Thailand Economic & Business Review MAR 2017

Page 1




EDITOR’S NOTE เขาสูเดือนแหงซัมเมอร หนารอนนี้ ทองเที่ยวไทยคึกคัก จึงขอนำเรื่องสถานการณการทองเที่ยวไทย มานำเสนอ เปนรายงานพิเศษ และตอดวยกับบทสัมภาษณพิเศษในเรื่องนวัตกรรมการศึกษา จากสององคกรผูนำนวัตกรรม เขาไปปรับใชกับระบบการศึกษาไทย ที่แรก โรงเรียนอำนวยศิลป โรงเรียนที่มีประวัติยาวนานคูถนนพญาไท กับ บทสัมภาษณจาก ‘คุณเพชรชุดา รัตนทารส เกษประยูร’ ผูสืบทอดการบริหารโรงเรียนอำนวยศิลปรุนที่ 3 ผูที่ ปฎิวัติระบบการบริหารโรงเรียนสูมาตรฐานนานาชาติ และนำระบบการเรียนการสอนแบบ Thinking School และอีกบทสัมภาษณของโรงเรียนที่เรียกวา ติวเตอรชั้นนำของประเทศไทย “ENCONCEPT” กับ วิวัฒนาการ ENCONCEPT สูยุค 6G กับบทสัมภาษณ ‘คุณอภิธา วัลลภศิริ’ หนึ่งในหุนสวนและผูบริหาร ENCONCEPT นอกจากนี้ ฉบับนี้ยังเต็มอิ่มดวยเนื้อหามากมายอาทิ บทสัมภาษณเรื่อง “เมื่อ FED ขึ้นดอกเบี้ย ไทยจะกระทบ อยางไร ความคาดเดายากกำลังเกิดขึ้นอีกครั้ง” โดย ผศ. ดร. ธนวรรธน พลวิชัย อาจารยนักพยากรณเศรษฐกิจ จากมหาวิทยาลัยหอการคาไทย และตอดวยเรื่อง “การเขาสูตลาดอาเซียนของภาคบริการไทย: กรณีศึกษาธุรกิจ บริการกอสรางและบริการความงามไทยสูกัมพูชา” โดย สถาบันระหวางประเทศเพื่อการคาและการพัฒนา (ITD) และเรื่อง “การเปนชาติการคากับบทบาทใหมของรัฐ” โดย ดร. เดือนเดน นิคมบริรักษ สถาบันเพื่อการพัฒนา ประเทศไทย (ทีดีอารไอ) และตอดวยบทความจากศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย กับเรื่อง “การวิเคราะหผลกระทบของนโยบายการคาของทรัมปตอการสงออกของไทย” และฉบับนี้ ธนาคารเพื่อ การสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย ไดรวมนำเสนอเรื่อง “จับกระแสการลดขยะอาหารกับโอกาสทางธุรกิจอาหาร ยุคใหม” นอกจากนี้ ฉบับนี้ Strategy Section กับเรื่องของ Innovation-Driven Entrepreneurship เรื่อง “นักลงทุนเปนนางฟาหรือซาตาน (Angle or Demon Investors)” โดย ดร.ศักดิพล เจือศรีกุล ผูอำนวยการ ศูนยการสรางผูประกอบการที่ขับเคลื่อนโดยนวัตกรรม (IDE Center) มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตอดวยศาสตร ธุรกิจครอบครัว โดย ผศ. ดร.เอกชัย อภิศักดิ์กุล เรื่อง “ธุรกิจครอบครัว ตอนแรงจูงใจ” และ YEC Update กับ คุณชาธิป ตั้งกุลไพศาล (คุณโอม) ประธาน YEC จังหวัดสมุทรสาคร ฉบับมีนาคมนี้ กับเรื่องหลากหลายเรื่องมาใหผูอานไดเติมเต็มและตอยอดแนวคิด ทั้งเนื้อหาทางเศรษฐกิจใน ประเทศ และตางประเทศ แบบ inside-out และ outside-in และความรูดานกลยุทธทางธุรกิจจากทีมคณาจารย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย หวังวา Thailand Economic and Business Review จะเปนคุณประโยชนในการ ตอยอดทางความคิดใหกับผูอานทุกทานคะ อารดา มหามิตร บรรณาธิการบริหาร

04


วันเจรจา จ 31 พฤษภาคม - 2 มมิถุนายน 2017 10.00

.

วัน ่ายปลีก 3 - 4 มิถุนายน 2017 10.00 - 20.00 น.


CONTENTS

March 2017

www.facebook.com/ThailandEcoReview

4

Line : @ThailandEcoReview

Editor’s Notes

14

เมื่อ FED ขึ้นดอกเบี้ย ไทยจะกระทบอยางไร ความคาดเดายากกำลังเกิดขึ้นอีกครั้ง

16

การเขาสูตลาดอาเซียนของภาคบริการไทย :

AR BO NA

SS PA ING SS R D GG ER PA A IN EN D O PASS BBOAER OF GER M N A OF PAS NA ME

GAT

INS

T INS ER

ER

T

GATE

D IN

OF

PA

SS EN

GE

R

DINGOS BOAR GATE CL NAM E

SE ATSS PA

ES

TE GA ENG ER OF PASS

SE AT

SEN

E GAT

ME

S AS GP

EC

GATE CLO

LO

SES

SES GATE

SEAT

GATE CLOS

ES SEAT

credit: Created by Freepik, Created by Ibrandify - Freepik.com, all-free-download.com

กรณีศึกษาธุรกิจบริการกอสรางและ บริการความงามไทยสูกัมพูชา 20

การเปนชาติการคากับบทบาทใหมของรัฐ

22

การวิเคราะหผลกระทบ ของนโยบายการคาของทรัมป ตอการสงออกของไทย

28

จับกระแสการลดขยะอาหาร กับโอกาสทางธุรกิจอาหารยุคใหม

32

สถานการณทองเที่ยวไทย

49

นักลงทุนเปนนางฟาหรือซาตาน (Angel or Demon Investors)

52

ธุรกิจครอบครัว ตอน แรงจูงใจ

SPECIAL REPORT สถานการณทองเที่ยวไทย

32

ทีมบรรณาธิการ ที่ปรึกษา: อิสระ วองกุศลกิจ, วิชัย อัศรัสกร, รศ.ดร. จีรเดช อูสวัสดิ์, ณรงค จุนเจือศุภฤกษ บรรณาธิการอำนวยการ: รศ.ดร. เสาวณีย ไทยรุงโรจน รองบรรณาธิการอำนวยการ: ผศ.ดร. ธนวรรธน พลวิชัย บรรณาธิการบริหาร: อารดา มหามิตร รองบรรณาธิการบริหาร: ทิติภา ตั้งใจในธรรม, ดร.โศภชา เอี่ยมโอภาส กองบรรณาธิการ: กาญจนา ไทยชน, ปยะ นนทรักษ, คมกริช นาคะลักษณ, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, ดร. จักรกรินทร ศรีมูล, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. ภาณุชาติ บุณยเกียรติ, อ.มานา คุณธาราภรณ, อ. อรพรรณ สุนทรกลัมพ อำนวยการศิลปกรรม: มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขากองบรรณาธิการ: จิตตดิษฐภัสสร จินดาวานิชสกุล คอลัมนิสต: รศ.ดร. วันชัย รัตนวงษ, ผศ.ดร. อัทธ พิศาลวานิช, รศ. สุธรรม อยูในธรรม, ผศ.ดร. วีระชาติ กิเลนทอง, ดร. โรจนศักดิ์ โฉมวิไลลักษณ, ดร. ปยะบุตร บุญอรามเรือง, ดร. ไพจิตร วิบูลยธนสาร, ดร. ศศิวิมล วรุณสิริ, ดร.ตระหนักจิต ยุตยรรยง, ดร.จิตรัตน ชางหลอ ฯลฯ พิสูจนอักษร: อ.สุรีย พงศอารักษ ฝายโฆษณาและการตลาด: ศรายุทธ เวสารัชวิทย, วีณา สุขใจ, เสาวนีย เทียมเมือง, สุดาวรรณ เข็มทอง ฝายบัญชีและการเงิน: เบญจวรรณ มณีพันธุ ติดตอลงโฆษณาไดที่ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย โทร. 02-697-6861-3 แฟกซ 02-277-1803



CONTENTS

March 2016

38 44 58 เพชรชุดา รัตนทารส เกษประยูร

อภิธา วัลลภศิริ

ชาธิป ตั้งกุลไพศาล

ประธานบริหารเจนใหม กับการปฎิรูปโรงเรียน อำนวยศิลป ในวัย 90 ป สูการเทียบชั้นสากล

เผยกลยุทธขับเคลื่อน ENCONCEPT สู E-Academy ยุค 6G ดวยนวัตกรรม

ประธาน YEC สมุทรสาคร ผูนำเวอรชั่นใหม “จิตใจสาธารณะ”

08



เมื่อ FED ขึ้นดอกเบี้ย ไทยจะกระทบอยางไร ความคาดเดายากกำลังเกิดขึ้นอีกครั้ง จับกระแสการลดขยะอาหารกับ โอกาสทางธุรกิจอาหารยุคใหม

14

Fed ตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ยเปนครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2559 การขึ้นอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้ Fed คงมองวาจะเปนสิ่งที่ดีตอ เศรษฐกิจสหรัฐ ที่จะสงสัญญาณวาเศรษฐกิจสหรัฐฟนตัวอยาง ชัดเจนแลว และ Fed คงเชื่อวาการขึ้นดอกเบี้ย ไมนาจะทำให เศรษฐกิจโลก มีอาการซึมตัวหรือช็อกเศรษฐกิจโลก นาจะยังมีแนวโนม ฟนตัวขึ้นอยางตอเนื่อง สำหรับคาเงินบาทที่นาจะออนคาจาก การขึ้นดอกเบี้ยของ Fed นั้นก็สอดคลองกับภูมิภาค อีกทั้งยัง เปนผลดีตอเศรษฐกิจไทย เพราะเศรษฐกิจโลกฟน และบาทออนคาลง นาจะเอื้อประโยชน ตอสงออกและการทองเที่ยว นั่นเอง

สังคมหันมาใหความสนใจเปนอยางมาก กับการหาวิธีลดปริมาณขยะอาหาร อาทิ การจัดตั้งธนาคารอาหาร (Food Bank) ในหลายประเทศ เพื่อทำหนาที่รวบรวมอาหารที่ไมเหมาะแกการ จำหนายทั้งจากซูเปอรมารเก็ต หรือรานอาหาร ไปบริจาคใหแกผูที่ขาดแคลน

ศูนยศึกษาการคาระหวาง ประเทศ ไดทำการศึกษาและ วิเคราะหผลกระทบของนโยบายการ คาของนายโดนัลด ทรัมป ประธานาธิบดี สหรัฐฯ โดยทำการ ศึกษาเฉพาะนโยบาย ดานการคา 3 ประเด็น ไดแก การเก็บภาษี สินคาจีน 45% ารดำเนินนโยบายดานอัตรา แลกเปลี่ยนคาเงินหยวน/ดอลลารแข็งคาขึ้น การ ยุติการเขารวม TPP (Trans-Pacific Partnership) ของสหรัฐฯ

22

การวิเคราะห ผลกระทบของนโยบายการคา ของทรัมป ตอการสงออกของไทย

ธุรกิจครอบครัว

ตอน แรงจูงใจ 10

28

49

ผูประกอบการจำตองใชวิจารณญาณ ในการพิจารณาในเลือกนักลงทุนอยางใจเย็น ซึ่งเปรียบเสมือนเลือกคูครองในการทำธุรกิจใหม ขอตกลงที่เกิดขึ้นระหวางผูประกอบการกับ นักลงทุน จำเปนตองเกิดขึ้นจากความเหมาะสม ที่เกิดขึ้นจากทั้งสองดาน ไมใชเกิดจาก การเอาเปรียบจากดานใดดานหนึ่ง

การพัฒนาพันธกิจครอบครัวถูกสรางขึ้นรวมกัน โดยสมาชิกทุกคนในครอบครัว ไมใชเพียงเพื่อ สรางความชัดเจนในเรื่องของเปาหมาย จุดหมาย และปทัสถานทางสังคมของธุรกิจเทานั้น แตยังสามารถจูงใจพนักงานที่เปนสมาชิกในครอบครัว ในเรื่องผลการปฏิบัติงานของพวกเขาดวย

52

นักลงทุนเปน นางฟาหรือซาตาน (Angel or Demon Investors)





Economic Review

เมือ ่ FED ขึน ้ ดอกเบีย ้ ไทยจะกระทบอย่างไร

ความคาดเดายากกำลังเกิดขึน ้ อีกครัง ้ º·ÊÑÁÀÒɳ

ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชัย Ãͧ͸ԡÒú´ÕÍÒÇØâʽ†ÒÂÇÔªÒ¡ÒÃáÅÐÇԨѠáÅмٌÍӹǡÒÃÈٹ ¾Âҡó àÈÃÉ°¡Ô¨áÅиØáԨ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â àÃÕºàÃÕ§â´Â ·ÕÁºÃóҸԡÒÃ

ผศ.ดร.ธนวรรธน พลวิชัย ผูอ ำนวยการศูนยพยากรณ เศรษฐกิจและธุรกิจและ รองอธิการบดีฝายอาวุโสวิชาการและ งานวิจัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย จัว่ หัวการรายงานเศรษฐกิจของไตรมาส แรก ป 2560 แบบชวนใหคิดอีกครั้งวา ประเทศไทยจะไดรับผลกระทบอยางไร ต อ การเคลื ่ อ นตั ว ของเศรษฐกิ จ โลก ครั้งนี้

คืออะไรกันแน่? "ผันผวน" หรือ "เปลี่ยนแปลง เร็ว" หรือ "ไมแนนอน" หรือ "สับสน" หรือ "คาดเดาไมถูก" เปนกลุมคำที่อยู ในหมวดเดี ย วกั น ที ่ ค นในแวดวง เศรษฐกิ จ และธุ ร กิ จ คุ  น เคยมาตั ้ ง แต วิกฤตการณทางการเงินของโลกที่กอ เกิดมาจากปญหา Subprime ของ สหรัฐ หรือที่เรียกกันวา Hamburger Crisis ที่เกิดขึ้นตั้งแตป 2552 จนถึง ปจจุบัน รวม 8 ปที่ผมเริ่มตนแบบนี้ เพราะตลอดระยะเวลา 8 ปที่ผานมา หรือตัง้ แตป 2552 เปนตนมา เศรษฐกิจ โลกมีความผันผวนคาดเดาลำบากมา ตลอดทุกปจนถึงปจจุบัน นอกจาก เศรษฐกิจโลกจะซึมตัวลงอยางตอเนื่อง และยังไมมีสัญญาณฟนตัวที่ไมชัดเจน แทบทุกประเทศ เริ่มตั้งแตประเทศ 14

ยักษใหญ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป จีน ญี่ปุน รัสเซีย มาจนถึงประเทศ ผู  ส  ง ออกน้ ำ มั น จนถึ ง ประเทศเล็ ก ๆ อยาง CLMV รวมถึงประเทศไทยได รับผลกระทบกันถวนหนา ยิ ่ ง ประเทศไทยเป น ประเทศที ่ เปดความสัมพันธทางการคาขาย การ บริ ก ารและการลงทุ น กั บ นานาชาติ มากเทาไร ไทยยิ่งไดรับผลกระทบจาก ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกมากขึ้น เทานั้น เพราะในแงการคาขายระหวาง ประเทศ ไทยมีการสงออกมากกวา 60% ของ GDP ในแงรายไดจากทองเที่ยว จากตางประเทศนัน้ มีสงู เกือบ 10% ของ GDP และมีเงินทุนไหลเขาทั้งการลงทุน ทางตรงผานการเขามาตั้งโรงงาน และ การลงทุ น ทางอ อ มผ า นการลงทุ น ใน ตลาดหลักทรัพยฯ ตลาดตราสารหนี้ ทั ้ ง พั น ธบั ต รรั ฐ บาลและหุ  น กู  ข อง เอกสารปละหลายแสนลานบาท ทำให ไทยตองปรับตัวเขากับการเปลี่ยนแปลง ของเศรษฐกิจโลกที่มีการปรับตัวอยาง ตอเนื่องทุกปตลอดเวลา การแก้ปัญหาเศรษฐกิจใน ทุกประเทศ ด้วยมาตรการ ทางการเงิน ตลอดระยะเวลา 8 ปที่ผานมา สหรัฐ สหภาพยุโรป และญี่ปุน ใชวิธี

การเหมือนๆ กันแกไขปญหาเศรษฐกิจ ของประเทศของตน คือใชนโยบายทาง การเงินเปนหลัก เพราะแตละประเทศ มีหนี้สาธารณะสูง จึงใชนโยบายการ คลังกระตุนเศรษฐกิจจำนวนมากไมได จึงใชนโยบายทางการเงินในการกระตุน เศรษฐกิ จ และสร า งความเข ม แข็ ง ให กับสถาบันการเงินที่ไดรับผลกระทบ จากวิกฤติเศรษฐกิจ ซึ่งมาตรการที่ใช เหมือนกันคือ Quantitative Easing หรือ QE หรือเรียกงายๆ คือการพิมพ เงินออกมาหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ มากขึ้น และใชอัตราดอกเบี้ยต่ำหรือ อัตราดอกเบี้ยติดลบเพื่อกระตุนการ ลงทุนและการบริโภค ตลอดจนการ ใชคาเงินออนเพื่อสงเสริมการสงออก และการทองเที่ยวของประเทศตน สิ่ง เหลานี้ทำใหเกิดความผันผวนทางการ เงิน คือ การลงทุนในตลาดหุนตางๆ มีค วามผั น ผวนจากการไหลเข า -ออก อยางรวดเร็วของการลงทุนที่เกิดจาก เงินลนโลกจากการพิมพเงินของประเทศ ยักษใหญ พรอมทั้งเกิดสงครามคาเงิน ทีท่ กุ ประเทศพยายามใช เพือ่ ใหประเทศ ของตนฟ  น ตั ว เร็ ว และพ น จากวิ ก ฤติ เศรษฐกิจใหกลับมาสูสถานการณปกติ ใหเร็วที่สุด ดังนั้น จะสังเกตไดวา ตลอด 8 ป ที่ผานมา ทั้งธนาคารโลก IMF สถาบัน


Economic Review

วิจัยเศรษฐกิจทั้งของโลกและของไทย เปลี ่ ย นแปลงตั ว เลขคาดการณ อ ั ต รา การขยายตัวเศรษฐกิจโลกบอยครั้งใน 1 ป เพราะความผันผวนเกิดขึ้นบอย ครั้งและสงผลกระทบในวงกวางทั้งโลก ทำใหประเทศไทยเผชิญกับสงครามคา เงิน ตลอดจนความผันผวนและการซึม ตัวของการคาขายในระบบเศรษฐกิจ โลก จนสงผลใหการสงออกของไทย ขยายตัวต่ำและขยายตัวติดลบตอเนื่อง มาโดยตลอด สัญญานฟื้นตัวทาง เศรษฐกิจโลก ส่งผล สะท้อนจากด้านต่างๆ วิกฤติเศรษฐกิจโลกที่เกิดขึ้นมา ตั้งแตป 2552 เปนตนมา เริ่มสง สัญญาณของการฟนตัวหรื อหลุดพน จากวิ ก ฤติ เข า มาสู  ส ถานการณ ป กติ ครอบคลุมทั้งโลกชัดเจนมากขึ้นในปนี้ ซึ่งถานับเวลาที่เกิดขึ้นรวม 7-8 ปนั้นจะ สอดคลองกับระยะเวลาของวิกฤตการณ ตมยำกุงของไทยที่เกิดขึ้นในป 2540 นั้นกลับคลี่คลายและเขาสูสถานการณ ปกติในป 2547 หลังจากที่ไทยไดใช เงินกูคืน IMF ในกลางป 2546 ซึ่งก็ จะใชเวลาใกลเคียงกันคือ 6-7 ป เปนที่ยอมรับกันในทางวิชาการ วา เมื่อเศรษฐกิจไมดีผูคนจะหางาน ทำลำบาก ราคาขาวของจะถูกธุรกิจ จะมีการลดแลกแจกแถมเพื่อกระตุน ยอดขายทางธุรกิจ และจะมีการใช นโยบายการเงินและการคลังผานการ ลดอัตราดอกเบี้ยเพื่อกระตุนเศรษฐกิจ แตถาเศรษฐกิจฟนตัวกลับมาเปนปกติ แลว การจางงานจะเริ่มกลับมาหรือ อัตราการวางงานจะลดลง การลดราคา สินคาจะหมดไป การปรับราคาสินคา เพิ่มสูงขึ้นจะเริ่มกลับมา หรืออัตราเงิน เฟอจะเริ่มสูงขึ้น และการใชนโยบาย กระตุนเศรษฐกิจจะหมดความจำเปน

หรืออัตราดอกเบี้ยจะเริ่มกลับมาเปน ขาขึ้น ในขณะนี้ทั้งโลกคาดวาและเชื่อวา Fed จะมีมติปรับอัตราดอกเบีย้ นโยบาย ขึ้น 0.25% จากระดับ 0.50-0.75%

พอ Fed เห็นวาเศรษฐกิจสหรัฐดีขึ้น มาก ทำให Fed ขึ้นดอกเบี้ยครั้งแรก ในเดือนธันวาคม 2558 แตหลังจากนั้น เศรษฐกิ จ โลกก็ เ กิ ด ความผั น ผวน ทำให Fed ชะลอการขึ้นดอกเบี้ยออก

