CREATIVE THAILAND I 1
CREATIVE THAILAND I 2
CREATIVE THAILAND I 3
flickr.com/photos/hansel5569
Contents : สารบัญ
The Subject
6
Creative Resource
8
21st Century Skills / โรงเรียนอนุบาลที่น่ารักที่สดุ Teach For Thailand สร้างน้องและสร้างเรา
Featured Book / Book / Movies
Matter 10 กรีนคอนกรีต ทางเลือกใหม่ของวัสดุก่อสร้าง
Local Wisdom
12
Cover Story
14
Everywhere School ห้องเรียนเพื่อทุกคน
หลุดกรอบกับดักรายได้ปานกลาง ของโลกยุคใหม่ด้วยระบบการศึกษา
Insight 20 คิดดังๆ : เออีซีและการศึกษาในสายตาคนรุ่นใหม่
Creative Startup
22
Creative City
24
The Creative
28
Creative Will
34
Skilllane: เรียนที่ใช่ อย่างที่ชอบ
ขอนแก่น...หน้าด่านการศึกษาสู่เออีซี
The Fighting Force: พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง
The School of Life
บรรณาธิการอำ�นวยการ l อภิสทิ ธิ์ ไล่สตั รูไกล ทีป่ รึกษา l ชมพูนทุ วีรกิตติ, พิชติ วีรงั คบุตร, จรินทร์ทพิ ย์ ลียะวณิช, พจน์ องค์ทวีเกียรติ บรรณาธิการ l พัชรินทร์ พัฒนาบุญไพบูลย์ กองบรรณาธิการ l ศิริอร หริ่มปราณี, มนฑิณี ยงวิกุล, เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร, ชลดา เจริญรักษ์ปัญญา, อําภา น้อยศรี, ปิยวรรณ กลิ่นศรีสุข, นันท์นรี พานิชกุล เลขากองบรรณาธิการ l วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ ศิลปกรรม l ชิดชน นินนาทนนท์ สมาชิกสัมพันธ์ l ปิยะพร สวัสดิ์สิงห์ ประสานงานกองบรรณาธิการ l ณัฏฐนิช ตัณมานะศิริ นักศึกษาฝึกงาน l ชาคริต นิลศาสตร์ จัดทำ�โดย l ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) ชั้น 24 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอร์ 622 สุขุมวิท 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 โทร. 02 664 7667 แฟกซ์. 02 664 7670 ติดต่อลงโฆษณาได้ที่ creativethailand@tcdc.or.th พิมพ์ที่ l บริษัท สยามพริ้นท์ จำ�กัด โทร. 02-509-0068 แฟกซ์. 02-509-2971-2 จำ�นวน 30,000 เล่ม นิตยสารฉบับนีใ้ ช้หมึกพิมพ์จากนา้ํ มันถัว่ เหลืองทีไ่ ม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ยังเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม และใช้กระดาษ รีไซเคิล ซึ่งเป็นผลผลิตของผู้ประกอบการไทย จัดทำ�ภายใต้โครงการ “Creative Thailand สร้างเศรษฐกิจไทยด้วยความคิดสร้างสรรค์” โดยศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ซึง่ มีเป้าหมายในการเผยแพร่ความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) และผลักดันการใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย
อนุญาตใหใชไดตามสัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส CREATIVE THAILAND I 4 แสดงที่มา-ไมใชเพื่อการคา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย
flickr.com/Photos/tokyoform
Editor’s Note : บทบรรณาธิการ
นับเป็นเรือ่ งน่าสนใจ เมือ่ สำ�นักข่าวบีบซี รี ายงานถึงความเปลีย่ นแปลงเล็กๆ ใน แผนกทรัพยากรบุคคลของบริษทั ยักษ์ใหญ่หลายแห่งของโลก โดยเมือ่ ราวต้นปี บริษทั ไพรซ์วอเทอร์เฮาส์คเู ปอส์ (PricewaterhouseCoopers) ได้ออกประกาศ ยกเลิกคุณสมบัตทิ ใ่ี ช้คดั เลือกผูส้ มัครงาน ที่จะต้องมีผลการเรียนในระดับเกรดเอ ตามมาด้วย บริษัทเอินส์ท แอนด์ ยัง (Ernst & Young) บริษัทตรวจสอบบัญชี ระดับโลก ซึ่งก็ได้เปลี่ยนแบบฟอร์มการสมัครงานใหม่ โดยตัดช่องการกรอก ข้อมูลเกี่ยวกับการศึกษาและคุณสมบัติต่างๆ ในเชิงวิชาการออกทั้งหมด และ ล่าสุด สำ�นักพิมพ์เพนกวิน แรนดอม เฮาส์ (Penguin Random House) ได้ ประกาศยกเลิกข้อจำ�กัดให้ผู้สมัครงานของบริษัทต้องจบการศึกษาระดับ ปริญญาตรีเป็นอย่างตาํ่ มาสูก่ ารไม่ตอ้ งจบปริญญาตรีกส็ มัครงานได้ เนือ่ งจาก เห็นว่าการมีวุฒิการศึกษาดังกล่าวไม่ได้เกี่ยวข้องและไม่สามารถชี้วัดถึง ศักยภาพในการทำ�งานแต่อย่างใด โดย นีล มอร์ริสัน ผู้อำ�นวยการแผนก ทรัพยากรบุคคลของสำ�นักพิมพ์เชื่อว่า การจัดพิมพ์หนังสือที่ต้องดึงผู้อ่านใน ทุกๆ กลุ่มนั้น ต้องอาศัยคนทำ�งานที่มาจากพื้นเพและภูมิหลังที่แตกต่างกัน และมีมุมมองที่หลากหลาย จึงจะสามารถสะท้อนมุมมองสังคมปัจจุบันได้ ดังนั้นวุฒิการศึกษาจึงไม่ใช่เครื่องรับประกัน และเป็นสิ่งที่สามารถคัดกรอง บุคลากรที่จะเข้ามาทำ�งานในบริษัทได้ การเปลี่ยนยุทธศาสตร์ด้านทรัพยากรบุคคลของธุรกิจเอกชน เพื่อสรรหา และคัดกรองคนเข้าทำ�งานโดยให้ความสำ�คัญกับวุฒกิ ารศึกษาน้อยลงนัน้ ดูจะ เป็นแนวโน้มที่ขยายตัวมากขึ้น เพราะบริบททางสังคมและเศรษฐกิจปัจจุบัน ไม่สามารถใช้ความรู้เพียงมิติใดมิติหนึ่ง วุฒิการศึกษา หรือเกรดเฉลี่ย แต่ เกิดจากประสบการณ์และทักษะที่จะผสมผสาน บริหารความรู้ไปสู่ทางออก ได้อย่างเฉลียวฉลาด และแน่นอนว่าภาคเอกชนซึ่งเป็นกลุ่มการผลิตที่ใกล้ชิด
กับรสนิยม พฤติกรรม และความต้องการของตลาดอย่างสูง ย่อมเข้าใจ สถานการณ์ความต้องการใหม่ๆ และความยุง่ ยากของโลก ดังนัน้ ความจำ�เป็น เร่งด่วนก็คือการสรรหาคนที่มีขีดความสามารถเพื่อตอบโจทย์องค์กร เราจึง ได้เห็นความเปิดกว้างในการสรรหาผู้มีความรู้มากกว่าผู้มีวุฒิการศึกษา หลายประเทศในสหภาพยุโรป จึงให้ความสำ�คัญกับการเตรียมบุคลากร เพื่ อ ตอบโจทย์ ต ลาดแรงงาน โดยเน้ น ประสบการณ์ ท างวิ ช าชี พ มากขึ้ น โดยเฉพาะเยอรมนีที่ประสบความสำ�เร็จอย่างสูงจากนโยบายการศึกษาที่ ใช้ระบบการศึกษาแบบคู่ขนาน (Dual Education System) ซึ่งเน้นให้นักศึกษา ได้เก็บเกี่ยวประสบการณ์การทำ�งาน พร้อมกับการศึกษาทางทฤษฎี หรือ หลักสูตรการศึกษาระดับวิชาชีพ (Vocational Education and Training: VET) โดยเป็นระบบที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกลาง รัฐบาลแห่งรัฐ สมาคมหอการค้า และสหภาพแรงงาน เพื่อสร้างเยาวชนให้ตรงกับตลาด แรงงานจริง ส่งผลให้อตั ราการว่างงานในประเทศลดลงอย่างมาก และเยอรมนี ยังกลายเป็นประเทศที่มีอัตราการว่างงานตํ่าที่สุดในสหภาพยุโรปด้วย เมื่อต้นทุนสำ�คัญที่สุดอันเป็นจุดเริ่มต้นของการคิดค้น การผลิต และ การขับเคลื่อนความก้าวหน้าใดๆ ของสังคม ก็คือ “คน” และขณะที่ความ ท้าทายใหม่ๆ เพิ่มขึ้นทุกวัน การเตรียมคนให้พร้อมกับความเคลื่อนไหวใหม่ เงื่อนไขใหม่ ย่อมต้องอยู่บนกติกาใหม่ที่มองไปยังอนาคต โครงสร้างพื้นฐาน ทางความรูแ้ ละความคิดทีจ่ ะช่วยย่อโลกและเร่งการเติบโตให้กบั “คน” จึงต้อง ถูกพัฒนาอย่างเป็นระบบ เพื่อเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนให้เกิดพลวัตทาง ความรู้ควบคู่ไปกับการศึกษาในระบบ เพราะการเตรียมคนของโลกในวันนี้ คือการเตรียมประสบการณ์นอกห้องเรียนที่เป็นประสบการณ์ในชีวิตจริง นั่นเอง อภิสิทธิ์ ไล่สัตรูไกล บรรณาธิการอํานวยการ Apisit.L@tcdc.or.th
CREATIVE THAILAND I 5
The Subject : ลงมือคิด เรื่อง: วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ และ ปิยะพร สวัสดิ์สิงห์
สิงคโปร์ ทีใ่ ห้การศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีและสือ่ ดิจทิ ลั มาเป็นตัวผสานการ เรียนรู้ ซึ่งเป็นสิ่งที่นักเรียนในยุคนี้ให้ความสนใจและเข้าถึงได้ง่าย โดยทาง โรงเรียนมีความเชือ่ ว่าหากเข้าถึงสิง่ ทีผ่ เู้ รียนกำ�ลังสนใจได้ยอ่ มจะทำ�ให้เกิดการ เรียนรู้ที่แท้จริง ซึ่งครูจะไม่ได้เป็นผู้ให้ความรู้ทางเดียวในห้องเรียนอีกต่อไป แต่จะเปิดโอกาสให้นกั เรียนได้เข้าถึงความรูจ้ ากหลากหลายช่องทางระหว่าง อยูใ่ นชัน้ เรียน ไม่วา่ จะเป็นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือในสือ่ โซเชียลมีเดียต่างๆ โดยครูจะมีอีกหนึ่งหน้าที่ก็คือ การเป็นผู้ชี้แนะและช่วยเหลือให้ผู้เรียนรู้จัก การแยกแยะและสังเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ในที่สุด
ตั้งแต่ปี 2002 “ภาคีพัฒนาทักษะศตวรรษที่ 21 หรือ P21 (The Partnership for 21st Century Learning)” ที่ก่อตั้งขึ้นโดยความร่วมมือของผู้นำ�ทาง การศึกษาจากสหรัฐอเมริกาและบริษัทชั้นนำ�ของโลก อาทิ ไมโครซอฟต์, แอปเปิล, เดลล์, ไทม์วอร์เนอร์ (Time Warner) ฯลฯ ได้เล็งเห็นความสำ�คัญ ของทักษะใหม่สำ�หรับการเรียนรู้ของเยาวชนในยุคปัจจุบันที่โลกได้ถูก หลอมรวมกันมากขึ้น ทั้งในมิติของเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม โดย P21 ได้น�ำ เสนอกรอบความคิดเรือ่ งทักษะการเรียนรูท้ จี่ �ำ เป็นสำ�หรับเยาวชน หรือผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เพื่อใช้ทักษะเหล่านี้ในการดำ�เนินชีวิตและ การทำ�งานได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัยมากที่สุด ซึ่งแบ่งทักษะการเรียนรู้ ออกเป็น 4 ส่วน ประกอบด้วย 1.) Key Subjects (3Rs) คือการเรียนวิชา พื้นฐานต่างๆ ด้วยทักษะการอ่าน (Reading) การเขียน (Writing) และการ คำ�นวณ (Arithmetic) 2.) Learning and Innovation Skills (4Cs) คือทักษะ ใหม่ของการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม ได้แก่ การคิดแบบมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) การสือ่ สาร (Communication) การทำ�งานเป็นทีม (Collaboration) และการสร้างความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 3.) Information, Media and Technology Skills คือทักษะการใช้ขอ้ มูล, สือ่ สารสนเทศและเทคโนโลยีตา่ งๆ ที่ต้องรู้จักเลือกใช้ให้เกิดประโยชน์ 4.) Life Career Skills คือทักษะการใช้ ชีวิตและการทำ�งานในโลกที่ทุกอย่างล้วนเชื่อมต่อกัน ซึ่งผู้เรียนจำ�เป็นต้อง รูจ้ กั ยืดหยุน่ ปรับตัว และเปิดรับการเรียนรูข้ า้ มวัฒนธรรม รวมไปถึงการเป็น ผู้เริ่มต้นสร้างสรรค์งานด้วยตัวเอง โดยปัจจุบันได้มีโรงเรียนและชุมชนนับพันๆ แห่งทั่วสหรัฐฯ รวมไปถึง ผู้นำ�ทางการศึกษาจากหลากหลายประเทศได้นำ�ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จากแนวคิด P21 นี้ไปศึกษาและปรับใช้แล้วทั่วโลก และหากมองมาที่เพื่อน บ้านเออีซีของเราเอง หนึ่งในประเทศที่มีระบบการศึกษาที่ดีที่สุดอย่าง สิงคโปร์ก็ได้รับแนวคิดทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 มาปรับใช้แล้วเช่นกัน ตัวอย่างเช่น Ngee Ann Secondary School โรงเรียนอันดับต้นๆ ของ
ที่มา: วิดีโอ “Singapore’s 21st-Century Teaching Strategies” (14 มีนาคม 2012) จาก youtube.com / บทความ “จากโลกสู่ไทย ทิศทางใหม่ของการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21 ปรับ ห้องเรียน เปลี่ยนอนาคต: ทักษะการคิดแบบผู้เชี่ยวชาญ และการสื่อสารที่ซับซ้อน” (29 มีนาคม 2015) จาก thaipublica.org / p21.org
โรงเรียนอนุบาลที่น่ารักที่สุด
ideas.ted.com
blogs.msdn.microsoft.com
21st Century Skills
สำ�หรับเด็กๆ การเข้าเรียนอนุบาลเป็นเหมือนโลกใบใหม่ เพราะนอกจากจะ ได้เริม่ เรียนรูส้ ง่ิ ใหม่ๆ แล้ว ยังมีเพือ่ นใหม่มาเล่นสนุกด้วยกัน พร้อมทัง้ ของเล่น เครือ่ งเล่น และลานสนามหญ้ากว้างใหญ่ การตระเตรียมสิง่ ต่างๆ ในโรงเรียน อนุบาลจึงเป็นเรื่องสำ�คัญ เมื่อเดือนกันยายน 2014 บนเวที TED talk เกียวโต สถาปนิกชาวญี่ปุ่น “ทาคาฮารุ เทซึกะ” (Takaharu Tezuka) ได้เล่าถึง โรงเรียนอนุบาลฟูจิที่เขาสร้างขึ้นในเมืองโตเกียวเมื่อปี 2007 ที่รวบรวม ความละเอียดอ่อนซึ่งเกิดจากการสังเกตและความเข้าใจความเป็นเด็กไว้ อย่างมากมาย แนวคิดหลักๆ ของการสร้างพื้นที่อาคารและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน อนุบาลฟูจิแห่งนี้ ประกอบด้วย Circle (กลมๆ) จากการสังเกตลูกๆ ของ ทาคาฮารุ เขาพบว่าธรรมชาติของเด็กมักจะชอบวิ่งวนเป็นวงกลม เขาจึง เลือกสร้างตัวอาคารเป็นทรงกึ่งกลมกึ่งรี โดยมีชั้นสองของอาคารที่ออกแบบ เป็นเหมือนลู่วิ่งและอัฒจันทร์ในสนามกีฬาเพื่อให้เด็กๆ ได้วิ่งเล่นกันบน อาคารเรียน ซึ่งนักเรียนที่นี่มีการวิ่งเฉลี่ยอยู่ที่ 4 กิโลเมตรต่อวัน มากกว่า โรงเรียนอืน่ ๆ และแน่นอนว่าการวิง่ เยอะย่อมได้สขุ ภาพทีแ่ ข็งแรงตามมาด้วย ส่วนประกอบถัดมาคือ No Boundaries, No Control (ไม่มขี อบเขต) โรงเรียน
CREATIVE THAILAND I 6
ideas.ted.com
Teach For Thailand สร้างน้องและสร้างเรา
แห่งนีไ้ ม่มขี อบเขตทีช่ ดั เจนระหว่างกลางแจ้งและในร่ม แต่ผสมผสานทัง้ สอง สิง่ นีเ้ อาไว้อย่างแยกไม่ออก เพราะเชือ่ ว่ามนุษย์ควรอยูก่ บั ธรรมชาติ และเด็ก ในวัยนีจ้ ะรูส้ กึ ประหม่า อึดอัด หรือกระวนกระวายหากต้องอยูแ่ ต่ในห้องเรียน ดังนัน้ เด็กๆ ทีน่ จี่ งึ มีอสิ ระในการออกไปเดินหรือวิง่ เล่นนอกห้องเรียนได้อย่าง อิสระ ขณะทีป่ ระโยชน์อกี ข้อของการไม่มเี ขตจำ�กัดก็คอื เสียง ซึง่ เป็นอีกสิง่ สำ�คัญ สำ�หรับเด็กๆ ทาคาฮารุเล่าว่า เด็กๆ จะหลับได้ดกี ว่าเมือ่ มีเสียงจากธรรมชาติ บ้าง และส่วนประกอบสุดท้ายก็คือ Some Amount of Danger (มีอันตราย บ้าง) เพราะเชื่อว่าการมีอันตรายบ้างเล็กๆ น้อยๆ จะช่วยให้เด็กได้เติบโต และเรียนรู้ นัน่ จึงเป็นทีม่ าของเชือกหรือตาข่ายรอบๆ ต้นไม้ให้เด็กๆ ได้ปนี ป่าย และที่สำ�คัญที่สุดการเล่นแบบนี้ยังช่วยสอนให้พวกเขาได้รู้จักช่วยเหลือกัน เพื่อเอาชนะอันตรายต่างๆ ไปด้วยกัน นอกจากนี้ด้วยความที่ประเทศญี่ปุ่น เกิดแผ่นดินไหวบ่อย เด็กๆ ก็จะได้ฝึกซ้อมป้องกันตัวเองจากแผ่นดินไหว โดยทุกใต้โต๊ะจะมีหมวกนุ่มๆ เก็บเอาไว้ เมื่อมีอะไรหล่นลงมา เด็กๆ ก็จะ เรียนรู้ที่จะหยิบมาใส่เพื่อป้องกันตัวด้วย แน่นอนว่ายังต้องมีปัจจัยอื่นๆ อีกมากมายที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ ของเด็กๆ นอกเหนือจากโครงสร้างอาคารโรงเรียนที่เข้าใจความต้องการทั้ง ร่างกายและจิตใจของพวกเขาเป็นอย่างดีเหมือนอนุบาลฟูจิแห่งนี้ ที่การ สังเกตและให้ความสำ�คัญในรายละเอียดเล็กๆ ได้กลายมาเป็นส่วนหนึง่ ของ การสร้างทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าได้แบบไม่เล็กเลย
