีประสิทธิผลจะสงเสริมวัฒนธรรมการ เปลี ่ ย นแปลงและนำการเปลี ่ ย นแปลงดั ง กล า วมาสร า ง ความไดเปรียบดานการแขงขัน ผูนำจึงตองปรับตัวแสดง บทบาทภาวะผูนำแบบ Transformational เพื่อสราง ความแข็งแกรงใหกับธุรกิจ โดยอาศัยลักษณะเดน คือ 1. การมีอิทธิพลอยางมีอุดมการณ (Inspirational motivation) เปนที่ชื่นชอบเคารพนับถือและไววางใจ 2. การสรางแรงบันดาลใจ (Inspirational motivation) มีพฤติกรรมที่สรางแรงบันดาลใจกับผูที่อยูรอบตัว 3. การกระตุน ทางปญญา (Intellectual stimulation) กระตุนผูตามใหเกิดสิ่งใหมและสรางสรรค 4. การคำนึงถึงความเปนปจเจกบุคคล (Individualized consideration) เอาใจใสในความตองการของผูตามเพื่อ ความสำเร็จและความกาวหนาของแตละบุคคล (Bass, 1985, Avolio, Bass and Jung, 1999) ขอไดเปรียบอยางหนึ่งที่ทำใหธุรกิจครอบครัวยืนหยัด อยูไ ดนานคือ ความสามารถในการปรับตัวเมือ่ ภาวะเศรษฐกิจ วิกฤติ บริษัทจะสามารถปรับตัวไดเร็วกวาคูแขงที่บริหาร โครงสรางอื่น เนื่องจากผูนำธุรกิจครอบครัวสวนใหญมี อำนาจตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จ ไมจำเปนตองปรึกษากับผู ถือหุนจำนวนมากที่อาจมีความคิดเห็นแตกตางกันไป ซึ่ง ชวยใหการเคลื่อนตัวเชิงกลยุทธสามารถทำไดจริงในเวลา ที่รวดเร็ว(พลอย ,2554) นั่นจึงเปนเหตุผลวาเหตุใดผูนำใน รุนนี้ยังมีระดับภาวะผูนำแบบ AD อยู แมจะไมปรากฎ โดดเดนเทากับอีก 3 แบบ แตก็ยังถือวามีความจำเปน ในการบริหารธุรกิจอยู ซึ่งพบวารุนที่ 1 มีระดับภาวะผูนำ แบบ AD สูงกวารุนที่ 2 และรุนที่ 3 ทั้งนี้อาจเนื่องจากใน ตอนเริ่มแรกของการกอตั้งกิจการเจาของกิจการสวนใหญ
มั ก บริ ห ารงานโดยรวมอำนาจไว ท ี ่ ต ั ว เองเป น ศู น ย ก ลาง ตัดสินใจแบบเบ็ดเสร็จตามลักษณะภาวะผูนำ AD ซึ่งมี ความจำเป น เมื ่ อ ธุ ร กิ จ ยั ง ไม ม ี ท ิ ศ ทางที ่ ช ั ด เจนและมี ก าร สร า งวิ ส ั ย ทั ศ น ใ หม ท ี ่ ต อ งขั บ เคลื ่ อ นคนไปตามวิ ส ั ย ทั ศ น
ผลการวิจย ั พบว่าธุรกิจรุน ่ ที่ 1 (ผูก ้ อ ่ ตัง ้ ) มีแนวโน้มทีจ ่ ะมีภาวะผูน ้ ำ แบบ DP Style และผูน ้ ำแบบ ผูป ้ ระกอบการมากทีส ่ ด ุ ในขณะที่ รุน ่ ที่ 2 มีแนวโน้มทีจ ่ ะมีเฉพาะภาวะ ผูน ้ ำแบบ DP และ ผูน ้ ำการ เปลีย ่ นแปลง มากทีส ่ ด ุ และรุน ่ ที่ 3 ้ ำแบบ DP จะมีแนวโน้มทีจ ่ ะมีภาวะผูน มากทีส ่ ด ุ (Goleman, 2000) อยางไรก็ตามมีหลายงานวิจัยชี้วา ผูนำ จำเปนตองแสดงออกหลายรูปแบบจึงจะทำใหบรรยากาศ และผลการดำเนินงานของธุรกิจออกมาดีที่สุด และผูนำที่ มีประสิทธิภาพที่สุดตองรูจักยืดหยุนที่จะสลับใชภาวะผูนำ รูปแบบตางๆ ผูนำไมควรจับคูรูปแบบภาวะผูนำไวกับสถานการณอยางใดอยางหนึ่ง แตควรมีความลื่นไหลรูจักสังเกตุ ผลตอบรับที่ได แลวปรับรูปแบบของตนเองเพื่อใหไดผลดี ที่สุด(Goleman ,20006) รุนที่ 2 รุนที่ 2 อายุอยูในชวง 20-65 ปขึ้นไป มีแนวโนม ที่จะมีภาวะผูนำแบบ DP และ Transformational มาก ที่สุดและมีระดับภาวะผูนำแบบ AD ต่ำที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่อง มาจากธุรกิจครอบครัวนั้นแตกตางจากธุรกิจทั่วไปตรงที่ นอกจากตองใหความสำคัญกับเรื่องผลกำไรแลว ยังตองให ความสนใจในเรื่องของการรักษาครอบครัวและการสืบทอด ธุรกิจของคนในรุนที่ 2 พวกเขาจึงมีมุมมองที่แตกตางจาก 51
Family Business