Fed ตัดสินใจขึ้นดอกเบี้ยเป็นครั้งที่ 2 ในเดือน ธันวาคม 2559 การขึน ้ อัตราดอกเบีย ้ ในครัง ้ นี้ Fed คงมองว่าจะเป็นสิง ่ ทีด ่ ต ี อ ่ เศรษฐกิจสหรัฐ ทีจ ่ ะส่ง สัญญาณว่าเศรษฐกิจสหรัฐฟืน ้ ตัวอย่างชัดเจนแล้ว และ Fed คงเชือ ่ ว่าการขึน ้ ดอกเบีย ้ ไม่นา่ จะทำให้ เศรษฐกิจโลกมีอาการซึมตัวหรือช็อก เศรษฐกิจโลก น่าจะยังมีแนวโน้มฟืน ้ ตัวขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ ง สำหรับ ค่าเงินบาททีน ่ า่ จะอ่อนค่าจากการขึน ้ ดอกเบีย ้ ของ ้ ก็สอดคล้องกับภูมภ ิ าค อีกทัง ้ ยังเป็นผลดี Fed นัน ต่อเศรษฐกิจไทย เพราะเศรษฐกิจโลกฟืน ้ และบาท อ่อนค่าลง น่าจะเอือ ้ ประโยชน์ตอ ่ ส่งออกและการ ท่องเทีย ่ วนัน ่ เอง สูระดับ 0.75-1.00% ในกลางสัปดาห นี้ เนื่องจากเศรษฐกิจสหรัฐฟนตัวอยาง ตอเนื่อง อัตราการวางงานขณะที่แรง กดดันเงินเฟอเริ่มมีมากขึ้น กอปรกับ ป จ จั ย ความเสี ่ ย งต อ การฟ  น ตั ว ของ เศรษฐกิจสหรัฐ และเศรษฐกิจโลกใน ชวงนี้เริ่มคลี่คลายลง นอกจากนี้ยังมี การคาดกันวา Fed จะตัดสินใจขึ้น อัตราดอกเบี้ยอีก 1-2 ครั้ง หรืออีก 0.25-0.5% ในปนี้ FED ขึ้นอัตราดอกเบี้ย ครั้งนี้ จะดีต่อสหรัฐฯ และ ไม่กระทบไทย ถา Fed ตัดสินใจขึน้ อัตราดอกเบีย้ ในครั้งนี้อีก 0.25% ตามที่คาดกันไว จะนับเปนการขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งที่ 3 หลังจากที่อัตราดอกเบี้ยสหรัฐถูกกด ใหต่ำเตี้ยติดดินคือ 0.0-0.25% ตั้งแต ป 2552 เพือ่ แกไขปญหาวิกฤติเศรษฐกิจ

ไป เมื่อสถานการณเศรษฐกิจโลกเริ่ม คลี่คลายลง ทำให Fed ตัดสินใจขึ้น ดอกเบี้ยเปนครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2559 การขึ ้ น อั ต ราดอกเบี ้ ย ในครั ้ ง นี ้ Fed คงมองวาจะเปนสิง่ ทีด่ ตี อ เศรษฐกิจ สหรัฐ ที่จะสงสัญญาณวาเศรษฐกิจ สหรัฐฟน ตัวอยางชัดเจนแลว และ Fed คงเชื่อวาการขึ้นดอกเบี้ยไมนาจะทำให เศรษฐกิจโลกมีอาการซึมตัวหรือช็อก เศรษฐกิจโลกนาจะยังมีแนวโนมฟนตัว ขึ้นอยางตอเนื่อง สำหรับคาเงินบาท ที ่ น  า จะอ อ นค า จากการขึ ้ น ดอกเบี ้ ย ของ Fed นั้นก็สอดคลองกับภูมิภาค อี ก ทั ้ ง ยั ง เป น ผลดี ต  อ เศรษฐกิ จ ไทย เพราะเศรษฐกิจโลกฟนและบาทออน คาลง นาจะเอื้อประโยชนตอสงออก และการทองเที่ยวนั่นเอง

15


ITD Policy Brief

การเข้าสู่ตลาดอาเซียนของ ภาคบริการไทย : กรณีศึกษาธุรกิจบริการก่อสร้างและ บริการความงามไทยสู่กัมพูชา â´Â

สำนักพัฒนาองคความรู ʶҺѹÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·Èà¾×่Í¡ÒäŒÒáÅСÒþѲ¹Ò (ITD)

ความสำคัญของภาคบริการตอเศรษฐกิจไทย ปรากฏใหเห็นชัดทั้งในรายไดประชาชาติและ การจางงานของประเทศ สะทอนใหเห็นถึงความ เขมแข็งและศักยภาพของภาคเศรษฐกิจนี้ อยางไรก็ตาม การ เปดเสรีภายใตกรอบการเจรจาการคาระหวางประเทศตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งภายใตกรอบอาเซียน ทำใหภาคบริการ ของไทยตองเผชิญกับความทาทายและโอกาสใหมๆ ในตลาด ประเทศเพื่อนบาน ถึงแมวา ผูป ระกอบการไทยในสาขาบริการจะมีศกั ยภาพ สูง แตธุรกิจในสาขานี้สวนใหญมีขนาดกลางถึงขนาดเล็ก ขาดประสบการณในการดำเนินธุรกิจระหวางประเทศ ทำให การรุกหรือเจาะตลาดตางประเทศที่ผูประกอบการไมคุนเคย เปนเรื่องยาก จึงตองการการสนับสนุนอยางเปนระบบจาก ภาครัฐ นอกจากนี้ ประเทศในอาเซียนที่ผูประกอบการสาขา บริการของไทยมีความสามารถที่จะเขาไปแขงขันได ไดแก กลุมประเทศกัมพูชา สปป.ลาว เมียนมา และเวียดนาม หรือ กลุมประเทศ CLMV ซึ่งลวนแตเปนประเทศที่ถือไดวาเปน ตลาดใหม เพิ่งมีการนำระบบตลาดเขามา ดวยเหตุดังกลาว นี ้ท ำให ก ารทำงานของกลไกตลาดเสรี ย ัง ไม ม ี เ สถี ย รภาพ เทาที่ควร ทั้งในสวนของภาครัฐและเอกชน ในสวนของภาค รัฐนั้น กฎหมาย และมาตรการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการ ดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจยังมีความลาหลัง ไมทันกับการ เปลี่ยนแปลงในระบบเศรษฐกิจโลก ในบางกรณีนั้น รัฐบาล อาจจะมีการปรับปรุงหรือออกกฎหมายใหมใหสอดคลอง กับแนวปฏิบัติสากลแลว แตการนำกฎหมายมาบังคับใชยัง คงขาดความตอเนื่อง ปญหาที่รุนแรงกวานั้น คือ ความ เหลื ่ อ มล้ ำ หรื อ ความไม ย ุ ต ิธ รรมในการบั ง คั บ ใช ก ฎหมาย

16

สรางความไดเปรียบเสียเปรียบใหเกิดขึ้นแกคนบางกลุมใน ระบบเศรษฐกิจ ในสวนของภาคเอกชนนั้น ปญหาในการ บั ง คั บ ใช ก ฎหมายทำให เ กิ ด การเสนอผลประโยชน ใ ห แ ก เจ า หน า ที ่ ข องรั ฐ เพื ่ อ แลกเปลี ่ ย นกั บ สิ ท ธิ พ ิ เ ศษหรื อ การ อำนวยความสะดวกบางประการในการดำเนินธุรกิจ ประเด็นตางๆ เหลานีล้ ว นเปนอุปสรรคสำคัญทีข่ ดั ขวาง ไม ใ ห ธ ุ ร กิ จ บริ ก ารของไทยสามารถใช ป ระโยชน จ ากการ เปดเสรีการคาบริการ ขยายธุรกิจในกลุมประเทศ CLMV ได ทั้งๆ ที่มีศักยภาพที่จะสามารถทำได ในชวงที่ผานมา ไดมีความพยายามทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวของ ในการที่จะสนับสนุนและผลักดันใหผู ประกอบการสาขา บริการของไทยสามารถขยายฐานธุรกิจเขาไปในกลุมประเทศ CLMV ซึง่ ประสบความสำเร็จพอสมควร ดังจะเห็นไดจากการ ที่ธุรกิจบริการของไทยเริ่มเขาไปประกอบธุรกิจในประเทศ เหลานี้ อยางไรก็ตาม ผูประกอบการที่สามารถขยายตลาด เข า ไปได น ั ้ น ส ว นใหญ จ ะเป น ธุ ร กิ จ รายใหญ ท ี ่ ม ี ศ ั ก ยภาพ ในดานเงินทุนสูง ในขณะที่ผูประกอบการรายยอยยังคงไม สามารถเขาสูตลาดกลุมประเทศ CLMV ได ภาคบริ ก ารไทยมี ศ ั ก ยภาพในการเข า สู  ต ลาดกลุ  ม ประเทศ CLMV โดยเฉพาะอยางยิ่งตลาดกัมพูชาของธุรกิจ บริการกอสราง และบริการความงาม อยางไรก็ตาม เมือ่ ศึกษา กฎหมายหรื อ กฎระเบี ย บเฉพาะของภาคบริ ก ารก อ สร า ง และความงาม ไดพบถึงประเด็นปญหาที่สำคัญเกี่ยวกับ กระบวนการขอใบอนุ ญ าตประกอบกิ จ การก อ สร า งหรื อ ธุรกิจดานความงาม ตลอดจนการดำเนินธุรกิจในกัมพูชา ซึ่งกำหนดใหนักลงทุนจะตองปฏิบัติตามกฎหมายหรือกฎ ระเบียบในระดับประกาศหรือคำสั่งของหนวยงานที่กำกับ


photo: Created by Freepik

ITD Policy Brief

ดูแลเปนหลัก เนื่องจากลักษณะของธุรกิจมีความเกี่ยวของ กับมาตรฐานและความปลอดภัยตลอดจนสุขภาพอนามัย ของประชาชนในประเทศ จึงมีกฎระเบียบและมาตรการที่ เกี่ยวของจำนวนมากเพื่อใหผูประกอบการปฏิบัติตาม แต ประกาศหรือคำสั่งเหลานั้นกลับไมมีการเผยแพรอยางครบ ถวนจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ดังนั้น ปญหาการเขาถึงกฎ ระเบีย บของธุ ร กิจ เฉพาะจึ ง เปน อุป สรรคที่นั ก ลงทุน ควร คำนึงถึง นอกจากนี้ บางประกาศมีเนื้อหาที่ไมชัดเจนและ เนื่องจากเปนกฎระเบียบในระดับชั้นประกาศ ทำใหนักลงทุน จะตองคอยติดตามความเปลี่ยนแปลงของกฎระเบียบอยาง สม่ำเสมอ ประกอบกับกลุม ประเทศ CLMV ประสบกับปญหา การบังคับใชกฎหมายอยางจริงจัง ทำใหการตีความหรือการ ปฏิบัติตามกฎระเบียบขึ้นอยูกับประสิทธิภาพและดุลยพินิจ ของเจาพนักงาน ปจจัยเหลานีจ้ งึ อาจทำใหเกิดความไมแนนอน ในการลงทุนหรือเกิดตนทุนทางธุรกิจทีไ่ มสามารถคาดการณได นอกจากนี้ ปญหาสำคัญอีกประการที่สาขาบริการ กอสรางและสาขาบริการอื่นๆ ของไทยตองประสบ ไดแก การขาดแคลนแรงงาน ทั้งแรงงานที่มีฝมือ และแรงงานไร ฝมือ ดังนั้น เพื่อใหศักยภาพของผูประกอบการสาขาบริการ

ของไทยเปลี่ยนเปนผลประโยชนที่จับตองได โดยเฉพาะ อยางยิ่งธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งถือเปนกลไก สำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย งานวิจัยนี้จึงขอเสนอ แนะนโยบาย/แนวทางหลักๆ เพื่อตอยอดความเขมแข็ง และ บรรเทาปญหาจุดออนของธุรกิจบริการไทยในตลาดกลุม ประเทศ CLMV ดังนี้

1 ภาครัฐโดยสำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ควรเป น หน ว ยงานหลั ก ในการประสานและร ว มมื อ กั บ หนวยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงพาณิชย กระทรวง สาธารณสุข รวมกับสมาคมวิชาชีพตางๆ สมาคมอุตสาหกรรม ตางๆ ดำเนินการเก็บขอมูลเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การคาและการลงทุนในกลุมประเทศ CLMV อาทิ สิทธิ ประโยชนดานภาษีนำเขา/ภาษีการคา/ภาษีเงินไดนิติบุคคล ระเบียบการเคลื่อนยายเครื่องจักรและอุปกรณ และการ ถือครองที่ดินและอสังหาริมทรัพย พรอมทั้งมีการปรับปรุง ขอมูลใหทันสมัยและทันตอการปรับปรุงกฎหมายของกลุม 17


ITD Policy Brief

ประเทศ CLMV โดยภาครัฐควรจะเปนผูสนับสนุนดาน งบประมาณ ในขณะที่ภาคเอกชนที่เกี่ยวของประสานกับ เครือขายธุรกิจในกลุมประเทศ CLMV เพื่อเก็บขอมูลเกี่ยว กับกฎหมายตางๆ ที่ทันสมัย นอกจากนี้ ยังอาจพัฒนาไปสูการจัดตั้งศูนยที่ปรึกษา ทางกฎหมายเพื่อชวยเหลือเมื่อเกิดขอพิพาททางธุรกิจใน กลุมประเทศ CLMV และชวยเหลือในกระบวนการดาน กฎหมายอื่นๆ ตลอดจนการใหบริการนายหนาอำนวยความ สะดวกดานการติดตอกับหนวยงานในกลุมประเทศ CLMV เชน การจดทะเบียนธุรกิจบริการกอสรางในกลุมประเทศ CLMV กระบวนการขนสงวัสดุกอสรางระหวางไทยกับกลุม ประเทศ CLMV การขึ้นทะเบียนเครื่องสำอางและยาของ ไทยในกลุมประเทศ CLMV การทดลองตลาดบริการและ ผลิตภัณฑความงามไทยในกลุมประเทศ CLMV เปนตน นอกจากนี้ ยังอาจทำหนาที่เปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยน ประสบการณและขอพึงระมัดระวังในการทำธุรกิจบริการ ตางๆ รูปแบบและเงื่อนไขการทำสัญญาเชาพื้นที่ในการตั้ง สถานประกอบการบริการ เพื่อผลักดันใหเกิดการทำธุรกิจ รวมลงทุนระหวางไทยกับกลุมประเทศ CLMV

นอกจากนี้ หนวยงานภาครัฐยังอาจจะพิจารณาจัดตัง้ โครงการ ใหความชวยเหลือในรูปแบบตางๆ แกกลุมประเทศ CLMV โดยอาจจะกำหนดเปนเงื่อนไขในการรับความชวยเหลือวา จะตองมีการซื้อสินคาหรือใชบริการจากผูประกอบการไทย แนวทางดังกลาวนี้นาจะสามารถสนับสนุนใหผูประกอบการ ไทยสามารถเขาไปเปดตลาดในกลุมประเทศ CLMV และ แขงขันกับคูแขงจากประเทศอื่นได

2

ในสวนของปญหาดานแรงงานไรฝมือนั้น ภาครัฐควร ที่จะบริหารจัดการการอนุญาตใหแรงงานตางดาวเขามา ทำงานในประเทศไทยใหเปนระบบ สามารถสรางประโยชน ใหแกสาขาบริการไดอยางเต็มที่ นอกจากนี้ ภาครัฐควร กำหนดใหมีการใหสวัสดิการแกแรงงานตางดาวอยางสมเหตุ สมผล ทั้งในดานคาจางแรงงาน และคาตอบแทนอื่นๆ เพื่อ เปนการกระตุนและสรางแรงจูงใจใหแรงงานเหลานั้น มีการ พัฒนาตนเองและไมเคลือ่ นยายไปทำงานอืน่ ๆ สำหรับแรงงาน มีฝมือนั้น ปญหาสวนใหญคือการที่แรงงานมีคุณสมบัติต่ำ หรือไมตรงกับความตองการของผูป ระกอบการ ดังนัน้ ภาครัฐ โดยกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงแรงงานและหนวยงาน อื่นๆ ที่เกี่ยวของควรที่จะเรงใหความรู ปรับปรุงและพัฒนา ทักษะฝมือแรงงานโดยเฉพาะอยางยิ่งการศึกษาสายวิชาชีพ ใหตรงกับความตองการของผูประกอบการในภาคบริการ เพือ่ ใหแรงงานสามารถทำงานกับเทคโนโลยีหรือวิธกี ารทำงาน ใหมๆ นอกจากนี้ ภาครัฐยังควรทีจ่ ะกระตุน ใหผปู ระกอบการ หันมาใชเครื่องจักรแทนแรงงานในการทำงาน โดยเฉพาะ อยางยิ่งบริการกอสรางมากขึ้น โดยอาจใหการสนับสนุนดาน การเงินในรูปเงินกูดอกเบี้ยต่ำแกผูประกอบการที่ตองการ

ภาครัฐควรสงเสริมใหเกิดการสรางและการใชประโยชน จากเครือขายพันธมิตรในรูปแบบตางๆ อาทิ พันธมิตรระหวาง ผูป ระกอบการไทยกับนักธุรกิจทองถิน่ และกับสมาคมวิชาชีพ ตางๆ ของกลุมประเทศ CLMV พันธมิตรระหวางผูประกอบการไทยดวยกันเองโดยผานสมาคมธุรกิจไทยในกลุม ประเทศ CLMV เครือขายพันธมิตรตางๆ เหลานี้สามารถ ช ว ยให ผ ู  ป ระกอบการไทยรายใหม ไ ด ร ั บ ข อ มู ล เชิ ง ลึ ก ที ่ จำเปนในการเขาสูตลาดกลุมประเทศ CLMV

3 การใชความรวมมือในรูปแบบตางๆ เปนประตูนำไปสู การเขาสูตลาดบริการในกลุมประเทศ CLMV อาทิ การ ขยายความรวมมือในลักษณะรัฐตอรัฐ หรือ G to G เพื่อ แสวงหาความรวมมือที่ใกลชิด เพื่อใหในทางปฏิบัติภาค เอกชนไทยไดรับสิทธิพิเศษในกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ อาทิ การประมูลงานกอสรางภาครัฐ การจัดซื้อจัดจางตางๆ 18

4 ภาครั ฐ ควรเร ง กระชั บ ความสั ม พั น ธ ก ั บ รั ฐ บาลกลุ  ม ประเทศ CLMV เพื่อใหสามารถเขาไปมีบทบาทในการรวม จัดทำขอเสนอดานเทคนิค (Term of Reference) กับ รัฐบาลกลุมประเทศ CLMV ในการรับความชวยเหลือทาง การเงินสำหรับโครงการจากองคการระหวางประเทศ เพื่อ ใหขอเสนอดานเทคนิคดังกลาวเอื้อประโยชนตอผูประกอบ การไทย

5


photo: Created by Chevanon - Freepik.com

ITD Policy Brief

ปรับเปลี่ยนมาใชเครื่องจักร ดังนั้น นโยบายที่จะกอใหเกิดผลกระทบมากที่สุดและ จะเปนประโยชนตอผูประกอบการธุรกิจบริการ โดยเฉพาะ อยางยิง่ ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม ไดแก การทีห่ นวยงาน ภาครัฐ อาทิ สำนักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน รับผิดชอบเปนหนวยงานหลักประสานกับหนวยงานอื่นที่ เกี่ยวของ อาทิ กระทรวงพาณิชย และกระทรวงอื่นๆ รวมทั้ง สมาคมเอกชนที่เกี่ยวของกับธุรกิจเฉพาะ หรือสมาคมนัก ธุรกิจไทยในประเทศผูร บั การลงทุน จัดทำขอมูลดานกฎหมาย และกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วกับการคาและการลงทุนในธุรกิจเฉพาะ สาขาตางๆ อันจะชวยใหธุรกิจและนักลงทุนไทยสามารถ เขาถึงขอมูลเชิงลึกทางกฎหมายที่ทันสมัยซึ่งจำเปนตอการ ตัดสินใจลงทุนและดำเนินธุรกิจในสาขาเฉพาะตางๆ ผลที่ ตามมา คือ การลดอุปสรรคและสรางความไดเปรียบให แกธุรกิจไทยใหแขงขันไดในตลาดตางประเทศ การจั ด ตั ้ ง ศู น ย ร วบรวมข อ มู ล และให ค ำปรึ ก ษาใน ลักษณะนี้ นอกจากจะทำใหผูประกอบการสามารถเขาถึง ขอมูลเกี่ยวกับกฎระเบียบของประเทศตางๆ ที่ทันสมัยใน รายละเอียดแลว ผลอีกดานหนึ่งคือการสรางความมั่นใจ ใหแกธุรกิจที่ตองการจะเขาไปดำเนินธุรกิจในกลุมประเทศ CLMV ขอดีอกี ประการหนึง่ ของนโยบายนี้ คือ จะใหประโยชน