การศึกษาคือหัวใจสำ�คัญในการเตรียมความพร้อมให้เด็กเพื่อให้เติบโตไป เป็นประชากรที่มีคุณภาพ และความต้องการให้เด็กไทยทุกคนได้รับการ ศึกษาเท่าเทียมกันมากทีส่ ดุ ลดช่องว่างในด้านโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่ มีคุณภาพ จึงทำ�ให้ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ ได้ถือกำ�เนิดขึ้น โครงการ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำ�ไร ก่อตั้ง ขึ้นเมื่อปี 2011 โดยเป็นสมาชิกลำ�ดับที่ 29 ของเครือข่าย Teach For All จากสมาชิกมากกว่า 30 ประเทศทั่วโลก เพื่อเป็นช่องทางในการสนับสนุน และผลักดันภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ให้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาการศึกษาของไทย เมือ่ ปี 2009 มีการประเมินทักษะในการเรียนรูน้ านาชาติ PISA (Program for International Student Assessment) และเป็นตัวชี้วัดศักยภาพการ แข่งขันทางเศรษฐกิจ โดยประเมินนักเรียนไทยในอายุ 15 ปีกับประเทศ สมาชิกผู้เข้าร่วมในโครงการรวม 65 ประเทศ พบว่านักเรียนไทยอยู่อันดับที่ 51 จาก 65 ประเทศ และหากวัดในภูมิภาคเอเชียประเทศไทยจัดเป็นลำ�ดับ รองสุดท้าย ถัดจากอินโดนีเซีย ด้วยความทีอ่ ยากให้คนรุน่ ใหม่ได้เข้ามามีสว่ นร่วม โครงการจึงคัดเลือก นิสิต นักศึกษาที่มีวุฒิปริญญาตรีซึ่งจะมีความถนัดในแต่ละสาขาวิชา แตกต่างกันออกไป เข้ามาอาสาสมัครไปเป็นคุณครูในระดับชั้นมัธยมต้น ของโรงเรียนที่คุณครูไม่เพียงพอโดยสอนเป็นระยะเวลา 2 ปี และในขณะ เดียวกันนี้อาสาสมัครก็จะได้อบรมเพื่อเพิ่มพูลทักษะต่างๆ ศักยภาพของ ความเป็นผู้นำ�ซึ่งโครงการให้ความสำ�คัญเพราะเห็นว่า คุณสมบัติความเป็น ผู้นำ�จะนำ�ไปสู่การแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่ดี สามารถนำ�ไปใช้กับการเรียนการ สอน การแก้ปัญหา ก่อนที่ครูผู้นำ�การเปลี่ยนแปลงจะก้าวไปเป็นผู้นำ�ใน ภาคส่วนต่างๆ ของสังคมเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีให้เกิดขึ้นกับการ ศึกษาของประเทศไทยต่อไป นอกจากประเทศไทยแล้ว ประเทศเพือ่ บ้านอย่าง ฟิลิปปินส์ และมาเลเซีย ก็ร่วมอยู่ในโครงการ Teach for all นี้ด้วยเช่นกัน ที่ผ่านมาอาสาสมัครครู หรือ “ผู้นำ�การเปลี่ยนแปลง” ของโครงการ ทีช ฟอร์ ไทยแลนด์ มีจ�ำ นวนครูเกือบร้อยคนได้แล้ว และสิง่ ทีท่ กุ คนทำ�ก็เป็น ได้ทงั้ คุณครูสอนหนังสือ เป็นบุคคลต้นแบบ แรงบันดาลใจ ฝึกวินยั และสร้าง เสริมคุณธรรมให้กับน้องๆ ได้ในเวลาเดียวกัน นอกจากน้องๆ จากโรงเรียน ขยายโอกาสจะได้รบั สิง่ ทีค่ ณุ ครูน�ำ ไปสอนแล้ว คุณครูอาสาสมัครเองก็จะได้ รับสิ่งดีๆ ตอบแทนกลับมาด้วยเช่นกัน ที่มา: teachforthailand.org
ที่มา: บทความ “โรงเรียนอนุบาลที่เจ๋งที่สุดใน 3 โลก” โดย เกิน 8 บรรทัด (3 พฤษภาคม 2015) จาก tickettail.com / บทความ “Inside The World’s Best Kindergarten” โดย Thu-Huong Ha ( 23 เมษายน 2015) จาก ideas.ted.com / วิดโี อ “The Best Kindergarten You’ve Ever See” โดย Takaharu Tezuka จาก ted.com CREATIVE THAILAND I 7
Creative Resource : วัตถุดิบทางความคิด เรื่อง: เลอชาติ ธรรมธีรเสถียร ชลดา เจริญรักษ์ปัญญา และ อำ�ภา น้อยศรี
CREATIVE THAILAND I 8
F EAT U RED BOOK
ทำ�ไมผู้คนส่วนใหญ่ถึงชอบเล่นเกม แน่นอน เพราะมันสนุก ทั้งยังสร้างแรงกระตุ้นที่ทำ�ให้เรา ต้องการทำ�บางอย่างให้สำ�เร็จ และทำ�ให้ดีขึ้น เรือ่ ยๆ แม้วา่ รางวัลทีไ่ ด้รบั อาจจะดูไร้สาระก็ตาม แต่อย่างน้อยการชนะในเกมสักเกมก็ทำ�ให้เรา สามารถไปอวดเพือ่ นๆ ทีอ่ ยูใ่ นสังคมทีส่ นใจเรือ่ ง เดียวกันได้ ทุกวันนี้เกมจึงจัดเป็นกิจกรรมอันดับ ต้นๆ ที่ทำ�ให้ผู้คนในยุคปัจจุบันเลือกใช้อุปกรณ์ ทางเทคโนโลยี นอกจากนี้การนำ�ไอเดียของเกม
มาปรับใช้ในการเรียนรู้ยังเข้ากับยุคสมัย และจะ ยิ่งทวีความสำ�คัญหากเราเข้าใจและนำ�ข้อดีของ เกมมาช่ ว ยผลั ก ดั น ให้ เ กิ ด การเรี ย นรู้ ไ ด้ อ ย่ า ง เต็มที่ Gamification เป็นการบัญญัติศัพท์ใน การนำ�หลักการใช้เกมมาเป็นเครื่องมือชั้นเยี่ยม เพื่อสร้างความรู้สึกต้องการมีส่วนร่วมให้เกิดขึ้น มาประยุกต์ใช้กับสิ่งต่างๆ โดยเฉพาะการทำ�ให้ เกิดการเรียนรู้ หลักการสำ�คัญเบื้องต้นของเกม คือการสร้างประสบการณ์และสิง่ แวดล้อมทีท่ �ำ ให้ เกิดความรู้สึกปลอดภัยในการคิดหรือเริ่มต้น ทดลองทำ�สิง่ ต่างๆ แบบไม่ตอ้ งกลัวความผิดพลาด เพราะสามารถเริม่ ต้นใหม่ได้เสมอ นอกจากนีเ้ กม ยั ง สร้ า งแรงกระตุ้ น ในการเอาชนะอุ ป สรรค ท้ า ทายความสามารถของตนเองมากขึ้ น ไป
BOOK
MOVIE
2) ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพือ่ ศตวรรษที่ 21 โดย James Bellanca และ Ron Brandt
3) ตั้งวง กำ�กับโดย คงเดช จาตุรันต์รัศมี
ความร่วมมือของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ส่งผลต่อเราในหลายๆ ด้าน รวมถึ ง เศรษฐกิ จ และภาคการศึ ก ษา ตลาด แรงงานต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพ แต่ความ สำ�เร็จจากการเรียนไม่ได้เป็นตัวชี้วัดการประสบ ความสำ�เร็จหรือการมีอาชีพตลอดชีวิตอีกต่อไป ทักษะแห่งอนาคตใหม่ การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21 รวบรวมงานเขียนทีส่ ะท้อนการเรียนรูท้ จี่ �ำ เป็น ในศตวรรษที่ 21 แสดงกรอบความคิดของการ เรียนรู้ โดยแบ่งเป็นวิชาแกนคือวิชาหลัก และเพิม่ ทักษะต่างๆ ที่จำ�เป็นต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบัน อย่างความรูพ้ นื้ ฐานด้านพลเมือง การชีน้ �ำ ตนเอง หรือการเป็นผู้ประกอบการ ซึ่งเป็นทักษะที่เคย ถูกมองว่า ‘มีก็ดี ไม่มีก็ได้’ และไม่ได้รับความ สนใจ ถ้าต้องการขับเคลื่อนการศึกษาให้ออกไป จากจุดเดิม แนวคิดจากหนังสือเล่มนี้น่าจะได้รับ การพิจารณาให้เป็นส่วนหนึ่งในแนวทางพัฒนา การเรียนรู้ต่อไป
4) ผม...ไม่โง่ I Not Stupid กำ�กับโดย Jack Neo
1) The Gamification of Learning and Instruction: Game-Based Methods and Strategies for Training and Education โดย Karl M. Kapp
อีกเสมอ และยังเป็นเครือ่ งมือทีด่ ใี นการตรวจสอบ ระดับความเข้าใจ และการตอบกลับแบบทันที ทันใดของผูเ้ ล่น ทีจ่ ะทำ�ให้สามารถประเมินทักษะ การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนรู้ได้ตลอดเวลา หนังสือเล่มนี้ให้ความสำ�คัญต่อการสร้าง เกมเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ปูพื้นฐานที่จำ�เป็น ทัง้ หมดสำ�หรับการทำ�ความเข้าใจ พร้อมทัง้ กรณี ตัวอย่างทีน่ า่ สนใจมากมาย รวมถึงการศึกษาวิจยั ความน่าเชื่อถือของเกมที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ ในแนวทางต่างๆ ทั้งนี้การนำ�ไปประยุกต์ใช้นั้น ไม่ได้จำ�กัดอยู่แค่การเรียนรู้ในระบบการศึกษา แต่ยังรวมถึงการใช้ฝึกอบรมพนักงาน และการ สร้างทักษะการเรียนรูใ้ นเรือ่ งต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
บางคนให้คุณค่ากับความเชื่อและความเป็นไทยที่มีเครื่องแบบตายตัว แต่บางคนก็รู้สึกขัดเขินและ กระอักกระอ่วนที่ต้องเป็นส่วนหนึ่งในความเป็นไทย ซึ่งดูขัดแย้งกับสภาพความเป็นจริงของชีวิต ประจำ�วัน อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติที่แทรกซึมอยู่ในความบันเทิงรูปแบบต่างๆ การรับและเป็น ส่วนหนึง่ ในกระแสนัน้ ทำ�ให้ความเป็นไทยลดลงหรือไม่ การผลักตัวเองออกจากความงมงาย การกราบ ไหว้และบนบานศาลกล่าวต่ออำ�นาจเหนือธรรมชาติที่ตนเองก็รู้สึกว่าเป็นเรื่องไร้สาระ แต่สุดท้ายเมื่อ ขาดความเชื่อมั่นกลับหันไปพึ่งพาอำ�นาจนั้นเสียเอง ภาพยนตร์สะท้อนสถานการณ์กึ่งรับกึ่งปฏิเสธใน สิง่ เก่าทีเ่ คยทำ�มา และกลายเป็นคำ�ถามว่า บางครัง้ เราก็อาจหลงลืมทีจ่ ะทำ�ความเข้าใจตัวตน รากเหง้า และสิ่งดีงามที่ซ่อนอยู่ภายในวัฒนธรรมนั้นอย่างแท้จริง
นี่อาจเป็นปัญหาหลักของหลายๆ ประเทศ เมื่อระบบการศึกษาสร้างขึ้นมาเพื่อให้ความรู้และขัดเกลา กลายเป็นกรอบจำ�กัดความคิดและจินตนาการ ไม่ว่าจะเป็นการให้ความสำ�คัญเพียงผลการเรียนหรือ ปริญญาบัตร ที่เป็นใบเบิกทางสู่อนาคต การปลูกฝังทัศนคติของผู้ใหญ่ให้แก่ลูกหลานด้วยการชี้นำ� ว่าสิ่งใดคือสิ่งที่ควรทำ�เพื่อให้คนรอบข้างยอมรับ มากกว่าเน้นการปลูกฝังให้เข้าใจจากมุมมองและ ความคิดที่เกิดจากภายในตัวเด็กเอง ความคาดหวังจากสังคมภายนอก ตลอดจนมาตรฐานการศึกษา ที่หน่วยงานรัฐกำ�หนดเพื่อชี้วัดระดับความรู้ความสามารถออกมาเป็นตัวเลข ทั้งหมดนี้ทำ�ให้เกิดการ ตั้งคำ�ถามว่าที่จริงแล้วเราไม่ฉลาดโดยสติปัญญาจริงๆ หรือสังคมเป็นผู้สร้างบรรทัดฐานให้กันแน่ พบกับวัตถุดิบทางความคิดเหล่านี้ได้ที่ TCDC Resource Center CREATIVE THAILAND I 9
Matter : วัสดุต้นคิด
หัวข้องานวิจัยที่เกิดขึ้นในภาคการศึกษามักมาจากปัญหา และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่เป็นภาพใหญ่อย่างปัญหา ของ “คอนกรีต” ทีม่ สี ว่ นประกอบสำ�คัญคือผงปูนซีเมนต์ ซึง่ มีกระบวนการผลิตที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง การผลิ ต ก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ เนื่องจากการผลิตผงปูนซีเมนต์นั้นประกอบด้วยแคลเซียม (Calcium) ออกซิเจน (Oxygen) ซิลิกอน (Silicon) โดยมี กระบวนการผลิ ต มาจากการเผาหิ น ปู น ที่ อุ ณ หภู มิ ก ว่ า 1,400 oC ในเตาเผาเพื่อให้ได้แร่ธาตุแคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium Carbonate) และดินเหนียว ซึ่งกระบวนการให้ ความร้อนนี่เองที่ผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาสู่ชั้น บรรยากาศจำ�นวนมากกว่าครึง่ ตันต่อการผลิตผงปูนซีเมนต์ ทุ ก ๆ 1 ตั น หรื อ กล่ า วได้ ว่ า ร้ อ ยละ 5-8 ของก๊ า ซ คาร์ บ อนไดออกไซด์ ใ นโลกนั้ น มาจากกระบวนการผลิ ต ผงปูนซีเมนต์ สำ�หรับภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียใต้ ได้เริม่ ตืน่ ตัวในประเด็นปัญหานีท้ งั้ ใน ภาคอุตสาหกรรมและการศึกษา โดยเริ่มต้นที่รัฐบาลมาเลเซียซึ่งพยายาม สนับสนุนการใช้วสั ดุทเี่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมในโครงสร้างของอาคารสีเขียว และสนับสนุนงานวิจัยจากคณะวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัย Universiti Teknologi MARA ในการพัฒนาคอนกรีตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม หรือที่ เรียกว่า Green-mix Concrete ซึ่งออกแบบและผลิตโดยวิธีแบบเดิม แต่ เปลี่ยนมาใช้วัตถุดิบบางส่วนจากขยะและวัสดุรีไซเคิลเพื่อให้ได้คุณสมบัติ ราคา และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมตามที่ต้องการ โดยกรีนคอนกรีต ประเภทนีท้ �ำ จากวัตถุดบิ ใหม่ๆ ประกอบด้วยเถ้าลอยซึง่ เคยเป็นของเหลือทิง้ จากโรงไฟฟ้าถ่านหิน เม็ดคอนกรีตรีไซเคิล และเส้นใยจากกระป๋องอลูมเิ นียม ในระหว่างการวิจัยพบว่า เถ้าลอยมีศักยภาพที่จะแทนซีเมนต์ได้ กระป๋อง อลูมเิ นียมถูกเลือกใช้เพราะสามารถนำ�มาสับเป็นเส้นใยได้งา่ ย และใช้เสริม
แรงในคอนกรีต การผลิตคอนกรีตชนิดนี้แม้จะต้องการผู้เชี่ยวชาญทาง เทคนิคทีม่ คี วามรูเ้ รือ่ งการออกแบบการผสมคอนกรีต เข้าใจวัตถุดบิ ทีน่ �ำ มา ใช้ และมีความรู้ใหม่ๆ ของกรีนคอนกรีต แต่ก็เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ ยังมีราคาถูกจากการลดปริมาณวัตถุดิบที่ต้องซื้อและการออกแบบการผสม ให้มีประสิทธิภาพ รวมทั้งผลลัพธ์ของกรีนคอนกรีตที่ได้ยังมีความแข็งแรง มากขึน้ ถึงร้อยละ 30 เมือ่ เทียบกับคอนกรีตทัว่ ไป กล่าวโดยสรุปกรีนคอนกรีต มีประโยชน์ ดังนี้ • ออกแบบเพื่อความแข็งแรงและสมรรถนะที่ได้มาตรฐานในระหว่าง การใช้งานของอาคารหรือโครงสร้าง • มีสัดส่วนของซีเมนต์และคาร์บอนฟุตพรินต์ต่อหน่วยของคอนกรีต ที่ผลิตตํ่ากว่าคอนกรีตทั่วไป มีศักยภาพในการนำ�ไปผลิตเพื่อขาย โดยนำ� เสนอเป็นทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมให้กับนักพัฒนาโครงการและ ผู้รับเหมาก่อสร้างได้ ขณะเดียวกัน ในประเทศไทยได้มบี ริษทั Siamese Ecolite ทีค่ ดิ ค้นและ พัฒนาเรื่องกรีนคอนกรีตเช่นกัน จนได้ออกมาเป็นผนังคอนกรีตมวลเบา (TEXCA® Wall) โดยมีเม็ดดินเผาขยายตัวนํ้าหนักเบาเป็นส่วนผสมสำ�หรับ หล่อคอนกรีตที่ทำ�จากวัสดุเหลือใช้ สามารถรับแรงได้สูงแต่มีนํ้าหนักเบา โครงสร้างขยายตัวคล้ายโฟมนีเ้ กิดจากการผสมผสานคุณสมบัตขิ องเซรามิก ที่มีความแข็งและรับแรงได้ดีกับการเติมปริมาตรอากาศลงในวัสดุ นอกจาก นี้ โครงสร้างเซลล์ยังทำ�หน้าที่เป็นฉนวนความร้อนและอะคูสติกที่ดี รวมทั้ง คงคุณสมบัติกันไฟลามเช่นเดียวกับเซรามิก ส่วนผสมนี้มีผลอย่างยิ่งต่อ คุณสมบัติทางกายภาพของคอนกรีต โดยวัสดุนี้จะทำ�ให้คอนกรีตมีความ แข็งแรงต่องานโครงสร้างแต่ยงั คงน้�ำ หนักเบาอยู่ เนือ้ ดินจะถูกเติมอากาศให้ มีสัดส่วนของโพรงอากาศภายในเหมือนแผ่นโฟมหรือเม็ดโฟมกันกระแทก และสามารถนำ�ไปใช้ขอมาตรฐานสิ่งแวดล้อม LEED® ในเกณฑ์ของการใช้ วัสดุและวัตถุดิบ พลังงานและบรรยากาศ และอื่นๆ เหมาะใช้ทำ�ส่วนผสม คอนกรีตและสารเติมเต็มในวัสดุซีเมนต์ องค์ประกอบอาคาร และรองพื้น หลังคาเขียว
ที่มา: บทความ Green-mix Concrete: Malaysia’s solution on sustainable material จาก asiagreenbuildings.com / ecolite.co.th พบกับวัสดุเหล่านี้ได้ที่ Material ConneXion® Bangkok, TCDC CREATIVE THAILAND I 10
พบกับนิตยสาร “คิด” Creative Thailand ได้ที่ ร้านหนังสือ ห้องสมุด สมาคม อาคารสำ�นักงาน และร้านกาแฟใกล้บ้าน ในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ หัวหิน และจังหวัดอื่นๆ รวมถึง miniTCDC ดูสถานที่จัดวางทั้งหมดได้ที่: www.tcdc.or.th/creativethailand/magazine/place กรุงเทพฯ ร้านหนังสือ • Asia Books • Kinokuniya • B2S • แพร่พิทยา ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร • Au Bon Pain • Starbucks • TOM N TOM’S COFFEE • True Coffee • Auntie Anne’s • Baskin Robbins • Coffee World • Mister Donut • Black Canyon • McCafe’ • ดอยตุง • Ninety four coffee • Puff & Pie • Red Mango • Iberry • Greyhound Cafe’ • Amazon Cafe’ • Chester’s Grill • Luv minibar โรงแรม/ที่พัก • NOVOTEL • Dusit Thani Princess Hotel • Sofitel Silom Bangkok • Grand Millenium Sukhumvit พิพิธภัณฑ์/หอศิลป์ • หอศิลปวัฒนธรรม แห่งกรุงเทพมหานคร • มิวเซียม สยาม • อุทยานการเรียนรู้ (TK park) • นำ�ทอง แกลเลอรี่ สมาคม/ห้องสมุด • ศูนย์ศิลปะนานาชาติ สมาคมฝรั่งเศส • ห้องสมุดเนลสัน เฮลส์ The Neilson Hays Library • ห้องสมุด - นิด้า • สมาคมโฆษณา แห่งประเทศไทย • สมาคมธนาคารไทย • สมาคมสโมสรนักลงทุน • ห้องสมุด สสวท. • สมาคมหอการค้าไทย • สถาบัน • Wall Street Institute • Raffle Design Institute • Vision Swimming Academy เชียงใหม่ ร้านหนังสือ • ดวงกมล • ร้านเล่า • ร้าน Book Re:public • ร้านหนังสืออุดมลายเซ็นต์ ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร/ ร้านขายของที่ระลึก • Happy Hut (ถ.นิมมานเหมินทร์ ระหว่างซอย 9-10) • 94 Coffee (ถ.นิมมานเหมินทร์) • Starbucks (ถ.นิมมานเหมินทร์) • เวียงจุมออน ทีเฮาส์ • Fern Forest Cafe’ • October • เชียงใหม่กาแฟ • IMPRESSO espresso bar • กาแฟวาวี • Love at First Bite • ร้านกาแฟดอยช้าง • ร้านกาแฟดอยตุง