ไปจากรุนที่ 1(ผูกอตั้ง) ในเรื่องความรู มีการศึกษาและ เรียนรูสูงกวาตรงกับธุรกิจมากกวา มีความมั่นคงปลอดภัย ในดานการลงทุนและความเสี่ยงในการลงทุน เอกลักษณ ของคนในรุนที่ 2 คือตองการสรางแบรนดหรือความโดด เดนใหกับธุรกิจ พวกเขาไดมีโอกาสในการทดลองตัดสินใจ ทางธุรกิจ มีความคาดหวังในการเขามาดำเนินธุรกิจครอบครัว หรือการสวมแทนตำแหนง การควบคุมความเปนเจาซึ่งคิด อยูแตไมรูวาจะมีโอกาสเมื่อไร (Bendor, 2009 อางถึงใน ดนัย, 2555) ดวยเหตุนี้อาจทำใหยังไมมีความรูสึกวาเปนเจาของ กิจการมากเทาผูกอตั้ง โดยเฉพาะกิจการที่รุนพอแมหรือ รุนผูกอตั้งยังคงอยูในธุรกิจดวยและหากรุนที่ 1 เคยทำ แลวประสบความสำเร็จ พอรุนที่ 2 เริ่มเขามา คนรุนที่ 1 ก็อาจจะไมยอมปลอยใหคนในรุนที่ 2 ซึ่งในประเทศไทย นั้นรุนที่ 2 ที่เขามาสูธุรกิจครอบครัวนั้นสวนใหญจบการ ศึกษามาแลวก็เขาทำงานเลย โดยธุรกิจหรือประสบการณ ในการทำงานอาจไมเหมือนรุนที่ 1 ที่เรียนรูการจัดการ ดวยการทดลองทำดวยประสบการณของตนเองจึงรูสึกถึง ความเปนเจาของมากกวาที่จะทำใหมีระดับภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial ต่ำกวารุนที่ 1 ซึ่งบางครั้งทำใหเกิด ปญหาคนรุนที่ 2 มักออกไปประกอบอาชีพอื่นหรือทำ ธุรกิจอื่นเพราะไมเขาใจในตัวธุรกิจและไมมีทักษะเพียงพอ อยางไรก็ตามรุนที่ 2 หากอยูในชวงของธุรกิจที่ ขยายตัวใหญขึ้น ก็มักจะมีการนำคนนอกที่จะเปนทีมเดิม ที่มาจากรุนพอแม การจะสรางความเชื่อถือหรือลดความ ขั ด แย ง ได ม ากเพี ย งใดและสามารถจะทำงานทำงานกลม เกลียวกันจริงๆ ไดอยางไรจึงขึ้นอยูกับลักษณะหรือรูปแบบ ของการบริหารของผูนำ ซึ่งลักษณะนี้จึงใชภาวะผูนำแบบ DP ซึ่งมีขอดีคือ ทำใหพนักงานมีสิทธิออกเสียงในการตัด สินใจ ผูนำแบบนี้จะทำใหเกิดองคกรที่มีความยืดหยุนและ ความรับผิดชอบและชวยสรางไอเดียใหมๆ ใหเกิดขึ้นอยู เสมอ(Goleman, 2000) ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Sala huddin(2010) ที่พบวาคน Generation Xer อายุระหวาง 52
ชวง 32-52 ป สนับสนุน Participative leadership เนน ที่ความยุติธรรม ความสามารถและความตรงไปตรงมา คน กลุมนี้นำโดยใชความคิดที่ทาทายและไอเดียของคนอื่นๆ มาใชในกระบวนการตัดสินใจ
ในหนึง ่ คนสามารถมีทง ้ั คุณลักษณะ ของผูน ้ ำและผูบ ้ ริหารทีช ่ ว่ ยส่งเสริม ซึง ่ กันและกัน ซึง ่ จะทำให้การบริหาร ธุรกิจครอบครัวเป็นไป รุนที่ 3 ในรุนที่ 3 อายุอยูในชวง 20-45 ป มีแนวโนมและ มีสภาวะผูนำแบบ DP มากที่สุด และมีสวนผสมของภาวะ ผูนำแบบ Entrepreneurial และ Transformational ดวย ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากสำหรับคนรุนนี้ในบางครอบครัวถือ เปนคนรุนใหมที่เพิ่งกาวเขาสูธุรกิจ ซึ่งอาจไดรับอิทธิพล บางสวนมาจากผูสืบทอดธุรกิจรุนกอน มีงานวิจัยชี้วา ภาวะ ผูนำของผูสืบทอดธุรกิจคอนขางมีปญหา โดยเฉพาะกับ ผูบริหารในรุนที่ 2-3 เพราะพวกเขาไมสามารถนำความคิด และจิตใจของคูคาและลูกคาได (อภิญญา, 2553) ซึ่งตอง แกไขโดยการสรางใหพวกเขามีความรูและประสบการณที่ เพียงพอ อยางไรก็ตามจากการที่คนรุนกอนทำใหพวกเขา มีความรูเกี่ยวกับความเหมาะสมและขอดีขอเสียของภาวะ ผูนำในแบบตางๆ จึงสามารถแสดงภาวะผูนำในแบบที่เกิด ประโยชนตอองคกรได มีงานวิจัยชี้วาคนรุนใหมมักจะมี ภาวะผูนำแบบ DP ที่มักเปดโอกาสใหทีมงานมีโอกาสคิด และมีสวนรวมในกระบวนการทำงานหรือการตัดสินใจ ถึง แมผูนำจะเปนผูตัดสินใจในขั้นสุดทายก็ตาม ซึ่งรูปแบบนี้ เหมาะกับการทำงานเปนทีมและคาดหวังคุณภาพงานมาก กวาความรวดเร็ว (อภิญญา, 2554) และเนื่องจากธุรกิจ ครอบครัวตองอาศัยความผูกพันและสัมพันธภาพระหวาง คนในครอบครัวเปนเดิมพันสำคัญเพราะตองอาศัยความ