กับธุรกิจบริการในภาพรวม ไมมีสาขาใดไดรับประโยชน มากเปนพิเศษกวาสาขาอื่นๆ โดยผลประโยชนหลักๆ จะ ตกอยู  ก ั บ ผู  ป ระกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ ก ที ่ ไ ม ม ี เงินทุนเพียงพอที่จะเขาถึงเจาหนาที่หรือหนวยงานในกลุม ประเทศ CLMV และ/หรือ จางบริษัทที่ปรึกษาทางกฎหมาย หรือทางธุรกิจ เนื่องจากการดำเนินนโยบายในลักษณะนี้ขึ้นอยูกับ อำนาจหนาที่ของหนวยงานภาครัฐ และเอกชนหลากหลาย สังกัด ทำใหการตัดสินใจ การดำเนินงาน การประสานงาน ตางๆ ทำไดยาก ดังนั้น การดำเนินนโยบายนี้จึงควรเปน บทบาทของคณะกรรมการรวมภาครัฐและเอกชนเพื่อแกไข ปญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.) ซึ่งมีผูบังคับบัญชาสูงสุดจาก หนวยงานดานเศรษฐกิจทุกหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน รวมเปนกรรมการ และมีนายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ การดำเนินการอาจจะเริ่มจากการสำรวจและรวบรวม ขอมูลกฎระเบียบตางๆ ที่หนวยงาน/องคกรตางๆ ทั้งรัฐ และเอกชนมีอยูแ ลว จากนัน้ สำรวจความตองการ และประเมิน ศักยภาพของผูป ระกอบการไทยในการลงทุนและดำเนินธุรกิจ ในตางประเทศ เพือ่ จัดลำดับความสำคัญของสาขาธุรกิจ และ ประเทศที่จะเริ่มดำเนินการจัดทำฐานขอมูลกฎระเบียบเพื่อ ใหการใชงบประมาณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ 19


TDRI

การเป็นชาติการค้า กับบทบาทใหม่ของรัฐ â´Â: à´×͹ഋ¹ ¹Ô¤ÁºÃÔÃÑ¡É Ê¶ÒºÑ¹ÇÔ¨ÑÂà¾×่Í¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·Èä·Â (·Õ´ÕÍÒà äÍ)

ยุ ท ธศาสตร ช าติ 20 ป (2560-2579) กำหนดไว วา ในป พ.ศ. 2579 ระบบ เศรษฐกิจไทยจะตอง “มีความเปนชาติ การคาบนฐานการขยายตัวของการคาสง คาปลีกและเศรษฐกิจดิจทิ ลั ทีเ่ ขมขนขึน้ ” การเปน “ชาติการคาหมายถึง อะไร?” ชาติการคาหมายถึงชาติที่ตอง พึ่งพาการสงออกเปนหัวจักรในการขับ เคลื่อนเศรษฐกิจโดยพิจารณาไดจาก สัดสวนมูลคาของการคาระหวางประเทศ ตอ มูล คา ของผลิ ต ภัณ ฑม วลรวมของ ประเทศ (GDP) โดยทั่วไปแลวประเทศ ที่มีเศรษฐกิจขนาดไมใหญนักและเปน เศรษฐกิจที่เปดจะมีลักษณะที่เปนชาติ การคาเนื่องจากตองพึ่งพาการคาและ การลงทุนระหวางประเทศเปนหัวจักร ขับเคลื่อนเศรษฐกิจเนื่องจากขนาดของ ตลาดในประเทศมีขนาดที่จำกัด ประเทศที่เปนชาติการคาอาจแบง ออกไดเปนสองประเภท ประเภทแรก คือชาติการคาที่เนนเฉพาะการคามา ขายไปสินคา เนื่องจากไมมีฐานการ ผลิตสินคาในประเทศตนเองหรือมีนอ ย เชน ฮองกง และ สิงคโปรซึ่งมีสัดสวน มูลคาการคาระหวางประเทศตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศที่สูงมาก คือ 3.8 เทาในกรณีของฮองกง และ 2.5 เทาในกรณีของสิงคโปรตามที่ปรากฎ ในกราฟดานลาง เนื่องจากเปนประเทศ

20

ที่เปนเกาะ มีพื้นที่นอยจึงไมมีฐานการ ผลิตในประเทศจึงตองพึ่งพาการนำเขา และการสงออกสินคาในการสรางรายได ใหแกประเทศ ประเภทที่สอง คือ ชาติ การคาทีม่ ขี นาดของเศรษฐกิจปานกลาง ทำใหมีภาคอุตสาหกรรมการผลิตใน ประเทศ แตสดั สวนของการคาระหวาง ประเทศตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ ที่เปนชาติการคาที่มีอุตสาหกรรมภาย ในประเทศจะสูงไมเทากับในกรณีของ ชาติการคาประเภทแรก เชน เวียดนาม เนเธอรแลนด มาเลเซีย และ ไทย นอกจากนีแ้ ลว ชาติการคาประเภท ทีส่ องดังกลาว จะรวมถึงประเทศอุตสาหกรรมใหมทม่ี รี ะดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่คอนขางสูงที่มีภาคการสงออกที่แข็ง แกรง มีสินคาที่เปนที่รูจักของตลาดโลก จำนวนมาก และมีขนาดเศรษฐกิจทีค่ อ น ขางใหญทำใหสัดสวนการพึ่งพาสินคา นำเขาและสงออกลดนอยลง เชน เกาหลีใต เปนตน เปนตน ดงทปรากฎในภาพท ดังทีป่ รากฎในภาพที่ 1 ดานลาง ดานลาง

แตไมวาจะเปนชาติการคาที่มี หรือไมมีฐานการผลิตเปนของตนเอง ประเทศเหลานี้จะตองมีความสามารถ ดานการตลาด หรือที่เรียกงายๆ วาจะ ตอง “เกงคา” กลาวคือ จะตองมีความรู ความเขาใจทีล่ กึ ซึง้ เกีย่ วกับความตองการ ของตลาดสินคาในรายประเทศ กลาว คือ จะตองเขาใจเกี่ยวกับ รสนิยม กำลัง ซือ้ พฤติกรรมในการเลือกซือ้ สินคา ฯลฯ ของลูกคา นอกจากนี้แลว ยังจะตอง รูจักทั้งคูแขงและคูคาในตลาดอีกดวย ดังนัน้ บทบาทของภาครัฐในการสงเสริม ธุรกิจเอกชนจะตองมีการปรับเปลี่ยน จากเดิมที่เปนการพยายามในการหา ตลาดใหแกสินคาที่ผูประกอบการใน ประเทศผลิตขึ้นมาเปนการใหขอมูลเชิง ลึกเกี่ยวกับสภาพตลาดในรายสินคาใน ตางประเทศเพื่อที่จะใหผูประกอบการ ในประเทศสามารถผลิตสินคาหรือบริการ ที่ตอบสนองความตองการดังกลาวได จากยุ ท ธศาสตรการสรางความ ธศาสตร ก ารสร า งความ


TDRI

เขมแข็งทางการคา เกี่ยวกับแนวปฏิบัติ ทีด่ ใี นการสงเสริมการคาระหวางประเทศ ที่สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร การคา (สนค.) กระทรวงพาณิชยได มอบหมายให ทีดีอารไอ ดำเนินการ ศึกษานั้น พบวา ประเทศที่เปนชาติ การคา “แนวหนา” เชน เกาหลีใต ชิลี และ ออสเตรเลีย ลวนมีหนวยงาน ส ง เสริ ม การค า ระหว า งประเทศที ่ ม ี ขอมูลดานการตลาดเชิงลึกในรายสินคา และในรายประเทศที่สามารถใหการ สนับสนุนผูสงออกและผูลงทุนได เชน ขอมูลเกี่ยวกับอัตราการขยายตัวของ ตลาดสินคา คูแขงในตลาดจากทั้งใน ประเทศ และนอกประเทศ (สินคานำเขา) จุดออน จุดแข็งของคูแขงแตละราย กฎระเบียบหรือปจจัยตางๆ ที่อาจเปน อุ ป สรรคของผู  ป ระกอบการรายใหม รายชื่อบริษัทในประเทศที่อาจเขามา เปนผูรวมทุนหรือภาคีทางธุรกิจ ใคร เปนใครในอุตสาหรรม (who is who) กฎระเบียบการคาการลงทุนและโอกาส การลงทุน เปนตน แตเนื่องจากการทำ รายงานดานการตลาดเชิงลึกดังกลาว ตองใชทรัพยากรมาก ทั้ง KOTRA ProChile หรือ Austrade จึงมีการ แบงแยกลักษณะของบริการสงเสริมออก เปนสองประเภท ประเภทแรกคือการ ใหบริการสงเสริมในลักษณะ “ทั่วไป” เชน การจัดนิทรรศการ การใหขอมูล เกี่ยวกับสถานการณและแนวนโยบาย ทางเศรษฐกิจในประเทศคูค า กฎระเบียบ เกีย่ วกับการคา การลงทุนและการประกอบ ธุรกิจ โดยไมไดเจาะจงในรายสินคา ประเภทที่สอง คือ การใหบริการขอมูล ดานการตลาดแบบเฉพาะเจาะจง (ราย สินคา/รายประเทศ) ซึ่งมีการคิดคา บริการตามตนทุนสำหรับลูกคาทีต่ อ งการ

ขอมูลรายตลาดสินคาในเชิงลึก ในกรณี ของ Austrade นั้นหากการรองขอใหมี การประเมินตลาดดำเนินการโดยสมาคม การคาเพื่อสมาชิกจะไมมีการเก็บคา บริการ แตหากเปนคำรองขอของบริษทั ใดบริษัทหนึ่งโดยเฉพาะจะมีคา บริการ อนึ่ง การคิดคาธรรมเนียมตาม ตนทุนทำใหสามารถประเมินคุณภาพ ของรายงานตลาดที่หนวยงานสงเสริม ภาครัฐจัดทำขึ้นได เพราะหากขอมูล ดานการตลาดไมลกึ หรือไมตรงตอความ ตองการของผูใ ชขอ มูล ธุรกิจเอกชนก็จะ ไมเลือกทีจ่ ะใชบริการของหนวยงานภาครัฐ โดยอาจเลือกใชบริการของบริษทั ทีป่ รึกษา เอกชนที่แมจะมีราคาที่สูงกวา หากแต มีขอ มูลดานการตลาดทีล่ กึ และครอบคลุม มากกวา ซึ่งจะเปนการ “สงสัญญาณ” ใหหนวยงานทีจ่ ดั ทำรายงานวาจะตองมี การปรับปรุงรายงานดานการตลาดให ดีขึ้นเพื่อที่จะสามารถเปนประโยชนตอ ภาคธุรกิจไทยไดในทางปฏิบัติ การปรับเปลีย่ นแนวทางการสงเสริม การคาและลงทุนที่ใหความสำคัญแก ขอมูลการตลาดมากขึ้นมีนัยสำคัญตอ แนวทางในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องสำนักงาน สงเสริมในตางประเทศ ที่จะตองพัฒนา องคความรูเกี่ยวกับตลาดในรายสินคา ในเชิงลึกโดยตองเขาไปเชือ่ มตอกับแวดวง ธุรกิจและผูก ำหนดนโยบายในรายสาขา สินคาหรือบริการมากขึ้น เพื่อที่จะได ขอมูลเชิงลึกหรืออาจจะตองทำการสำรวจ เพือ่ ไดขอ มูลปฐมภูมทิ จ่ี ำเปน นอกจากนี้ แลว ควรมีการกำหนดรูปแบบ (template) ของรายงานดานการตลาดเชิงลึกที่สอด คลองกับความตองการของผูป ระกอบการ โดยมีการกำหนดรูปแบบรวมกันระหวาง ภาครัฐและเอกชน เชน สภาอุตสาหกรรม สภาหอการคา สภาผูสงสินคาทางเรือ

สมาคมผูประกอบการวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดยอม สมาคมไทยวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอม และ สมาคม การคา สมาคมธุรกิจรายสาขา ฯลฯ เมือ่ มี template ดังกลาวแลว มาตรฐาน ของรายงานตลาดของสำนักสงเสริมใน ทุกประเทศจะเปนมาตรฐานเดียวกัน ทำใหสามารถสรางฐานขอมูลดานการ ตลาดในรายสิ น ค า ในต า งประเทศได อยางเปนระบบ ในกรณีที่หนวยงานสงเสริมของ รัฐขาดทักษะ หรือขาดบุคลากรทีป่ ระจำ ในตางประเทศโดยเฉพาะประเทศทีเ่ ปน ตลาดใหม ที่ยังไมมีการเปดสำนักงาน ทำใหไมสามารถเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อ จัดทำรายงานดานการตลาดในเชิงลึกได รัฐอาจมีทางเลือกในการใหเงินสนับสนุน ธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอมในการ วาจางบริษัทเอกชนศึกษาตลาดในตาง ประเทศแทนก็ได สุดทาย ไมวารัฐไทยจะเลือกที่จะ ทำขอมูลดานการตลาดในเชิงลึกเอง หรือจางบริษัทเอกชนทำ และจะคิด คาธรรมเนียมอยางไร สิ่งที่สำคัญคือ ผูก ำหนดนโยบายในการสงเสริมจะตอง ตระหนักวาในการเปน ‘ชาติการคา” นั้น การตลาดตองเปนตัวนำ การผลิต เปนตัวตาม ดังนั้น ขอมูลดานการ ตลาดจึงเปนสิ่งที่มีความสำคัญอยางยิ่ง แกภาคการคาระหวางประเทศของไทย และเพื่อใหขอมูลดานการตลาดที่รัฐ จัดหาเปนประโยชนตอธุรกิจเปาหมาย จริง ควรมีการทำงานรวมกันระหวาง หนวยงานสงเสริมและภาคเอกชนในการ กำหนดรายละเอียดของขอมูลดานการ ตลาดที่รัฐควรจัดเก็บ

21


Driving towards ASEAN+

การวิเคราะห์ผลกระทบของ นโยบายการค้าของทรัมป์ ต่อการส่งออกของไทย â´Â

รองศาสตราจารย ดร.อัทธ พิศาลวานิช Èٹ ÈÖ¡ÉÒ¡ÒäŒÒÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ ไดทำการ ศึกษาและวิเคราะหผลกระทบของนโยบายการ คาของนายโดนัลด ทรัมป ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดยทำการศึกษาเฉพาะนโยบายดานการคา 3 ประเด็น ไดแก การเก็บภาษีสินคาจีน 45% การดำเนินนโยบายดานอัตรา แลกเปลีย่ นคาเงินหยวน/ดอลลารแข็งคาขึน้ การยุตกิ ารเขารวม TPP (Trans-Pacific Partnership) ของสหรัฐฯ ซึ่งในการ ศึกษาจะทำการวิเคราะหผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ตอการสงออกไทยไปยังตลาดสหรัฐและการสงออกรวมของ ไทย มีรายละเอียดดังนี้

1. ผลกระทบของนโยบายการคาตอการสงออกของไทย 1) การเก็บภาษีสินคาจีน 45% ทำการศึกษาใน 2 กรณี คือ ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับ ไทยในทางตรง กลาวคือ ถาสหรัฐฯ เก็บภาษีสินคาจีน 45% จะสงผลตอการสงออกสินคาของไทยไปสหรัฐฯ อยางไร และ กรณีที่สอง ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับไทยในทางออม ถา สหรัฐฯ เก็บภาษีสินคาจีน 45% จะสงผลตอการสงออกของ จีนไปสหรัฐฯ ลดลง ซึ่งการสงออกของจีนที่ลดลงดังกลาวจะ สงผลตอการสงออกของไทยไปจีนอยางไร และจากนั้นจะนำ ผลกระทบทั้งทางตรงและทางออมที่เกิดขึ้นมาวิเคราะหผล ตอการสงออกรวมของไทย ผลการศึกษา พบวา คือ ผลกระทบทางตรง จะสงผล ใหไทยสงออกไปสหรัฐฯ ไดเพิ่มขึ้น สินคาที่สามารถสงออก ไดเพิ่มขึ้น ไดแก เครื่องจักร และอุปกรณไฟฟา สำหรับกรณี 22

ผลกระทบทางออม พบวา ถาสหรัฐฯ เก็บภาษีสินคาจีน รอยละ 1 จะทำใหจีนสงออกไปสหรัฐฯ ลดลงรอยละ 0.3 ของมูลคาการสงออกทั้งหมดของจีนไปยังสหรัฐฯ ถาสหรัฐฯ เก็บภาษีสินคาจีน รอยละ 45 จะทำใหจีนสงออกไปสหรัฐฯ ลดลงรอยละ 11.4 และทำให GDP จีนลดลงรอยละ 1.8 สินคาที่จะไดรับผลกระทบมากที่สุด 3 อันดับแรก ไดแก เครื่องจักร เครื่องยนต อุปกรณไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และ เฟอรนิเจอร จากการสงออกของจีนที่ลดลงดังกลาวจะสงผลใหไทย สงออกไปจีนลดลงเชนกัน อยูที่รอยละ 13.3 ของมูลคาการ สงออกทั้งหมดของไทยไปจีน สำหรับสินคาที่ไดรับผลกระทบ มากที่สุดสามหมวดแรก คือ หมวดเฟอรนิเจอร ไดแก ไมแผน (เลือ่ ยตามยาว) และเคมีภณ ั ฑสำหรับเฟอรนเิ จอรไม หมวดยาง และผลิตภัณฑยาง ไดแก ยางแผน ยางแทง ยางคอมปาวด และยางสังเคราะห และหมวดพลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติก ไดแก เคมีภัณฑ และเม็ดพลาสติก ซึ่งสินคาที่ไทยสงออกไป จีนที่ไดรับผลกระทบดังกลาว เปนสินคาที่เปนวัตถุดิบในการ ผลิตซึ่งจีนนำเขาจากไทยเพื่อนำไปผลิตเปนสินคาสำเร็จรูป ตอไป ผลจากการวิเคราะหทง้ั ทางตรงและทางออมของนโยบาย เก็บภาษีสินคาจีน 45% ของสหรัฐฯ สามารถสรุปไดวาการ สงออกรวมของไทยจะลดลง 39,255 ลานบาท สินคาที่ไดรับ ผลกระทบมากที่สุด คือ เฟอรนิเจอร รองลงมา คือ ยางและ ผลิตภัณฑยาง และยานยนตและชิ้นสวน ตามลำดับ


Driving towards ASEAN+

ตารางที่ 1 สรุปผลกระทบจากนโยบายเก็บภาษีสินคาจีน 45% ตอการสงออกไทย หนวย: ลานบาท สินคา

สงออก ไปจีนลดลง (ทางออม) -3,268

สงออก สรุป ไปสหรัฐฯ เพิ่มขึ้น การสงออกไทย (ทางตรง) 17,515 20,783

85

อุปกรณไฟฟา

84

เครื่องจักร

-5,040

33,808

28,768

94

เฟอรนิเจอร

-15,757

1,542

-14,215

61,62 เสื้อผา เครื่องแตงกาย

-252

1,484

1,232

39

พลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติก

-7,872

946

-6,926

87

ยานยนตและชิ้นสวน

-7,728

641

-7,087

40

ยางและผลิตภัณฑยาง

-12,326

2,485

-9,841

อื่นๆ

-58,312

9,612

-48,700

รวม

-110,556

71,301

-39,255

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 2) การดำเนินนโยบายดานอัตราแลกเปลี่ยนคาเงิน หยวน/ดอลลารแข็งคาขึ้น การดำเนินนโยบายดานอัตราแลกเปลี่ยนคาเงินหยวน/ ดอลลารแข็งคาขึ้น ทำการศึกษาผลกระทบทั้งทางตรงและ ทางออมเชนเดียวกับประเด็นการเก็บภาษีสนิ คาจีน 45% และ สรุปผลตอการสงออกรวมของไทย สำหรับการศึกษาในประเด็น เรื่องคาเงิน ไดศึกษาใน 3 กรณี คือ อัตราแลกเปลี่ยนหยวน ตอดอลลารแข็งขึ้น 5% อัตราแลกเปลี่ยนหยวนตอดอลลาร แข็งขึ้น 10% และอัตราแลกเปลี่ยนหยวนตอดอลลารแข็งขึ้น 15% ผลการศึกษา พบวา ผลกระทบทางออม จะทำใหไทย สงออกสินคาไปจีนไดลดลงจากผลการสงออกของจีนที่ลดลง ในตลาดสหรัฐฯ และสินคาวัตถุดิบที่ไทยไดรับผลกระทบมาก ทีส่ ดุ ไดแก ไมแผน (เลือ่ ยตามยาว) เคมีภณ ั ฑสำหรับเฟอรนเิ จอร ไม ชิ้นสวนยานยนต ยางนอกอัดลมใหม ชิ้นสวนคอมพิเตอร

(Storage Units) และอุปกรณไฟฟา (คอนเดนเซอร อิวาโปเรเตอร) เปนตน สำหรับผลกระทบทางตรง จะทำใหการสงออกของไทย ไปสหรัฐฯ ลดลง สินคาทีไ่ ดรบั ผลกระทบมากทีส่ ดุ คือ อุปกรณ ไฟฟา ยางและผลิตภัณฑยาง และยานยนตและชิ้นสวน ผลจากการวิเคราะหทั้งทางตรงและทางออมของการ ดำเนินนโยบายดานอัตราแลกเปลีย่ นคาเงินหยวนตอดอลลาร แข็งคาขึ้น สงผลใหการสงออกรวมของไทยลดลง กรณีอัตรา แลกเปลีย่ นหยวนตอดอลลารแข็งขึน้ 5% จะทำใหการสงออก รวมของไทยลดลง 7,526 ลานบาท กรณีอัตราแลกเปลี่ยน หยวนตอดอลลารแข็งขึ้น 10% จะทำใหการสงออกรวมของ ไทยลดลง 10,452 ลานบาท และกรณีอตั ราแลกเปลีย่ นหยวน ตอดอลลาร แข็งขึ้น 15% จะทำใหการสงออกรวมของไทย ลดลง 13,778 ลานบาท รายละเอียดดังตารางที่ 2 23