• ร้านฝ้ายเบเกอรี่ (หอสมุดในมหาวิทยาลัย เชียงใหม่) • Things Called Art • minimal • ร้านยังไว้ลาย • ร้านรสนิยม • ร้านภคมน • ร้านโครงการหลวง • จัส ข้าวซอย (Just Kao Soy) • Ginger (The House Restaurant ) • หอมปากหอมคอ • ทีเฮาส์ สยามศิลาดล • Rabbithood studio • The Meeting Room Art Cafe’ • HuB 53 Bed&Breakfast • ร้าน Charcoa Cafe’ • ร้าน Akha Ama coffee • ร้านกาแฟพาคามาร่า • เดอะ สลัด คอนเซปท์ (Salad Concept) • Gallery Seescape • ร้านขนม (Kanom) • ร้าน Chin Ngan • ร้าน Mood Mellow โรงแรม/ที่พัก • สุริยันจันทรา ถ.นิมมานเหมินทร์ ซอย 1 • บรรทมสถาน เกสเฮาท์อารมณ์บ้าน • yesterday Hotel • โรงแรมดุสิต ดีทู (Dusit D2) • โรงแรมเชดี • ฮาโหล บาร์ (Hallo Bar Hotel) • โรงแรม At Nimman • โรงแรม Tamarind Village • โรงแรม The Rim • 9wboutique hotel • พิงค์ภูเพลส เชียงใหม่ • โรงแรม Casa 2511 พิพิธภัณฑ์/หอศิลป์ • หอศิลปวัฒนธรรม เมืองเชียงใหม่ • หอนิทรรศการ ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวหิน ร้านกาแฟ/ร้านอาหาร • ร้านกาแฟ ชุบชีวา หัวหิน • อยู่เย็น หัวหิน บัลโคนี่ • บ้านใกล้วัง • ภัตตาคารมีกรุณา • บ้านถั่วเย็น @ แนบเคหาสน์ • ร้านอาหารหัวหิน (โกทิ) • กาแฟข้างบ้าน • IL GELATO ITALIANO • Together Bakery & Cafe’ โรงแรม/ที่พัก • โรงแรม วรบุระหัวหิน • Let’s Sea • โรมแรม ดูน หัวหิน • เดอะร็อค หัวหิน • บ้านจันทร์ฉาย • หัวหิน มันตรา รีสอร์ท • ลูน่าฮัท รีสอร์ท กระบี่ • Nakamanda Resort & Spa • Rawee Warin Resort & Spa • A little Handmade Shop ขอนแก่น • Hug School of Creative Arts • ร้านสืบสาน • ร้านกาแฟ คอฟฟี่ เด้อ หล่า (Coffee Der La)
เชียงราย • ร้านหนังสือ herebookafe • ร้าน Coffee Dad นครราชสีมา • Hug station resort นครปฐม • ร้าน Dipchoc Cafe นครสวรรค์ • ร้าน Bitter Sweet น่าน • ร้าน Runway Coffee • ร้านคลาสสิค โมเดล น่าน • ร้านกาแฟปากซอย • ร้าน Nan Coffee Bean ปาย/แม่ฮ่องสอน • ร้านคอฟฟี่อินเลิฟ • ร้าน all about coffee • ร้านปายหวานบ้านนมสด • ร้านเล็กเล็ก • ปายวิมานรีสอร์ท พังงา • Niramaya Villa and Willness Resort • Ranyatavi Resort Phang Nga • The Sarojin เพชรบุรี • Grand Pacific Sovereign • Resort & Spa • DevaSom Hua Hin Resort ภูเก็ต • ร้านหนัง(สือ) ๒๕๒๑ ภูเก็ต • The oddy Apartment & Hotel • At Panta Phuket • Banyan Tree Phuket • Le Meridien Phuket • Millienium Ressort Patong Phuket • Novotel Phuket Resort • Patong Paragon Resort & Spa Phuket • Sheraton grand Lagana Phuket • Sri wanwa Phuket Villa • Thanyapura ระยอง • Le Vimarn Cottage ลำ�ปาง • อาลัมภางค์ เกสท์เฮ้าส์ แอนด์ มอร์ ลำ�ปาง • ร้านเอกาลิเต้ Egalite Bookshop • Lampang Art Center เลย • บ้านชานเคียง • มาเลยเด้ เกสต์เฮาท์ ลพบุรี • ซนดิคอฟฟี่ สมุทรสงคราม/อัมพวา • Baan Amphawa Resort and Spa สุโขทัย • Ananda Co.,Ltd. สุราษฎร์ธานี • Muang Samui Spa Resort • Pavilion Samui Boutique Resort • The Sunset Beach Resort and Spa Taling ngam • Nora Beach Resort Samui หาดใหญ่/สงขลา • ร้าน NIQOLO อุทัยธานี • ร้านบุ๊คโทเปีย Booktopia • Avatar Miracles
หมดปญหาหยิบนิตยสารไมทัน สมัครสมาชิกรายป คาใชจายในการจัดสง 200 บาท (12 เลม) หรือสมัครออนไลนไดที่ tcdc.or.th/creative_thailand
ขอมูลผูสมัครสมาชิก สมาชิกใหม ชื่อ นามสกุล เพศ โทรศัพท
สมาชิกเกา (ตองการตออายุสมาชิก) หญิง อายุ
ชาย
อีเมล
โทรศัพทมือถือ
อาชีพ นักเรียน ครู/อาจารย
นิสิต/นักศึกษา พนักงานบริษัท
นักออกแบบ/ครีเอทีฟ ผูประกอบการ
อาชีพอิสระ อื่นๆ โปรดระบุ
ขาราชการ/รัฐวิสาหกิจ
สาขา/อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับอาชีพของทาน โฆษณา สถาปตยกรรม แฟชั่น ศิลปะการแสดง ดนตรี ภาพยนตร โทรทัศน/วิทยุการกระจายเสียง
ทองเที่ยว/โรงแรม/สายการบิน วรรณกรรม/การพิมพ/สื่อสิ่งพิมพ พิพิธภัณฑ/หองแสดงงาน ซอฟตแวร/แอนิเมชัน/วิดีโอเกม
หัตถกรรม/งานฝมือ การเงิน/ธนาคาร ทัศนศิลป/การถายภาพ อื่นๆ โปรดระบุ
อาหาร การแพทย การออกแบบ
คาปลีก/คาสง โทรคมนาคม
ที่อยูในการจัดสง หมูบาน/บริษัท เลขที่ จังหวัด
ซอย
ถนน รหัสไปรษณีย
หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง
อำเภอ/เขต
หนวยงาน/แผนก ตำบล/แขวง
อำเภอ/เขต
ที่อยูในการออกใบเสร็จ เหมือนที่อยูในการจัดสง หมูบาน/บริษัท เลขที่ ซอย จังหวัด
ถนน รหัสไปรษณีย
ตองการสมัครสมาชิกนิตยสาร Creative Thailand ระยะเวลา 1 ป จำนวน 12 เลม เริ่มตั้งแตฉบับเดือน โดยยินดีเสียคาใชจายในการจัดสงเปนจำนวนเงิน 200 บาท
วิธีการชำระเงิน เช็คสั่งจายศูนยสรางสรรคงานออกแบบ พรอมใบสมัครสมาชิก โอนเงินเขาบัญชีออมทรัพย ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ เลขที่บัญชี 101-808967-0 ธนาคารกรุงเทพ สาขาสำนักงานใหญสีลม • แฟกซใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่ 02-664-7670 • หรือสงไปรษณียมาที่ ศูนยสรางสรรคงานออกแบบ (Creative Thailand) 622 อาคารเอ็มโพเรียมทาวเวอรชั้น 24 ถนนสุขุมวิท 24 แขวงคลองตัน เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 • หรือแนบไฟลใบสมัครพรอมหลักฐานการโอนเงินมาที่อีเมล creativethailand@tcdc.or.th CREATIVE THAILAND I 11 สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ 02-664-7667 ตอ 122
digitalcoconutcookies.blogspot.com
Local Wisdom : ภูมิความคิด
เรื่อง: มนฑิณี ยงวิกุล เมือ่ “คน” เป็นหัวใจสำ�คัญของการพัฒนาประเทศ แต่ไม่ใช่ทกุ คนทีจ่ ะมีโอกาสเข้าถึงการ ศึกษาในระบบ ทางเลือกใหม่ๆ ทีเ่ ปิดโอกาสให้คนทัว่ ไปได้เรียนรูจ้ งึ ถูกพัฒนาอย่างต่อเนือ่ ง ตั้งแต่การศึกษาที่ยืดหยุ่นตามผูเ้ รียน การใช้เทคโนโลยีมาช่วยกระจายเนือ้ หา มาจนถึง หลักสูตรสมัยใหม่ที่เรียนได้ตั้งแต่ในบ้านของตนเอง
CREATIVE THAILAND I 12
เคลื่อนที่ตามคนเรียน
จากเป้าหมายเริม่ แรกของ “การศึกษา ผูใ้ หญ่” ตัง้ แต่ พ.ศ. 2483 ทีม่ วี ตั ถุประสงค์ เพื่ อ ลดการไม่ รู้ ห นั ง สื อ และความ เหลื่อมลํ้าของประชากร สำ�นักงาน ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) ได้ พัฒนาการสอนในโรงเรียนภาคคํ่าที่ เน้นการอ่านออกเขียนได้ มาสู่การ พั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ และการเรี ย นรู้ ตลอดชีวิตที่เชื่อมโยงกับการศึกษาใน ระบบ ซึ่งนับเป็นพื้นฐานสำ�คัญของ การพัฒนาประเทศ กศน. จึงได้ขยาย เครือข่ายให้บริการด้านการศึกษาทีไ่ ม่ ได้หยุดอยู่แค่ระดับจังหวัด แต่ยังต่อ ไปถึ ง ระดั บ ตำ � บลและชุ ม ชน รวม 10,530 แห่ง มีศูนย์พัฒนาอาชีพและ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา 27 แห่ง ห้องสมุดเพื่อบริการประชาชน อีก 910 แห่ง นอกจากนี้ยังไปร่วมกับ หน่วยงานเคลือ่ นทีอ่ น่ื ๆ เพือ่ ลดอุปสรรค ของผู้เรียนให้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ สะดวกยิ่งขึ้น เช่น ศูนย์ซ่อมสร้าง เพื่อชุมชน (Fix it Center) สำ�นักงาน คณะกรรมการอาชีวศึกษา, ชมรม คุ้มครองผู้บริโภค สำ�นักงานคุ้มครอง ผู้บริโภค, ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวงไอซี ที , มุ ม วิ ท ยาศาสตร์ เพื่ อ ชี วิ ต สถาบั น ส่ ง เสริ ม การสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, หน่วย แพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับโรงพยาบาล และสถานีอนามัย, ธนาคารเคลื่อนที่, หน่วยงานป้องกันบรรเทาสาธารณะ และหน่วยอำ�เภอเคลื่อนที่ ซึ่งมีผู้เรียน ผ่านเครือข่ายกศน. ทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดนี้ ในปีพ.ศ.2551 จำ�นวน 1.2 ล้านคน
เพิ่มจำ�นวนครูด้วยดิจิทัล
อุ ป สรรคในการสร้ า งโอกาสเรี ย น หนังสือให้กับผู้ที่อาศัยในที่ห่างไกล อาจไม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารเดิ น ทาง แต่ อี ก ปัญหาสำ�คัญก็คือ การขาดแคลนครู ที่สอนระดับมัธยมศึกษา อย่างเช่น โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ และโรงเรียนทีอ่ ยู่ บริเวณชายแดน ซึ่งมีสัดส่วนนักเรียน 1,000 คน ต่อครู 20 คน นั่นจึงเป็น ที่ ม าของการถ่ า ยทอดการเรี ย น การสอนผ่านดาวเทียมจากโรงเรียน วังไกลกังวล หัวหิน อันเป็นโรงเรียน ราษฎร์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั ดำ�เนินการโดยมูลนิธกิ ารศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม ที่สามารถใช้ จำ � นวนครู ที่ มี อ ยู่ จำ � กั ด ถ่ า ยทอดสด หลักสูตรมัธยมศึกษาทั้ง 6 ระดับผ่าน ทางสถานีโทรทัศน์จำ�นวน 6 ช่อง ตลอด 24 ชั่วโมง ไปยังโรงเรียนมัธยม ในสังกัดกรมสามัญศึกษาทั่วประเทศ ประมาณ 2,700 โรงเรียน ตลอดจน โรงเรียนเอกชน โรงเรียนพระปริยตั ธิ รรม และโรงเรียนอื่นๆ อีกประมาณ 300 แห่ง รวมทั้งสิ้นกว่า 3,000 โรงเรียน นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารถ่ า ยทอดผ่ า น เครือข่ายเคเบิลอีก 6 ช่อง ทีค่ รอบคลุม ประเทศเพือ่ นบ้านอีก 4 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา พม่า ลาว และเวียดนาม ทำ�ให้สมาชิกอีก 350,000 คนที่สนใจ สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ตลอด ซึ่งใน ปัจจุบันการให้ความรู้ผ่านเครือข่าย เคเบิลและอินเทอร์เน็ตกลายเป็นอีก ช่องทางสำ�คัญในการเรียนรู้จากผู้รู้ใน แหล่งต่างๆ ได้อย่างไม่จำ�กัด
โฮมสคูลเพื่อชุมชน
ขณะที่ ว งการศึ ก ษาทั่ ว โลกยั ง คง ถกเถียงกันระหว่างการเรียนการสอน แบบดั้งเดิมที่อาศัยตำ�ราในการสอน เป็ น หลั ก กั บ การเรี ย นรู้ จ ากการ สัมผัสจับต้องของจริงว่าวิธีการใดจะ ดี ที่ สุ ด นั้ น วั ด ที่ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางของ การเรียนรู้ในชุมชนมาตั้งแต่โบราณ ก็ มี ก ารปรั บ หลั ก สู ต รสมั ย ใหม่ ที่ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม จังหวัด เชียงใหม่ ได้นำ�มาใช้ คือ “โฮมสคูล” (Homeschool) ที่เน้นการปฏิบัติเพื่อ ให้ผู้เรียนสามารถทำ�งานได้จริง การเรียนในปีแรกเป็นการเปิด โอกาสให้เด็กที่เข้ามาเรียนได้ค้นหา ตัวเอง ได้ลองผิดลองถูก และเมื่อก้าว สูป่ ที สี่ อง นักเรียนก็จะบอกได้วา่ อยาก เรียนเรื่องอะไร เช่น เรื่องข้าว ทางวัด ก็ส่งเด็กไปเรียนกับผู้เชี่ยวชาญเรื่อง ข้าวโดยตรง โดยจะเขียนเป็นเอกสาร สรุปกับสำ�นักการศึกษาเขตพื้นที่ 2 จังหวัดเชียงใหม่ ชี้แจงว่านักเรียน อยากรู้ เ รื่ อ งข้ า ว ตั้ ง แต่ ก ารเตรี ย ม เมล็ดข้าว การเตรียมดิน การปลูก จนถึงการเก็บเกี่ยว ให้จบภายใน ม.1 ถึง ม.3 หรือ ม.4 ถึง ม.6 เพราะ เป้าหมายของการเรียนคือภายใน 3 ปี นักเรียนจะต้องสามารถพึ่งตนเองได้ ส่วนการวัดผลนั้นจะวัดจากหลักสูตร ของวัด คือต้องผ่านวิชาบังคับและทำ� โครงการจริง โดยมีรูปเล่มงานวิจัยที่ เขียนขึ้นจากการลงมือทำ�จริง
ที่มา: บทความ “อึ้ง! คนไทย ‘ไม่รู้หนังสือ’ 5.8 แสนคน” (7 มีนาคม 2014) โดย ไทยรัฐออนไลน์ จาก thairath.co.th / บทความ “โรงเรียนทางเลือกในรั้ววัด” โดย ศภิสรา เข็มทอง จาก trueplookpanya.com / บทความ “Homeschool เรียนรู้สู่ธุรกิจ” (3 กุมภาพันธ์ 2016) จาก krobkruakao.com / facebook.com/BBCThai / nfe.go.th CREATIVE THAILAND I 13
Cover Story : เรื่องจากปก
เรื่อง: ธนา แสงอรุณส่อง
การศึกษานัน้ มีเป้าหมายหลายประการด้วยกัน ตัง้ แต่การปลูกฝังบ่มเพาะ การสร้าง เสรีภาพทางความคิด และการเตรียมความพร้อมให้เด็กซึ่งใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ใน พืน้ ทีส่ ว่ นตัวหรือครอบครัว ให้มคี วามพร้อมทีจ่ ะเติบโตเป็นผูใ้ หญ่และก้าวออกมา สู่พื้นที่สาธารณะ ฯลฯ ขณะที่โลกในปัจจุบัน เยาวชนได้กลายมาเป็นกำ�ลังสำ�คัญ ของระบบเศรษฐกิจและสังคม หน้าทีท่ สี่ �ำ คัญอย่างยิง่ ด้านหนึง่ ของการศึกษาจึงหนี ไม่พ้นบทบาทในการเตรียมความพร้อมให้มนุษย์สามารถประกอบอาชีพได้เต็ม ความสามารถ
CREATIVE THAILAND I 14
การเชื่อมโยงการศึกษาเข้ากับการประกอบ อาชีพ ทำ�ให้การศึกษาเกี่ยวพันอย่างลึกซึ้ง กับพัฒนาการทางเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้น และระยะยาว ข้อแรกเพราะ สถานศึกษานัน้ ผลิต “ทุนมนุษย์” ให้แก่แรงงานที่จะเข้าไป ทำ�งานในระบบเศรษฐกิจ ข้อสองคือ การ ผลิตนวัตกรรมและเทคโนโลยีผ่านการทำ� วิจัยและพัฒนา wikimedia.org
ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งการศึ ก ษา กั บ การปรั บ เปลี่ ย นภู มิ ทั ศ น์ ท าง เศรษฐกิจ
ความสามารถทางการผลิตของแรงงานไทย ระหว่างปีค.ศ.1970 – 2004 20 ร้อยละของแรงงานกลุ่ม OECD
ทุนมนุษย์ และ เทคโนโลยี นั้นเป็นสองสิ่งที่ ต้องมีประกอบกัน เนื่องจากเทคโนโลยีเป็น เงือ่ นไขเบือ้ งต้น ส่วนทรัพยากรมนุษย์ทมี่ ที นุ มนุษย์สูง (ความรู้สูง) คือเงื่อนไขจำ�เป็น ที่ จะเพิม่ มูลค่าของเทคโนโลยีได้สงู สุด คำ�ถาม ก็ คื อ ทุ น มนุ ษ ย์ ดั ง กล่ า วสร้ า งได้ อ ย่ า งไร คำ�ตอบได้แก่ “การศึกษาในโรงเรียน” และ “การเรียนรูจ้ ากการลงมือทำ�จริง” (Learning by Doing) หรือหากจะกล่าวให้คล้องจองกัน ก็คือ “การศึกษาในโรงงาน” นั่นเอง ปัจจุบันประเทศไทยมีระดับทุนมนุษย์ มากน้อยเพียงใดนั้นอาจจะวัดได้ยาก ในที่นี้ จึ ง ขอยกดั ช นี เ พี ย งบางตั ว เพื่ อ มาเป็ น ตัวอย่าง เช่น ดัชนีที่สะท้อนความสามารถ การผลิตของแรงงาน (Labor Productivity) ของประเทศไทยเปรียบเทียบเป็นร้อยละกับ ประเทศพัฒนาแล้ว (OECD Countries) จะ พบว่า ในภาคอุตสาหกรรมไทย แรงงานของ เราสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้เพียงไม่เกิน ร้อยละ 16 ของ OECD เท่านั้น
en.isnhotnews.com
14.9
15 10
11
12.7
15.9
15.9
15.7
12.8
5 0
1970-74 1975-79 1980-84 1985-89 1990-1994 1995-1999 2000-2004 ที่มา: Khan (2010) หมายเหตุ: เส้นบนแสดงตัวเลขภาคอุตสาหกรรมไทย และ เส้นล่างแสดงภาพรวมเศรษฐกิจของทัง้ ประเทศไทย