Family Business
สามัคคีและรวมแรงรวมใจกันเปนตัวขับเคลื่อน และจาก การศึกษาของโครงการ GLOBE พบวารูปแบบของภาวะ ผูนำแบบ Team-oriented และ Participative เปนโมเดล ที่มีประสิทธิภาพที่สุดสำหรับประเทศไทย (Gupta et al, 2002) นอกจากนี้ในรุนที่ 3 ยังมีภาวะผูนำแบบ Entrepreneurial ผสมผสานเพิ่มขึ้นมาอีกอาจเปนเพราะการเปน สมาชิกในครอบครัวมักมีสวนรวมเปนเจาของดวย เมื่อผู นำแบบ DP เปดโอกาสใหรวมตัดสินใจและแสดงความคิด เห็นไดรวมเปนสวนหนึ่งของความสำเร็จ
คุณลักษณะของผู้นำที่จะทำให้ธุรกิจ ครอบครัวประสบความสำเร็จ
จากการสำรวจความคิดเห็นถึงคุณลักษณะของผูนำที่ จะทำใหธุรกิจครอบครัวประสบความสำเร็จพบวา คนรุนที่ 1 ใหความสำคัญในเรื่องของความยุติธรรมมากที่สุด รอง ลงมาคือความซื่อสัตย ความเด็ดขาด กลาตัดสินใจ และ ภาวะผูนำเทาๆกัน ทั้งนี้จากการใหขอมูลเชิงลึก พวกเขา เชื่อวาคุณธรรมและความซื่อสัตยจะเปนรากฐานที่ดีของ ทุกอยาง และเนื่องจากตองเปนผูชี้ทิศทางธุรกิจและตองการ ใหคนหมูมากเดินตามความเด็ดขาด กลาตัดสินใจ และ ภาวะผูนำจึงมีความสำคัญมากเชนกัน ขณะที่คนรุนที่ 2 ใหความสำคัญในเรื่องของความ เด็ดขาด กลาตัดสินใจ รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น การ หาความรูและวิธีการใหมๆ อยูเสมอตามลำดับ จากขอมูล เชิงลึกพวกเขาเชื่อวาผูนำควรมีความเด็ดขาดในการตัดสินใจ แพราะมีผลตอความกาวหนาของบริษัท ขณะเดียวกันก็ ควรรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นเพื่อใหเห็นรอบดานและ แกปญหาถูกจุด และทามกลางการแขงขันทางธุรกิจที่สูง ผูนำก็ควรแสวงหาความรูใหมๆ เพื่อนำพาองคกรไปสูความ สำร็จ สวนคนรุนที่ 3 ใหความสำคัญในเรื่องของภาวะผูนำ มากที่สุด รองลงมา ความเด็ดขาด กลาตัดสินใจ รับฟง ความคิดเห็นของผูอื่น ความซื่อสัตย เทาๆกัน ทั้งนี้
เนื่องจากพวกเขาเชื่อวาองคกรตองการภาวะผูนำที่มีความ เหมาะสมในการบริหารงาน ซึ่งตองมีความกลาตัดสินใจ ปรับเปลี่ยนสิ่งตางๆ ตามสถานการณไดรวดเร็ว อีกทั้ง การรับฟงความคิดเห็นจากผูอื่นจะทำใหไดมุมมองในการ พัฒนาที่กวางขึ้น และพวกเขายังเห็นวาความซื่อสัตยเปน คุณลักษณะสำคัญที่ผูนำทุกคนควรจะมีอีกดวย ซึ่งสอดคลอง กับการศึกษาของ อภิญญา เถลิงศรี,(2554) ที่พบวาผูนำ ในโลกตะวันออกจะสนใจเรื่องของคุณธรรมน้ำมิตร เรื่อง ของใจ และการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การงาน อางอิง
1. อภิญญา เถลิงศรี. 2554. วิถีผูนำเอเชียความทาทาย ที่โลกตะวันตกเฝามอง. วิถีผูนำเอเชีย. 2(3):6. 2. Avolio, B. J., B. M. Bass and D. I. Jung. 1999. Reexaming The Components of Transformational and Transactional Leadership Using The Multifactor Leadership Questionnaire. Journal of Occupational and Organizational Psychology. 72: 441-462. 3. Bennis, Warren and Bert Nanus. 1985. Leaders: Their Strategies for Taking Charge. New York: Harper & Row. 4. Bass, B. M. 1985. Leadership and Performance Beyond Expectations. New York: Free press. 5. Goleman, Daniel. 2000. Leadership That Gets Results. Harvard Business Review. MarchApril:1-15. 6. Jain, Rajesh. Family Business Leadership. Root ‘n Wing. Available: http://www.famizindia.com. 25 July 2012. 7. Yukongdi, Vimolwan. 2010. A Study of Thai Employees’ Preferred Leadership Style. Asia Pacific Business Review. 16(1-2): January-April: 161-181.