Driving towards ASEAN+

ตารางที่ 2 สรุปผลกระทบจากเงินหยวนแข็งคาขึ้นตอการสงออกไทย หนวย: ลานบาท

สินคา

ไทยสงออก ไทยสงออก ไปจีนลดลง ไปสหรัฐฯ ลดลง สรุปการสงออกไทย (ทางออม) (ทางตรง) หยวน หยวน หยวน หยวน หยวน หยวน หยวน หยวน หยวน แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง แข็ง 5% 10% 15% 5% 10% 15% 5% 10% 15%

85 อุปกรณไฟฟา -1,452 -2,504 -3,556 -2,365 -4,730 -7,095 -3,817 -7,234 -10,651 84 เครื่องจักร

-761 -1,122 -1,482 -924 -1,848 -2,772 -1,685 -2,970 -4,254

94 เฟอรนิเจอร

-2,125 -4,251 -6,376 -155

61,62 เสื้อผา -185 เครื่องแตงกาย

-270

-309

-464 -2,280 -4,560 -6,840

-355

368

736

1,105

183

467

750

-734 -1,101

-41

-82

-123

-408

-816

-1,223

39 พลาสติกและ ผลิตภัณฑ

-367

87 ยานยนต และชิ้นสวน

-1,458 -2,917 -4,375 -1,136 -2,272 -3,407 -2,594 -5,188 -7,783

40 ยางและ 3,223 10,146 16,669 1,959 3,918 5,877 5,182 14,064 22,545 ผลิตภัณฑยาง -1,985 -3,969 -5,954 -123 -246 -369 -2,108 -4,215 -6,323 อื่นๆ รวม

-5,110 -5,620 -6,530 -2,416 -4,832 -7,248 -7,526 -10,452 -13,778

ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 3) การยุตกิ ารเขารวม TPP (Trans-Pacific Partnership) ของสหรัฐฯ ศึกษาในประเด็นความไดเปรียบและเสียเปรียบ โดยเปรียบเทียบระหวางไทยกับเวียดนามในตลาดสหรัฐฯ การศึกษาในประเด็นนี้ เลือกศึกษาเปรียบเทียบไทยกับ เวียดนาม เนื่องจากเวียดนาม มีอัตราการขยายตัวทั้งดาน การสงออกและนำเขาไปยังสหรัฐฯ เพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง และ มีโอกาสในการแยงสวนแบงตลาดสินคาของไทยในตลาดสหรัฐฯ 24

ดังนั้นการศึกษาพิจารณาจากมูลคาการสงออกของทั้งสอง ประเทศไปยังสหรัฐฯ และอัตราการขยายตัวในชวง 5 ป (ระหวางป 2550 กับ 2559) ผลการศึกษา พบวา สินคาที่ จะเสียเปรียบเวียดนามและจะสูญเสียสวนแบงตลาดสหรัฐฯ ใหแกเวียดนามมากที่สุด ไดแก เครื่องแตงกาย เนื้อสัตวและ ปลาแปรรูป อัญมณี และเฟอรนเิ จอร รายละเอียดดังตารางที่ 3


Driving towards ASEAN+

ตารางที่ 3 ผลการวิเคราะหสวนแบงตลาดสินคาไทยกับเวียดนามในตลาดสหรัฐฯ ป 2550 กับ 2559 หนวย: ลานบาท

ลำดับ รหัส รายการสินคา 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16

85 อุปกรณไฟฟา 61 แตงกาย ถักแบบนิต 64 รองเทา งกายที่ 62 แต ไมไดถักแบบนิต 94 เฟอรนิเจอร 84 เครื่องจักร 42 เครื่องหนัง 03 ปลา สัตวน้ำ 08 ผลไม 09 กาแฟ ชา ยางและ 40 ผลิตภัณฑยาง 71 อัญมณี และ 87 ยานยนต ชิ้นสวน ้อสัตวและ 16 เนื ปลาแปรรูป กและผลไม 20 ผัแปรรู ป พลาสติกและ 39 ผลิตภัณฑ พลาสติก

ไทย เวียดนาม มูลคาที่เพิ่มขึ้น/ลดลง ผลได (ลานบาท) สวนแบง สวนแบง และผลเสี ย ตลาด (%) ผลตาง ตลาด (%) ผลตาง ตอไทย (%) เวียดนาม ไทย 2550 2559 (%) 2550 2559 0.14 3.15 3.01 2.24 2.42 0.18 366,987.0 21,953.9 ไดเปรียบนอยกวา 5.68 14.24 8.56 2.77 1.54 -1.23 136,423.4 -19,607.7

เสียเปรียบ

5.37 19.16 13.79 1.34 0.38 -0.96 130,154.4 -9,061.3

เสียเปรียบ

5.69 11.90 6.21 1.97 0.69 -1.28 82,746.4 -17,054.5

เสียเปรียบ

3.00 0.11 1.61 4.95 2.82 7.69

7.01 0.77 9.00 6.15 6.14 10.94

4.01 0.65 7.39 1.19 3.32 3.26

0.90 1.85 0.85 8.04 0.51 0.49

0.46 2.37 0.87 3.44 0.57 0.12

-0.44 0.52 0.02 -4.60 0.05 -0.35

88,455.4 73,854.8 34,690.9 6,878.1 19,689.6 9,711.4

-9,705.8 เสียเปรียบ 58,812.2 ไดเปรียบนอยกวา 93.9 ไดเปรียบนอยกวา -26,524.9 เสียเปรียบ 296.4 ไดเปรียบนอยกวา -1,043.3 เสียเปรียบ

0.30 1.60 1.30 6.90 9.40 2.50 12,154.8 23,088.6 ไดเปรียบมากกวา 0.04 0.22 0.18 3.02 2.55 -0.47

4,404.2 -11,625.0

0.02 0.08 0.07 0.17 0.32 0.15

6,886.2 15,671.3 ไดเปรียบมากกวา

4.70 9.90 5.21 25.76 17.80 -7.96

8,964.1 -13,703.8

0.74 1.07 0.33 5.74 7.39 1.65

906.2

4,583.1 ไดเปรียบมากกวา

0.41 0.57 0.16 1.38 1.14 -0.24

2,808.0

-4,283.8

985,715

11,890 ไดเปรียบนอยกวา

รวม

เสียเปรียบ

เสียเปรียบ

เสียเปรียบ

หมายเหตุ: 1. เสียเปรียบ คือ ไทยมีสวนแบงตลาดลดลงจากป 2550-2559 ในขณะที่เวียดนามมีสวนแบงตลาดมากขึ้น 2. ไดเปรียบนอยกวา คือ ทั้งไทยและเวียดนามมีสว นแบงตลาดเพิ่มขึ้น แตเวียดนามมีผลตางของสวนแบงตลาด ป 2550-2559 มากกวา 3. ไดเปรียบมากกวา คือ ทั้งไทยและเวียดนามมีสวนแบงตลาดเพิ่มขึ้น แตไทยมีผลตางของสวนแบงตลาด ป 2550-2559 มากกวา ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย 25


Driving towards ASEAN+

credit : Created by Macrovector - Freepik.com

26


Driving towards ASEAN+

2. สินคากลุมเสี่ยงและกลุมที่มีโอกาส ภายใตการดำเนิน นโยบายการคาของทรัมป จากผลการวิเคราะหนโยบายการคาของทรัมปตอการ สงออกของไทยใน 3 ประเด็นดังกลาว สามารถสรุปผลกระทบ ตอสินคาสงออกของไทยได 2 กลุม คือ สินคาที่อยูในกลุม เสี่ยง และสินคากลุมที่มีโอกาส รายละเอียดดังนี้ สินคาที่อยูในกลุมเสี่ยง ไดแก  อุปกรณไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และชิ้นสวนชิ้นสวน ไดแก คอมพิเตอร (Storage Units)  พลาสติกและผลิตภัณฑพลาสติก ไดแก เคมีภัณฑ และเม็ดพลาสติก  ยางและผลิตภัณฑยาง ไดแก ยางนอกอัดลมใหม ยางผสม(คอมพาวนต) ยางแผนยางแทง ยางสังเคราะห และ ยานยนตและชิ้นสวน  ยานยนตและชิ้นสวน  สิ่งทอและเสื้อผา เครื่องแตงกาย ไดแก เครื่องแตง กายถักแบบนิตและไมถักแบบนิต เสนดาย และผาทอ  เฟอรนิเจอร ไดแก ไมแผน (เลื่อยตามยาว) และ เคมีภัณฑสำหรับเฟอรนิเจอรไม  อัญมณี และเครื่องประดับ  รองเทา  สินคาเกษตรและเกษตรแปรรูป ไดแก ปลา และ สัตวน้ำ ผลไมสด ผลไมอบแหง กาแฟ ชา และเครื่องเทศ และเนื้อสัตวแปรรูป สัตวน้ำแปรรูป สำหรับสินคากลุมที่มีโอกาส ไดแก  อุปกรณไฟฟา อิเล็กทรอนิกส และชิ้นสวน ไดแก สวนประกอบของโทรทัศนและเครื่องใชไฟฟา  เครื่องจักร ไดแก ชิ้นสวนเครื่องจักรสำหรับอุตสาหกรรม ชิ้นสวนเครื่องยนต  อุปกรณทางทัศนศาสตร เลนส กลอง  เคมีภัณฑอินทรีย  ผลิตภัณฑเหล็กหรือเหล็กกลา  เครื่องหนัง  สินคาเกษตรและเกษตรแปรรูป ไดแก ผลไมสด ผลไมอบแหง และผักและผลไมแปรรูป

3. ขอเสนอแนะ 3.1 ไทยและอาเซียนควรผลักดัน เรื่องความตกลงหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับภูมภิ าค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) 3.2 ไทยควรเรงทำ FTA กับสหรัฐอเมริกา 3.3 ไทยควรเตรียมความพรอมเรื่อง มาตรการกีดกัน ทางการคาที่มิใชภาษี เชน  การละเมิดทรัพยสินทางปญญา เชน การละเมิด ลิขสิทธิ์ผานชองทางโซเชียลมีเดีย, การลอกเลียบแบบ และ ปลอมแปลงสินคา, การลักลอบนำสินคาจากสหรัฐฯ เขามา ในไทย เปนตน  มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Standard: SPS) เชน การควบคุม สารกำจัดศัตรูพชื และสารตกคางในสินคาเกษตร, การกำหนด คา MRLs ของสารกำจัดศัตรูพืชในสินคาเกษตร และ สินคา เกษตรที่นำมาใชเปนอาหารสัตว, การควบคุมโรคที่เกิดกับ สัตว เปนตน  มาตรฐานดานสิง่ แวดลอม เชน การกำหนดคามลพิษ ที่ปลอยออกมาจากโรงงานอุตสาหกรรม, มาตรฐานการตรวจ วัดปริมาณไอเสียจากรถยนต เปนตน  มาตรฐานดานแรงงาน และ ปญหาเรือ ่ งการคามนุษย เชน การคาแรงงานในอุตสาหกรรมประมงไทย การลักลอบ คาประเวณี นายหนาจัดหาแรงงานรวมมือกับเจาหนาที่ฝาย บังคับใชกฎหมายที่ทุจริต เปนตน 3.4 พัฒนาสินคาไทยใหไดรบั การรับรองมาตรฐานความ ปลอดภัย จาก US FDA (Food and Drug Administration) 3.5 ผลักดันมูลคาสงออกในตลาดอินเดียและตะวันออก กลาง 3.6 เฝาระวังอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทและคาเงิน อาเซียน มีโอกาสจะผันผวนสูง

27


Exim Bank

จับกระแสการลดขยะอาหารกับ โอกาสทางธุรกิจอาหารยุคใหม่ â´Â: ½†ÒÂÇԨѸØáԨ ¸¹Ò¤ÒÃà¾×่Í¡ÒÃÊ‹§ÍÍ¡áÅйÓࢌÒáË‹§»ÃÐà·Èä·Â

จากข อ มู ล ขององค ก าร อาหารและเกษตรแห ง สหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) ระบุ วาขณะที่ประชากรโลกราว 800 ลาน คน ยังคงเผชิญกับความหิวโหยและ ประสบปญหาขาดแคลนอาหารอยูนั้น ราว 1 ใน 3 ของปริมาณอาหาร ทั้งหมดที่ผลิตเพื่อการบริโภค กลับ กลายเปนเศษอาหารหรือขยะอาหาร (Food Waste) ที่สูญเสียไปอยางไร ประโยชน ทั้งนี้ ขยะอาหารเกิดได จากทุ ก ขั ้ น ตอนตลอดห ว งโซ อ ุ ป ทาน ตั้งแตการผลิต ขนสง และจำหนาย ไปจนถึงมือผูบริโภค โดยสาเหตุสำคัญ นอกจากการเพาะปลูก เก็บเกี่ยว และ ขนส ง ที ่ ไ ม ม ี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจนทำให ผลผลิ ต ที ่ ไ ด ไ ม ต รงกั บ ความต อ งการ ของผูบริโภค และทำใหสินคาบางสวน เสียหายแลว พบวาความสูญเสียสวน มากเกิดจากการที่ซูเปอรมารเก็ตและ รานอาหารตางๆ มักนำอาหารทีจ่ ำหนาย ไม ห มดไปทิ ้ ง (ทั ้ ง ที ่ ย ั ง อยู  ใ นสภาพ รับประทานไดโดยปลอดภัย) เนื่องจาก สิ น ค า ดั ง กล า วมี ข นาดหรื อ รู ป ร า งไม สวยงามตามมาตรฐานที่ผูบริโภคนิยม เลือกซื้อ รวมถึงหีบหอที่บรรจุอยูใน สภาพไมสมบูรณ หรือเกินวันหมดอายุ แลว ดังนั้นจึงมีสินคาจำนวนมากที่ถูก ทิ้งในแตละวัน นอกจากนี้ กลยุทธ

28

การตลาดที่บริษัทผูผลิตกระตุนใหผู บริ โ ภคซื ้ อ อาหารในปริ ม าณมากเกิ น ความจำเปน อาทิ ซื้อ 1 แถม 1 ทำให ผูบริโภคแตละครัวเรือนตางมีอาหาร เหลือทิ้งมากเชนกัน ขยะอาหารเหลานี้ นอกจากเปนภาระในการจัดการของ ผูประกอบการและครัวเรือนแลว ยัง ก อ ให เ กิ ด ก า ซเรื อ นกระจก ซึ ่ ง เป น สาเหตุหลักของภาวะโลกรอน จากสถานการณดังกลาวกระตุน ให ส ั ง คมหั น มาให ค วามสนใจเป น อยางมากกับการหาวิธีลดปริมาณขยะ อาหาร อาทิ การจัดตั้งธนาคารอาหาร (Food Bank) ในหลายประเทศ เพื่อ ทำหน า ที ่ ร วบรวมอาหารที ่ ไ ม เ หมาะ แกการจำหนายทั้งจากซูเปอรมารเก็ต หรือรานอาหาร ไปบริจาคใหแกผูที่ ขาดแคลน การปรับปริมาณและรสชาติ ของเมนูอาหารในโรงเรียนใหตรงกับ ความต อ งการของนั ก เรี ย นมากขึ ้ น เพื่อมิใหมีอาหารเหลือทิ้งจำนวนมาก การรณรงค ใ ห ผ ู บ ริ โ ภคมี ค วามรู  แ ละ ความเขาใจฉลากสินคาถึงความแตกตาง ระหวางคำวา “Best Before” และ “Expired Date” ที่ระบุอยูบนฉลาก สินคา เพื่อลดความสับสนแกผูบริโภค กลาวคือ • Best Before หมายถึง สินคา อาหารนี้จะยังคงมีสภาพสดใหมและ คุณภาพดีหากนำมารับประทานกอน วันที่ระบุ นอกจากนี้ หลังจากวันที่

ระบุไปแลวสินคาอาหารนี้ก็ยังสามารถ รั บ ประทานหรื อ นำมาปรุ ง อาหารได ตามปกติ แตสินคาอาหารดังกลาวอาจ มีสี กลิ่น รส หรือเนื้อสัมผัส ที่ เปลี่ยนแปลงไปจากปกติบาง • Expired Date หมายถึง หลังจากวันที่ระบุแลวหามรับประทาน หรือไมควรนำมาบริโภค นอกจากนี้ หลายประเทศยังสนับสนุนการลดปริ มาณขยะอาหารอยาง จริงจังดวยการกำหนดกฎระเบียบขึ ้ น เฉพาะ อาทิ ฝรั่งเศสออกกฎหมาย ห า มซู เ ปอร ม าร เ ก็ ต ทิ ้ ง หรื อ ทำลาย อาหาร แต ใ ห น ำอาหารเหล า นั ้ น ไป บริจาคแกองคกรการกุศลและธนาคาร อาหาร เกาหลีใตติดตั้งเครื่องกำจัด ขยะเศษอาหาร RFID ในชุมชนที่อยู อาศั ย ซึ ่ ง เครื ่ อ งดั ง กล า วจะคำนวณ น้ำหนักขยะอาหารที่แตละครัวเรือน นำมาทิ้ง และออกใบเรียกเก็บเงินคา ใชจายจากเจาของขยะอาหารดังกลาว ขณะทีบ่ างรัฐในสหรัฐฯ กำหนดใหบริษทั ขนาดใหญตองแยกและ recycle ขยะ อาหาร เปนตน จากกระแสความตื ่ น ตั ว ในการ ลดขยะอาหารที่ เกิดขึ้นทั่วโลกสงผล ใหเกิดธุรกิจใหมๆ หรือการทำการตลาด ใหมๆ ที่เกี่ยวของกับการลดขยะอาหาร ที่นาสนใจ อาทิ • การจัดตัง้ ซูเปอรมารเก็ตจำหนาย ของหมดอายุ : 'Wefood' ในเมือง


Exim Bank

ที่มา : http://blog.kulikulifoods.com/wpcontent/uploads/2015/09/Food-Waste-Infographic.png

โคเปนเฮเกน ประเทศเดนมารก เปน ซู เ ปอร ม าร เ ก็ ต แห ง แรกของโลกที ่ จำหน า ยทั ้ ง อาหารหมดอายุ ท ี ่ ไ ด ร ั บ

การเก็บรักษาอยางดี อาหารที่ใกลวัน หมดอายุ หรืออาหารที่ไดรับบริจาคมา (ทั้งจากหางคาปลีกและผูผลิตอาหาร)

แต บ รรจุ ภ ั ณ ฑ ม ี ต ำหนิ ทำให ร าคา จำหน า ยสิ น ค า เหล า นี ้ ถ ู ก กว า สิ น ค า ราคาปกติถึงกวาครึ่งหนึ่ง จึงเปนที่ นิยมอยางมาก • การจัดตัง้ รานอาหารทีม่ แี นวคิด ชวยลดขยะอาหาร อาทิ ราน Rub& Stub ใชวัตถุดิบอาหารที่ไดรับบริจาค มาปรุงเปนเมนูอาหาร ราน WastED ใชวัตถุดิบที่เหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม อาหารทั ่ ว ไปมาใช ป ระกอบเป น เมนู อาหารที่เสิรฟในราน • การจัดทำ Application เพื่อ รณรงคลดขยะอาหาร ปจจุบันมีหลาก หลาย Application อาทิ Too Good To Go (TGTG) เปน Application ที่ รวบรวมลิสตรายการอาหารที่จำหนาย ไมหมดจากรานอาหาร รานกาแฟ และ รานเบเกอรี่ ที่เขารวมโครงการชวย ลดขยะอาหาร ผูใช Application ดั ง กล า วสามารถสั ่ ง ซื ้ อ สิ น ค า อาหาร ในลิสตไดในราคาถูก และไปรับสินคา ภายในเวลาที่กำหนด Love Food Hate Waste เปน Application ที่ มีสูตรอาหารมากมาย พรอมชวยใหผู ใช Application สามารถวางแผนปรุง อาหารแต ล ะเมนู ใ นปริ ม าณที ่ เ หมาะ กับจำนวนผูรับประทาน และคำนวณ หาปริมาณวัตถุดิบที่เหมาะสม เพื่อให มี ป ริ ม าณขยะอาหารที ่ ต  อ งทิ ้ ง น อ ย ที่สุด • การเปลีย่ นกลยุทธการทำตลาด อาทิ ซูเปอรมารเก็ตหลายแหงลดการ ใชกลยุทธสงเสริมการขาย “ขนาดใหญ ถูกกวา” หรือ “ซื้อ 1 แถม 1” ซึ่งมี สวนกระตุนใหแตละครัวเรือนซื้อสินคา อาหารเกินความจำเปนจนกลายเปน ขยะเหลื อ ทิ ้ ง แต ห ั น มาเน น การจั ด โปรโมชั่นจำหนายผัก-ผลไมที่ไมสวย หรือมีตำหนิในราคาพิเศษ โดยมีเปา 29


Exim Bank

Wefood เปนซูเปอรมารเก็ตเล็กๆ ในกรุงโคเปนเฮเกนซึ่งดำเนินการโดยองคกรไมแสวงหาผลกำไร สินคาที่วางจำหนายใน ซูเปอรมารเก็ตนี้เปนสินคาหมดอายุ หรือบรรจุอยูในหีบหอชำรุด มีตำหนิ มักเปนสินคาที่ไดรับบริจาคจากหางคาปลีก ผูนำเขา-สงออก และผูผลิตอาหาร สินคา เหลานี้มีราคาถูกกวาราคาสินคาตามปกติกวาครึ่งหนึ่ง พนักงานลวนเปนอาสาสมัครที่ตื่นตัวเรื่องการลดปริมาณ ขยะอาหารของโลก ทั้งนี้ รายไดสวนหนึ่งจากการดำเนินงานจะแบงใหกับหนวยงานการกุศลที่มีจุดมุงหมายจะขจัดปญหาความหิวโหยทั่วโลก ลาสุด Wefood ไดรับความนิยมมากจนเปดสาขาที่ 2 ตามมาอยางรวดเร็ว ที่มา : www. prachachat.net