จากข้ อ เท็ จ จริ ง นี้ อาจตี ค วามได้ ว่ า ตลอดกว่า 20 ปีทผี่ า่ นมา ประเทศไทยพัฒนา มากขึน้ ด้วยความเร็วระดับหนึง่ (ไม่ได้หยุดนิง่ ) ทว่าความเร็วดังกล่าวยังเร็วไม่พอทีจ่ ะไล่กวด ประเทศพัฒนาแล้วได้ทนั ระยะห่างของไทย และประเทศพัฒนาแล้วยังคงที่ ไม่ใกล้มาก ขึ้น บางครั้งเราจึงเรียกสถานการณ์เช่นนี้ว่า “กับดักรายได้ปานกลาง” คำ�ถามก็คอื ทำ�ไม เราจึงติดกับดัก และคำ�ตอบอาจจะอยู่ที่การ ศึกษาซึ่งไม่ได้ตอบโจทย์ทางเศรษฐกิจมาก เพียงพอ งานศึกษาของ Kanchoochat (2014) ได้รวบรวมงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาเรือ่ งกับดักรายได้ ปานกลางและสรุ ป ว่ า มาตรการสำ � คั ญ CREATIVE THAILAND I 15
ปี
ประการหนึ่งที่จะทำ�ให้ประเทศหลุดจากกับ ดักนีไ้ ด้ ได้แก่ การทำ�ให้การศึกษามีลกั ษณะ ที่เหมาะสม ซึ่งหมายถึงไม่ใช่แค่เรียนสูง แต่ ต้องเรียนอย่างมีคุณภาพด้วย และควรตอบ โจทย์ รวมถึงนำ�โจทย์ให้แก่ภาคเศรษฐกิจ ที่แท้จริงได้ด้วย ในปั จ จุ บั น ประเทศไทยได้ ก้ า วเข้ า สู่ “บริบทใหม่” ในฐานะหนึง่ ในสมาชิกประชาคม เศรษฐกิ จ อาเซี ย น (ASEAN Economic Community: AEC) จึงนำ�มาสูค่ �ำ ถามสำ�คัญ ว่า การศึกษาทีด่ ที งั้ ในโรงเรียนและในโรงงาน กำ�ลังถูกท้าทายอย่างไร และเราจะรับมือกับ มันได้อย่างไรบ้าง
การศึกษาไทยและความท้าทายใน บริบท AEC ความท้าทายที่ 1: การเชือ่ มโยงการศึกษา เข้ากับภาคเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
ดังทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วว่า มาตรการเชือ่ มโยง การศึกษาเข้ากับภาคการผลิตนั้นเป็นหัวใจ สำ�คัญประการหนึง่ ทีจ่ ะพาประเทศหลุดจาก กับดักรายได้ปานกลาง ประเทศไทยเองก็ เข้าใจถึงความสำ�คัญข้อนี้ดี ดังนั้นบุคลากร ในภาคการศึกษา จึงมักถูกถามเสมอเวลาตัง้ หลักสูตรใหม่ๆ ว่า ตอบโจทย์ทางเศรษฐกิจ หรือไม่ เด็กจบไปจะมีงานหรือเปล่า หรือ แม้แต่งานวิจยั ในระยะสิบปีทผี่ า่ นมานี้ ก็ตอ้ ง มุง่ เป้าพัฒนาภาคเศรษฐกิจทีร่ ฐั บาลกำ�หนด มาเป็นหลัก1 ทว่าสิง่ ทีส่ งั เกตได้กค็ อื กระบวนทัศน์ใน การเชื่อมโยงการศึกษาเข้ากับภาคเอกชน ในปัจจุบนั ยังมักทีจ่ ะมุง่ มองถึงตลาดภายใน
ประเทศ (Domestic Market) มากกว่าที่จะ มองไปสู่ระดับภูมิภาคหรือระดับนานาชาติ และนัน่ ก็ท�ำ ให้ระดับความรูแ้ ละเทคโนโลยีที่ มหาวิทยาลัยผลิต ผูกติดอยูก่ บั ศักยภาพราว ร้อยละ 16 ของประเทศพัฒนาแล้วเท่านั้น การจะหลุดจากกับดักนี้ได้เราจึงต้องเปลี่ยน กระบวนทัศน์ไปสูค่ วามร่วมมือระดับภูมภิ าค มากขึ้น ตั ว อย่ า งเช่ น เป็ น ไปได้ ห รื อ ไม่ ที่ มหาวิทยาลัยจะร่วมทำ�วิจัยเพื่อตอบโจทย์ ให้แก่กลุ่มทุนเอกชนของเกาหลีใต้ ซึ่งจะ ทำ�ให้การไล่กวดทางความรู้ทำ�ได้เร็วยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นไปได้หรือไม่ที่เอกชน ไทยจะจ้างมหาวิทยาลัยในประเทศพัฒนา แล้วทำ�วิจัย นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยใน ประเทศและต่างประเทศ รวมถึงเอกชนไทย และต่างประเทศ โดยเฉพาะใน AEC ยัง อาจจะสร้างความร่วมมือ เป็นพันธมิตรทาง วิชาการและธุรกิจได้ด้วย
cdn.static.tuoitre.vn
sv2.jice.org
กรอบความร่วมมือ และการเชื่อมโยง ระหว่างภาคการศึกษาและภาคเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
เอกชนไทย
ECONOMIC PARTNER
เอกชน ประเทศพัฒนาแล้ว
flickr.com/Photos/ Pierre Metivier
OUT
CONVENTIONAL AREA / CLOSED SYSTEM
มหาวิทยาลัยไทย
SOU
RCE E RESEA C I V R R
SE
CH
ACADEMIC PARTNER
1 ถึงแม้การกำ�หนดให้ภาคการศึกษาเชื่อมโยงกับภาค
มหาวิทยาลัย ประเทศพัฒนาแล้ว
CREATIVE THAILAND I 16
เศรษฐกิจจะส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว ทว่าสิ่งเหล่านี้ก็ไม่ใช่ “ทัง้ หมด” ของการศึกษา หัวข้อการ ศึกษาอีกจำ�นวนมากที่อาจจะไม่เกี่ยวกับการเติบโตทาง เศรษฐกิจโดยตรง อาทิ ปรัชญา งานศึกษาทางมานุษยวิทยา ฯลฯ แต่สิ่งเหล่านี้ก็มีคุณค่าและสำ�คัญเช่นกัน การหมกมุ่ น ที่จะทำ�ให้การศึกษาสนับสนุนเศรษฐกิจ เพียงอย่างเดียว มีแนวโน้มที่จะทำ�ให้การศึกษาและ นักศึกษากลายเป็นสินค้าและปัจจัยการผลิต อันเป็นสิ่ง เลวร้ายของวิธีคิดแบบเสรีนิยมใหม่ (Neoliberalism)
flickr.com/Photos/tokyoform
ความท้าทายที่ 2: จากสงครามสมองไหล สูก่ ารแบ่งปันภูมปิ ญ ั ญาระหว่างประเทศ
ในบริบทของ AEC ข้อเสนอที่สำ�คัญ ประการหนึ่ ง คื อ การสนั บ สนุ น ให้ มี ก าร เคลื่อนย้ายแรงงานวิชาชีพประกอบไปด้วย แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ สถาปนิก วิศวกร นักบัญชี นักสำ�รวจ และกลุ่มอาชีพ ด้านการท่องเทีย่ ว ถึงแม้วา่ รายงานล่าสุดจะ บ่งบอกว่า การเคลือ่ นย้ายแรงงานผ่านกรอบ ความร่วมมือ AEC ในอาชีพเหล่านี้ยังไม่สูง มากนัก แต่มนั ก็ได้ให้เบาะแสถึงความสำ�คัญ ของประเด็นการเคลือ่ นย้ายแรงงานในระดับ ภูมิภาค ทำ�ไมประเด็นนี้ถึงสำ�คัญ สาเหตุเพราะ ปัจจุบนั เกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานคนเก่ง (Talent) ทั่วโลก โดยในประเทศพัฒนาแล้ว ปัญหาเหล่านีน้ า่ จะเกิดจากภาวะสังคมสูงวัย (Aging Society) เป็นหลัก ทำ�ให้ขาดแคลน แรงงานรุน่ ใหม่ กลับกันสำ�หรับประเทศกำ�ลัง พัฒนา ปัญหาคือการขยายตัวของการศึกษา ที่มีคุณภาพ ทำ�ได้ช้ากว่าการขยายตัวทาง เศรษฐกิจ ผลคือประเทศเหล่านีจ้ ะขาดแคลน คนเก่งทีจ่ ะรองรับเศรษฐกิจระดับเทคโนโลยี ที่สูงขึ้น ตัวอย่างที่ชัดเจนได้แก่ งานศึกษาของ Van Noorden (2012) ซึง่ ได้ส�ำ รวจนักวิจยั ด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกว่า 17,000 คน ใน 16 ประเทศและพบว่า กว่าร้อยละ 57 ของ นักวิจัยในสวิตเซอร์แลนด์เป็นชาวต่างชาติ นอกจากนี้ แคนาดาและออสเตรเลีย ก็เป็น อีกสองประเทศที่มีการจ้างงานนักวิจัยต่าง ชาติมากกว่านักวิจัยท้องถิ่น (เพราะคนเก่ง ในท้องถิ่นมีไม่พอ) ในขณะที่อินเดียต้อง
สู ญ เสี ย นั ก วิ จั ย เก่ ง ๆ ไปในต่ า งประเทศ จำ�นวนมากถึงกว่าร้อยละ 40 เป็นต้น เมื่อคนเก่งขาดแคลน สงครามจึงเกิด ประเทศต่างๆ ได้ริเริ่มโครงการที่จะดึงดูด คนเก่งไปทำ�งานให้กับประเทศตนเองอย่าง แข็งขัน อาทิ มาเลเซียได้จัดตั้ง TalentCorp ขึ้นเพื่อดึงดูดคนเก่งที่ทำ�งานในต่างประเทศ ให้กลับไปทำ�งานในประเทศของตน ประเทศ มหาอำ�นาจทางเศรษฐกิจอย่างจีนก็เช่นกัน ที่ได้ริเริ่มโครงการ 1,000 Talent Plan ขึ้น โดยให้สทิ ธิประโยชน์แก่คนเก่งทีเ่ ป็นเป้าหมาย อาทิ เงิน 1 ล้านหยวนและงานที่ดี ซึ่งสิทธิ เหล่านี้คำ�นึงถึงคู่สมรสและบุตรด้วย โครงการลักษณะเดียวกันนีย้ งั ปรากฏใน สิงคโปร์ (Agency for Science, Technology and Research: A*STAR) และประเทศไทย (Talent Mobility Program and Clearing House)2 แต่การดึงดูดคนเก่งระหว่างกันนี้ หากไม่ระวัง ก็อาจจะนำ�มาสู่ความขัดแย้ง ทางเศรษฐกิจมากกว่าความร่วมมือ และคง ทำ�ให้การรวมตัวอย่างแน่นแฟ้นใน AEC ยากลำ�บากมากขึ้นเท่านั้น
แล้ ว เราจะรั บ มื อ ปั ญ หานี้ ไ ด้ อ ย่ า งไร ข้อเสนอหนึ่งที่เป็นไปได้ก็คือ การสนับสนุน ให้คนเก่งเคลื่อนไหวในภูมิภาค AEC แบบ สั้นๆ มากกว่าจะเป็นไปแบบถาวร การ เคลื่อนไหวเช่นนี้จะส่งผลดีทั้งต่อประเทศ ผู้รับคนเก่ง และประเทศที่ส่งออกคนเก่ง เหล่านั้นไปทำ�งาน ตัวอย่างเช่น หากคนเก่ง ดังกล่าวไปทำ�งานในประเทศที่มีเทคโนโลยี สู ง ก็ จ ะได้ รั บ การถ่ า ยทอดทั ก ษะและ เทคโนโลยีมาด้วย เมื่อกลับประเทศของตน ก็จะทำ�ให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยีกลับไป ดั ง นั้ น การที่ ย อมให้ ค นเก่ ง ไปทำ � งานที่ ประเทศอื่นจึงไม่ใช่สมองไหล (Brain Drain) แต่เป็นการส่งไปเรียนรู้ (Brain Gain) การ หมุ น เวี ย นของมั น สมองเหล่ า นี้ (Brain Circulation) ทำ�ให้ประเทศต่างๆ สามารถ แบ่งปันประโยชน์จากภูมิปัญญาของคนเก่ง ในภูมภิ าคได้อย่างเต็มทีโ่ ดยปราศจากความ ขัดแย้ง ทว่าการจะทำ�ให้เกิดปรากฏการณ์ เช่นนี้ได้นั้น การศึกษามีความจำ�เป็นอย่าง ยิ่งที่จะต้องเตรียมความพร้อมให้แก่ผู้เรียน ทั้งในแง่ของภาษาและความยืดหยุ่นปรับตัว ทางวัฒนธรรม3
2 เบื้องต้นโครงการเหล่านี้ยังมุ่งเน้นดึงคนเก่งสัญชาติตนเองกลับประเทศ ทว่าก็มีโอกาสที่จะขยายไปสู่การดึงดูดคนเก่งในสัญชาติอื่นได้เช่นกันในอนาคต 3 อย่างไรก็ตาม ในอนาคตปัญหาในแง่ของการขาดแคลนคนเก่งอาจจะไม่ได้ปรากฏในรูปแบบของข้อจำ�กัดเรื่องตัวคน เพราะเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมทำ�ให้คนเก่งไม่ต้องเคลื่อนย้าย
ทางกายภาพ ก็สามารถให้บริการหรือทำ�การผลิตได้ผ่านช่องทางภาพและเสียง (Visual mobility) ยกตัวอย่างเช่น การทำ�งานระหว่างบริษัทในอเมริกาและบังกาลอร์ของอินเดีย หรือ การให้ค�ำ ปรึกษาของแพทย์ประเทศหนึง่ ไปให้แก่คนไข้ทอ่ี ยูอ่ กี ประเทศหนึง่ ผ่านอินเทอร์เน็ต หรือทีก่ า้ วลา้ํ กว่านัน้ ในอนาคต เมือ่ เทคโนโลยีเครือ่ งพิมพ์สามมิตริ าคาถูกลง คนเก่งๆ เหล่านีอ้ าจ จะทำ�งานจากซีกหนึ่งของโลกแล้วส่งผลงานไปให้พิมพ์อีกที่หนึ่งก็ได้ เช่นนี้ อุปสรรคสำ�คัญที่ทำ�ให้เราเข้าไม่ถึงคนเก่งจึงเป็นเรื่องของ “ราคา” มากกว่ากายภาพ CREATIVE THAILAND I 17
robohub.org
ความท้าทายที่ 3: การปรับตัวเพือ่ รับมือ กับการไหลเวียนของ “ทุนหุน่ ยนต์” robotc.net
japantimes.co.jp
โลกกำ � ลั ง เข้ า สู่ ยุ ค ที่ ทุ น คอมพิ ว เตอร์ (Computer Capital) อันได้แก่ ปัญญา ประดิษฐ์ หรือหุน่ ยนต์ตา่ งๆ สามารถทดแทน “แรงงานฝีมอื ” ได้อย่างมีนยั สำ�คัญ งานศึกษา ของ Frey & Osborne (2013) ประเมินว่า แรงงานกว่าร้อยละ 43 ของกำ�ลังแรงงาน ทั้งหมดในอเมริกามีความเสี่ยงสูงที่จะถูก แทนที่ด้วยหุ่นยนต์ในอีก 20 ปีข้างหน้า ความน่าหวาดวิตกนี้เข้มข้นขึ้นไม่น้อย เมือ่ ปัญญาประดิษฐ์ AlphaGo ได้รบั ชัยชนะ เหนือ Lee Sedol ในเกมดวลโกะไปถึง 4-1 ใน เดือนมีนาคมที่ผ่านมา ดังนั้น ภาคการศึกษา CREATIVE THAILAND I 18
จึงต้องปรับเปลี่ยนตัวเองให้ทัน กล่าวคือ นักเรียนนักศึกษาในทศวรรษถัดไปจากนี้จะ ต้องรู้ภาษาที่สาม ได้แก่ ภาษาคอมพิวเตอร์ แน่นอนว่า หุน่ ยนต์เหล่านีอ้ าจจะยังคืบคลาน มาสูป่ ระเทศกำ�ลังพัฒนาทีค่ า่ จ้างแรงงานตาํ่ ได้ไม่เร็วนัก แต่จะมาถึงอย่างแน่นอน มหาวิทยาลัยยังอาจจะต้องคำ�นึงถึงการ ศึกษาและงานวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาความ เหลื่อมลํ้าทางสังคม ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอัน เนื่ อ งมาจากขี ด ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี (Technological Capability) ที่ แตกต่ า งกั น อย่ า งมากระหว่ า งแรงงาน ส่ ว นภาคเอกชนก็ ต้อ งเรี ย นรู้ท่ีจ ะไล่ ก วด เทคโนโลยีเหล่านีใ้ ห้ทนั เพือ่ ทีจ่ ะใช้ประโยชน์ จากนวัตกรรมใหม่ๆ ในอนาคต
ความท้าทายที่ 4: เอกชนไทย ต้องเรียนรู้ ด้วยแต้มต่อทีน่ อ้ ยลง
ดั ง ที่ ก ล่ า วไปตั้ ง แต่ ต้ น ว่ า การศึ ก ษาใน ความหมายอย่างกว้างนัน้ ไม่ได้จบลงเมือ่ เรียน จบจาก “โรงเรียน” เท่านั้น แต่การศึกษายัง อยูใ่ นโรงงาน (หรือสถานทีท่ �ำ งานอืน่ ๆ) ผ่าน การเรียนรู้ของทั้งนายทุนและลูกจ้างอีกด้วย โดยนายทุ น ต้ อ งเรี ย นรู้ ที่ จ ะประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ ลูกจ้างก็จะต้องเรียนรู้ที่จะทำ�งานร่วมกับ เทคโนโลยีเหล่านั้น เพื่อแปลงให้กลายเป็น สินค้า การเรียนรู้ในโรงงานนี้จะส่งผลอย่าง มากต่อมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ ในอดีต รัฐบาลของประเทศกำ�ลังพัฒนา ซึ่งพยายามไล่กวดประเทศพัฒนาแล้วอย่าง ญีป่ นุ่ หรือเกาหลีใต้ มักใช้มาตรการสนับสนุน ในรูปแบบต่างๆ อาทิ การตั้งกำ�แพงภาษี การกำ�หนดอัตราแลกเปลีย่ น หรือการอุดหนุน สิทธิประโยชน์ให้แก่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อ ให้กลุ่มอุตสาหกรรมเกิดใหม่สามารถเรียนรู้ สะสมทุน และขยายกิจการ จนกระทัง่ เข้มแข็ง เพียงพอที่จะต่อกรกับประเทศพัฒนาแล้ว หลังจากนั้นจึงค่อยๆ ผ่อนคลายมาตรการ ให้เกิดการค้าเสรีไปเป็นลำ�ดับ4 ทว่าในบริบททีก่ ารค้าเสรีถกู ทำ�ให้กลาย เป็นมาตรฐานของโลก การที่ประเทศไทยได้ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของเออีซีแล้วในวันนี้ ไม่ ว่าจะชอบหรือไม่ก็ตาม มาตรการแทรกแซง
เพื่ออุดหนุนเอกชนภายในประเทศ และ มาตรการกำ � แพงภาษี จึ ง กำ � ลั ง ประสบข้ อ จำ�กัดอย่างยิ่งยวด ทำ�ให้เอกชนไทยไม่มี แต้มต่ออีกต่อไป เอกชนไทยจึงต้องเรียนรู้ “ด้วยตนเอง” ให้หนักขึ้น ยากลำ�บากมาก ยิง่ ขึน้ แต่นนั่ ก็เป็นหนทางสายบังคับทีเ่ อกชน ไทยต้องฝ่าฟันไปให้ได้ การเข้าเป็นส่วนหนึ่งของเออีซี ส่งผล ให้เราต้องตระหนักถึงภูมทิ ศั น์ทเี่ ปลีย่ นแปลง ไปในหลายๆ ด้าน อาทิ การเชื่อมโยงของ การศึกษาและเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค การเคลื่ อ นไหวของแรงงานโดยเฉพาะ คนเก่ง การไหลเวียนของทุน โดยเฉพาะทุน คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ไปจนถึงการ ไหลเวี ย นของสิ น ค้ า หรื อ การลดลงของ กำ�แพงและมาตรการอุดหนุนภายในประเทศ ความท้าทายเหล่านีก้ �ำ ลังส่งสัญญาณไป ในทางเดียวกันว่า การศึกษาในโรงเรียนและ ในโรงงานของประเทศไทย ต้องปรับตัว ขนานใหญ่เพื่อรับมือกับอนาคตที่มาถึงแล้ว หากประเทศไทยสามารถปรับกระบวนทัศน์ ของการเรียนรู้ได้ทัน การหลุดจากกับดัก รายได้ปานกลาง และความมั่งคั่งของชาติก็ คงจะตามมา ในทางกลับกัน หากการศึกษา ยังไม่ปรับตัว และทุนหรือแรงงานไม่สามารถ เรียนรู้ได้เร็วพอ เราก็คงถูกกลบกลืนหายไป ในกระแสการพัฒนาทีไ่ หลเชีย่ วของโลกใบนี้ ในที่สุด
4 มาตรการเหล่านีจ้ ะสำ�เร็จหรือล้มเหลวก็ขน้ึ กับการออกแบบสถาบันกำ�กับดูแลว่าทำ�ได้ดีหรือไม่ หากระบบกำ�กับดูแลไม่ดี
เอกชนก็จะเรียนรู้ช้าหรือไม่เรียนรู้ และหวังที่จะได้มาตรการอุดหนุนไปตลอดกาล ซึ่งจะทำ�ให้ประเทศสูญเสียประโยชน์
ที่มา: Frey, C., and Michael A.O. The Future of Employment: How Susceptible Are Jobs to computerization? Oxford Martin School, 2013. / vanNoorden, R(2012). Global mobility: Science of the move, Nature, 17 October. / Khan, M. (2010). Learning, Technology Acquisition and Governance Challenges in Development Countries. Ford Foundation and DFID. / Kanchoochat, V. (2014). The Middle-income Trap Debate: Taking Stock, Looking Ahead. Kokusai Mondai (International Affairs), 2014.