53
YEC UPDATE
54
YEC UPDATE
ธนกฤต ศิริไพรวัน
ประธาน YEC ปัตตานี ทายาทห้างทองเก่าแก่คู่เมืองปัตตานี Å‹ Í §ãμŒ ¾ºË¹Ø ‹ Á ËÅ‹ Í â»Ãä¿Å ´ Õ ¹Ñ ¡ ¸Ø à ¡Ô ¨ ÃØ ‹ ¹ ãËÁ‹ ä ¿áç ·ÒÂÒ·ËŒ Ò §·Í§áË‹ § »˜ μ μÒ¹Õ ¼Ù Œ Á Õ ¤ ÇÒÁ ÁØ‹§ÁÑè¹à¡Ô¹ÃŒÍ·Õè¨Ð¾Ñ²¹ÒºŒÒ¹à¡Ô´á·¹¡ÒÃŒҶÔè¹ áÁŒ¨ÐÁÕàËμØ¡Òó äÁ‹Ê§ºà¡Ô´¢Öé¹ÍÂً໚¹ÃÐÂÐæ áμ‹à¢Ò ¡çÂѧÂ×¹ËÂÑ´äÁ‹¶ÍÂáÅÐäÁ‹¤Ô´Ë¹Õä»ä˹ à¾ÃÒÐÊÓËÃѺà¢Ò·Õè¹Õè¤×Í “ºŒÒ¹à¡Ô´” ¾º¡Ñº»Ãиҹ YEC »˜μμÒ¹Õ ¤¹»˜¨¨ØºÑ¹ ¤Ø³ ¸¹¡Äμ ÈÔÃÔä¾ÃÇѹ ¡ÑºàÅ×Í´ÃÑ¡ºŒÒ¹à¡Ô´àμçÁÌ͠¾ÃŒÍÁÃÇÁ¡ÅØ‹Á¹Ñ¡¸ØáԨÃØ‹¹ãËÁ‹àÅ×Í´à¹×éÍàª×éÍä¢ ªÒÇ»˜μμÒ¹Õ Ã‹ÇÁ¾Ñ²¹ÒáÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁࢌÁá¢ç§·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ãËŒºŒÒ¹à¡Ô´
ล
ที่มาของประธาน YEC ปัตตานี คุณธนกฤต ศิริไพรวัน หรือ ชาย ชาวปตตานีโดยกำเนิด เปนลูกชายคน กลาง จากพี่นอง 3 คนทายาทเจาของ ธุรกิจหางทองแสนงาม หางทองเกา แก ท ี ่ ม ี อ ายุ ย าวนานมาหลายสิ บ ป ค ู เมืองปตตานี ดวยวิสัยทัศนที่กวางไกล และการใหความสำคัญกับการศึกษา ของคุณพอและคุณแม จึงสงเสริมและ สนั บ สนุ น ด า นการศึ ก ษาให ก ั บ ลู ก ๆ อยางเต็มที่ จากระดับมัธยมศึกษาที่ โรงเรียนหาดใหญวิทยาลัย จังหวัด สงขลา สูการเรียนตอในตางประเทศ ระดับปริญญาตรีท่ี Royal Melbourne Institute of Technology University (RMIT) สาขา Computer System Engineering ประเทศออสเตรเลีย หลังจากเรียนจบจึงไดกลับมาสานตอ ธุรกิจที่บาน ? (เพราะอะไร เรามาหา คำตอบกัน) “หลังเรียนจบ ผมยังไมไดมาชวย งานที่บานในทันที แตไดใชความรู ความสามารถที่เรียนมา ทำงานหา
ประสบการณอยูที่กรุงเทพอยูชวงหนึ่ง ก อ นจะกลั บ มาสานต อ ธุ ร กิ จ ของที ่ บาน โดยตอนที่ตัดสินใจกลับมานั้น ธุรกิจรานทองของที่บานนั้นก็ถือวามี ความมั่นคงและสามารถเดินไปไดดวย ตัวเองอยูแลวจากรากฐานที่วางไวกวา 30 ปของคุณพอและคุณแม แตที่ ตัดสินใจกลับมา ก็เพราะมันถึงจุดหนึ่ง ที่เรารูสึกวา มันถึงเวลาที่เราควรตอง กลับมาเพื่อชวยแบงเบาภาระและดูแล คุณพอและคุณแม” การรับช่วงต่อธุรกิจ ห้างทองแห่งปัตตานี เปดตำนานหางทองเกาแกคูเมือง ปตตานี ที่เปดมานานกวา 30 ป จาก รุนพอแมสืบทอดมายังรุนลูก คุณชาย เลาวา “ตอนกลับมาใหมๆ เราคิดวา การเขามาสานตอธุรกิจครอบครัวมัน ไมนาจะยากอะไร กับธุรกิจที่เราเห็น มาตลอดและโตขึ้นมากับมัน แตเมื่อ ถึงเวลาลงมือทำจริงๆถึงไดรูวา มันไม ไดงายแบบที่เราคิด และคุณพอและ
คุณแมของเราเกงขนาดไหนที่สามารถ ทำมาจนถึงจุดนี้ได” ในช ว งแรกของการกลั บ มาสาน ตอธุรกิจที่บาน เปนชวงเวลาแหงการ เรียนรู เรียนรูธุรกิจของเรา เรียนรู ลูกคาของเรา เรียนรูวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจในทองถิ่นของเรา “สิ่งสำคัญ ในการทำธุรกิจคือการรูจักธุรกิจของ เราและลูกคาของเรา” โดยเฉพาะ จั ง หวั ด ป ต ตานี เ ป น จั ง หวั ด ที ่ ม ี ค วาม หลากหลายทั ้ ง ในด า นศาสนาและ วัฒนธรรม ดังนั้นการเรียนรูและการ เขาใจลูกคาของเราจะทำใหเราประสบ ความสำเร็จในธุรกิจของเรา การนำความรู้และ ประสบการณ์มาใช้กับ ธุรกิจที่บ้าน ในฐานะ นักธุรกิจรุ่นใหม่ ในช ว งแรกของการกลั บ มาสาน ตอธุรกิจที่บานคือ ชวงเวลาแหงการ เรียนรู และเมื่อเราเรียนรูและเขาใจ เรา ก็สามารถนำความรูและประสบการณ ของเรามาตอยอดธุรกิจได ดวยความ 55