หมายเพื่อลดปริมาณอาหารเหลือทิ้ง • การสนับสนุนการหอกลับบาน : รานอาหารหลายแหงในยุโรปมีมาตรการชักชวนลูกคาที่รับประทานอาหาร ไมหมดในรานใหหอกลับไปรับประทาน ตอที่บาน จากตัวอยางธุรกิจใหมๆ และการ ทำการตลาดใหมๆ ขางตน แสดงให เห็นอยางชัดเจนวากระแสการลดขยะ

อาหาร หรือ Food Waste นั้น มี พลั ง มากเพี ย งพอที ่ จ ะก อ ให เ กิ ด การ เปลี ่ ย นแปลงทั ้ ง ในส ว นของผู  ผ ลิ ต รานคา รานอาหาร ดังนั้น ถึงเวลา แลวที่ผูประกอบการและผูสงออกของ ไทยจะเริ่มพิจารณาปรับปรุงกระบวน การผลิตสินคาใหลดการสูญเสียระหวาง ผลิต หรือพัฒนาบริการใหมๆ ที่สนับ สนุนและสอดคลองไปกับแนวทางการ

ลดขยะอาหารของโลก รวมถึงการปรับ ปรุงผลิตภัณฑ อาทิ ปรับบรรจุภัณฑ ใหมีขนาดเล็กลงพอเหมาะกับการรับ ประทานใหหมดในแตละครั้ง การใช บรรจุภัณฑที่สามารถนำมา recycle ได และการติดฉลากวันหมดอายุหรือ วันที่ควรบริโภคกอนใหชัดเจน เปนตน

Disclaimer : ข้อมูลต่าง ๆ ที่ปรากฏ เป็นข้อมูลที่ได้จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และการเผยแพร่ข้อมูลเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ ในการให้ข้อมูลแก่ผู้ที่สนใจเท่านั้น โดยธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยจะไม่รับผิดชอบในความเสียหายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการที่มีบุคคลนำข้อมูลนี้ไปใช้ไม่ว่าโดยทางใด 30



Special Report

สถานการณ์ท่องเที่ยวไทย

32


Special Report

33


Special Report

34


Special Report

35


Special Report

36


Special Report

37


SMEs Competitiveness

38


SMEs Competitiveness

เพชรชุดา รัตนทารส เกษประยูร ประธานบริหารเจนใหม่ กับการปฎิรูปโรงเรียน อำนวยศิลป์ ในวัย 90 ปี สู่การเทียบชั้นสากล ¹Ñºà»š¹Ê¶ÒºÑ¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·ÕèÁÕ»ÃÐÇÑμÔâ´´à´‹¹ÂÒǹҹ¤Ù‹¶¹¹¾ÞÒä· «Ö觻‚¹Õé໚¹»‚áË‹§¡ÒÃà©ÅÔÁ©Åͧ ¤ÃºÃͺ 90 »‚ â´ÂÁÕ¼ÙŒºÃÔËÒà ¤Ø³à¾ªÃªØ´Ò ÃÑμ¹·ÒÃÊ à¡É»ÃÐÂÙà ËÅÒ¹μÒ ¤ÃÙ¨Ôμà ·Ñ§ÊºØμà ¼ÙŒ¡‹ÍμÑé§âçàÃÕ¹ ä´ŒÃѺ¡ÒÃÊ׺·Í´¡ÒúÃÔËÒÃâçàÃÕ¹ÍÓ¹ÇÂÈÔÅ»Š ʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÃдѺá¶Ç˹ŒÒ ¢Í§àÁ×ͧä·Â ã¹Çѹ·ÕèÁÕ»ÃÐÇÑμÔÂÒǹҹ¡Ç‹Ò 90 »‚ ¨Ò¡Çѹ·ÕèàÃÔèÁμŒ¹à¾×èÍ໚¹âçàÃÕ¹Ê͹¾ÔàÈÉàμÃÕÂÁ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁãËŒ à´ç¡¨Ò¡μ‹Ò§¨Ñ§ËÇÑ´·ÕèμŒÍ§¡ÒÃÊͺࢌÒâçàÃÕ¹㹡Ãا෾ Ê͹à¾Õ§Ãͺº‹Ò áÅÐÃͺ¤èÓ ãªŒàÇÅÒ 2 - 3 »‚ ¨Ö§ ÇÔÇѲ¹Ò¡ÒÃÁÒ໚¹âçàÃÕ¹Ê͹àμçÁàÇÅÒ μÑé§âçàÃÕ¹ÍÂÙ‹ÃÔÁáÁ‹¹éÓ਌ҾÃÐÂÒ ºÃÔàdz»Ò¡¤ÅͧμÅÒ´ ¡‹Í¹¨ÐŒҠÁÒÍÂÙ‹·Õèà¢μ¾ÞÒä·ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ¾ÃŒÍÁª×èÍàÊÕ§·ÕèÁÒ¨Ò¡¤ÇÒÁÊÓàÃç¨ ¡Ò÷ÓʶÔμÔ໚¹âçàÃÕ¹ÃÒɮà ·Õèà´ç¡ ÊÒÁÒöÊͺμÔ´ºÍà ´ä´ŒÍѹ´Ñº 1 áÅÐ 2 ¢Í§»ÃÐà·È μÑé§áμ‹áá¡‹ÍμÑé§âçàÃÕ¹ »˜¨¨ØºÑ¹ä´Œ¡ŒÒÇÊÙ‹¡ÒùӹÇÑμ¡ÃÃÁ ·Ò§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒà´‹¹æ ¨Ò¡μ‹Ò§»ÃÐà·ÈࢌҾѲ¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ÊÌҧ¤Ø³ÀÒ¾·ÕèÁÕÁÒμðҹÃдѺÊÒ¡Å áμ‹¼ÊÁ¼ÊÒ¹¤ÇÒÁ໚¹âçàÃÕ¹ä·Â ¡ÒÃѹμÕ¤ÇÒÁÊÓàÃ稴ŒÇ ¡ÒÃÃѺÃͧ¢Í§ÁÒμðҹâçàÃÕ¹¡ÒäԴ¨Ò¡ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ Exeter ¡ŒÒÇÊÙ¡‹ ÒÃ໚¹ First Thinking School in Asia áÅÐ Advanced Thinking School áË‹§·Õè 21 ¢Í§âÅ¡

ทำความรู้จัก CEO โรงเรียนอำนวยศิลป์

คุณเพชรชุดา รัตนทารส เกษประยูร เปนหลานคุณตา จิตร ทังสุบุตร อดีต ครู โรงเรียนสวนกุหลาบ ผูกอตั้ง โรงเรียนอำนวยศิลป คุณเพชรชุดา จบ การศึกษา M.S.C.I.S จาก Bentley College สหรัฐอเมริกา M.B.A. จาก Bowling Green State University สหรัฐอเมริกา บช.บ จุฬาลงกรณมหา วิทยาลัย เคยผานการเปนอาจารยพเิ ศษ ที ่ ค ณะพาณิ ช ยศาสตร แ ละการบั ญ ชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รับราชการใน ตำแหนงเศรษฐกร สำนักงานเศรษฐกิจ การคลัง กระทรวงการคลัง กอนจะ เขามาสานตอกิจการโรงเรียน เริ่มจาก การเปนรองผูอำนวยการฝายวางแผน และพัฒนา และผูอ ำนวยการศูนยภาษา อำนวยศิลป-เบลล โรงเรียนอำนวยศิลป เมื่อหันมาจับงานดานการศึกษา ไดมี โอกาสรวมในคณะทำงานดานทรัพยากร และการลงทุนเพือ่ การศึกษา สำนักงาน

ปฏิรปู การศึกษา ในการปฏิรปู การศึกษา ป 2542 และรับตำแหนงประธานบริหาร โรงเรียนอำนวยศิลปเมื่อป 2546 “จากยุคของคุณตา ทานทุมเท ชีวติ ใหโรงเรียนตลอดเวลา 56 ป ฝาฟน ปญหามามาก กวาอำนวยศิลปจะมี รากฐานที่เขมแข็งมาจนถึงทุกวันนี้ ใน ยุค 2 ของคุณแมและคุณนา ก็หนักมาก เพราะรัฐบาลขยายการศึกษาโรงเรียน ภาครัฐ ทำใหโรงเรียนเอกชนประสบ ปญหาพอสมควร แตทง้ั สองทานสามารถ ประคองโรงเรียนจนผานมาไดดวยการ ปรับจากโรงเรียนชายลวน เปนโรงเรียน สหศึกษา และเปดชั้นอนุบาลขึ้น เรียก วา ยุคนั้นเปนยุคปรับตัวจริงๆ รุน 3 เขามาตอยอดจากสิ่งที่ผูใหญสรางฐาน ไวให”

ประวัติย่อโรงเรียน อำนวยศิลป์

โรงเรียนอำนวยศิลป ตั้งขึ้นเมื่อป 2469 โดยในชวงแรกเปดเปนโรงเรียน

สอนพิเศษ ตอมาในป 2472 ครูจิตร ทังสุบุตร ไดรับโอนกิจการมาเปดสอน แบบเต็มเวลา โดยไดยายสถานที่ตั้ง และปลูกสรางอาคารเรียนอยูบริเวณ ปากคลองตลาดริมแมน้ำเจาพระยา การที่โรงเรียนประสบความสำเร็จ อยางสูงในชวงแรก เกิดจากการเรียนที่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สามารถ สอบไดที่ 1 ที่ 2 และมีคะแนนอยูใน ระดับตนของประเทศเปนจำนวนมาก โรงเรียนมีนักเรียนเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว และมีชื่อเสียงในดานการกีฬา สามารถ ชนะเลิศการแขงขันกีฬานักเรียนติดตอ กันหลายป โรงเรี ย นอำนวยศิ ล ป ไ ด ผ  า น วิกฤตการณหลายครั้ง ทั้งสงครามโลก ที่สงผลใหโรงเรียนทั้งประเทศตองหยุด สอนเปนระยะเวลาหลายป รวมทั้ง ภาวะป ญ หาเศรษฐกิ จ หลั ง สงคราม จนในที่สุดโรงเรียนไดยายสถานที่ตั้ง อีกครั้งหนึ่ง มาตั้งอยู ณ สถานที่ตั้ง ปจจุบัน ตั้งแตป 2496 39


SMEs Competitiveness

ในยุคของทุงพญาไท โรงเรียน อำนวยศิลปตองเรงฟนตัวจากการยาย ที่ตั้งโรงเรียน แตก็สามารถพลิกฟนจน มีชื่อเสียงจากความสำเร็จในการเรียน การกีฬาอีกครั้งหนึ่ง แตหลังป 2522 โรงเรียนอำนวยศิลป เปนอีกโรงเรียน หนึ ่ ง ที ่ ไ ด ร ั บ ผลกระทบจากนโยบาย ขยายการศึกษาภาครัฐ เชนเดียวกับ โรงเรียนเอกชนอื่นๆ ทำใหจำนวน นักเรียนลดลงรวมถึงการลาออกของ ครูเพื่อไปสอบบรรจุเปนขาราชการใน โรงเรียนรัฐบาล ประกอบกับการกำกับ ดานวิชาการทีเ่ ครงครัด เชน การพัฒนา หลักสูตร การคัดเลือกตำราประกอบ การเรียนการสอน ทำใหโรงเรียนเอกชน สูญเสียความโดดเดนและเอกลักษณ ที่เคยมี โรงเรียนจึงปรับตัวโดยการ เป ด รั บ นั ก เรี ย นหญิ ง และเป ด แผนก อนุบาลขึ้น เมื่อป 2528 และ ป 2532 ตามลำดับ ป 2539 โรงเรียนอำนวยศิลป ได ทำการปฏิรูปโรงเรียน สรางเอกลักษณ ของโรงเรียนใหชัดเจนใหมอีกครั้งดวย ภาพลั ก ษณ ข องโรงเรี ย นสองภาษาที ่ ทันสมัย มีมาตรฐานสากล เปนโรงเรียน รุนแรกที่บุกเบิกการจัดการศึกษาแบบ สองภาษา โรงเรียนไดพัฒนานวัตกรรม ดานการศึกษา ทัง้ ในดานการสอนภาษา อังกฤษ การจัดการเรียนการสอน การ ใชเทคโนโลยีในการศึกษา รวมทั้งสราง นวัตกรรมหลักสูตรเพื่อใหนักเรียนที่ จบการศึกษาสามารถมีคณ ุ วุฒเิ ทียบเทา การจบจากโรงเรียนในประเทศอังกฤษ

การสืบทอดธุรกิจ ที่ท้าทายในยุค GEN 3

คุณเพชรชุดาเลาวา ในยุคของ GEN 3 ใชวา การบริหารโรงเรียนจะ งาย การศึกษาของโรงเรียนเอกชนยัง ตองปรับตัว เพราะการแขงขันสูง มี การขยายของโรงเรียนนานาชาติ ที่

40

ผานมา รัฐไมใหความสำคัญกับโรงเรียน เอกชนของไทยจริงจัง ทั้งๆ ที่โรงเรียน เอกชนชวยแบงเบาภาระงบประมาณ ของรัฐบาลไดมาก ถาไดรบั การสนับสนุน

การสรางคุณภาพการเรียน การสอน ดวยการลงทุนสื่อเทคโนโลยีและพัฒนา บริการตางๆ ของโรงเรียน เปนการ สรางทางเลือกใหมใหแกผูปกครอง

ปี 2539 โรงเรียนอำนวยศิลป์ ได้ทำการปฏิรูป โรงเรียน สร้างเอกลักษณ์ของโรงเรียนให้ชัดเจน ใหม่อีกครั้งด้วยภาพลักษณ์ของโรงเรียนสองภาษา ที่ทันสมัย มีมาตรฐานสากล เป็นโรงเรียนรุ่นแรกที่ บุกเบิกการจัดการศึกษาแบบสองภาษา โรงเรียนได้ พัฒนานวัตกรรมด้านการศึกษา ทัง ้ ในด้านการสอน ภาษาอังกฤษ การจัดการเรียนการสอน การใช้ เทคโนโลยีในการศึกษา รวมทั้งสร้างนวัตกรรม หลักสูตรเพื่อให้นักเรียนที่จบการศึกษาสามารถมี คุณวุฒเิ ทียบเท่าการจบจากโรงเรียนในประเทศอังกฤษ พอ โรงเรียนเอกชนก็จะชวยใหคุณภาพ การศึกษาไทยดีขน้ึ เพราะโรงเรียนเอกชน ตองเนนคุณภาพ เนนความทันสมัย แตโรงเรียนอำนวยศิลป มีอำนวยศิลป มูลนิธิ ครูจิตร-ครูเอิบ ทังสุบุตร ให การสนับสนุนอยูเบื้องหลัง จึงสามารถ พัฒนาลวงหนาไปกอน ไมวาจะเปน การพัฒนาความรูความสามารถของครู

“ตอนนั้นป 2538 ตอนทำแผน พัฒนาโรงเรียน เรามองเห็นวา ภาษา อังกฤษ ตองเปนปญหาในอนาคต เพราะ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ยังไม เปนที่นาพอใจ เด็กใชภาษาอังกฤษไม ไดดี ภาษาอังกฤษจะเปนจุดออนของ การศึกษาไทย โรงเรียนไทยตองกำจัด จุดออนนี้”


SMEs Competitiveness

กระบวนการปฏิรูปสู่การ เป็นโรงเรียนระดับสากล

จึงเปนทีม่ าของการปฏิรูปโรงเรียน โดยเฉพาะดานการสอนภาษาอังกฤษ ในป 2539 จึงเปนปที่โรงเรียนอำนวยศิลป เปลี่ยนแปลงเปนโรงเรียนสอง ภาษา ถึงแมวาตองใชทุนมหาศาล แต ดวยคุณตาเปนคนทันสมัยมีการกอตั้ง มูลนิธิสนับสนุนการพัฒนาโรงเรียนไว คุณเพชรชุดา จึงใชเปนชองทางในการ ขอทุนดวยการเขียนแผนพัฒนา 10 ป จนสำเร็จ โดยนำเงินกอนดังกลาวมา ใชทั้งการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาระบบ เทคโนโลยี ปรับปรุงคุณภาพครูอยาง หนัก โดยนำองคกรจากตางประเทศ มาชวยสอนภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น ทำให

ยุคนั้น โรงเรียนอำนวยศิลป จึงเปน โรงเรียนไทยยุคแรกที่สอนสองภาษา “แนนอนวา ตองมีการศึกษาหา ขอมูลจากตางประเทศ เรามีเปาหมาย วา เราไมตองการเปนโรงเรียนที่ลาสมัย และไมตองการเปนโรงเรียนอินเตอร แตเราตองการแกปญหาใหกับโรงเรียน ไทย ตองยึดหลักสูตรไทยไวกอน แต ตองปรับหลักสูตรบาง แกไขวิธีการ สอนแบบโบราณใหได เราจึงตองมีการ หาขอมูลดวยการทำวิจัยกับการเรียน การสอนในตางประเทศ หลายรูปแบบ ตั้งแตระดับอนุบาล - ประถม - มัธยม เพื่อวิเคราะหวา จะใชวิธีไหนใหเหมาะ กับแตละระดับ”

การปฏิวัติการเรียน การสอนจาก Teacher Centered สู่ Child Centered

เราวิเคราะหวา การสอนระดับ อนุบาลควรเปน Project สอนแบบ บูรณาการไมแบงเปนรายวิชา ตองมี การนำนวัตกรรมการเรียนการสอนมา ปรับใช ซึ่งวิธีการนี้ตองอบรมครูใหม ถือเปนการปฏิวัติจากเดิมที่ครูมีสัญชาตญาณแบบ Teacher Centered ปรับไปสู Child Centered ซึ่งเปน ปรัชญาการสอนแบบตะวันตกในยุคหลัง การปฏิรูปการศึกษาในยุโรป เมื่อ 100 ปกอน เราตองปรับเปลี่ยน Mindset ของครู ไ ปสู  ก ารสอนในรู ป แบบใหม 41


SMEs Competitiveness

พรอมๆ กับการเขมงวดในการรับครูที่ ตองมีคุณภาพไดตามเกณฑ และอบรม ความเปนครูในระบบของอำนวยศิลป การรับนักเรียนอนุบาลและประถม 1 เราไมใหมีการสอบแขงขันอยางเด็ด ขาด การรับเด็กใชวธิ ที ดสอบความพรอม และการสัมภาษณผปู กครองทีม่ ที ศั นคติ ไปในทิศทางเดียวกับโรงเรียน “เราเปน Solution ของพอแม ที่ไมตองการจายเงินแปะเจี๊ยะ วิ่งเตน หรือพาลูกไปเรียนพิเศษ ติวเขา ป.1 แตถามาที่นี่ ผูปกครองตองวางแผน ลวงหนา มาติดตอกอนลูกเขา 1 - 3 ป คุยกันใหเขาใจระบบของโรงเรียน มี เปาหมายรวมกัน เราทำงานสำคัญใน การดูแลเด็กไปดวยกัน คาใชจายเปน ระบบเดียวกันหมด ถาผูปกครองพอใจ เราคือ Solution ของผูปกครอง ก็ไม ตองมีความเครียด กดดันเรื่องการหา โรงเรียนใหลูก”

อำนวยศิลป์วันนี้ บนจุดยืนที่แตกต่าง

การปฏิวตั ขิ องอำนวยศิลป มาจาก การแกจุดออน 3 ดานของการศึกษา ไทย คือ 1. การสอนภาษา อังกฤษ

42

2. วิธีการสอนของครู 3. หลักสูตร จึง เปนที่มาของรูปแบบการเรียนการสอน 2 ภาษา ที่มาจากการรวบรวมจุดเดน ทางการศึกษาของหลายประเทศ เพื่อ

เปนไทย และปฏิรูปวิธีการสอนโดย เนนการพัฒนาทักษะการคิด ซึ่งนำไปสู ผลสอบ O-NET อันดับ 1 ของโรงเรียน เอกชนทั้งประเทศ ในชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 3 ติดตอกัน ซึ่งถือเปน Niche Market ของตลาดการศึกษาไทยใน ปจจุบัน “เราถือวา เรา Achieve เปาหมาย ที ่ ท ำให โรงเรี ย นไทยมี ม าตรฐานการ เรียนการสอนเทียบเทาโรงเรียนในตาง ประเทศ และเราสามารถเปน Solution ใหกับผูปกครองที่เปนกลุมเปาหมาย” คุณเพชรชุดา CEO Gen 3 ได สรุปปดทายการทำงานอยางหนักหนวง ของเธอตลอดเวลาที่ผานมาดวยการที่ โรงเรียนอำนวยศิลป เปนโรงเรียนไทย แหงเดียวที่ไดรับการรับรองมาตรฐาน จากมหาวิทยาลัย Exeter ใหเปน

แน่นอนว่า ต้องมีการศึกษาหาข้อมูลจาก ต่างประเทศ เรามีเป้าหมายว่า เราไม่ต้องการ เป็นโรงเรียนที่ล้าสมัย และไม่ต้องการเป็นโรงเรียน อินเตอร์ แต่เราต้องการแก้ปญ ั หาให้กบ ั โรงเรียนไทย ต้องยึดหลักสูตรไทยไว้ก่อน แต่ต้องปรับหลักสูตร บ้าง แก้ไขวิธีการสอนแบบโบราณให้ได้ เราจึงต้อง มีการหาข้อมูลด้วยการทำวิจย ั กับการเรียนการสอน ในต่างประเทศ หลายรูปแบบ ตั้งแต่ระดับ อนุบาล – ประถม – มัธยม เพื่อวิเคราะห์ว่า จะใช้วิธีไหนให้เหมาะกับแต่ละระดับ นำมาปรับรวมกับจุดแข็งของอำนวยศิลป จนเปนสไตลของอำนวยศิลป ทีม่ คี ณ ุ ภาพ และมาตรฐานระดับนานาชาติ ดวย นวัตกรรมหลักสูตรสองภาษา Thai-UK curriculum ทำใหเด็กจบการศึกษา โดยมี ว ุ ฒ ิ ก ารศึ ก ษามาตรฐานสเกล IGCSE และ A level แตเนนความ