CREATIVE THAILAND I 19
Insight : อินไซต์
เรื่อง: ณัฏฐนิช ตัณมานะศิริ และ วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ
ในวันทีป่ ระเด็นเรือ่ งการศึกษาและการเข้าสูป่ ระชาคมอาเซียน กำ�ลังได้รับการกล่าวถึงอย่างต่อเนื่องและกว้างขวางจากทุก ภาคส่วน ด้วยความมุง่ หวังเดียวกันทีต่ อ้ งการสร้าง ‘ผูเ้ รียน’ ให้เป็นบุคลากรของชาติที่มีความพร้อมรอบด้าน เตรียมรับ ความท้าทายใหม่ของโลกที่ไม่เหมือนโลกใบเดิมอีกต่อไป ลองมาฟังกันว่าจากประสบการณ์ที่ผ่านมา คนรุ่นใหม่ ทั้งใน ฐานะผูเ้ รียนและผูส้ อนทีผ่ า่ นประสบการณ์การเป็นผูเ้ รียนมา ได้ไม่นาน พวกเขามองเรื่องนี้อย่างไรบ้าง
หนู ย อมรั บ ว่ า เป็ น คนหนึ่ ง ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ ระบบการศึ ก ษาของไทย โดยเฉพาะเรื่องการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ในมุมมองของหนู โรงเรียนเป็น สถานที่ที่สำ�คัญที่สุดรองจากบ้าน แต่การที่มีการจัดสอบก่อนที่นักเรียนจะ จบม.6 นั้น ถือเป็นการส่งเสริมให้เด็กไปเรียนกวดวิชามากขึ้น และบทบาท ของโรงเรียนก็ลดตํ่าไปด้วย เรื่องของเออีซี คิดว่ามันเหมือนการบ้าเห่อของใหม่ตอนแรกๆ แล้วก็ เลิก จะเห็นได้ว่าช่วงแรกๆ ที่คนไทยรู้ว่าจะมีการเปิดเออีซี มีการนับวัน ถอยหลัง จัดวิชาใหม่เสริมให้นักเรียนได้เรียน เช่น ภาษาอาเซียน หรือ ความรู้ทั่วไปอาเซียน แต่พอถึงวันที่เปิดเออีซีจริงๆ กลับเงียบเหมือนไม่มี อะไรเกิดขึ้น ส่วนตัวหนูรู้สึกเหมือนไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงทั้งที่ขณะนี้เปิด เออีซมี าได้เกือบ 3 เดือนแล้ว หนูคดิ ว่าคนไทยไม่ได้รบั การกระตุน้ หรือเข้าใจ ในการเปิดเออีซีมากขนาดนั้น
คิดว่าการเข้าสู่เออีซีอย่างเต็มตัวเป็นโอกาสทองของการศึกษาไทยในการ หันมาจริงจังกับการพัฒนาทักษะแห่งอนาคตใหม่ (การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21) ซึ่งจะทำ�ให้เยาวชนไทยมีทักษะในการดำ�รงชีวิต มีวิสัยทัศน์และกรอบ ความคิดทันกับบริบทของโลกที่เปลี่ยนไป ในฐานะครูสอนภาษาอังกฤษใน โรงเรียนขยายโอกาสของกทม. พบว่านักเรียนมัธยมต้นยังต้องได้รับการ พัฒนาและฝึกฝนภาษาอังกฤษอีกมาก การเข้ามาของเออีซเี ป็นโอกาสดีทคี่ รู จะสร้างแรงจูงใจภายในให้นักเรียนเห็นความสำ�คัญของภาษาอังกฤษ เห็น โอกาสในชีวิตที่ดีขึ้นจากความรู้ และบูรณาการกับวิชาสังคมศึกษาและวิชา อื่นๆ ให้รู้ว่าสิ่งที่กำ�ลังเข้ามานั้นเกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขายังไง และ พวกเขาจะพัฒนาตัวเองยังไงในโอกาสที่เข้ามาของเออีซี
ไม่ได้อินตามมาก เหมือนไม่ได้มีผลกับเราโดยตรง แต่เรื่องที่เตรียมพร้อม คือเรื่องภาษาที่ส่วนตัวเห็นว่าเป็นสิ่งสำ�คัญมากในชีวิตและการทำ�งานใน อนาคต
อภิญญา จะโรจร Teaching Fellow รุ่นที่ 2 : Teach for Thailand Foundation
พัชรดา วรพิพัฒน์ นักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิชามีเดียทางการแพทย์และวิทยาศาสตร์
กวินนาถ เศรษฐธำ�รงค์กูล นักเรียนชั้นม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
CREATIVE THAILAND I 20
หนูไม่ค่อยรู้เรื่องเกี่ยวกับเออีซีเท่าไหร่ แต่คิดว่าข้อดีคือทำ�ให้เรามีความ จำ�เป็นที่ต้องใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น จากที่เราคิดว่าภาษาอังกฤษสำ�คัญนะ แต่เพื่อนข้างๆ หรือคนรอบตัวพูดภาษาไทย เราก็ไม่จำ�เป็นต้องพูดหรือใช้ ภาษาอังกฤษเลย คิดว่าพอเปิดเออีซแี ล้วโอกาสทีท่ �ำ ให้เราต้องศึกษาภาษามี ความจำ�เป็นมากขึ้น นักเรียนนักศึกษาอาจจะพูดภาษาอังกฤษกันได้ทุกคน และจะนำ�ไปสู่โอกาสในการทำ�งานในอนาคตอีกมากมาย วิศาขา ทองโสภ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา
ผมคิดว่าการศึกษาไทยควรให้ความสำ�คัญกับกระบวนการเรียนรู้มากกว่า ความรู้ นักเรียนต้องมีทักษะสำ�หรับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ การเรียนการสอน ควรกระตุน้ ให้นกั เรียนพูด ให้ถาม-ตอบอย่างมีเหตุผล ครูควรเป็นโค้ชผูช้ แี้ นะ มากกว่าที่จะเป็นผู้รู้รอบมาเล่าให้ฟัง เพราะปัจจุบันเทคโนโลยีความรู้ มีมากมายและไม่หยุดนิ่ง เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา นักเรียนที่ชอบเรียนรู้จึง พัฒนาตนเองได้ตลอดเวลา ผมเชื่อว่าเหตุผลที่เด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษ มากถึง 12 ปีแต่ยังพูดและสื่อสารสู้เพื่อนบ้านเออีซีไม่ได้ ไม่ใช่เพราะไม่มี ความรู้ แต่เพราะไม่มีใจรัก พีระ แป้นคุ้มญาติ นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เราว่านักเรียนไทยไม่ค่อยเก็ต เพราะเขาไม่รู้จริงๆ ว่าการเปลี่ยนแปลงนี้มัน เกีย่ วข้องกับชีวติ พวกเขาโดยตรงยังไง การเรียนการสอนก็ปรับตัวไม่ทนั วิชา ประวัตศิ าสตร์ในโรงเรียน แทบไม่เคยสอนประวัตศิ าสตร์เศรษฐกิจ ส่วนเรือ่ ง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับรัฐเพือ่ นบ้านน้อยมาก วิชาเรียนทีพ่ ฒั นาทักษะ และความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจ เกี่ยวกับการประกอบการก็แทบไม่มี การศึกษาไทยไม่ได้ปูความเข้าใจเรื่องเศรษฐกิจและความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศในยุคปัจจุบันเท่าไหร่ พอเออีซีมาก็รีบๆ ยัดให้เด็กรับรู้ แต่มันไม่มีฐานมาก่อน จะสนุกไปกับมันก็ยังงงๆ ไม่ค่อยเข้าใจ ทำ�ได้แต่ พยักหน้าตามครูสอนแล้วก็ไปสนุกกับอย่างอื่นดีกว่า ธนชัย วรอาจ นักมานุษยวิทยาฝึกหัด
I have to say that I come from a western viewpoint. I would say that a lot of teaching here was done through memorization writing and answering, which did not foster many spaces for creative thinking, to think about a problem in a way that creates a solution or answer that the teacher may not have thought of or that other students in the class may not have thought of.
คนไทยมักโกรธเวลามีชาวต่างชาติคิดว่าประเทศไทยยังขี่ช้างอยู่ ทั้งที่เราก็ เอาแต่มองว่าประเทศเพื่อนบ้านล้าหลังทั้งที่ไม่รู้อะไรเลย การศึกษาควรจะ สอนเราว่าไทยสัมพันธ์กบั โลกอย่างไร ไม่ใช่เปิดประชาคมอาเซียนแล้วเรายัง กู้กรุงศรีฯ จากพม่าอยู่เลย วิชัย สว่างพงษ์เกษม นักศึกษาชั้นปีที่ 4 กรุงเทพฯ
อยากเห็นการศึกษาไทยที่ให้คุณค่ากับผู้เรียนในฐานะพลเมืองและเพื่อน มนุษย์ ส่งเสริมให้คนเราเคารพสิทธิคนอืน่ และรูห้ น้าทีต่ วั เองตัง้ แต่ยงั เป็นเด็ก ไปโรงเรียนเพือ่ การเรียนรูแ้ ละค้นพบความฝัน หรือสานฝันนัน้ ไปพร้อมๆ กัน กับการเติบโต ในขณะที่โลกของเรากำ�ลังก้าวผ่านความเป็น individual unit มั น คงจำ � เป็ น ที่ ค นเราจะรู้ จั ก และเข้ า ใจตั ว ตนของเราดี แ ละสร้ า งเสริ ม “Openness” ในการศึกษา มากกว่าการถูกหลอมรวมให้เหมือนๆ กันด้วย ความเป็น “Thainess” ที่อาจไม่มีอยู่จริง นพวรรณ เลิศธารากุล คุณครูโรงเรียนเชิงประชาธิปไตย พอร์ตแลนด์ สหรัฐฯ (Village Free School)
Rachel Kerstein Volunteer teacher on Thailand-Myanmar border
เมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โลกของเด็กไทยจะกว้างขึ้น เราจะได้เห็นผู้คน ที่หลากหลายและได้เลือกในสิ่งที่ไม่เคยมีให้เลือก แต่ในความเปิดกว้างนี้ ก็ต้องสอนให้เด็กเคารพตัวเอง กล้าคิดและกล้าตัดสินใจ เพราะการเข้าสู่ โลกกว้างนั้นเป็นเรื่องไร้สาระ ถ้าเรายังปิดกั้นและกดขี่ความคิดของเยาวชน คุณจะเปิดโลกให้เด็กไทยทำ�ไมถ้าคุณยังปิดตาเรา พริษฐ์ ชิวารักษ์ เลขาธิการกลุ่มการศึกษาเพื่อความเป็นไท
ระบบคิดที่ดูถูกประเทศเพื่อนบ้านก็เป็นอุปสรรค เพราะทำ�ให้ความคิดของ คนไทยมีเพดาน เพราะฉะนั้นการศึกษาไทยต้องปลูกฝังความคิดที่ยอมรับ ในวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่าง ยอมเรียนภาษาทีไ่ ม่ใช่ภาษาของตน ยอมทีจ่ ะผสาน วัฒนธรรมและหลอมรวมกันให้เป็นหนึ่งเดียว ไม่ใช่แค่ประเทศไทย แต่หาก ชาติอื่นทำ�ได้อย่างนี้ อาเซียนที่เราร่วมกันสร้างขึ้นมาจะเป็นประชาคมที่ แข็งแกร่งที่สุดในโลกเลยก็ว่าได้ สมปราชญ์ ภิราษร นักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
CREATIVE THAILAND I 21
Creative Startup : เริ่มต้นคิด
จากซ้ายไปขวา: ฐิติพงศ์, ศรัณยู และ เอกฉัตร
เรียนที่ใช่ อย่างที่ชอบ เรื่อง: นันท์นรี พานิชกุล ภาพ: สุวิจักขณ์ ดีใหญ่ และ ชาคริต นิลศาสตร์
เมือ่ เทคโนโลยีการสือ่ สารสมัยใหม่ ทำ�ให้การเพิม่ พูนทักษะจำ�เป็นต่างๆ นัน้ ไม่ได้จ�ำ กัดแค่ภายในรัว้ โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย อีกต่อไป จะเป็นอย่างไร หากจะมีสถานทีส่ กั แห่งให้คณ ุ สามารถเรียนรูท้ กั ษะภาษาอังกฤษทีจ่ �ำ เป็นในการทำ�งาน หรือเคล็ดลับ การลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ กระทั่งเทคนิคพิชิตข้อสอบวัดระดับเพื่อการศึกษาต่อ หรือกลวิธีการเล่นมายากลก็ได้ แถมยัง เลือกเรียนเรื่องเหล่านั้นตอนไหนและที่ไหนก็ได้ด้วย บนชั้นสองของ Launchpad พื้นที่โคเวิร์กกิง สเปซ ย่านสาทร เป็นที่ตั้งของ ออฟฟิศ Skilllane สตาร์ทอัพโรงเรียนออนไลน์ที่เปิดโอกาสให้คนทำ�งาน รุน่ ใหม่ได้ดงึ ศักยภาพของตัวเองออกมาอย่างเต็มทีผ่ า่ นการเรียนรูใ้ นรูปแบบ วิดีโอสตรีมมิ่ง ออฟฟิศขนาดไม่เล็กไม่ใหญ่แห่งนี้ ซึ่งประกอบไปด้วยโต๊ะ ทำ�งานเรียบง่ายบนพรมหญ้าปูพนื้ สีเขียวสดใสพร้อมด้วยอุปกรณ์การถ่ายทำ� คลิปวิดีโอการเรียนการสอนสารพัดคอร์สครบครัน ทำ�หน้าที่เป็นดั่งฐาน บัญชาการการผลิตและการส่งมอบความรู้ของทีมงานทั้ง 11 ชีวิต ผู้อยู่
เบื้องหลังความสำ�เร็จในชีวิตและหน้าที่การงานของผู้ใช้งาน Skillane กว่า 60,000 คนทีล่ อ็ กอินเข้ามาเพือ่ เรียนรูท้ กั ษะใหม่ๆ ตามความถนัดและความ สนใจกันทุกวันตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง นับตั้งแต่ก่อตั้งเมื่อปี 2013 ความสำ�เร็จในปัจจุบันของ Skillane นับว่า เป็นผลจากวิสยั ทัศน์ทสี่ มดุลกับการบริหารจัดการเนือ้ หา การตลาด และการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีของ ฐิติพงศ์ พิสิฐวุฒินันท์ (Co-founder & CEO) เอกฉัตร อัศวรุจิกุล (Co-founder & COO) และศรัณยู กู้ธนพัฒน์ (CTO)
CREATIVE THAILAND I 22
ที่มุ่งมั่นร่วมกันปูรากฐานการเรียนรู้แบบ Online Education สู่อนาคตเพื่อ ให้ Skill ane กลายเป็นชื่อแรกที่ทุกคนต้องนึกถึงเมื่อพูดถึง On-demand Skill และที่สำ�คัญคือ เพื่อให้ใครก็ตามแต่ มีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งการ ศึกษาหาความรู้ได้จากทุกหนทุกแห่งในทุกช่วงวัยและเวลาของชีวิต เข้าใจความต้องการของผู้ใช้งาน บริการคอร์สการเรียนออนไลน์ของ Skill ane โดดเด่นด้วยระบบการเรียนรู้ ในจังหวะเวลาของตัวผู้เรียนเอง (Self-paced Learning) ซึ่งตอบโจทย์ชีวิต และการทำ�งานของกลุม่ ลูกค้าหลักหรือกลุม่ คนวัยกำ�ลังเริม่ ทำ�งาน “เราชอบ เรื่องการเรียนรู้อยู่แล้ว แล้วก็เป็นลูกค้าของ udemy.com กันตั้งแต่สมัยยัง เรียนที่ Kellogg (Kellogg School of Management) ก็คุยกันว่าเราต้องทำ� ตรงนี้ให้เกิดขึ้นที่เมืองไทย เริ่มจากการทำ�เว็บไซต์ต้นแบบสอนแค่วิชาเดียว คือการใช้ Microsoft Excel แล้วก็ส่งให้หลายๆ คนช่วยดู ตอนนั้นเว็บก็ยัง ทำ�อะไรไม่ได้มาก แค่กดคลิปดูบทเรียน” เมื่อบวกกับการศึกษาข้อมูลความ ต้องการของผู้ใช้งาน จึงเกิดเป็นความเข้าใจเชิงลึกทำ�ให้พวกเขาพัฒนา Skill ane ให้เป็นดังปัจจุบัน “เราพบว่า มากกว่าร้อยละ 97 ของคนไทยวัย ทำ�งานมีเรื่องที่อยากเรียน บางคนอยากเริ่มเล่นหุ้น อยากเรียนภาษาใหม่ อยากแต่งรูปให้สวย แต่ที่น่าสนใจคือ คนกลุ่มนี้ยังไม่ได้เรียน เพราะบอกว่า ไม่มีเวลา ทำ�งานกลับมาบ้านทุ่มหนึ่ง จะให้ไปเรียนที่สถาบันตอนกลางคืน ก็ไม่ไหว เสาร์อาทิตย์ก็อยากอยู่บ้านกับครอบครัว จะให้แบ่งเวลาไปสัมมนา ทั้งวันก็ไม่ได้ เราก็เลยได้คอนเซ็ปต์ว่าผู้เรียนจะเรียนเมื่อไหร่ก็ได้ มีเวลาแค่ 15 นาทีกเ็ รียนได้” นอกจากนี้ ยังอุดช่องโหว่ของการเรียนรูอ้ อนไลน์แบบไม่เสีย ค่าใช้จา่ ยด้วยการออกแบบเนือ้ หาและการสอนอย่างตัง้ ใจ “จุดแข็งน่าจะเป็น เรื่องการวางโครงสร้างของเนื้อหามาเป็นขั้นตอน ส่วนใหญ่ก็ประมาณ 6-8 ชั่วโมงจบหนึ่งคอร์สแล้ว เหมือนกับเราไปงานสัมมนา 1 วัน ก็ประมาณ 6-8 ชั่วโมง” ยืดหยุ่นให้เข้ากับพฤติกรรมผู้ใช้ พวกเขายังผลิตประสบการณ์ในการใช้บริการ เนื้อหา และการเรียนรู้โดยอิง จากการใช้งานเป็นหลัก “คนที่เข้ามาเรียนส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ดูรวดเดียวจบ ส่วนใหญ่จะประมาณวันละครึง่ ชัว่ โมง พอตัดเป็นตอนละ 10 นาที เขาก็อาจจะ ทยอยดูวันละ 2 ตอน วิดีโอแต่ละตัวก็จะระบุเนื้อหาและความยาวไว้ให้ ช่วยให้เรียนตามความเร็วของตัวเองได้ ถ้ารู้เรื่องนี้อยู่แล้วก็ข้ามไปได้เลย” นอกจากนี้ ยังปรับเปลี่ยนให้หลากหลายและเข้ากับลักษณะของคนไทย “ช่วงแรกเราเน้นเรือ่ งธุรกิจ แต่หลังๆ ก็เริม่ ขยายมาทีห่ มวดหมู่อื่นๆ ด้วย แต่ที่ นิยมยังเป็นด้านการลงทุนและการบริหารการเงินส่วนบุคคล ส่วนใหญ่เขาจะ สนใจเป็นกลุม่ จะไม่คอ่ ยมีคนทีเ่ รียนครบทุกอย่าง หรืออย่างเรือ่ งการจ่ายเงิน คนไทยจะชอบโอนเงิน เราก็เลยเปิดระบบโอนเงินด้วย” (อย่างไรก็ตามสัดส่วน ผู้ใช้งาน Skill ane ที่ชำ�ระเงินผ่านบัตรเครดิตก็สูงกว่าอีคอมเมิร์ซ) รวมถึง ปรับแผนประชาสัมพันธ์เชิงรุก “ช่องทางการโปรโมตหลัก นอกจากเพจของ เราแล้ว ก็รวมถึงเพจของอาจารย์แต่ละคนด้วย เนื่องจากลูกค้าของเราเป็น กลุ่มคนวัยทำ�งาน เลิกงาน 6 โมง เริ่มเล่นเฟซบุ๊กประมาณ 2 ทุ่ม เราก็จะ เริม่ โฆษณาในช่วงนัน้ และเน้นการทำ�การตลาดด้วยโฆษณาทางออนไลน์เป็น หลัก เช่น เฟซบุ๊ก กูเกิล อีเมลมาร์เก็ตติ้ง รวมถึง Line Ad”