YEC UPDATE
ที่เราเปนคนรุนใหมและไดมีโอกาสไป ศึกษาตอที่ตางประเทศ ทำใหเรามอง เห็นและคาดการณถึงการเปลี่ยนแปลง ทางธุรกิจที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต เราจึงสามารถรับมือและเตรียมความ พรอมรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได ไม ว า จะเป น การซื ้ อ ขายด ว ยระบบ เงิ น ผ อ นหรื อ ระบบการจ า ยเงิ น ผ า น Application ทางโทรศัพท รวมไปถึง การปรั บ โครสร า งการจั ด เก็ บ ภาษี ที่เราไดนำความรูในดานระบบ IT เขา มาชวย ที่นี่จึงเปนรานแรกๆ ที่สามารถ ตอบสนองความตองการของลูกคาได ทุกประเภท ผลกระทบจากเหตุการณ์ ความไม่สงบในภาคใต้ เหตุการณความไมสงบในภาคใต เกิดขึ้นมาอยางยาวนานและตอเนื่อง ผลกระทบจากความไมส งบส ง ผลกับ ทุกๆคนในพื้นที่ ไมเฉพาะกับธุรกิจใด ธุรกิจหนึ่ง สิ่งแรกที่หายไปคือความ มั ่ น คงในชี ว ิ ต และทรั พ ย ส ิ น ของ 56
ประชาชนในพืน้ ที่ ตามมาดวยเศรษฐกิจ การท อ งเที ่ ย วและความเชื ่ อ มั ่ น จาก นักลงทุนทั้งในและนอกพื้นที่ และที่ หนักที่สุดคือเศรษฐกิจการการคาขาย ในพื้นที่ การทำธุ ร กิ จ ร า นทองก็ ม ี ค วาม เสี่ยงในเรื่องของความปลอดภัยอยูแลว และจากสถานการณ ค วามไม ส งบใน พื้นที่ก็ยิ่งเพิ่มความเสี่ยงใหกับธุรกิจ มากขึ้นไปอีก แตดวยทำเลที่ตั้งซึ่งอยู ในตัวเมืองประกอบกับความเขมแข็ง ในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาที่ดาน ความมั่นคง จึงชวยใหการประกอบ ธุ ร กิ จ มี ค วามปลอดภั ย ในระดั บ หนึ ่ ง สวนผลกระทบในดานเศรษฐกิจ ธุรกิจ ร า นทองเองก็ ไ ด ร ั บ ผลกระทบจาก ความซบเซาของเศรษฐกิจโดยรวมใน พื้นที่ บทบาทในฐานะประธาน YEC ปัตตานี คุณชายเปนประธาน YEC ปตตานี รุนที่ 3 โดยเริ่มตนจากการเปนเลขา
ประธาน YEC ปตตานีรุนที่ 2 และใช เวลาในขณะนั ้ น เรี ย นรู บ ทบาทและ ภารกิจของ YEC และเมื่อไดรับ ตำแหนงประธาน YEC ปตตานี จึงได ถายทอดและสรางความเขาใจถึงบทบาท และภารกิจของ YEC ใหกับเพื่อน สมาชิก สรางความเขมแข็งภายใน องคกร และสงเสริมทำงานรวมระหวาง YEC ปตตานีกบั หอการคาจังหวัดปตตานี สมาชิกสวนใหญของ YEC ปตตานี เปนทายาทนักธุรกิจในจังหวัดและจบ การศึกษาจากนอกพื้นที่ รวมทั้งตัว ผมเองดวย ดังนั้นการรวมกลุมกันของ YEC ปตตานีจึงเปนโอกาสอันดีที่เหลา นั ก ธุ ร กิ จ รุ น ใหม จ ะได ท ำความรู จ ั ก และสรางเครือขายกันในจังหวัด แต สิ ่ ง หนึ ่ ง ที ่ ผ มเน น ย้ ำ กั บ เพื ่ อ นสมาชิ ก YEC ปตตานีทุกคนคือ แมจะเขามา เปนสวนหนึ่งของ YEC ปตตานีแลว แตหนาที่และความรับผิดชอบตอธุรกิจ ของตนเองตองมาอันดับหนึ่ง เพราะ เหตุผลหลักที่ทุกคนกลับมาก็เพื่อสาน ตอธุรกิจที่บาน ดังนั้นจะละเลยหนาที่ ความรับผิดชอบตรงนั้นไมได งานของ YEC กลายเป็น ผลงานที่ภาครัฐจับตามอง ผลงานเดนของ YEC ปตตานี อาทิเชน การรวมกับพาณิชยจังหวัด ปตตานี ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด ปตตานี และวัฒนธรรมจังหวัดปตตานี จัดงานตลาดนัดคนเดิน “ตานี กะเบอะนิ” ทีบ่ ริเวณดานหนาศาลเจาแมลม้ิ กอเหนีย่ ว โดยจัดขึ้นเปนประจำทุกเดือน เดือนละ 2 ครั้ง รวม 8 ครั้ง ทำใหเกิดกระแสมี ผูส นใจเปนจำนวนมากทัง้ ผูป ระกอบการ และผูบริโภค แมวาสถานที่จัดงานจะ เปนบริเวณหนาศาลเจาซึ่งเปนสถานที่