Thinking School เมื่อป 2556 และ ลาสุดไดรับการรับรองมาตรฐานใหเปน Advanced Thinking School แหงที่ 21 ของโลก ตองขอแสดงความยินดี กับความสำเร็จของนักบริหาร GEN 3 ไว ณ ที่นี้ดวย



Inspire SMEs

44


Inspire SMEs

อภิธา วัลลภศิริ เผยกลยุทธ์ขับเคลื่อน ENCONCEPT สู่ E-Academy ยุค 6G ด้วยนวัตกรรม Œ͹ËÅÑ§ä» 20 »‚ àÁ×è͹ѡ¡ÒÃμÅÒ´´ÙáÅáºÃ¹´ ÊÔ¹¤ŒÒÍØ»âÀ¤ºÃÔâÀ¤¨Ò¡¤‹Ò´ѧ ËѹÁҨѺÁ×͡ѹ ¢Ñºà¤Å×è͹¸ØáԨ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ â©Á˹ŒÒàÇ·ÕμÔÇàμÍà ¨Ö§à»ÅÕè¹ä»... ´ŒÇÂÇÔÊÑ·Ñȹ ·ÕèÇ‹Ò ÀÒÉÒÍѧ¡Äɤ×Í ¤ÇÒÁ¨Ó໚¹¢Í§»ÃÐà·Èä·Â ¨Ò¡Çѹ¹Ñ鹨¹¶Ö§Çѹ¹Õéª×èÍ ENCONCEPT ¼§Ò´¢Öé¹ã¹Ç§¡ÒÃâçàÃÕ¹μÔÇ ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉ ¾ÃŒÍÁæ¡Ñºª×èÍ ¤ÃÙ¾Õèá¹¹ ENCONCEPT μÔ´μÅÒ´Í‹ҧÃÇ´àÃçÇ ¡ÅÒÂ໚¹äÍ´ÍŢͧ¹Ñ¡àÃÕ¹¡Ç´ÇÔªÒ ÀÒÉÒÍѧ¡ÄÉã¹ÃٻẺ·Õèà»ÅÕè¹á»Å§ä»¨Ò¡à´ÔÁ â´Â¤Ø³ÍÀÔ¸Ò ÇÑÅÅÀÈÔÃÔ CCO ENCONCEPT ˹Öè§ã¹ËØŒ¹Ê‹Ç¹·ÕèÊÌҧ »ÃÒ¡®¡Òó Êǹ¡ÃÐáÊμŒÁÂÓ¡ØŒ§Í‹ҧáç ´ŒÇ¨ӹǹ 9 ÊÒ¢Ò·ÑèÇ»ÃÐà·È à¾ÃÒÐàÃçÇà¡Ô¹ä»¨¹μŒÍ§Ëѹ¡ÅѺÁÒ »®ÔÇÑμÔºÃÔËÒèѴ¡ÒÃãËÁ‹ â´Â¡ÒùӹÇÑμ¡ÃÃÁ ÃкºÊÒÃʹà·È ÁÒÍØ´ÃÍÂÃÑèÇËÅѧºŒÒ¹ ÊÙ‹¡ÒÃÊÌҧÁÙŤ‹Òà¾ÔèÁ ˹ŒÒºŒÒ¹ ¨¹Çѹ¹Õé ENCONCEPT Tutors House ¡ŒÒÇÊÙ‹ ENCONCEPT E-Academy Í‹ҧ§´§ÒÁ ´ŒÇ¨ӹǹÊÒ¢Ò ¡Ç‹Ò 37 ÊÒ¢Ò·ÑèÇ»ÃÐà·È

ทำความรู้จัก นักการตลาดผู้สร้าง แบรนด์ด้านการศึกษา คุณอภิธา วัลลภศิริ จบการศึกษา ปริญญาโท (MSc) สาขาการวิเคราะห ออกแบบ และการจัดการระบบสารสนเทศ ระหวางองคกร (Inter-organizational System) จาก London School of Economics and Political Science และไดรับทุนวิจัย จากศูนยวิจัยสหภาพยุโรปใหทำงานวิจัยที่ European Central Bank (ธนาคารกลางแหง สหภาพยุโรป, เแฟรงเฟรต ประเทศ เยอรมัน) Universita Luigi Bocconi (มิลาน ประเทศ อิตาลี) และ University of North London (ประเทศอังกฤษ) ด ว ยประสบการณ ด  า นการศึ ก ษาที ่ แนนปก จึงไมนาแปลกใจที่เนื้อหอม ไดรวมงานกับบริษัทดังขามชาติหลาย แหง อาทิ การเปนผูจัดการผลิตภัณฑ ที่ บริษัท ยูนิลีเวอร ประเทศไทย จำกัด และผูจัดการกลุมผลิตภัณฑที่

บริษัท เพอรนอต ริคารด ประเทศไทย จำกัด กอนจะตัดสินใจทำธุรกิจของ ตนเอง เมื่อป 2538 โดยรวมหุนกับ เพื่อนๆนักการตลาดกอตั้ง โรงเรียน

ยิ่งตองคิดหนักวา การบริหารแบบเดิม คงทำไมไดแลว “จากประสบการณ ค วามรู  ด  า น Information Analysis และ Social

จากประสบการณ์ความรู้ด้าน Information Analysis และ Social Science ทำให้ผมตระหนัก ว่า การ Communication เปรียบเสมือนเลือด หล่อเลี้ยงองค์กร จะทำอย่างไรให้ทุกส่วน Connect กันให้ได้ เพื่อทำให้เกิดเอกภาพ การ เติบโตของ ENCONCEPT ก็เช่นกัน จึงเป็นที่มา ของการนำ Information Technology : IT มา ปฎิวัติองค์กรทั้งหน้าบ้าน หลังบ้าน กวดวิชาภาษาอังกฤษ ENCONCEPT :สาขาแรก ที่ สยามสแควร แหลงรวม วัยรุน และโรงเรียนกวดวิชาชั้นนำ จน ประสบความสำเร็จไดกระแสตอบรับ ดีเกินคาด จนขยายเปน 8-9 สาขาทั่ว ประเทศในเวลาอันรวดเร็ว ยิ่งโตเร็ว

Science ทำใหผมตระหนักวา การ Communication เปรียบเสมือนเลือด หลอเลี้ยงองคกร จะทำอยางไรใหทุก สวน Connect กันใหได เพื่อทำใหเกิด เอกภาพ การเติบโตของ ENCONCEPT ก็เชนกัน จึงเปนที่มาของการนำ In45


Inspire SMEs

formation Technology : IT มา ปฎิวัติองคกรทั้งหนาบาน หลังบาน”

หมวกหลายใบ ใน ENCONCEPT

นอกจาก คุณอภิธา จะทำหนาที่ Chief Communications Officer หรือ CCO ที่ ENCONCEPT E-Academy แลว ยังทำหนาที่ ผูอำนวยการฝายสื่อ สารและกิจกรรม ของ ENCONCEPT E-Academy ในขณะเดียวกันก็ควบ ตำแหนง Business Director ของ Xchange English ธุรกิจใหมที่แตกตัว จากเดิม (ในเครือ ENCONCEPT) สำหรับ ผูเ รียนกลุม ผูใ หญทต่ี อ งการผานหลักสูตร และเทคโนโลยีการเรียน การสอน อาทิ TOEFL IBT, TOEIC, Business English and English for specific purpose ถึ ง จะมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบหลาย 46

หนาที่ แตหนาที่หลักคือ งานดานการ สือ่ สาร และกิจกรรม ตลอดจนการพัฒนา ดานนวัตกรรม และแผนการเรียนรูไป ยังกลุมเปาหมายของ ENCONCEPT ผานแคมเปญกิจกรรมตางๆ อาทิ กิจกรรม แขงขัน คนหาความเปนเลิศทางภาษา

อังกฤษ E-Mania และกิจกรรม CSR เพื่อสังคม อาทิ กิจกรรมชวยเหลือผู พิ ก ารทางสายตาให ม ี โ อกาสเข า ถึ ง ความรูภาษาอังกฤษ ชื่อ Visible Love เปนตน


Inspire SMEs

วิวัฒนาการ ENCONCEPT สูย ่ ค ุ 6G

จากองคความรูทางดานการตลาด ที่หุนสวนแตละคนไดนำประสบการณ จากธุรกิจการตลาดชั้นนำ จากเอเยนซี่ แถวหนา ตางนำมาประยุกตใชอยาง

ตอเนื่อง โดยมีครูพี่แนน เปน Brand Image เปนภาพจำของ ENCONCEPT ที่ทำใหภาพการเรียน การติวภาษา อังกฤษกลายเปนเรื่องสนุก และงาย จากความโดงดังดังกลาว คุณโทนี หรือ คุณอภิธา ไดไลเรียงใหฟงวา จากยุค

ความดัง ก็ยังมีการปรับปรุงพัฒนามา หลายยุค ตั้งแตยุคแรก Generation 1 (G-1) เปนการเรียนการสอนสด แบบ ดั้งเดิม คือ ครู 1 คน ในแตละหอง จน พัฒนามาในยุค Generation 2 (G-2) เปนยุคทีใ่ ช Multimedia มาชวยบันทึก ภาพการสอน โดยเผยแพรดวยระบบ คมชัดสูง ใหผูเรียนทั้งในกรุงเทพ และ ตางจังหวัดเขาถึงเนื้อหาการสอนแบบ เดียวกัน จนมาถึง Generation 3 (G-3) ยุคเทคโนโลยีที่กาวไปสูการเรียนการ สอนดวย วิดีโอ ออน ดีมานด ชวย ใหผูเรียนเลือกเรียนเมื่อตองการ และ ยุค Generation 4 (G-4) คือ ยุค E-Live Satellite การนำเทคโนโลยี หลากรูปแบบเขามา ผสมผสานเพื่อ สร า งบรรยากาศการเรี ย นที ่ ม ี ส ี ส ั น สนุก เขากับไลฟสไตลของคนรุนใหม ยุค Generation 5 (G-5) S.E.L.F. 47


Inspire SMEs

Student Extensive Learning Fitness และ Generation 6 (G-6) S.E.L.F. Revolution HD & Mobile Application & X-Class “การพั ฒ นาการจั ด ระบบเป น การนำขอมูลมาประกอบการตัดสินใจ transform การวิเคราะหเปนเชิงกลยุทธ เพื่อใชในการผลักดันใหองคกรเปลี่ยน แปลงพรอมกันทั่วประเทศในแตละยุค จะเนนใช IT ปดประตูลดการรั่วไหล หลังบาน และใชกลยุทธเชิงรุกสราง มูลคาเพิ่มใหผูเรียนที่หนาบาน”

นวัตกรรมขับเคลื่อน จาก ENCONCEPT สู่ ENCONCEPT E-Academy

เมือ่ ประเทศไทยเขาสูย คุ AEC ควบ คูไปกับการปฎิวัติดาน IT สารสนเทศ ทำใหธุรกิจการสอนภาษาอังกฤษตอง ปรับตัวตาม ยกระดับเปนภาษาอังกฤษ เขมเต็มพิกัด ถาจะเกงภาษาอังกฤษ ตองเกงใหสุด เพื่อผูเรียนตองสามารถ

48

นำมาใชเปนอาวุธที่สามารถแขงกับคน ทั่วโลกได ภาษาอังกฤษจะทำใหทะลุ พิกัดได จาก Positioning English is a Life จึงปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัย

Output Performing English การ เรียนภาษาอังกฤษผานกิจกรรมสนุก ชื่อโรงเรียน QUALIT สอนโดยครูที่มี ศักยภาพการเขาถึงเด็ก ดวยการสราง

การพัฒนาการจัดระบบเป็นการนำข้อมูลมา ประกอบการตัดสินใจ transform การวิเคราะห์ เป็นเชิงกลยุทธ์ เพื่อใช้ในการผลักดันให้องค์กร เปลี่ยนแปลงพร้อมกันทั่วประเทศในแต่ละยุค จะเน้นใช้ IT ปิดประตูลดการรั่วไหลหลังบ้าน และใช้ กลยุทธ์เชิงรุกสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผู้เรียนที่หน้าบ้าน เปน English to the MAX เปนการ พัฒนาจากโรงเรียนกวดวิชา ไปเปน ENCONCEPT E-Academy มีจำนวน สาขาทั่วประเทศ 37 สาขา โดยแบง เปนสาขาในกรุงเทพจำนวน 10 สาขา “เพื ่ อ ตอบสนองความต อ งการ ของผู  ป กครองที ่ ต  อ งการติ ด อาวุ ธ Communication Skill ภาษาอังกฤษ ใหกับลูกตั้งแตเล็ก ชวงประถมตน เรา ไดเปดโรงเรียนสอนภาษาอังกฤษแบบ

โจทยใหนักเรียนแก ไดสนุกคิด สาขา แหงแรกที่สยามสแควร ตั้งเปาเด็ก นักเรียนปละ 300 – 400 คน” นับเปนวิวัฒนาการของการเรียน รูภาษาอังกฤษที่ไมมีวันหยุดนิ่งจริงๆ นอกจากการใชนวัตกรรมในการขับเคลือ่ น ธุรกิจแลว ความสนุก และรักภาษา อังกฤษนาจะอยูใน DNA ของผูบริหาร ทุกทาน จึงขับเคลือ่ นให ENCONCEPT กาวไกลเชนนี้


IDE

นักลงทุนเป็นนางฟ้าหรือซาตาน (Angel or Demon Investors) â´Â

ดร.ศักดิพล เจือศรีกุล ¼ÙŒÍӹǡÒÃÈٹ ¡ÒÃÊÌҧ¼ÙŒ»ÃСͺ¡Ò÷Õ่¢Ñºà¤Å×่͹â´Â¹ÇÑμ¡ÃÃÁ (IDE Center)

“In every angel, a demon hides, and in every demon, and angel strides”

ในทุกๆนางฟามีซาตานซอนอยู และในทุกๆ ซาตานมีนางฟาเดินครอมอยู กลับมาอีกครัง้ นะครับ หลังจากทีผ่ มไมไดมโี อกาส ไดเขียน บทความลงถึง 2 ฉบับ เนื่องจากติด ภารกิจในการจัดงาน IDE THAILAND 2017 ซึ่ง ผมหวังวาจะเปนประโยชนใหกับผูเขารวมงานและเสริมสราง ระบบนิเวศทางการประกอบการที่ขับเคลื่อนดวยนวัตกรรม (IDE Ecosystem) ทั้งนี้ทั้งนั้นผมขอพื้นที่ในบทความนี้ขอ ขอบคุณ สำนักงานกองสลากกินแบงรัฐบาล บริษัท สิงห คอรเปอเรชั่น จำกัด และ องคกรเอกชนตางๆ ที่ใหการ สนับสนุนทำใหงานเกิดขึ้นมาอยางเปนรูปธรรม สำหรับฉบับ นี้เราจะพูดกันถึง Angel Investors ซึ่งมีบทบาทสำคัญตอ ผูประกอบการในการสรางธุรกิจใหม ในระบบนิเวศทางการประกอบการ นักลงทุนกับผู ประกอบการตางตองมีการปฏิสัมพันธกันอยางขาดไมไดเพื่อ ที่จะสรางความสำเร็จใหกับธุรกิจใหม ซึ่งทั้งนักลงทุนและผู ประกอบการตางมีความตองการที่จะสรางสิ่งใหมๆ ไมวาจะ เปนสินคาหรือบริการใหกับระบบเศรษฐกิจ แนนอนวานัก ลงทุนที่เรียกวา Angel Investor คงเปนคำที่คุนหูสำหรับ กลุมผูประกอบการรุนใหม (Young Generation) และกลุม Startup ที่เกิดขึ้น โดยสวนใหญจะทราบกันดีวา กลุมนัก ลงทุน Angel นี้เปนผูที่เขามาลงทุนในธุรกิจ Startup ใน ชวงแรก ซึ่งบางครั้งหากแปลเปนภาษาไทยตรงๆ คงอาจจะ แปลกและไมเขาทา โดยหากแปล Angel Investor ตรงๆ จะแปลวา “นักลงทุนนางฟา” (Angel แปลวา นางฟา) ซึ่ง จากคุณลักษณะของนางฟาทีม่ คี วามใจดีและชวยเหลือผูค นนัน้ หากรวมกับคำวานักลงทุนเปน Angel Investor นั้นก็จะ สะทอนถึงคนที่มีบุคลิกที่มีความใจดีที่จะชวยทางดานเงินทุน ใหแกผูประกอบการในระยะแรก ซึ่งหลายๆ ครั้งอาจจะเปน

1 http://www.unhangels.com/angels/

ระยะไอเดีย (Ideation) จนถึงการทดสอบสมมุตฐิ านของสินคา และบริการ (Validation) เลย ขึ้นอยูกับวาใครเปน Angel Investor ของผูประกอบการ ที่มาของ Angel Investor

คำวา “Angel” จริงๆ แลวมาจากโรงละครเวที Broadway ที่จำเปนจะตองใชเงินในการลงทุนทำละครและมีคนที่มีฐานะ มาชวยทางดานเงินทุนเพื่อใหเกิดการแสดงเกิดขึ้น ซึ่งคนๆ นั้นที่มาชวยดังกลาวจึงไดถูกขนานนามวา “Angel” จากนั้น คำวา “Angel Investor” ไดถูกนำมาใชครั้งแรกในป ค.ศ. 1978 โดย William Wetzel1 ซึ่งเปนผูกอตั้ง Center for Venture Research ของมหาวิทยาลัยนิวแฮมเชียร (University of New Hampshire) ซึ่ง Professor Wetzel ไดศึกษา เกีย่ วกับการระดมทุนของผูป ระกอบการวาทำอยางไรในประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งในงานวิจัยของ Professor Wetzel ได เริ่มใชคำวา Angel ในการอธิบายนักลงทุนที่ชวยสนับสนุนผู ประกอบการ จากนั้นมาคำวา Angel Investor จึงไดถูก นำมาใชในการขนานนามบุคคลที่ลงทุนใหกับผูประกอบการ ที่เริ่มตนธุรกิจ ใครเป็น Angel Investors?