สมดุลทั้งหน้าบ้านและหลังบ้าน หัวใจสำ�คัญของธุรกิจอยู่ที่การรู้จักบริหารและจัดการเพื่อให้การทำ�งาน ภายในระหว่างทีมเทคนิค ทีมผลิตเนือ้ หา และทีมวางกลยุทธ์และการตลาด เป็นไปอย่างราบรืน่ และมีประสิทธิภาพ ซึง่ สะท้อนออกมาในรูปแบบของการ ใช้งานที่ลื่นไหลไร้จุดสะดุด “เรื่องเซิร์ฟเวอร์เราก็ต้องดีไซน์ระบบเผื่อไว้ คือ ถ้าเทียบกับการเรียนสด ข้อได้เปรียบของเราคือ ดูเมื่อไหร่ก็ได้ ตัดปัญหา เรื่องสถานที่ เวลา ดูซํ้ากี่รอบก็ได้ วิดีโอมันเป็นฟอร์แม็ตที่เข้าใจง่ายกว่า หนังสือ กด คลิก ดูตามได้เลย” แน่นอนว่า skill ane.com พร้อมรองรับทั้ง บนหน้าเดสก์ทอ็ ปคอมพิวเตอร์หรือบนจอมือถือ “เราจะทำ�ให้ซพั พอร์ทเกือบ จะทั้งหมด ทุกแพลตฟอร์ม เพราะผู้ใช้งานแต่ละคนบางทีมีทั้งไอแพด ทั้ง มือถือ ทั้งคอม จะจัดการการใช้งานของเขายังไงให้มันไหลลื่น ไม่สะดุด” ท้ายที่สุด ทีมงานที่เห็นและเข้าใจไปด้วยกันคือข้อได้เปรียบที่ทำ�ให้ Skill ane เติบโต “เราไม่นึกว่าเราจะโตเร็วขนาดนี้ เพราะว่าด้วยตัวโปรดักต์ เองมันก็เป็นเหมือนสินค้าใหม่ทยี่ งั ไม่เคยมีในเมืองไทยมาก่อน ก็เป็นสิง่ ทีน่ า่ พอใจครับ” ซึ่งพวกเขาก็ยังมองว่าก็ต้องปรับตัวต่อไป “เราอยากให้ไม่ว่าจะ อยู่ช่วงไหนของชีวิต จะทำ�อะไรที่มันก้าวหน้าขึ้น ถ้าอยากพัฒนาตัวเอง ต้องคิดถึง Skilllane เพราะฉะนั้นสิ่งที่เราต้องทำ�ก็น่าจะเป็นเรื่องของ คอนเทนต์ ต้องครอบคลุมมากขึ้น ฟีเจอร์จะต้องมากขึ้นเพื่อให้ตอบโจทย์ ใช้สะดวกมากขึ้น” ในอนาคตพวกเขาวางแผนจะเสริมทีมเพื่อรองรับภาระ งานที่เรียกได้ว่าแทบจะล้นมือ “เราแบ่งเป็น 3 ทีมครับ แล้วมันก็ต้องโตขึ้น ไปพร้อมๆ กัน ทั้งเนื้อหา ไอที และการตลาด เฮด 3 คนก็จะมาคุยกันว่า อยากได้อะไร แล้วกระจายคุยกันกับน้องๆ ในทีมให้เขารูว้ า่ ตอนนีท้ �ำ อะไร อยากได้อะไร เขาจะได้เสนอไอเดียอื่นๆ ได้ ซึ่งตอนนี้เราก็ปรับเรื่อยๆ และ มีประชุมกันทั้งบริษัททุก 2 อาทิตย์เพื่ออัพเดตพร้อมกันว่าตอนนี้บริษัทเป็น ยังไงแล้ว เดือนต่อไปเราจะทำ�อะไร และก็มีการแชร์ความรู้กันว่าทำ�อะไร กันอยู่หรือไปเรียนรู้เทคนิคอะไรมา ก็มาแชร์กัน มี Slack (โปรแกรมแชท) ใช้สอื่ สารกันในทีม ถ้ามีปญั หาหรือต้องตัดสินใจอะไร เราค่อยไปช่วยดู หรือ ถ้าเรามีบริษัทที่เป็นพาร์ทเนอร์ก็สามารถเชื่อมต่อกันได้ด้วย ขณะทีก่ ารเรียนรูใ้ ห้เร็ว ลองทำ�ให้เร็ว และดูวา่ มันดีไม่ดเี พราะอะไรและ ทำ�ให้มนั ดีขน้ึ เรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง ก็ยังคงเป็นกลยุทธ์ที่ขบั เคลือ่ นสตาร์ทอัพ กลุ่มนี้ “ไม่ใช่ว่าเราทำ�เพราะความสนุกอย่างเดียว มันมีเรื่องบิสสิเนสที่ ต้องไปให้ได้ด้วย เพราะเราก็มีนักลงทุนด้วย เราก็ต้องมีเพอร์ฟอร์แมนซ์ ที่ ต้องดิลิเวอร์ให้ได้ ต้องให้น้องๆ ได้มีโอกาสลองผิดลองถูก ไม่ปิดกั้นไอเดีย ใหม่ๆ ให้ลองทำ�เลย แล้วค่อยมารายงานผล ถ้าเวิร์กก็ทำ�ต่อ ไม่เวิร์กก็ไม่ เป็นไร ถ้าพวกผมกระตุน้ ให้นอ้ งได้ลองคิดลองทำ� วินยั มันก็จะเกิด ซึง่ หลายๆ อย่าง น้องเขาก็คิดโปรเจ็กต์เอง ลงมือทำ�เอง โดยมีเราคอยสนับสนุนให้ คือ มองว่าอยูด่ ว้ ยกันก็โตด้วยกันทุกคน ถึงเราเป็นบริษทั เล็กที่ชื่อโปรไฟล์ยังไม่โต แต่สิ่งที่เราช่วยเขาได้คือ ถ้าเขามาทำ�กับเรา แล้วเขาจะเก่งขึ้น”
เว็บไซต์: skill ane.com เฟซบุ๊ก: skill ane
CREATIVE THAILAND I 23
Creative City : จับกระแสเมืองสร้างสรรค์
เรื่อง: ชวนะพล น่วมสวัสดิ์
เราอาจจะเคยได้ยินคำ�ว่า East-West Economic Corridor (EWEC) มาบ้าง และระยะหลังๆ มักได้ยินคำ�นี้บ่อยขึ้นจาก กระแสการตืน่ ตัวของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) East-West Economic Corridor คือเส้นทางทีอ่ ยู่ในแนวระเบียง เศรษฐกิจตะวันตก-ตะวันออกของการคมนาคม เพือ่ เชือ่ มต่อระหว่างประเทศและหัวเมืองสำ�คัญๆ ในกลุม่ ประเทศลุม่ แม่นา้ํ โขง (Greater Mekong Subregion) ประกอบด้วย 6 ประเทศ คือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม กัมพูชา ลาว และพม่า โดยมีระยะทางรวมประมาณ 1,450 กิโลเมตร และเป็นเส้นทางทีเ่ ชือ่ มโยงระหว่างทะเลจีนใต้กบั ทะเลอันดามัน ซึง่ มีวตั ถุประสงค์ เพื่อให้เกิดการขยายตัวทางการค้าและเศรษฐกิจในภูมิภาคนี้ ทั้งด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม สินค้าและการบริการต่างๆ อันจะก่อให้เกิดการจ้างงานและการร่วมมือกันทางด้านเทคโนโลยีและการศึกษาระหว่างกันมากขึ้น รวมทั้งเป็นการเพิ่มขีด ความสามารถของภูมิภาคในการแข่งขันกับตลาดโลก CREATIVE THAILAND I 24
เมื่ อ ลองย้ อ นกลั บ ไปดู แ ผนที่ ป ระเทศไทย หนึ่งในจังหวัดที่เป็นหัวเมืองสำ�คัญคือ “จังหวัด ขอนแก่น” ทีร่ ฐั บาลได้เล็งเห็นศักยภาพและทำ�เล ที่ตั้งของเมืองขอนแก่น ว่าเป็นจังหวัดศูนย์กลาง ของภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของกลุ่ม ประเทศลุ่มแม่นํ้าโขง ซึ่งมีความพร้อมทั้งด้าน การศึกษา การแพทย์และสาธารณสุข การค้า เศรษฐกิจ การลงทุน และการขนส่ง
phongnapha.multiply.com
innnews.co.th
เมืองหลวงของภาคอีสาน คำ�เปรียบเปรยที่ถูกหยิบยกมาพูดกันถึงจังหวัด ขอนแก่น ว่าเป็นเมืองหลวงของภาคอีสานหลัง จากที่ประเทศไทยประสบอุทกภัยครั้งใหญ่เมื่อ ปี พ.ศ. 2554 เริ่มมีความเป็นไปได้อย่างชัดเจน มากขึ้น หลังจากรัฐบาลมีแนวคิดที่จะผลักดันให้ ขอนแก่นเป็นเมืองศูนย์กลางของระบบโลจิสติกส์ เพื่ อ รองรั บ การก้ า วเข้ า สู่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) โดยสนับสนุนให้ขอนแก่นเป็น ศูนย์กลางทางด้านการคมนาคม ทัง้ ทางเครือ่ งบิน ซึ่งจะพัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการบินในภูมิภาค โดยมีสนามบินนานาชาติขอนแก่นรองรับจำ�นวน ผู้ใช้งานได้มากถึง 32 เที่ยวบินต่อวัน นอกจากนี้ ยังเร่งพัฒนาการขนส่งทั้งทางรถยนต์และรถไฟ ซึง่ จะมีการพัฒนาเป็นโครงการรถไฟความเร็วสูง ระบบรางคู่ โดยมีจังหวัดขอนแก่นเป็นสถานี สำ�คัญของโครงการ ซึ่งจะเชื่อมโยงกับประเทศ จีนและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตลอดจนการยกระดั บ ให้ เ มื อ งขอนแก่ น เป็ น ศูนย์กลางการกระจายสินค้าของกลุ่มประเทศ ลุม่ แม่นาํ้ โขง รวมทัง้ การมีสงิ่ อำ�นวยความสะดวก ที่ ทัน สมั ย ในการจั ด ประชุ ม และสั ม มนาทั้ง ใน ระดับชาติและนานาชาติ ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ทำ�ให้จังหวัดขอนแก่นได้รับการสนับสนุนจาก หน่วยงานต่างๆ ของทางภาครัฐและเอกชนเป็น อย่างดี จนเขยิบเข้าใกล้คำ�ว่าเมืองหลวงของ ภาคอีสานได้อย่างแท้จริง
แผนที่เส้นทาง East-West Economic Corridor ที่มา: Asian Development Bank, 2011
CREATIVE THAILAND I 25
CREATIVE THAILAND I 26
photos.wikimapia.org facebook.com/kkuthailand
เมื่อพูดถึงศูนย์กลางการศึกษาในภาคตะวันออก เฉี ย งเหนื อ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น คงเป็ น มหาวิ ท ยาลั ย อั น ดั บ ต้ น ๆ ที่ ห ลายคนนึ ก ถึ ง “การตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่นเพิ่มขึ้นอีกแห่ง หนึ่งนั้นเป็นคุณอย่างยิ่ง เพราะทำ�ให้การศึกษา ชั้นสูงขยายออกไปถึงภูมิภาคที่สำ�คัญที่สุดส่วน หนึ่งของประเทศ ซึ่งต่อไปจะเป็นผลดีแก่การ พัฒนา ยกฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนใน ภูมิภาคนี้เป็นอย่างยิ่ง ความสำ�เร็จในการตั้ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงเป็นความสำ�เร็จที่ ทุกคนควรจะยินดี” พระราชดำ�รัสของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เมื่อครั้ง เสด็จพระราชดำ�เนินมาทรงเปิดมหาวิทยาลัย ขอนแก่น เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2510 นั้น สะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนถึงเป้าหมายและการ ทำ � หน้ า ที่ ข องมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น ในฐานะ ผูส้ ร้างรากฐานและผูพ้ ฒั นาการศึกษาในทุกๆ มิติ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
เพือ่ ให้ประสบความสำ�เร็จตามทีไ่ ด้ตงั้ เป้าไว้ มหาวิท ยาลัย ขอนแก่ นจึ งได้จั ดให้ มีก ารเรีย น การสอนและการวิ จัย หลากหลายสาขา เช่ น การแพทย์ การสาธารณสุขและสุขภาพเขตร้อน การเกษตรและระบบฟาร์มเขตร้อน (สัตวศาสตร์ พืชศาสตร์) ความหลากหลายทางชีวภาพลุ่ม นํ้าโขง ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคมอนุภูมิภาค ลุ่มนํ้าโขง ธุรกิจ เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว อนุ ภู มิ ภ าคลุ่ ม นํ้ า โขง ที่ นั บ ว่ า ครอบคลุ ม ทุ ก ศาสตร์ ต ามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่งชาติ ฉบับที่ 11 นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย ยังมีการเตรียมความพร้อมด้านการศึกษาเพื่อ รองรั บ การเข้ า สู่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ด้วยการเปิดหลักสูตรภาษาอังกฤษของวิทยาลัย นานาชาติ ศูนย์อาเซียนศึกษา ศูนย์ภาษาอาเซียน ของคณะมนุษยศาสตร์ ตลอดจนส่งเสริมและ เพิ่มพูนความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา ของประเทศสมาชิกอาเซียน รวมไปถึงการเข้า ร่วมโครงการแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา ระหว่างกลุ่มประเทศสมาชิกด้วย khonkaenlink.info/Master Khanun
AEC กับการขับเคลื่อนทาง การศึกษา
เห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยมีการเตรียมพร้อม รองรับนักศึกษาจากทุกชาติของภูมิภาคอาเซียน ทั้งยังมีโครงการอื่นๆ ที่กำ�ลังจะเกิดขึ้นและจะ เข้ามามีบทบาทต่อการพัฒนาการศึกษา เช่น พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา (โครงการในพระ ราชดำ � ริ ) ที่ ทำ � ให้ ผู้ ค นเห็ น ความสำ � คั ญ ของ ทรัพยากรท้องถิ่น โครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อนำ�วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ และ โครงการศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ สาขา ขอนแก่น ที่มีการลงนามบันทึกข้อตกลงความ ร่ ว มมื อ ระหว่ า งมหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น กั บ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) เพือ่ ส่งเสริม การใช้ ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์ แ ละงานออกแบบ ในการสร้างคุณค่าและมูลค่าให้กบั สินค้าและบริการ ในท้องถิ่น เป็นต้น โดยที่ผ่านมามหาวิทยาลัย ยังได้พัฒนาจากมหาวิทยาลัยท้องถิ่นจนก้าวสู่ การเป็นมหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ของประเทศ และเป็น ที่ยอมรับในระดับนานาชาติมากขึ้นตามลำ�ดับ ผ่านการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพสูงสู่สังคมและ ภาคการผลิตทั้งในและต่างประเทศ
banidea.com
เมื่อกล่าวถึงความตื่นตัวในการเข้าสู่ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน มีผลวิเคราะห์หนึ่งที่กล่าวถึง ศักยภาพของประเทศไทยในด้านฝีมือและการ เป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบที่มีคุณภาพ สิ่งที่เห็นได้ ชัดเจนของจังหวัดขอนแก่นก็คอื “งานหัตถกรรม” ทีเ่ กิดจากการใช้วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ที่ จ ะช่ ว ยต่ อ ยอดให้ เ กิ ด ทิ ศ ทางในการพั ฒ นา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ใน รูปแบบใหม่ๆ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัด เช่น การทอ ผ้ า ไหมมั ด หมี่ ที่ มี ค วามประณี ต และลวดลาย สวยงาม หรือการใช้ภูมิปัญญาพื้นถิ่นมาเป็น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อนื่ ๆ ที่ มีความแปลกใหม่และตอบรับกับความต้องการ ของผู้บริโภคในปัจจุบัน สิ่งเหล่านี้จะเป็นตัวชี้ให้ เห็นศักยภาพของงานออกแบบที่ทำ�ให้ขอนแก่น เป็นเมืองสร้างสรรค์ที่มีความสามารถในการ แข่ ง ขั น และเป็ น ที่ ย อมรั บ จากกลุ่ ม ประเทศ ประชาคมอาเซียน โดยปัจจุบันขอนแก่นถือเป็น หนึ่งในศูนย์กลางที่รวบรวมกลุ่มผู้ประกอบการ