YEC UPDATE
ที่เคารพของชาวไทยเชื้อสายจีน แตก็ มีชาวไทยมุสลิมมารวมงานเปนจำนวน มาก นั่นแสดงใหเห็นถึง ความเหนียว แนนของทุกเชื้อชาติที่สามารถอยูรวม กันได “การจัดตลาดนัดคนเดิน นอก จากเปนการกระตุนเศรษฐกิจใหเกิด การหมุ น เวี ย นและสรา งช อ งทางการ จำหนายสินคาใหผูประกอบการใหมๆ แลว ยังเปนการสรางกระแสสราง ความคึกคักใหชาวปตตานี ในงานมี การจำหนายสินคาที่หลากหลาย อาทิ เชน สินคาพื้นเมือง ของดีจากอำเภอ อื่นๆในจังหวัด รวมถึงอาหารทองถิ่น ที่หารับประทานไดยาก นอกจากนี้ยัง มีการแสดงศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นจาก เยาวชนรุนใหม เพื่อสงเสริมและสราง ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมทองถิ่น แกคนรุนใหมดวย นอกจากนี้ YEC ปตตานียังได รวมมือกับวิทยาลัยราชภัฎสงขลาและ สำนั ก งานพั ฒ นาธุ ร กรรมทางอิ เ ลคทรอนิกส (องคกรมหาชน) จัดอบรม เชิงปฏิบัติการ สงเสริมพัฒนาตลาด อิเล็กทรอนิกส SMEs Online เกี่ยวกับ การจำหนายสินคาออนไลน เทคนิค การถายรูปผลิตภัณฑ รูปแบบการนำ เสนอสินคา ใหแกผูประกอบการ SMEs
ในพื้นที่ โดยมีผูสนใจเขารวมกิจกรรม เปนจำนวนมาก และยังมีแผนงานจัด กิจกรรมอบรมใหความรูในดานอื่นๆ แกผูประกอบการ โดยประสานงาน รวมกับเครือขาย YEC และหอการคา จังหวัดอื่นๆ เพื่อนำความรูมาเผยแพร ใหแกนักธุรกิจในพื้นที่ตอไป กลยุทธ์การรวมตัวสมาชิก ของ YEC ปัตตานี คุณ ธนกฤต ไดกลาวถึงกลยุทธ ในการรวมกลุมสมาชิกภายใต YEC ปตตานีวา ไดแบงเปนนโยบายการ บริหารงานทั้งหมด 3 ดานหลัก ไดแก 1. สรางความเขมแข็งภายในองคกร 2. การทำงานรวมกันระหวาง YEC และ หอการคาจังหวัด 3. การทำงานรวม กันสามฝายระหวาง YEC ปตตานี หอการคาจังหวัดปตตานีและหนวยงาน ตางๆของภาครัฐ เพื่อนำมาความรู ความสามารถไปชวยเหลือในกิจกรรม ตางๆ ที่ตองการความคิดสรางสรรค และนวัตกรรมใหมๆ นอกจากนั้ นยังมีการสรางเครือ ขายกับ YEC จังหวัดใกลเคียง ไดแก จังหวัดยะลาและนราธิวาส ที่มีลักษณะ ทางเศรษฐกิจและสังคมใกลเคียงกัน ซึ่งการสรางเครือขาย cluster กลุม
จังหวัดนี้ก็เพื่อเสริมสรางความรวมมือ และความเขมแข็งภายในกลุมจังหวัด โดยมีกิจกรรมสานสัมพันธกลุมจังหวัด และเตรี ย มที ่ จ ะจั ด การแข ง ขั น กี ฬ า เพื่อเชื่อมความสามัคคี ของฝากจากปัตตานี เสียงสะทอนจากประธาน YEC ปตตานี ถึงกลุมนักธุรกิจรุนใหม YEC “สิ่งแรกที่ตองการจะฝากคือ การสราง ความเขมแข็งภายในองคกร ซึ่งผม เชื ่ อ ว า การที ่ อ งค ก รจะดำเนิ น การได อย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะต อ งเริ ่ ม ต น จากความเขมแข็งภายในองคกรกอน และที่สำคัญอีกอยางคือการทำงานรว มกับหอการคาจังหวัด เพราะ YEC คือ องคกรที่สังกัดและอยูภายใตการกำกับ ดูแลของหอการคาจังหวัด ดังนั้นการ ทำงานของ YEC ก็คือการทำงานรวม กับหอการคา และการทำงานกับหอ การคาก็คือการเปดโอกาสใหคนรุนใหม ได ม ี ส ว นร ว มในการทำงานร ว มกั น ร ว มกั น ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สังคมในทองถิ่นและกระจายสูระดับ ชาติตอไป