ประเทศไทยยังอยูในระยะแรกของ Angel Investors เริ่มมี Website ที่สรางฐานขอมูลของคนที่เปน Angel Investors ขึ้นมา เริ่มมีขาวของ Angel Investors ในหนา หนังสือพิมพและสรางความเขาใจใหกับสังคมวา คนเหลานี้ เปนใคร ทำอะไร แลวไดอะไร จริงๆ หากถามวาใครเปน Angel Investors คงตองบอกแตกตาง Venture Capitalist 49


IDE

อยางชัดเจน โดย Angel Investors จะเปนคนดังตอไปนี้ • คนทีม่ ฐี านะ เพราะจะใชเงินของตนเองในการลงทุน • คนที่ประสบความสำเร็จมาแลวจากการสรางธุรกิจ ของตนเองมากอนจึงเขาใจถึงสถานะของผูประกอบการเริ่ม แรกหรือ Startup • คนที่ยอมรับความเสี่ยงไดมากและมีความตองการ ไมมากจากการลงทุน • เปนคนที่มีแรงจูงใจในการลงทุนไมไดมาจากกำไร เพียงอยางเดียว หากแตอยากเปดโอกาส และตองการสิ่งใหม เกิดขึ้นอยางมีคุณคา Angels and Demons Investors

หากจำหนังในป 2009 กันได มีหนังเรื่อง Angels & Demons โดยมี Tom Hank เปนนักแสดงนำ ซึ่งเปนเรื่องตอ จาก The Da Vinci Code แนนอนวาเนื้อหาในหนังพยายาม สะทอนภาพของความมืดที่อยูในความสวาง และจากการที่ พูดคุยกับคนในวงการ Startup ตางการมีเสียงสะทอนใน ดานมืดของนักลงทุนอยูเหมือนกัน ในที่นี้ผมไมสามารถสรุป ไดวามากหรือนอย แตก็มีกรณีที่ผูประกอบการขาดเงินทุน และนักลงทุนใชจังหวะดังกลาวในการเสนอเงินทุนเพื่อได สวนแบงของทุนมากกวาผูประกอบการซึ่งเปนผูกอตั้ง อยาง ที่กลาวขางตน “In every angel, a demon hides, and in every demon, and angel strides” ในทุกๆ ที่ที่มีความ สวางแนนอนวาจะมีความมืด และในทุกๆ ที่ที่มีความมืดยอม มีความสวางอยู เลยคิดวาคำวา Angel Investors บางคำ เปนคำที่กลาวเกินจริงในบางกรณี จริงอยูวา Angel Investors มีขอดีอยูหลายสวน ไมวา จะชวยใหผปู ระกอบการสามารถทีจ่ ะมีเงินทุนเขามาหมุนเวียน ในธุรกิจ และลงทุนในระยะเริ่มแรกของธุรกิจซึ่งมีความเสี่ยง อยูม าก แตกม็ ดี า นมืดอยูเ ชนกัน ดวยเหตุนเ้ี พือ่ ผูป ระกอบการ รุนใหมจำเปนจะตองตระหนักและสังเกตถึงคุณลักษณะที่ แตกตางระหวาง Angel Investors และ Demon Investors เพื่อปองกันไมใหผูประกอบการ “เห็นดอกบัวเปนกงจักร” หรือ “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” ลักษณะของ Angel Investors • ใชอารมณ สัญชาติญาณ ตัดสินใจมากกวา เหตุผล • ใหความสำคัญกับตัวผูป ระกอบการมากกวาตัวธุรกิจ “ลงทุนในคนมากกวาธุรกิจ” • กระฉับกระเฉง ชาญฉลาด และเปนคนตรง อีกทั้ง 50

ยังสนับสนุนผูประกอบการอยางจริงจัง • มีเครือขาย ในดานธุรกิจและนักลงทุนและเชื่อมโยง เครือขายใหกับผูประกอบการ • ลงทุนในคุณคาที่สรางขึ้นใหเกิดประโยชนจริงตอ สังคมและสิ่งแวดลอม

ผู้ประกอบการจำต้องใช้วิจารณญาณ ในการพิจารณาในเลือกนักลงทุน อย่างใจเย็น ซึ่งเปรียบเสมือนเลือก คู่ครองในการทำธุรกิจใหม่ ข้อตกลง ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ประกอบการกับ นักลงทุนจำเป็นต้องเกิดขึ้นจากความ เหมาะสมที่เกิดขึ้นจากทั้งสองด้าน ไม่ใช่เกิดจากการเอาเปรียบจากด้าน ใดด้านหนึ่ง ลักษณะของ Demon Investors • เอาเปรียบในสถานการณที่ผูประกอบการตกอยูใน ภาวะลำบาก • สนใจผลตอบแทนเปนทีต่ ง้ั และแทรกแซงธุรกิจอยาง ไมถูกตอง • กลับกลอก ตลบตะแลง เสแสรงและพยายามตัดผู กอตั้งออกจากธุรกิจ • มั่นใจในตัวเอง แสดงตนเหนือกวาและตองการมี สวนรวมในการตัดสินใจทุกอยาง • ลงทุนและเลนกับเกมสทางมูลคาของธุรกิจใหมที่ คาดวาจะเติบโตอยางรวดเร็ว ทายสุดนี้ผูประกอบการจำตองใชวิจารณญาณในการ พิจารณาในเลือกนักลงทุนอยางใจเย็น ซึง่ เปรียบเสมือนเลือก คูครองในการทำธุรกิจใหม ขอตกลงที่เกิดขึ้นระหวางผูประกอบการกับนักลงทุนจำเปนตองเกิดขึ้นจากความเหมาะสมที่ เกิดขึ้นจากทั้งสองดาน ไมใชเกิดจากการเอาเปรียบจากดาน ใดดานหนึง่ การเรงเพือ่ ไดเงินทุนโดยปราศจากการย้ำคิด อาจ นำมาซึ่ง Demon Investors ที่นำมาดวยปญหาอื่นๆ ที่คาด ไมถึงตามมา ถึงแมจะทำใหปญหาสภาพคลองทางการเงิน หมดไป ทั้งนี้ “เวลา” เทานั้นคงจะเปนเครื่องพิสูจนความเปน พันธมิตรระหวางผูประกอบการและนักลงทุน


IDE

IDE Corner: 24 Steps Disciplined Entrepreneurship มาทำความรูจ ้ ก ั บันไดงู 24 steps Disciplined Entrepreneurship หรือ หลักความเป็นผูป ้ ระกอบการ ทีม ่ วี น ิ ย ั กับ 24 ขัน ้ ตอนสู่ ความสำเร็จ

กอนอื่น เรามาวิเคราะหสถานการณที่ startup และผูประกอบการสวนใหญประสบปญหาหรือยังไม ประสบความสำเร็จที่ดีนักในปจจุบัน สตารทอัพและผู ประกอบการสวนใหญมีความสับสนหรือมองขามบาง กระบวนการทีส่ ำคัญบางอยางในการพัฒนา enterprise หรือ project ของตนเอง ในขณะเดียวกันก็พยายามจะ หานวัตกรรมแปลกและใหม และไมมีใครทำมากอนมา ปอนสูตลาด แตปญหาคือนวัตกรรมหรือไอเดียนั้นๆ ยัง ไมไดผานการทดสอบวาผลิตภัณฑและการบริการนั้น เปนที่ตองการหรือมีคุณคามากพอที่กลุมเปาหมายจะมา ใชสินคาหรือบริการหรือไม ในหลักการพัฒนาผูประกอบการและสตารทอัพ 24 Steps Disciplined Entrepreneurship by Bill

Aulet นี้สรางขึ้นเพื่อสตารทอัพและผูประกอบการที่ เนนการขับเคลื่อนโดยนวัตกรรม (Innovation Driven Entrepreneurship) และไดถกู เรียบเรียงไวใหเปนขัน้ ตอน ที่เขาใจงาย เรียนรูไว และเห็นภาพชัดเจน ซึ่งทำให กระบวนการการสราง enterprise ที่คุณกำลังสับสนนั้น เห็นภาพไดชัดขึ้นวาคุณอยูตรงไหนของกระบวนการ แลวตองทำอะไร อยางไรตอไปอยางเปนขั้นตอน 24 steps Disciplined Entrepreneurship นีย้ งั ถูก นำไปใชในการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย MIT ประเทศ สหรัฐอเมริกา และ IDE Center แหงมหาวิทยาลัย หอการคาไทย ใชเปนหลักในการขับเคลื่อนการสรางผู ประกอบการที่ขับเคลื่อนโดยนวัตกรรมอีกดวย

51


Family Business

ธุรกิจครอบครัว ตอน

แรงจูงใจ â´Â

ผูชวยศาสตราจารย ดร. เอกชัย อภิศักดิ์กุล ¼ÙŒÍӹǡÒÃÈٹ ¸ØáԨ¤Ãͺ¤ÃÑÇ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂËÍ¡ÒäŒÒä·Â

จากการสำรวจผูก อ ตัง้ ธุรกิจ ในสหรัฐ 549 แหง จาก หลากหลายอุตสาหกรรม พบวาสิ่งที่เปนแรงจูงใจสำคัญในการ กอตั้งธุรกิจ ไดแก สรางความร่ำรวย 74.8% การลงทุนไอเดียธุรกิจ 68.1% ตองการเปนเจาของบริษัท 64.2% ซึ่ง ธุรกิจเหลานี้จะเติบโตคงอยูตอไปไดก็ ตองอาศัยการสานตอของคนรุนถัดมา เปนที่นาสนใจวาอะไรเปนแรงจูงใจให ทายาทกาวเขามาสรางความยิ่งใหญให กับมรดกทางธุรกิจเหลานี้ โดยสวนใหญบริบทดานแรงจูงใจ ของสมาชิกในครอบครัวตอธุรกิจมักถูก มองขามไป ทายาทอาจเขามาในธุรกิจ ดวยหลายเหตุผล เชน ชวยพอแม ชวย บริษัทประหยัดงบประมาณ หารายได ใหตัวเอง การสรรหาคนนอกทำไดยาก เปนตน 7 แตไมวาสมาชิกในครอบครัว จะมีจุดเริ่มตนในการกาวเขามาอยางไร ก็ตาม หากพวกเขาพัฒนาไปเปนคนที่มี ประสิทธิภาพในการทำงาน ผูประกอบ การ ทีมผูบริหาร และครอบครัว ตอง ทำงานรวมกับสถานะพิเศษของเขาใน ฐานะของสมาชิกในครอบครัว พนักงาน และเจาของในอนาคต ดวยความเขาใจ อยางลึกซึ้งตอสถานการณพิเศษนี้ การสรางแรงจูงใจเปนกระบวนการ

52

ที่ซับซอนมาก ปจจัยจูงใจสำคัญสำหรับ พนักงานที่เปนสมาชิกในครอบครัวมี 2 ปจจัย คือ

ในธุรกิจความสามารถเปนสิง่ สำคัญ ที่สุด เงื่อนไขการไรความสามารถเปน เหตุผลที่ทำใหถูกไลออกได เปาหมาย

การพัฒนาพันธกิจครอบครัวถูกสร้างขึน ้ ร่วมกัน โดยสมาชิกทุกคนในครอบครัว ไม่ใช่เพียงเพือ ่ สร้าง ความชัดเจนในเรือ ่ งของเป้าหมาย จุดหมายและ ปทัสถานทางสังคมของธุรกิจเท่านัน ้ แต่ยง ั สามารถ จูงใจพนักงานทีเ่ ป็นสมาชิกในครอบครัวในเรือ ่ ง ผลการปฏิบต ั ง ิ านของพวกเขาด้วย 1. ความแตกตางของครอบครัว กับระบบธุรกิจ ในครอบครัว ความหวัง ความรัก และความหวงใยเปนสิ่งสำคัญที่สุด การ เปนสมาชิกคนหนึ่งไมไดสนใจที่ความ สามารถ (Competence) หรือผลิตภาพ (Productivity) เทานั้น ความสามารถ และความสำเร็จในโลกนี้ จำเปนตองได รับการสนับสนุนโดยที่ไมสูญเสียความ เปนสมาชิกคนหนึ่งของครอบครัว ใน อุ ด มคติ ค วามรั ก เป น สิ ่ ง ที ่ ป ราศจาก เงือ่ นไข และการพัฒนาการนับถือตนเอง (Self-esteem) เปนสวนหนึง่ ในเปาหมาย ของครอบครัว และครอบครัวเปนเสมือน สวรรคบนดินที่มีความปลอดภัยและ ความหวงใย

ของธุรกิจคือการสรางกำไรและสินทรัพย จากการแขงขันและสิง่ แวดลอมทีว่ นุ วาย การเปนสมาชิกคนหนึง่ ในธุรกิจเปนเงือ่ นไข ที ่ ต  อ งมี ค วามสั ม พั น ธ ก ั บ เกณฑ ก าร ประเมินการปฏิบตั งิ าน (Performance Criteria) และการพิจารณาดานตลาด (Market Considerations) ความแตก ตางที่ทุกคนในครอบครัวตองเผชิญคือ ในครอบครัว ความรัก ความหวงใยและ ความเปนสมาชิกเปนสิ่งที่ไมมีเงื่อนไข แตในธุรกิจความเปนสมาชิกเปนเงือ่ นไข ในการสรางผลงาน หากธุรกิจประสบ ความสำเร็จและสมาชิกในครอบครัว แอคทีฟ ในธุรกิจตองมีการพิสูจนความ สามารถและการทุมเทตลอดเวลา อะไร คือสิ่งจูงใจใหพวกเขากาวไปสูการเปน


Created by Freepik

Family Business

53


Family Business

คนที่มีประสิทธิภาพสูง 2. การแบงปนสำนึกแหงเปาหมาย ของบริษัท (Sense of purpose) แนวทางนี้คำตอบอยูที่การพัฒนา พันธกิจของธุรกิจครอบครัว (Family Business Mission Statement) และ การแบงปนการตัดสินใจทางธุรกิจ ขอ ความที่เปนพันธกิจของธุรกิจครอบครัว ควรไดมาจากการประชุมครอบครัวที่ ทุกคนไดรวมกันอภิปรายเหตุผลที่ทำให เกิดความสำเร็จของธุรกิจ เชนเดียวกัน กับการเขาใจจุดหมายและเปาหมายของ ธุรกิจ โดยคำนึงถึงคานิยมและปทัสถาน ทางวั ฒ นธรรมของธุ ร กิ จ ครอบครั ว พั น ธกิ จ ของบางครอบครั ว ทำให เ ห็ น คำมั ่ น ที ่ ส มาชิ ก ในครอบครั ว จะต อ ง ปฏิบัติ เชน 1) สนับสนุนกันและกันใหทำงาน สำเร็จโดยใชศักยภาพเต็มที่ 2) การใหความรักกับครอบครัว 3) หาโอกาสที่จะทำงานรวมกัน เลนดวยกันและอยูดวยกัน 4) ให โ อกาสในการสร า งสรรค พัฒนาภาวะผูน ำ และการบรรลุเปาหมาย ของแตละคน 5) สรางการสืบทอดคานิยม ตั ว อย า งพั น ธกิ จ ของครอบครั ว (Family Business Mission Statement) 1) เราจะดำเนินธุรกิจครอบครัว ตอเนื่องมากกวา 1 รุนและใหโอกาส กับคนรุนใหมตอไป 2) เราจะตัดสินดวยการพูดคุยถึง ความแตกตางของแตละคน เคารพใน สิทธิของแตละคนในการทีจ่ ะไมเห็นดวย และฝาฟนปญหาดวยวิธกี ารใหเกิดความ 54

พึงพอใจของทุกฝาย ถาไมสามารถทำ ไดตามนี้เราจะคัดสรรบุคคลภายนอก เขามาและยอมรับการตัดสินใจของเขา

การพัฒนาพันธกิจครอบครัวถูก สรางขึ้นรวมกันโดยสมาชิกทุกคนใน ครอบครัว ไมใชเพียงเพื่อสรางความ

จึงนับเป็นเรื่องท้าทายสำหรับธุรกิจครอบครัวใน การที่จะจูงใจคนที่ไม่ใช้สมาชิกในครอบครัวให้ อยากเข้ามาทำงานให้และรักษาพวกเขาไว้เมื่อมี การเปลี่ยนถ่ายโอนธุรกิจไปสู่รุ่นทายาท เพราะ พนักงานอาวุโสที่ไม่ใช่สมาชิกในครอบครัวอาจ พบว่าเป็นการยากที่จะเคารพและภักดีต่อทายาท ที่เข้ามาได้เท่าเทียมกับรุ่นพ่อแม่ ดังนั้นควรให้ สมาชิกในครอบครัวทำงานเหมือนพนักงานคน อื่นๆ และให้พนักงานทุกระดับมีส่วนร่วมในการ ตัดสินใจสำคัญ และต้องมั่นใจว่าพวกเขายังคง มีความสุขและได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรม 3) เราจะยืน่ มือไปชวยเหลือทุกคน เหมือนเปนสมาชิกในครอบครัว ไมวา จะเปนเรื่องความขัดแยงหรือความเปน ปรปกษซึ่งเกิดขึ้นในความสัมพันธทาง ธุรกิจของพวกเรา 4) เราจะสนั บ สนุ น ค า นิ ย มใน เรือ่ งของความซือ่ สัตย มีคณ ุ ธรรม ความ สามารถและความเมตตาในสวนที่เรา เกีย่ วของกับคนอืน่ ๆในธุรกิจและครอบครัว 5) เราจะสนับสนุนสมาชิกแตละ คนในการมุง สูก ารเปนคนมีความสามารถ สูงสุดในการทำงาน ชมเชยอยางจริงใจ ตอผลงาน และสนับสนุนใหแตละคนมี การพัฒนาอยางตอเนื่อง 6) เราจะใชพนักงานทีไ่ มใชสมาชิก ในครอบครัวในการสนับสนุนเปาหมาย และชวยเราดูแลธุรกิจ

ชัดเจนในเรื่องของเปาหมาย จุดหมาย และปทัสถานทางสังคมของธุรกิจเทานัน้ แตยงั สามารถจูงใจพนักงานทีเ่ ปนสมาชิก ในครอบครัวในเรื่องผลการปฏิบัติงาน ของพวกเขาดวย นอกจากนีใ้ นเรือ่ งผลตอบแทนของ ผูบริหารที่เปนเจาของยังเปนสิ่งจูงใจที่ จำเปนสำหรับการบริหารจัดการธุรกิจ ครอบครัว ดังนั้นควรมีคณะกรรมการ พิจารณาผลตอบแทนใหกับผูเกี่ยวของ ทุกคนในธุรกิจครอบครัว และที่สำคัญ ที่สุดควรแบงแยกการจัดการออกจาก ความเปนเจาของไดเด็ดขาดชัดเจน ซึ่ง จะเปนหนทางสรางประสิทธิผลใหเกิด กับกระบวนการสืบทอดธุรกิจครอบครัว ได สามารถดึงดูดสมาชิกครอบครัวให สนใจเขามาบริหารจัดการธุรกิจครอบครัว


Family Business

ใหมีความยั่งยืนตอไป พนักงานที่ไม่ใช่สมาชิกใน ครอบครัว รายงานการรับรูของพนักงานใน ธุ ร กิ จ ครอบครั ว ในอเมริ ก าชี ้ พ บว า 91% เห็นวาธุรกิจครอบครัวมอบหมาย หนาที่และความไววางใจใหพนักงาน นอยลงกวาปกอนๆ 65% เห็นวาธุรกิจ ครอบครัวไมไดแสดงจิตสำนึกที่แทจริง ของพวกเขา และ 62% เชื่อวาเจาของ ธุรกิจไมไดรกั ษาคำมัน่ ทีใ่ หไวกบั พนักงาน เสมอไป ดังนัน้ ผูบ ริหารในธุรกิจครอบครัว ควรใสใจใหมากขึ้นในการที่จะทำให พนักงานเกิดความเชื่อใจและจงรักภักดี ซึง่ จะเปนสิง่ จูงใจใหพวกเขาอยากทำงาน ใหดีขึ้น จากความจริงทีว่ า ในธุรกิจครอบครัว มีพนักงานที่ไมใชสมาชิกในครอบครัว มากกวาสมาชิกในครอบครัว การมุง สราง แรงจูงใจพนักงานในธุรกิจครอบครัวจึง แตกตางจากธุรกิจทั่วไป ปญหาดาน แรงจูงใจควรถูกแยกออกมาใหชัดเจน เชน พนักงานสนใจอะไร สถานภาพของ พนักงานเปนอยางไร ผูบริหารสามารถ กระตุนความกระตือรือรนของพนักงาน ที่ไมใชสมาชิกในครอบครัวในเรื่องงาน ปจจุบันไดอยางไร หากธุรกิจครอบครัว สามารถสรางวัฒนธรรมทีส่ ามารถแสดง ถึงความขอบคุณ เคารพ และการให อำนาจแก พ นั ก งานที ่ ไ ม ใช ส มาชิ ก ใน ครอบครัว ธุรกิจนั้นจะประสบความ สำเร็จในการเติบโต ปจจุบันพบวาบริบทของพนักงาน ที ่ ไ ม ใช ส มาชิ ก ในครอบครั ว ในธุ ร กิ จ ครอบครั ว ได ร ั บ ความสนใจน อ ยมาก

จึงมีผูทำการศึกษาขั้นตอนที่จำเปนใน การสรางแรงบันดาลใจใหแกพนักงาน ที่ไมใชสมาชิกในครอบครัว ซึ่งปจจัยที่ อาจเปนเกณฑในการจูงใจพนักงานมี ดังนี้ 1. ทัศนคติและการรับรู ผูบริหาร ที่เปนสมาชิกในครอบครัวไมควรแยก พนั ก งานที ่ ไ ม ใช ส มาชิ ก ในครอบครั ว ออกจากกลุมผูบริหารที่ทำการตัดสินใจ เพราะจะทำใหพวกเขารูสึกวาถูกแยก ออกมาจากกลุมที่มีอิทธิพลในบริษัท และควรสนับสนุนพวกเขาในเรื่องของ งานในอนาคตโดยใหขอมูลยอนกลับที่ สรางสรรคและคำชมเชย ซึ่งจะเปนวิธีที่ มีประสิทธิภาพที่สุด นอกจากนี้การรับ พวกเขาเขามาทำงานในธุรกิจครอบครัว ควรพิจารณาจากความสามารถไมใช จากความสัมพันธกับผูบริหาร 2. การมอบหมายพนั ก งานที ่ ไมใชสมาชิกในครอบครัวในเรื่องอำนาจ หนาที่และความรับผิดชอบในการตัด สินใจ ซึ่งจะมีผลทางบวกในการดึงดูด พวกเขาใหมสี ว นรวมมากขึน้ เปนเหมือน สวนสำคัญในธุรกิจครอบครัว 3. การจายมูลคาตลาด (Market value) ซึง่ เกีย่ วของกับคาตอบแทน ควร ใหคาตอบแทนที่เหมาะสมแกพนักงาน ทีไ่ มใชสมาชิกในครอบครัว และพิจารณา คาตอบแทนใหพนักงานที่เปนสมาชิก ในครอบครัวตามผลงานดวยเกณฑที่ เปนมาตรฐานเดียวกัน 4. การให ร างวั ล อย า งยุ ต ิ ธ รรม ในรู ป ของเงิ น หรื อ สิ ่ ง จู ง ใจและรั ก ษา พนักงานที่ไมใชสมาชิกในครอบครัวไว โดยใหถือหุนของบริษัท มอบความไว วางใจใหทำงานของพวกเขาจนเสร็จดวย