เอสเอ็มอีไว้มากที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย โดยเป็ น จั ง หวั ด ที่ มี ผู้ ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี ทั้งหมด 81,503 ราย ซึ่งถือว่ามากที่สุดในภาค อีสาน และยังเป็นจังหวัดที่มีจำ�นวนผู้ผลิตสินค้า โอท็อปมากที่สุดในภาคอีสานอีกด้วย คือจำ�นวน ผู้ผลิต 1,441 ราย และจำ�นวนสินค้า 2,788 รายการ ขณะที่วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพ ยังได้ช่วยสร้าง นักออกแบบและผู้ประกอบการรุ่นใหม่ที่สามารถ นำ�เอาความรู้และภูมิปัญญาชุมชนมาผสานเข้า กับ “องค์ความรูส้ มัยใหม่” เพือ่ ต่อยอดเป็นสินค้า และบริการทีแ่ ข่งขันได้ในตลาดทีก่ ว้างใหญ่ยงิ่ ขึน้ ในวันนี้ รวมถึงการนำ�องค์ความรู้ไปใช้ในการ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ เพื่อ ช่วยพัฒนาผู้ประกอบการธุรกิจทั้งรายใหญ่และ รายย่อย ตลอดจนกลุ่มผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ หรือสินค้าชุมชนในภูมิภาค ให้สามารถพัฒนา และต่อยอดให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานทีร่ ว่ มสมัย รวมถึงพัฒนาผลิตภัณฑ์และสินค้าเพือ่ การส่งออก ให้เป็นที่ยอมรับในประชาคมอาเซียนต่อไป
SMEs Hub
แม้หลังจากเปิดเออีซี ผลการสำ�รวจจะพบว่า คนไทยส่วนใหญ่มีความเข้าใจเรื่องประชาคม อาเซียนน้อยมาก ซึ่งอาจทำ�ให้พลาดโอกาสและ ขาดความพร้อมในการรับมือกับหลายๆ ปัจจัยที่ ทำ�ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้าง เศรษฐกิจซึ่งมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ทั้งภาคเศรษฐกิจ ที่ขยายตัวมากขึ้นจากการลงทุนอันเป็นผลต่อ เนื่ อ งจากการเปิ ด การค้ า เสรี ซึ่ ง นำ � มาสู่ ก าร แข่งขันทั้งด้านแรงงาน บริการ และการลงทุน ภาคการศึกษาเองจึงต้องให้ความสำ�คัญต่อการ สร้างความรูแ้ ละความเข้าใจเกีย่ วกับภูมภิ าคเพิม่ ขึ้นอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะการศึกษาในระดับ มหาวิทยาลัย เพือ่ ผลิตบัณฑิตทีม่ ศี กั ยภาพในการ แข่งขันไปรับใช้สังคม และเป็นกำ�ลังสำ�คัญอีก แรงหนึ่งในการขับเคลื่อนประเทศไทยต่อไป
industry.go.th
facebook.com/kkuthailand
banidea.com
หลังเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ที่มา: บทความ “แนวพื้นที่เศรษฐกิจและเส้นทางเศรษฐกิจที่สำ�คัญในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง” โดย สำ�นักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ จาก www.dtn.go.th / บทความ “ประเทศไทยหลังเปิดประชาคมอาเซียน (1)” โดย ศ. ดร. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ จาก kriengsak.com / บทความ “ผลวิเคราะห์อุตสาหกรรมไทยมั่นใจศักยภาพแข่งขันรับอาเซียน” จาก www.thai-aec.com / บรรยายพิเศษเรื่อง “การเตรียมพร้อมด้านการศึกษาของไทย เพื่อก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ปี พ.ศ. 2558” โดย ชินวรณ์ บุณยเกียรติ อดีตรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ จาก blog.eduzones.com / แผนยุทธศาสตร์การบริหาร ม.ขอนแก่น พ.ศ. 2559-2562 “บทสรุปสำ�หรับผู้บริหาร” จาก www.kku.ac.th CREATIVE THAILAND I 27
The Creative : มุมมองของนักคิด
The Fighting Force พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง เรื่อง: ศิริอร หริ่มปราณี / ภาพ: สุรพัศ เคียงคู่ และ ชาคริต นิลศาสตร์
เมื่อโลกความจริงไม่เหมือนทฤษฎีในต�ำรา ประสบการณ์ ทักษะ ที่หลอมเข้ากับความรู้ ทัศนคติที่เปิดกว้าง จึงเป็นสิ่งจ�ำเป็น ส�ำหรับ "คน" ที่จะเป็นอนาคตของสังคม และในภาวะที่สังคมไทยต้องเร่งความเร็ว เร่งความรู้ ให้พร้อมรับมือกับการแข่งขัน อันใกล้ของเออีซีและสิทธิการค้าอื่นของโลก ไม่มีหนทางใดจะเป็นค�ำตอบได้ดีที่สุดเท่ากับการเตรียมคนของเรา เมื่อการเดินทางสู่อนาคตครั้งนี้ ราวกับไฟต์บังคับ รองนายกรัฐมนตรี พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง ในฐานะผู้ที่ดูแล การวางพื้นฐานความรู้ของประเทศ จึงมีบทบาทปรับแต่งทุกระบบเพื่อให้การต่อสู่ในไฟต์นี้แปรผลเป็นชัยชนะเพื่อก้าวไปสู่ อนาคตอย่างแท้จริง ปั จ จุ บั น ความตื่ น ตั ว เรื่ อ งเออี ซียัง ต้ อ งอาศั ย การผลั ก ดั น และส่งเสริมให้เกิดการรับรู้และรับมือทั้งจากภาครัฐ ภาค เอกชน และภาคการศึกษาในฐานะรัฐบาลได้เร่งพัฒนาให้ สังคมไทยเดินผ่านความเปลี่ยนแปลงนี้ ไปสู่ความได้เปรียบ อย่างไร หลักการส�ำคัญของการสร้างโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศในภาพรวม ต้องประกอบด้วยหลายโครงสร้างพืน้ ฐาน ไม่วา่ จะเป็นเรือ่ งของการคมนาคม ขนส่ง เรือ่ งของพลังงาน การวางโครงข่ายไอซีที แต่โครงสร้างพืน้ ฐานทีส่ �ำคัญ ที่สุด ก็คือเรื่องของบุคลากรหรือทรัพยากรมนุษย์ ที่จ�ำเป็นต้องมีระบบการ ศึกษาและระบบการเสริมเรื่องของความรู้ ทักษะเข้ามา เพื่อให้มีศักยภาพ และประสิทธิภาพที่ดี เพราะฉะนั้นในโครงสร้างทั้งหมดมันก็จะมีผลกระทบ ในลักษณะที่แตกต่างกัน การที่เรามีโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง ที่ดี การเดินทางก็จะสะดวกปลอดภัย แล้วก็ส่งผลต่อเรื่องของการค้า การลงทุน และการขนส่งทางด้านโลจิสติกส์ ส่วนด้านพลังงานก็ต้องมีความ มั่นคงและเสถียรภาพที่จะมีพลังงานเพียงพอจะใช้ในชีวิตประจ�ำวันและ ในเรื่องของการค้าการลงทุน ส่วนประเด็นเรื่องของไอซีทีก็จะเน้นเรื่องของการวางโครงข่ายไฟเบอร์ ออฟติก คือโครงการ 15,000 ล้านที่มีการพูดถึง ในการวางโครงข่ายทั่ว ประเทศ ซึ่งจะเชื่อมโยงการเข้าถึงข้อมูลไปยังทุกพื้นที่ของประเทศ ไม่ว่า จะเป็นชุมชน หมู่บ้าน สถานที่ห่างไกล จะต้องมีการวางโครงข่ายไปให้ถึง ภายในเดือนมีนาคม 2560 ประกอบกับเรือ่ งของเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ซึง่ จะมีผล ต่อการพัฒนาบุคลากรไปด้วยอย่างยิ่ง ขณะที่โครงสร้างพื้นฐานด้าน
การศึกษาก็ต้องดูทั้งเรื่องของบุคลากร เรื่องของสถานที่เรื่องของหลักสูตร เรื่องของเทคนิคกระบวนการ และเรื่องของการทดสอบและการประเมินผล พวกนี้ถือเป็นโครงสร้างพื้นฐานด้านการศึกษาที่ส�ำคัญ คือเมื่อบุคลากร มี ค วามพร้ อ ม หมายถึ ง ผู ้ บ ริ ห ารมี คุ ณ ภาพ ครู มี คุ ณ ภาพมี ป ริ ม าณที่ เพียงพอในการที่จะไปท�ำหน้าที่ให้ความรู้และก็ให้จิตส�ำนึกในเรื่องของ ทัศนคติที่ดี ก็ซัพพอร์ทด้วยการน�ำ “ดิจิทัลเทคโนโลยี” เข้ามาท�ำให้ หลักสูตรสื่อการเรียนการสอนมันไปตามช่องทางจากต้นทางกรุงเทพฯ ไปยังทุกภูมิภาคได้ ในทางกลับกัน เราก็ส ามารถที่ จ ะเชื่ อ มโยงแหล่ ง ความรู้ต่างๆที่อยู่ทั่วประเทศเข้ามาเป็นศูนย์กลางได้ก็จะเกิดทางเลือก นอกเหนือจากการเรียนการสอนปกติ โดยออกไปทดสอบปฏิบัติกันนอก ห้ อ งเรี ย น ให้ มี ค วามรู ้ มี ทั ก ษะ แล้ ว ก็ เ อาไปท�ำงาน เพราะฉะนั้ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานพวกนี้ มั น ก็ จ ะไปใช้ เ ทคนิ ค ด้ า นดิ จิ ทั ล อี ก ที ห นึ่ ง เข้ามาเสริม สิ่ ง ที่ ท�ำได้ ใ นปั จ จุ บัน ปี นี้ เ ลย ก็ คื อ วางเครื อ ข่ า ยทางธุ ร กิจ เข้า ไป เพิม่ ทางเลือกในการน�ำข้อมูลไปเสนอ โดยต้องมีทมี มาคอยช่วยกลัน่ กรองว่า ข้อมูลนี้ หลักสูตรนี้ เหมาะสมที่จะให้นักเรียนได้เรียนหรือไม่ มันจึงเกิด นโยบายสองนโยบายขึน้ มาในปัจจุบนั นโยบายแรกก็คอื นโยบายทีจ่ ะเรียนใน ลั ก ษณะของทวิ ภ าคี แ ล้ ว ก็ เ น้ น ในเรื่ อ งของอาชี ว ะหรื อ เทคนิ ค มากขึ้ น นโยบายที่สองก็คือ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ เพื่อที่จะปรับให้เด็กนอกจาก จะเรียนในห้องเรียนแล้วก็ยังมีในเรื่องของจิตใจ เรื่องงานฝีมือ เรื่องของ สุขภาพว่ามีอะไรบ้าง ดังนัน้ สิง่ ต่างๆ พวกนีก้ จ็ ะเกิดขึน้ แน่นอนภายใต้การ ผลักดันของภาครัฐ แล้วก็จะมีการน�ำข้อมูลจากองค์กรทางด้านรัฐวิสาหกิจ องค์กรมหาชน เข้ามาเสริมร่วมมือกัน
CREATIVE THAILAND I 28
ถ้าไอซีทีเป็นระบบถนน เราสร้างถนนให้ทั่วถึงทั้งประเทศ แล้วส่วนที่เป็น “รถยนต์” หรือซอฟต์แวร์เพื่อการขับเคลื่อน เรื่องต่างๆ เราจะต้องพัฒนาอย่างไรเพื่อก้าวสู่เออีซี เราต้องมองในข้อเท็จจริงว่าสังคมเรามีอะไรเป็นจุดแข็ง แน่นอนวัฒนธรรม เป็นจุดแข็งของเรา ความเป็นมาทางประวัตศิ าสตร์เป็นจุดแข็ง เพราะฉะนัน้ เรา ก็ตอ้ งสร้างให้เด็กได้เรียนรู้ ได้เข้าใจ ได้มคี วามภาคภูมใิ จ เพือ่ ทีเ่ ขาจะสามารถ สือ่ สารกับคนภายนอกให้เข้าใจได้ มันเป็นเรือ่ งของการศึกษา การเสริมสร้าง ทัศนคติแล้วก็ท�ำให้เกิดความภาคภูมิใจในสิ่งที่เกิดขึ้น ในสิ่งที่เป็นของเรา ในสิ่งที่สามารถจะแสดงหรือเสนอให้กับคนอื่นได้ดู สิ่งพวกนี้มันแฝงด้วย ความรูท้ งั้ ด้านประวัตศิ าสตร์ ด้านวัฒนธรรมทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละยุค ความรูใ้ น การเปลี่ยนแปลงพัฒนาเมือง พัฒนาการของระบบการปกครอง การพัฒนา ในเรื่องของเทคโนโลยี ประวัติศาสตร์มันสอนให้คนได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ จากของจริง เรื่องพวกนี้จึงมีความจ�ำเป็นที่เราจะต้องศึกษาแล้วก็น�ำมา สร้างเสริมเป็นจุดแข็ง เป็นฐานรากส�ำคัญ แล้วก็เอากระบวนการที่เป็น ความรู้ใหม่ๆ เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาเสริม ก็เหมือนกับต่อพีระมิด
ถ้าเราต่อเชื่อมเออีซีซึ่งปัจจุบันเราเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้ว ก็มีการ แลกเปลี่ยนกัน สิ่งที่ดีๆ เราเก็บไว้ และเราก็เอาสิ่งที่ดีจากภายนอกมาเสริม ให้เกิดความภาคภูมิใจ ให้เกิดสติปัญญา ให้เกิดการบูรณาการมากขึ้น พอเราได้มีการ transition (การเปลี่ยนแปลง) แล้วเราก็ transformation (การแปลง) ตัวเราให้มีสมรรถนะที่ดีขึ้น โดดเด่นมากขึ้น คุณค่าที่เรามีอยู่ ในเชิงประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ความรู้ เทคนิคใหม่ๆ ก็จะไปสัมผัสได้กับ สิ่งที่เป็นกระแสในยุคโลกาภิวัตน์ กระแสในยุคดิจิทัล เพื่อที่จะเข้าไปเป็น ส่วนหนึ่งของสังคมที่เปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง เกิดการพัฒนาในมิติของ ความรู้ต่างๆ ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นสาขาวิทยาศาสตร์หรือศิลปศาสตร์ จะเห็ น ว่ า แต่ ก ่ อ นนี้ ไ ม่ มี ส าขาในเรื่ อ งของการบริ ห าร จะมี ก็ แ ต่ การบริหารธุรกิจ ซึ่งเป็นการบริหารที่ควบคู่กับทางด้านธุรกิจ ในเรื่อง เทคโนโลยีก็จะแค่ส่วนที่เป็น mechanic (เครื่องกล) ธรรมดา แต่ตอนนี้ เรามีอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาเสริม เป็นลักษณะของคอมพิวเตอร์ ระบบ ที่ เ ป็ น อั ต โนมั ติ เป็ น เรื่ อ งของหุ ่ น ยนต์ ห รื อ ยานยนต์ ที่ ไ ม่ มี ม นุ ษ ย์ ขั บ พวกนี้เป็นสิ่งที่เกิดจากการที่เรารับเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามา ส�ำคัญก็คือ เราต้ อ งเตรี ย มการว่าเรามี ค วามพร้ อ มในการรองรั บ เทคโนโลยี ใ หม่ๆ
CREATIVE THAILAND I 29