57
YEC Leadership
นักธุรกิจรุ่นใหม่ หอการค้าไทย กับความเป็นผู้นำ â´Â
ทีมบรรณาธิการ เมื่อวันที่ 26-28 มีนาคม 2561 ณ โรงแรมรามา การเดนส กรุงเทพฯ ทาง คณะกรรมการส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู ประกอบการรุน ใหม ไดจดั โครงการ "YEC President Training" โดยเนนให YEC มีศักยภาพและมีความพรอมเพื่อเขามา เปนกำลังสำคัญของหอการคาฯ ในการ พัฒนาองคกร และเศรษฐกิจทัง้ ในระดับ จังหวัด ระดับภูมภิ าค และระดับประเทศ ซึง่ มุง เนนแนวทางในการพัฒนาบุคลากร ผูด ำรงตำแหนง “ประธาน YEC จังหวัด” โดยวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและการพั ฒ นาทั ก ษะของผู ท ำ
ม
หนาที่ประธาน YEC จังหวัด ซึ่งเปนผูมี บทบาทสำคัญในการผลักดันใหทีมงาน YEC จังหวัดสูความสำเร็จขององคกร หอการคาไทย ซึ่งคุณปริม จิตจรุงพร ประธาน คณะกรรมการส ง เสริ ม และพั ฒ นาผู
“การเปนผูนำที่ดีนั้นถือเปนศิลปะอยางหนึ่ง และคุณสมบัติที่สำคัญของ การเปนผูนำ คือตองนำการเปลี่ยนแปลงไดครับ นอกจากนี้ยังตัองแสวงหาโอกาส หาความรู สรางแรงบันดาลใจ และชักชวนใหคนอื่นคลอยตามได ยึดมั่นใน ความเปนธรรม และคิดถึงสวนรวมเปนที่ตั้ง ผมดีใจ ที่เห็นนองๆ ประธาน YEC มีความมุงมั่น และตั้งใจที่จะเปนผูนำที่ดี เพราะคนรุนใหมเหลานี้ คือ อนาคตของประเทศ เมื่อเรามีผูนำในระดับตางๆที่ดี ก็จะสามารถนำพาประเทศ ใหกาวหนาไปไดอยางยั่งยืนครับ นองๆ ที่มาในวันนี้ ถือวามี commitment มีความตั้งใจ ผมจึงขอเปนกำลังใจใหกับนองๆ YEC ทุกคนครับ” คุณอิสระ วองกุศลกิจ หัวขอ ‘Art of Leadership’ การอบรม 'YEC President Training’ 27 มีนาคม 2561 อางอิงขอความจาก https://www.facebook.com/IsaraVong/ 58
ประกอบการรุนใหม หอการคาไทย ได เปดการอบรม พรอมคณะกรรมการ หอการคาไทยและสภาหอการคาแหง ประเทศไทย และฉบับนี้ขอนำขอคิดดีๆ ของผูนำ ผูซึ่งใหเกียรติมาเปนวิทยากร มาฝากผูอาน ดังนี้
YEC Leadership
“การเปนผูนำนั้น สิ่งสำคัญคือ เราตองเปน “Trusted Leader” หรือ ผูนำที่ยึดมั่นในความถูกตองครับ นอกจากนี้ การเปนผูนำที่ดีนั้น นอกเหนือจากคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน เชน การมีน้ำใจ จริงใจ คิดถึงประโยชนสวนรวมเปนหลัก มีความยุติธรรม มีทัศนคติที่ดีแลว ยังมีอีก 3 ดานที่ผูนำควรพัฒนา คือ 1. Equip with Capability 2. High Acceptability 3. Dream of Reality นอกจากนั้นเราควรหมั่นถามคำถามกับตัวเองดวยนะครับวา - เราสามารถเพิ่มมูลคาอะไรไดบาง? - ทำไมตองเปนเรา? - เปนปญหาของเราหรือเปลา - เปนโอกาสไหม? ผมหวังวา ประธาน YEC หอการคาจังหวัดทุกทานที่ไดมีโอกาสเขามาฟงในวันนี้ จะสามารถ นำความรูที่ได ไปปรับใชไดอยางมีประสิทธิภาพ และเปนกำลังสำคัญใหกับประเทศไทยในอนาคตครับ” คุณกลินท สารสิน หัวขอ “Leader Style as Chairman of TCC & BoT” การอบรม 'YEC President Training’ 26 มีนาคม 2561 อางอิงขอความจาก https://www.facebook.com/KalinSarasinOfficial/ 59
YEC Leadership