ความรั บ ผิ ด ชอบและอุ ท ิ ศ ตนเพื ่ อ ให บริษัทเติบโต นอกจากนี้มีงานวิจัยจำนวนมาก ที่แสดงกลยุทธสำคัญ 5 ดานที่จำเปน เมื่อตองการสรางวัฒนธรรมองคกรที่มี เปาหมายในการจูงใจพนักงานที่ไมใช สมาชิกในครอบครัวดังนี้ 1. สรางความไววางใจและความ ภักดีระหวางผูบ ริหารกับพนักงานทีไ่ มใช สมาชิกในครอบครัว หากบริษัทแสดง ความจริ ง ใจจะให ต ามความต อ งการ ของพวกเขา ก็จะไดรับการสนับสนุน และความภักดีตอบกลับมา สงผลใหได ผลิ ต ภาพมากขึ ้ น และจะสร า งสภาพ แวดลอมในการทำงานทีเ่ ปนมิตรมากขึน้ เชื่อกันวาจะลดอัดตรา Turnover และ การขาดงานไดดี 2. การแสดงใหเห็นวาบริษัทเห็น คุ ณ ค า และเคารพในพนั ก งานที ่ ไ ม ใช สมาชิกในครอบครัว การแสดงวาเห็น คุณคา เชน ชมเชยหรือแสดงความยินดี ตอหนาสาธารณชน เมือ่ พวกเขาสามารถ ทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพหรือแสดง ไอเดียสรางสรรค สิ่งเหลานี้จะทำให พวกเขารูสึกวาการที่พวกเขาชวยเหลือ บริษทั เปนสิง่ ทีส่ มควรจะทำและมีคณ ุ คา นอกจากนี้พวกเขายังจะรับรูถึงบทบาท ที่สำคัญของตนเองในบริษัทและยินดีที่ จะทำงานที่มีความทาทายมากขึ้น 3. การเติบโตยังเปนวิธีที่มีประ สิทธิภาพในการจูงใจและรักษาพนักงาน ที่ไมใชสมาชิกในครอบครัวเอาไว โดย การฝกอบรมและการใหการศึกษาแก พวกเขาเพื่อใหเติบโตอยางมืออาชีพ เปนกลยุทธการลงทุนในระยะยาว พวก เขาจะยังคงอยูกับบริษัทเมื่อพวกเขามี 55


Family Business

โอกาสพั ฒ นาตนเองให เ ก ง รอบด า น กลยุทธนี้สามารถใชเปนนโยบายในการ บริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลเพื ่ อ รั ก ษา เสถียรภาพหากเกิดวิกฤติหรือสภาพ แวดลอมในการทำงานเปลี่ยนไป 56

4. พนั ก งานที ่ ไ ม ใช ส มาชิ ก ใน ครอบครัวที่มีสวนรวมในการอภิปราย ของที ม และช ว ยทำการตั ด สิ น ใจจะ ตระหนักถึงความรับผิดชอบของพวก เขาและไดรับความเคารพจากพนักงาน

คนอื่นซึ่งเปนการพิสูจนวาคนที่มีสวน ร ว มในการตั ด สิ น ใจจะทำงานได ม ี ประสิทธิภาพกวาคนอื่นๆ 5. ผู  บ ริ ห ารควรสร า งที ม งาน ระหวางพนักงานใหกลมเกลียวกันเพื่อ


Family Business

ในครอบครัว ดังนั้นการทำงานเปนทีม จะชวยลดชองวางระหวางสมาชิกใน ครอบครัวกับพนักงานที่ไมใชสมาชิกใน ครอบครัวลงได และปรับปรุงกระบวน การบูรณาการรวมหนวยในครอบครัว เขาไปในธุรกิจ (Family integration) จึ ง นั บ เป น เรื ่ อ งท า ทายสำหรั บ ธุรกิจครอบครัวในการที่จะจูงใจคนที่ ไมใชสมาชิกในครอบครัวใหอยากเขา มาทำงานใหและรักษาพวกเขาไวเมื่อมี การเปลี่ยนถายโอนธุรกิจไปสูรุนทายาท เพราะพนักงานอาวุโสที่ไมใชสมาชิกใน ครอบครัวอาจพบวาเปนการยากที่จะ เคารพและภักดีตอทายาทที่เขามาได เทาเทียมกับรุนพอแม ดังนั้นควรให สมาชิ ก ในครอบครั ว ทำงานเหมื อ น พนักงานคนอื่นๆ และใหพนักงานทุก ระดับมีสวนรวมในการตัดสินใจสำคัญ และตองมั่นใจวาพวกเขายังคงมีความ สุขและไดรับการปฏิบัติอยางยุติธรรม เพื่อดึงดูดพวกเขาใหอยูทำงานอยาง เต็มความสามารถเพื่อองคกรตอไป

Created by Freepik

สรางสปริตในการทำงานและทำงาน รวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพ สิ่ง สำคัญในการทำงานในธุรกิจครอบครัว คือการเสนอสิ่งจูงใจภายในที่ไมจำกัด และใหรางวัลแกพนักงานที่ไมใชสมาชิก

อางอิง 1. Aronoff, C. E. and Ward, J. L. 2008. Why Continue You r Family’s Business?. Gale, Censage Learning 2. Buckman, E.S. 2010. Motivating and Retaining Non-Family Employees in Family-Owned Businesses. Buckman Associates. 3. Daily, C.M. and Dollinger, M.J. 1998. Alternative Methodologies for Identifying Family Versus Non-Family Managed

Businesses. Journal of Small Business Management. 31 (2): 79-86. 4. Deloitte and Touche, S. 1999. Are Canadian family businesses an endangered species? The first success readiness survey of Canadian family-owned business. University of Waterloo, ON: Deloitte & Touche Centre for Tax Education and Research. 5. Devries, S. 2007. Is your family business treating non-family staffers fairly?. National Jeweler; Sep2007, 101(10): 42-42. 6. Shel, H. 2009. Cited in Huong, T. L. 2001. Employee Motivation : Non-Family Members in Family Business Context. School of Business and Economics, Maastricht University. 7. Silverman, M. A. 1992. Motivation in the Family Firm. Providence Business News, 13 Apr 1992. 8. Veale J. 2007. Keeping Nonfamily Employees Satisfied. Family Business. 9. Wadhwa, V. et al. 2009. The Anatomy of an Entrepreneur : Family Background and Motivation. The Ewing Marion Kauffman Foundation.

57


YEC UPDATE

58


YEC UPDATE

ชาธิป ตั้งกุลไพศาล

ประธาน YEC สมุทรสาคร ผู้นำเวอร์ชั่นใหม่ “จิตใจสาธารณะ” ÁÒªŒÒá싪ÑÇà ¡Ñº »Ãиҹ YEC ¤¹áá ¨Ñ§ËÇÑ´ÊÁØ·ÃÊҤà áÅÐÃͧ»ÃиҹËÍ¡ÒäŒÒ¨Ñ§ËÇÑ´ ÊÁØ·ÃÊҤà ¤Ø³ªÒ¸Ô» μÑ駡ØÅä¾ÈÒÅ ¹Ñ¡¸ØáԨ¨ÔμÊÒ¸ÒóР·ÕèÁØ‹§ÁÑè¹·Ó¨ÃÔ§·Ñ駧ҹ¸ØáԨʋǹμÑÇ¡Ç‹Ò 3 ºÃÔÉÑ· ¤Ãͺ¤ÅØÁ·Ñé§ã¹ áÅй͡»ÃÐà·È ´Ù¹‹Ò¨ÐäÁ‹àËÅ×ÍàÇÅÒÇ‹Ò§ áμ‹´ŒÇ¤ÇÒÁ໚¹¹Ñ¡ºÃÔËÒÃä¿áç áÅÐãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑޡѺÊѧ¤ÁÃͺ¢ŒÒ§ ¨Ö§Í´äÁ‹ä´Œ·Õè¨Ð¨Ñ´ÊÃÃàÇÅÒãËŒ ¨¹»˜¨¨ØºÑ¹ ¤Ø³âÍÁÃѺμÓá˹‹§·Ò§Êѧ¤Á㹠ͧ¤ ¡ÃËÅÒÂáË‹§·Ñ駴ŒÒ¹¡ÒäŒÒ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¡ÕÌҢͧ¨Ñ§ËÇÑ´ÊÁØ·ÃÊҤà ÃÇÁáŌǶ֧ 13 áË‹§!!! Å‹ÒÊØ´¡Ñºº·ºÒ·ãËÁ‹ ·Õèä´ŒÃѺàÅ×Í¡μÑé§ãˌ໚¹ “»Ãиҹ YEC ÊÁØ·ÃÊҤÔ ¤Ø³âÍÁãËŒ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑÞÁÒ¡·Õè¨ÐÊÌҧ¹Ñ¡¸ØáԨãËÁ‹ ์¹¤Ø³ÀÒ¾ äÁ‹à¹Œ¹»ÃÔÁÒ³ ·ÕèÊÓ¤ÑÞμŒÍ§ÁÕ¨ÔμÊÒ¸ÒóоÌÍÁÊÅÐàÇÅÒ·Ó§Ò¹à¾×èÍÊÌҧÊÃä Êѧ¤Á·Õè´Õ áÅÐÊ‹§¡ÃÃÁ¡Òà ½˜§μÑǪ‹Ç§ҹ㹷ء¤³Ð·Ó§Ò¹¢Í§¨Ñ§ËÇÑ´ áÅÐËÍ¡ÒäŒÒ¨Ñ§ËÇÑ´ à¾×èÍËÇѧ¹Ó¤¹ÃØ‹¹ãËÁ‹Ã‹ÇÁÊÌҧÊÃä áÅоѲ¹Ò Êѧ¤Á·Ñ¹ÂؤÊÁÑ ä·ÂᏴ 4.0

ที่มาของประธาน YEC สมุทรสาคร คนแรก คุณชาธิป ตั้งกุลไพศาล หรือ คุณโอม เปนชาวหาดใหญโดยกำเนิด ครอบครั ว เป น เจ า ของธุ ร กิ จ ประมง แพปลาสงออกไปยังประเทศมาเลเซีย หลั ง จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี ทางดานการเงิน มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร คุณโอมตัดสินใจเริ่มงานแรก ในชีวิต กับการชวยงานธุรกิจครอบครัว ทุกอยางชวงสั้นๆ 6-7 เดือน กอนจะ หั น มาจั บ มื อ ก อ ตั ้ ง ธุ ร กิ จ ตรายางกั บ หุนสวนชาวตางชาติ ตั้งแตวัย 22 ป “เปนชวงทดลอง พอผมทำงาน ครอบครัวเสร็จ มีเวลาวางชวงวันหยุด ยาว ผมจะจับรถเมลขึ้นกรุงเทพ เคย เดิ น ขายตรายางตามย า นต า งๆ ใน

กรุงเทพ จนเห็นทิศทางวา ธุรกิจ นาจะไปได ผมกับเพื่อนจึงชวนกันตั้ง บริษัทที่กรุงเทพ ชื่อ P&D Printing Solution จำกัด” แตกแล้วโต จากธุรกิจแรก ขยายสู่ธุรกิจต่อมา บริษทั แรกทีต่ ง้ั คือ P&D Research (THAILAND) โดยการรวมทุน กับ ตางประเทศ เพื่อนำเทคโนโลยี การ ผลิตแมพิมพ โพลีเมอร สำหรับงาน บรรจุภัณฑและตรายาง เขามาใน ประเทศไทย ในอัตราสวน 51:49 ซึ่ง บริษัทนี้ เนนไปดานการขายเครื่องจักร และวั สดุอุปกรณส ำหรับการผลิตแม พิมพ เปนหลัก บริษัทที่สองที่ตั้งเพื่อขยายการ ทำตลาด มากขึ้น คือ บริษัท Flexo

Graphic จำกัด กอตั้งในป พ.ศ 2545 โดยเปนการลงทุนเอง 100% โดยมี โรงงานที่เปนสำนักงานใหญ อยูที่นิคม อุตสาหกรรมสินสาคร โดยเนนไปที่ การออกแบบและผลิตแมพิมพสำหรับ งานบรรจุภัณฑ โดยเฉพาะ กลอง กระดาษลูกฟูก ปจจุบันบริษัทนี้มีการ ขยาย จนกลายเปนบริษัทหลักของ กลุมธุรกิจที่ขยายสาขาครอบคลุมทั้ง ในประเทศและตางประเทศ โดยใน ประเทศ มี 4 แหง คือ สมุทรสาคร ปทุมธานี ชลบุรี และ โคราช ขณะที่ การลงทุนในตางประเทศ เริ่มตน รวม ทุนกับทางมาเลเซียและสิงคโปร ใน นามกลุม P&D Flexo Graphic ลงทุน ในประเทศจีน กวา 20 โรงงาน ในป 2548 ซึ่งเปนครั้งแรกกับการลงทุนใน ตางประเทศ แตไมประสบความสำเร็จ 59


YEC UPDATE

นัก กอนที่จะลงทุนอีกครั้งดวยตัวเอง ในป 2553 ในประเทศเวียดนาม ซึ่ง ทางเราถือหุน 100% ในชื่อ Flexo Graphic(Vietnam) ซึ่งปจจุบันมี 2 โรงงาน ที่ โฮจิมินท และ ฮานอย และอีกครั้งในป 2556 เขารวมทุนกับ ทางกลุม Partner ในมาเลเซีย โดย การเขาไปบริหารโรงงานอีก 4 แหง ในประเทศมาเลเซีย และเปลี่ยนชื่อ โรงงานทั้งหมด เปน Flexo Graphic holding (Malaysia), Flexo Graphic (Penang) ,Flexo Graphic (Malaca). และ Flexolution (Johor Baru) ขณะที่ในป 2560 เตรียมลงทุน ใน ประเทศพมา หลังจากที่เริ่มธุรกิจกับ ประเทศพมา มาเกือบ 2 ป ปจจุบัน กลุมบริษัท Flexo Graphic ถือวา มี ส ั ด ส ว นทางธุ ร กิ จ สู ง ที ่ ส ุ ด ในเอเซี ย ตะวันออกเฉียงใต ครอบคลุมทั้ง 10 ประเทศ ตอมากอตั้งบริษัทที่ 3 P&D printing solution เปนบริษัทลูกของ Flexo Graphic ดำเนินธุรกิจ ซื้อมา ขายไป วัสดุและอุปกรณดานการพิมพ 60

งานดานบริการอื่นๆ ที่ไมเกี่ยวของกับ การผลิต และบริษัทที่ 4 คือ Print For First ผลิตสื่อสิ่งพิมพ งานพิมพ และ บรรจุภัณฑ

ของธุรกิจสิ่งพิมพในนิคมอุตสาหกรรม สินสาคร กับตำแหนงประธานชมรม ผู  ป ระกอบการ นิ ค มอุ ต สาหกรรม สินสาครเพื่อรวมกันแกปญหาแรงงาน และตำแหนงทางสังคมอีกมากมาย อาทิ

คุณสมบัติแรกของสมาชิก YEC คือ มีใจพร้อม เสียสละเพื่อสังคม หรือนิยาม “จิตสาธารณะ” ส่วน เรื่องการสร้าง Connection คงเป็นเรื่องตามมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมาชิก YEC ทุกคนต้องพร้อม ทำงานควบคู่ไปกับหอการค้าจังหวัด จะเห็นได้ว่า ปัจจุบันสมาชิก YEC สมุทรสาคร 80 คนที่คัดสรร มาแล้วยังได้เข้าไปเป็นกรรมการทุกหน่วยงาน การค้า การลงทุน การท่องเที่ยว และด้านต่างๆ ใน จังหวัดสมุทรสาคร แม้แต่หน่วยงานประชารัฐก็ตาม ถึงงานธุรกิจจะแน่นมาก แต่งานสังคมก็ไม่ขาด ไมวาจะอยูในสังคมใด คุณโอม จะตองเปนหนึ่งในการมีสวนรวมดวย ชวยสังคมเสมอ ไมวา จะเปนการรวมกลุม

ผูแทนมนตรี สหพันธอุตสาหกรรมการ พิพม เลขาธิการสมาคมบรรจุภัณฑ ลูกฟูกไทย และอีกมายมาย รวม 13 ตำแหนง โดยเฉพาะอยางยิ่งตำแหนง รองประธานหอการคาจังหวัดสมุทรสาคร


YEC UPDATE

ที่เขารวมเมื่อ 4 ปที่แลว กับตำแหนง ลาสุดคือ ประธาน YEC สมุทรสาคร ที่เพิ่งรับตำแหนงเมื่อปที่ผานมา และ ได ส ร า งผลงานโดดเด น ร ว มกั บ กลุ  ม สมาชิก แกปญ  หาราคาเกลือตกต่ำ เพราะ เกลือลนตลาด ดวยกลยุทธการสราง Added Value สรางแบรนด และเจาะ กลุม บริการสปา แปลงตลาดอุตสาหกรรม ไปเปนธุรกิจบริการ ในชือ่ “สมุทรสาคร Sea Salt” ทำใหหอการคาสมุทรสาคร ไดรับการคัดเลือกใหเปน หอการคา จังหวัดตัวอยาง 1 หอการคา 1 สหกรณ เมื่อปที่ผานมา

แนวคิดการบริหาร YEC สมุทรสาคร ในฐานะประธาน YEC สมุทรสาคร คนแรก คุณโอมไดมีโอกาสที่ไดเขา ประชุมหอการคาไทย และไดยึดถือ การเปลี่ยนแปลงองคกร YEC ใหเปน องคกรคุณภาพ เนนคัดนักธุรกิจรุน ใหมที่มีคุณภาพ มากกวาปริมาณ โดย วิธีคิดก็เปลี่ยนไป เริ่มจากวัตถุประสงค แรก คุณสมบัติแรกของสมาชิก YEC คือ มีใจพรอมเสียสละเพื่อสังคม หรือ นิยาม “จิตสาธารณะ” สวนเรื่องการ สราง Connection คงเปนเรื่องตาม

มา โดยเฉพาะอยางยิ่งสมาชิก YEC ทุ ก คนต อ งพร อ มทำงานควบคู  ไ ปกั บ หอการคาจังหวัด จะเห็นไดวา ปจจุบัน สมาชิก YEC สมุทรสาคร 80 คนที่ คัดสรรมาแลวยังไดเขาไปเปนกรรมการ ทุกหนวยงานการคา การลงทุน การ ทองเที่ยว และดานตางๆ ในจังหวัด สมุทรสาคร แมแตหนวยงานประชารัฐ ก็ตาม “เปาหมายของเราคือ ตองการ ให YEC สมุทรสาคร เปนนักธุรกิจรุน ใหมภายใตหอการคาจังหวัด เพื่อทำ ธุรกิจเกื้อหนุนดานเศรษฐกิจ นอกจาก เปนกำลังขับเคลื่อนกลุม YEC และ ชวยเปนกำลังความคิดใหแกหอการคา จังหวัด ยุทธศาสตรของเราจะสงสมาชิก เขาไปเปนกรรมการทุกชุด มีรองประธาน ดูแลงานครอบคลุม 8 ดานเพื่อทำงาน ควบคู  ไ ปกั บ รองประธานหอการค า จังหวัด เพราะเรามองวา คนรุนใหม คือ ผูที่จะถูกปลูกฝงใหเปนกรรมการ หอการคา ที่จะทำหนาที่ขับเคลื่อน หอการคาในอนาคต ประเทศไทยยุค 4.0 จังหวัดต้อง 4.0 โดยมีคนรุ่นใหม่ไฟแรง YEC ขับเคลื่อน วิสัยทัศน คุณโอม ชาธิป ประธาน YEC สมุทรสาคร มองวา หอการคาไทย จะขับเคลื่อนไดงายขึ้นจากหอการคา จังหวัดที่เขมแข็ง โดยมี YEC เปนสวน สำคัญในการขับเคลือ่ นนโยบาย ประเทศ ไทย 4.0 เพื่อทำใหประเทศไทยแขงขัน ไดในโลกยุคดิจิทัล ระดับจังหวัดก็ตอง เปน จังหวัด 4.0 และ YEC คือ คนรุน ใหมที่จะทำงานใหนโยบายนี้ขับเคลื่อน ไดนั่นเอง และทายนี้คุณโอมไดฝากไว วา องคกร YEC จะเติบโตไดตองมา จากคนที่เสียสละ และมีจิตสาธารณะ เทานั้น 61


สมัครสมาชิกนิตยสาร สมัครสมาชิก Individual 1 ป (12 ฉบับ) พิเศษเหลือ 800 บาท จากราคาปกติ 960 บาท ชื่อ (Name) : นามสกุล (Surname) : E-mail : เบอรโทรศัพทบาน (Telephone) : เบอรโทรศัพทที่ทำงาน (Telephone) : เบอรโทรสาร (Fax) : เพศ (Gender) : ชาย หญิง

มือถือ (Mobile) : วันเกิด : วันที่ เดือน

สั่งซื้อสำหรับ Corporate สั่งซื้อ 50-100 เลม พิเศษเลมละ 65 บาท (รวมคาจัดสงไปรษณียแลว)

พ.ศ.

สั่งซื้อจำนวน 100 เลมขึ้นไป พิเศษเลมละ 55 บาท

ขาพเจาตองการสั่งซื้อนิตยสาร Thailand Economic and Business Review ฉบับที่ จำนวน เลม รวมเปนเงิน บาท ชื่อองคกร ผูติดตอ เบอรติดตอ Email

โทรสาร

มือถือ

ที่อยูในการจัดสง (Shipping Address) สมาชิกเริ่มตนเลมที่ ที่อยู (Address)

ถึง

ใบเสร็จรับเงินออกในนาม (Name) ชื่อ (Name) ที่อยู (Address)

วิธีการชำระเงิน โอนเงิน บัญชี ธนาคารกรุงเทพ สาขามหาวิทยาลัยหอการคาไทย ชื่อบัญชี นิตยสาร THAILAND ECONOMIC & BUSINESS REVIEW มหาวิทยาลัยหอการคาไทย เลขที่ 030-026285-4 กรุณากรอกรายละเอียดทั้งหมดพรอมหลักฐานการชำระเงินมาที่ ศูนยบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย ตึก 10 ชั้น 5 เลขที่ 126/1 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-697-6862 โทรสาร 02-277-1803 Email : cchiddittapas@hotmail.com หมายเหตุ: - สงวนสิทธิ์ในการเปลี่ยนและคืนการเปนสมาชิกนิตยสาร - หากนิตยสารที่ทานไดรับเกิดการชำรุดหรือเสียหายอันเนื่องจากการขนสงหรือการพิมพ กรุณาแจงฝายสมาชิก โทร 02-697-6862




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.