“องคกรสามารถสราง “Change Journey” ดวยการถามตัวเองวา ทำไป เพื่ออะไร ผลสำเร็จของเปาหมายคืออะไร และจุดที่เรายืนสูจุดที่จะไปนั้น เราตองทำอยางไร ...แลวจะรูไดอยางไรวา จะทำอยางไรเพื่อไปถึงจุดเปาหมาย ใหกลับมาดู framework วาเรามีกลยุทธหรือยัง กระบวนการพรอมหรือไม เทคโนโลยีพรอมหรือไม และคนมีความสามารถและสมรรถภาพเพียงพอหรือไม วัฒนธรรมวิธีคิดและปฎิบัติของคนในองคกร พรอมเดินหนาขับเคลื่อนหรือไม ผูนำพรอมเดินหนาหรือไม เราขาดจุดใดบาง กลับมาดูที่วิเคราะหองคกรตัวเอง อยาหลอกตัวเอง และสราง “Change Journey” เพื่อพาองคกรไปสูการเปลี่ยนแปลง” ดร. นิธินาถ สินธุเดชะ หวขอ “Change & Leadership” การอบรม 'YEC President Training’ 27 มีนาคม 2561 ในการอบรมนี้ นอกจากจะมีวทิ ยากร กิตติมศักดิใ์ หเกียรติมารวมบรรยายแลว ยังมีการแลกเปลี่ยนถึงวิธีการพัฒนา 60
องคกรในดานตางๆ ระหวางผูเขารวม อบรม และคณะกรรมการสงเสริม และ พัฒนาผูประกอบการรุนใหม หอการคา
ไทย ซึง่ เนือ้ หาการอบรมในครัง้ นีไ้ ดสราง พลังแกประธาน YEC จังหวัดเพือ่ รวมกัน ขับเคลื่อนหอการคาไทย
ALIBABA.COM E-commerce อบรมโดยตรง จาก Certified Trainers หลักสูตร 3 วัน (ศุกร-อาทิตย) และ 2 วัน (เสาร-อาทิตย)
“Global E-Commerce Talent” ศึกษาภาพรวมและแนวโนมในธุรกิจ E-commerce สรางเครื่อขาย Business Networking เขาใจ Alibaba Platform ผานมุมมองผูซื้อ เรียนรูการใชงานจริง บน E-commerce platform ของ Alibaba พรอมรับคำปรึกษาจาก Alibaba E-commerce Talent Trainers โดยตรง รวมถึงวิธีการทำอยางไรใหสินคา ขายดีบนตลาดออนไลน อบรม ณ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย
สอบถามรายละเอียดและสำรองที่นั่ง www.etouch.co.th โทร. 02-697-6141
คาอบรม
9,900เทานั้น
สมัครสมาชิกนิตยสาร สมัครสมาชิก Individual 1 ป (12 ฉบับ) พิเศษเหลือ 800 บาท จากราคาปกติ 960 บาท ชื่อ (Name) : นามสกุล (Surname) : E-mail : เบอรโทรศัพทบาน (Telephone) : เบอรโทรศัพทที่ทำงาน (Telephone) : เบอรโทรสาร (Fax) : เพศ (Gender) : ชาย หญิง
มือถือ (Mobile) : วันเกิด : วันที่ เดือน
สั่งซื้อสำหรับ Corporate สั่งซื้อ 50-100 เลม พิเศษเลมละ 65 บาท (รวมคาจัดสงไปรษณียแลว)
พ.ศ.
สั่งซื้อจำนวน 100 เลมขึ้นไป พิเศษเลมละ 55 บาท
ขาพเจาตองการสั่งซื้อนิตยสาร Thailand Economic and Business Review ฉบับที่ จำนวน เลม รวมเปนเงิน บาท ชื่อองคกร ผูติดตอ เบอรติดตอ Email
โทรสาร
มือถือ
ที่อยูในการจัดสง (Shipping Address) สมาชิกเริ่มตนเลมที่ ที่อยู (Address)
ถึง
ใบเสร็จรับเงินออกในนาม (Name) ชื่อ (Name) ที่อยู (Address)
วิธีการชำระเงิน โอนเงิน บัญชี ธนาคารกรุงเทพ สาขามหาวิทยาลัยหอการคาไทย ชื่อบัญชี นิตยสาร THAILAND ECONOMIC & BUSINESS REVIEW มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขที่ 030-026285-4 กรุณากรอกรายละเอียดทั้งหมดพรอมหลักฐานการชำระเงินมาที่ ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตึก 10 ชั้น 5 เลขที่ 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-697-6862 โทรสาร 02-277-1803 Email : asc.utcc@gmail.com หมายเหตุ: - สงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนและคืนการเปนสมาชิกนิตยสาร - หากนิตยสารที่ทานไดรับเกิดการชำรุดหรือเสียหายอันเนื่องจากการขนสงหรือการพิมพ กรุณาแจงฝายสมาชิก โทร 02-697-6862