ความรูใ้ หม่ๆ เหล่านีห้ รือไม่ เรามีความสามารถทีจ่ ะ transfer (โอนถ่าย) transform (แปลง) และพัฒนาเพือ่ ทีจ่ ะก้าวไปสูย่ คุ โลกาภิวตั น์สยู่ คุ ดิจทิ ลั หรือมีความสามารถทีจ่ ะแข่งขันกับประเทศเพือ่ นบ้านได้มากขึน้ ไหม เพราะการแข่งขันในทีน่ มี้ นั จะนําไปสูเ่ รือ่ งของสังคมการขับเคลือ่ นทาง เศรษฐกิ จ และเรื่ อ งของความมั่ น คงและก็ บ วกรวมถึ ง เรื่ อ งของ สิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ยเพราะฉะนั้ น เชื่ อ ว่ า รั ฐ บาลได้ พ ยายามเตรี ย ม โครงสร้างพืน้ ฐานด้านการศึกษาและโครงสร้างต่างๆ ทีจ่ ะเป็นพืน้ ฐาน หลักของประเทศให้มีควีมพร้อมและให้เรามีสมรรถนะที่แข็งแกร่ง ได้ด้วยการเปลี่ยนแปลงตัวเราให้มีความลํ้าหน้ามากขึ้น การเรี ย นรู ้ น อกหลั ก สู ต รและการกระจายความรู ้ ไ ปทั่ ว ประเทศ ให้ ป ระชาชนเข้ า ถึ ง แหล่ ง เรี ย นรู ้ ทั้ ง ในแง่ ข อง กายภาพและออนไลน์ จะเป็ น ส่ ว นส� ำ คั ญ ที่ จ ะน� ำ ไป ต่อยอด ท่านรองนายกฯ มองเรื่องการศึกษานอกห้องเรียน อย่างไร อย่างที่ได้พูดถึงเรื่องของโอกาสการเข้าถึงข้อมูล เมื่อก่อนนี้ศักยภาพใน การเข้ า ถึ ง ความรู ้ คื อ ต้ อ งมี ห นั ง สื อ เยอะแยะครบถ้ ว น มี ห ้ อ งสมุ ด ต่อมาก็มีการพัฒนาเอาระบบเรื่องของความรู้ต่างๆ เข้ามา แล้วก็มีการ สร้ า งแหล่ ง ความรู ้ ภ ายนอกเพื่ อ เชื่ อ มต่ อ กั บ โลก เพราะปั จ จุ บั น นี้ เราไม่ต้องพานักเรียนออกไปนอกห้องเรียนแล้ว แต่สามารถที่จะส่งผ่าน องค์ ค วามรู ้ ม าทางเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต แล้ ว ก็ เ ป็ น Two-way communication ด้วย คือเรารับข้อมูลมาฝ่ายเดียวก็ได้ เราแลกเปลี่ยน ข้อมูลไปก็ได้ ซึ่งเราก็ต้องวางระบบนี้ไปยังภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ทีนี้ถ้าเราบอกว่าแกนหลักของเราคือการศึกษาตามหลักสูตร ก็ต้อง มี ก ารศึ ก ษาเพื่ อ จะเสริ ม สร้ า งทางด้ า นความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ก็คือเรื่องของการที่เราจะมีแหล่งความรู้อื่นๆ เข้ามาด้วย เพื่อที่จะให้ เด็กได้มีโอกาสท่องไปในแหล่งความรู้ที่เรียกว่า ท่องโลก แหล่งความรู้นี้ ส่วนหนึ่งอาจเป็นส่วนที่เราตั้งใจสร้างขึ้นมา อีกส่วนหนึ่งเป็นแหล่งความ รู้ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ อย่างพวกอุทยานที่ให้ศึกษาเรื่องชีวิตพืช ชีวิตสัตว์ หรือเรื่องของดาราศาสตร์ การเปลี่ยนแปลงของน�้ำขึ้น-น�้ำลง เรื่ อ งของแสงแดดที่ มี ผ ลต่ อ การเจริ ญ เติ บ โตของพั น ธุ ์ พื ช พั น ธุ ์ ไ ม้ สัตว์ต่างๆ พวกนี้เป็นความรู้ที่เกิดจากธรรมชาติ ส่วนความรู้ที่เราได้ ตั้งใจสร้างขึ้นมาก็คือ ความรู้จากการวิจัยที่น�ำไปสู่องค์ความรู้ใหม่ๆ แล้วก็น�ำองค์ความรู้นั้นมาแยกแยะว่าเราจะใช้งานในสาขาอะไร ก็จะ เกิ ด นวั ต กรรมที่ น�ำไปสร้ า งผลผลิ ต ต่ อ ยอดเป็ น ผลงานเชิ ง พาณิ ช ย์ เพื่อที่จะเกิดมีรายได้ขึ้นมา รายได้ก็จะเป็นตัวขับเคลื่อนให้มีความเป็น อยู่ที่ดีขึ้น สังคมก็จะดี เกิดการขับเคลื่อนให้มีเม็ดเงินเข้ามาสู่ครอบครัว สู่สังคม สู่ประเทศ เศรษฐกิจก็จะดี เมื่อมีความเป็นอยู่ดี มีเศรษฐกิจดี ประเทศชาติก็จะดีจะขึ้น อยู่ดีมีสุขอย่างนี้เป็นต้น
ทีนี้ถามว่ามีโรงเรียนแล้ว มีแหล่งที่เป็นองค์ความรู้นี่มันซ�้ำซ้อนไหม ผมว่า ก็ไม่ซ�้ำซ้อน เพราะว่าโรงเรียนจะให้ความรู้ในระดับหนึ่ง มีเครื่องมือเครื่องไม้ ที่ จ ะ เปิ ด โอกาสให้ นั ก เรี ย นเข้ า ถึ ง ระดั บ หนึ่ ง เปิ ด โอกาสให้ ค รู น�ำมา ถ่ายทอดให้ แต่ว่าแหล่งเรียนรู้ภายนอก เด็กจะสามารถสื่อสารในทุกๆ สิ่ง ทีเ่ ป็นงานแต่ละมิติ เพือ่ ป้อนให้กบั นักเรียนหรือแม้แต่เยาวชนทัว่ ไปทีจ่ บการ ศึกษาแล้ว หรือว่าไม่ได้มโี อกาสเรียนครบตามหลักสูตรให้เข้าถึงได้ เพียงแต่ ว่าเราจะต้องท�ำให้เขาสะดวกในการเข้าถึง มันจึงเกิดแนวคิดไอซีทีชุมชน ที่วางไปทุกๆ พื้นที่ สมมตินะครับว่า เมื่อก่อนหน่วยงานอย่างส�ำนักงาน บริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (OKMD) มันห่างไกล คนก็ไปล�ำบาก และ การเข้าถึงข้อมูลก็ไม่สะดวกนัก OKMD ก็เลยต้องมี TK park มี TCDC มี Museum Siam ที่กระจายกันให้คนมีโอกาสเข้าถึงมากขึ้น แต่ในปัจจุบัน นอกจากจะเดินทางไปเรียนรู้สัมผัสด้วยตัวเองแล้ว ก็ยังเชื่อมต่อด้วยเครือ ข่ายอินเทอร์เน็ตให้เข้าถึงได้ทวั่ ทุกแห่ง ประโยชน์ของการทีจ่ ะมีแหล่งเรียนรู้ แบบนี้จึงมีความหลากหลายทั้งในแง่เสริมความรู้ ในแง่การสร้างให้เกิด ความคิดสร้างสรรค์ แล้วก็ในแง่ทจี่ ะไปต่อยอดส่วนของวิชาการ หรือต่อยอด ในเชิงผลิตภัณฑ์ทจี่ ะเป็นผลผลิตทางพาณิชย์ได้ตอ่ ไปอย่างมีนยั ส�ำคัญ เพราะ ว่ามีกระบวนการที่แท้จริงแล้วว่าเกิดผลสัมฤทธิ์ แล้วก็มีคุณค่าในเชิงสังคม และเชิงเศรษฐกิจ
CREATIVE THAILAND I 30
ถ้ า หากว่ า เราจะสร้ า งคน ก็ ต ้ อ งมองว่ า สร้ า งแล้ ว เขาจะไปท�ำอะไรเมื่ อ จบ หลั ก สู ต ร ก็ ต ้ อ งไปศึ ก ษา สมมติ ว ่ า การศึ ก ษาใช้ เ วลา 10 ปี จากประถม จนอุ ด มศึ ก ษา ก็ ต ้ อ งมองว่ า จะสร้ า งคนในยุ ค นี้ อี ก 10 ปี ข ้ า งหน้ า อย่ า งไร สิ่ ง ที่ จ ะรองรั บ อาชี พ ของเขาคื อ อะไร ต้ อ งมองให้ อ อก ซึ่ ง ตรงนี้ ต ้ อ งมองถึ ง ความเป็ น จริ ง ทั้ ง ในประเทศ อาเซี ย น และในโลก
ค�ำว่าทักษะหรือว่าความรู้ จริงๆ คือต้องกลมกลืนกันมาก ในการน� ำ มาใช้ ง าน ใช่ๆ คือสิ่งพวกนี้มันเป็นจังหวะของแต่ละคนที่จะมีโอกาสได้รับไหมนะครับ แน่นอนว่าบางคนถ้าเรียน แต่ไม่มีโอกาสได้ไปหาประสบการณ์ คงไม่ได้ ประโยชน์ แต่ว่าต้องท�ำอย่างไรที่เรียนแล้วจะมีการไปท�ำเวิร์กช็อป ถ้าเป็น สถานศึกษาก็คือออกไปท�ำกิจกรรมนอกห้องเรียน เป็นกิจกรรมกลุ่ม มีการ แลกเปลี่ยนแนวความคิด มีการหาข้อสรุปในเชิงกลุ่ม แล้วก็ออกไปฝึกงาน นอกพื้นที่ ไปดูพิพิธภัณฑ์ ไปดูเรื่องของเทคโนโลยีใหม่ๆ ให้เกิดจินตนาการ ว่าจะน�ำความรู้กับทักษะที่มีมาท�ำอะไร ไปใช้งานอะไรได้บ้าง สถานศึกษา จึงต้องให้ความส�ำคัญไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียนอย่างเดียว แต่ตอ้ งมีการปฏิบตั ิ นอกห้องเรียนด้วย ซึ่งภาครัฐก็สนับสนุนในเรื่องของการประชุมสัมมนา การท�ำเวิร์กช็อป การท�ำกิจกรรมกลุ่ม หรือแม้แต่การไปทัศนศึกษาที่ยังคง มีอยู่ พอไปสัมผัสกับเรื่องของการศึกษามากๆ มันก็เกิดการรวมตัวกันของ 3 องค์ประกอบ คือความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) แล้วก็ทัศนคติ (Attitude) ถ้า 3 ตัวนี้มันเป็นไปในทิศทางบวก มีความรู้ที่ดีถูกทิศถูกทาง มีทักษะที่มาจากประสบการณ์การท�ำงานอย่างลุ่มลึก มันก็จะท�ำให้ความรู้ ถูกน�ำไปใช้อย่างเต็มที่ เต็มความสามารถ แล้วยิ่งถ้ามีทัศนคติที่ดีต่อสังคม ต่อวิชาการความรู้ในสาขาต่างๆ ก็จะท�ำให้ตัวเราเป็นบุคลากรที่มีคุณค่าใน การน�ำความรู้น�ำทักษะ ไปท�ำประโยชน์ให้แก่สังคม
การที่เราเป็นสมาชิกของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เรา จะต้ อ งเห็ น การต่ อ ยอด เชื่ อ มโยง เพื่ อ ที่ จ ะไปสร้ า งธุรกิจ ใหม่ ๆ หรื อ นวั ต กรรมใหม่ ๆ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถ ของตั ว เองในการแข่ ง ขั น ในส่ ว นนี้ ภ าครั ฐ มี ก ารสนับสนุน อย่ า งไร ผมมองเป็น 2-3 วง วงที่เป็นภาพใหญ่ของการค้าการลงทุนในเชิงเศรษฐกิจ ลงมาที่ภาพกลางแล้วก็ภาพเล็ก คือการสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจทั่วไป ทั้ง SMEs ทั้งสตาร์ทอัพให้มีศักยภาพที่จะไปแข่งขันกับประเทศทั่วโลก ซึง่ เรา ก็ทราบแล้วว่าบางทีมนั ก็ควบคุมได้บา้ ง ควบคุมไม่ได้บา้ ง แต่วา่ สิง่ ทีต่ อ้ ง เข้าถึงก็คือ เทรนด์ของธุรกิจการค้าว่าไปทิศทางใด คู่แข่งขันของเราเป็น ใครบ้าง สิ่งที่เขาต้องการคืออะไร คุณภาพ หรือปริมาณ หรือว่าภาพลักษณ์ หรือว่าสิง่ ทีจ่ ะสร้างให้เกิดความประทับใจ เพราะฉะนัน้ เราต้องจับตรงนีใ้ ห้ได้ เราจึงจะสามารถแข่งขันได้ แล้วก็โดยวิธีใด ก็คือการท�ำโรดแมพเช่น การไป ท�ำโรดโชว์ไปท�ำกิจกรรมต่างๆ เพือ่ ทีค่ นภายนอกจะได้เห็น ได้ทดลองแล้วเรา ก็จะรู้ว่าสิ่งที่ก�ำลังจะท�ำนั้นตรงกับความต้องการไหม พอตรงความต้องการ แล้วก็มาดูในส่วนของประเทศไทยในทุกมิตวิ า่ มันมีอะไรบ้างทีเ่ ราจะสามารถ แก้ไข หรือเติมเสริมได้ เราจะท�ำเองได้ไหมหรือจะเชิญคนที่เชี่ยวชาญให้มา ลงทุนในประเทศได้ไหม ถ้าได้ เราก็ต้องมาท�ำให้ส่วนกลางของประเทศมี ความพร้อมที่จะรองรับแล้วมันก็จะต่อเชื่อมเข้าไปได้เอง อย่ า งผู้ ประกอบ การที่ยังมีความรู้น้อย เข้าไม่ถึงตลาด รัฐก็จะต้องเข้าไปสนับสนุนกลุ่ม ผู้ประกอบการใหม่พวกนี้ให้เข้มแข็ง ให้เปลี่ยนจากขนาดเล็กมาเป็น ขนาดกลาง ไปเป็นขนาดใหญ่ ก็เท่ากับว่าเขาขยายตัวจากวงเล็กไปวงกลาง ทีม่ คี วามพร้อม แข่งขันได้ แล้วก็ไปสูว่ งใหญ่สดุ อย่างการแข่งขันในตลาดโลก
CREATIVE THAILAND I 31
หลั ง จากที่ เ ราท� ำ ทั้ ง ในแง่ ข องการศึ ก ษา ในแง่ ข องการส่ ง เสริมความสามารถของผู้ประกอบการ เรามองจุดสุดท้าย ว่าประเทศไทยจะสามารถอยู่ตรงไหนในอาเซียนหรือเออีซี หรื อแม้ ก ระทั่ ง ในเอเชี ย ถ้าเรามองในเชิงความเป็นมา ประเทศไทยมีที่ตั้งที่ดี เป็นศูนย์กลางอาเซียน ซึ่งเป็นข้อเท็จจริง ทางเหนือเราต่อเชื่อมกับพม่า ลาว กัมพูชา แล้วต่อไป เวียดนาม ลงมาทางใต้ก็เป็นมาเลเซีย สิงคโปร์และออกทะเลไปอีกนิดหนึ่ง ก็จะเป็นอินโดนีเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ เพราะฉะนั้นการที่เราเป็นศูนย์กลาง เราก็จะต้องพัฒนาทุกอย่างให้เป็นเซ็นเตอร์จริงๆ เพื่อที่จะเป็นผู้นำ�อาเซียน ให้ได้ เราอาจจะมีปญั หาเรือ่ งของศักยภาพทางการเมืองบ้าง เรือ่ งของความ รู้บ้าง ความล่าช้าในการก้าวไปสู่จุดที่เป็นโลกยุคดิจิทัลในปัจจุบันบ้าง ในอดีตเราอาจมีปัญหาเรื่องของการลงทุน การศึกษา หรือการวิจัย แต่เราก็ ต้องพยายามผลักดันในทุกทิศทุกทางให้เดินหน้าไปด้วยกัน ถ้าหากว่าเราจะสร้างคน ก็ต้องมองว่าสร้างแล้วเขาจะไปทำ�อะไรเมื่อ จบหลักสูตรก็ต้องไปศึกษา สมมติว่าการศึกษาใช้เวลา 10 ปี จากประถม
จนอุดมศึกษา ก็ต้องมองว่าจะสร้างคนในยุคนี้อีก 10 ปีข้างหน้าอย่างไร สิ่งที่จะรองรับอาชีพของเขาคืออะไร ต้องมองให้ออก ซึ่งตรงนี้ต้องมองถึง ความเป็นจริงทั้งในประเทศ อาเซียน และในโลก เราจึงมีการปรับและเสริม หลั ก สู ต ร เปิ ด โอกาสให้ ไ ด้ เ รี ย นรู้ ก ารฝึ ก ทั ก ษะเพิ่ ม ในสถาบั น ที่ เ ป็ น มหาวิทยาลัยราชภัฏในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท เช่น หากเราขาด กลุ่มช่างฝีมือก็ต้องไปเสริมการสร้างบุคลากรสายอาชีวะให้มากขึ้น ให้เขา ได้มีการเรียนไป ฝึกงานไป ได้ลงมือปฏิบัติของที่มันเป็นของจริง เป็น 3 มิติ แล้วมันฟังก์ชัน ให้เห็นการขยับขับเคลื่อนของกลไกต่างๆ ซึ่งมันจะทำ�ให้ เกิดความรู้กับทักษะอย่างที่บอกไป เพื่อที่จบไปแล้วจะมีงานทำ�แน่นอน หรือบางทีจบไปแล้วก็ยังต้องมีการเรียนต่อ เพราะบางครั้งเทคโนโลยี มันเปลี่ยนแปลงมากไปถึงการดำ�เนินการในทุกๆ มิติ ไม่ว่าจะเรื่องของการ บริหาร เรีอ่ งของงานประดิษฐ์ เรือ่ งของการทีจ่ ะไปคิดบริการทีช่ ว่ ยสนับสนุน เพราะฉะนั้นเมื่อจบไปแล้ว ก็ไม่ใช่อยู่กับที่ แต่ต้องศึกษาเรียนรู้ต่อ มันจึง เกิดนโยบายการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้มองเห็นเส้นทางสายอาชีพอย่าง ชัดเจน ตรงนี้ก็จะมีเส้นทางเดินให้ทั้งหมด เพื่อที่จะดึงทรัพยากรมนุษย์ให้ ไปสนับสนุนประเทศชาติให้ก้าวหน้าต่อไป
สิ่งที่ยังอยากท�ำในอนาคต: ตอนที่ไปเรียนปริญญาโท ปริญญาเอก สาขารัฐประศาสนศาสตร์ทมี่ หาวิทยาลัยรังสิต ตอนนัน้ ใช้เวลา 6 ปี ระหว่าง เรียนก็ล�ำบากพอสมควรเพราะอายุมากแล้ว เรียนด้วย ท�ำงานด้วย แล้ว เรียนทุกเสาร์-อาทิตย์ แต่สิ่งที่เป็นเป้าหมายให้เราอดทนก็คือ หนึ่งเรารู้ว่า ถ้าเรียนจบแล้วเราเกษียณ ก็อยากจะไปถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้ กับนักเรียนทหารและนักเรียนทัว่ ไป ข้อทีส่ องก็คอื สิง่ ทีเ่ ราเรียนมันน่าจะไป เสริมเรือ่ งของการบริหารรัฐกิจหรือราชการได้ดี ก็เก็บสองตัวนีม้ าเป็นจุดยึด ที่ท�ำให้มุ่งมั่นในการเรียน เพราะเรามีความตั้งใจว่าจะท�ำอะไรในอนาคต สไตล์การบริหารส่วนตัว: บังเอิญ ว่าผมถูก ฝึก มาให้ ม องอะไร ใน 2 เชิงพร้อมๆ กัน คือในเชิงยุทธศาสตร์ ก็ต้องคิดว่าถ้าจะไปสู่จุดนั้น ในทางยุทธวิธจี ะก�ำหนดเป้าหมายหรือกลยุทธ์ยงั ไง ตอนทีจ่ บจากโรงเรียน นายเรืออากาศก็เป็นหลักสูตรวิศวกรรมอากาศยาน เป็นทางเทคนิค พอได้ ไปท�ำการบิน ก็มคี วามเข้าใจเรือ่ งของเทคโนโลยีดา้ นการบิน ซึง่ ก็จะหลาก หลายทั้งระบบแอนาล็อกและดิจิทัล ประสบการณ์จริงพวกนี้จะท�ำให้เรา มองโลกบนความเป็นจริง เพราะพอเราได้ปฏิบตั กิ จ็ ะมีทกั ษะ โดยเอาความ รู้ที่เรียนในห้องมาประยุกต์ แล้วก็อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้น เกิดเป็นจินตนาการ ที่ไม่ใช่เพ้อฝัน แต่มีความใกล้เคียงกับความเป็นจริงได้
กิจกรรมยามว่าง: แต่ก่อนตอนเป็นนักเรียนผมเป็นนักกรีฑา นักบอล นักรักบี้ เล่นบาสเก็ตบอล วอลเลย์บอล เทนนิส แต่ตอนนี้เหลือแค่กอล์ฟ กับจักรยาน ส่วนกิจกรรมอื่นๆ ที่ชอบก็มีดูหนังแนวแอคชั่น แล้วก็อ่าน หนังสือซึ่งก็จะเปลี่ยนความสนใจไปตามวัย ตอนเด็กๆ อ่านพวกก�ำลัง ภายใน ดาราศาสตร์ โตมาหน่อยก็สนใจเรื่องบ้านและสวน แล้วก็ที่อ่าน มากตอนนี้ก็เรื่องท่องเที่ยว ถ้ามีเวลาจริงๆ ก็จะได้ไปเที่ยวบ้าง ก็จะแฝง ไปกับการท�ำงานเป็นส่วนใหญ่ ทั้งตอนที่เป็นนักบิน ตอนที่ไปท�ำงานกับ ท่านทูต หรือจากการตามเสด็จฯ
CREATIVE THAILAND I 32
โอกาสที่งานออกแบบที่นั่งของคุณ จะถูกเลือกผลิต และใชจร�งที่ TCDC เจร�ญกรุง
TCDC เปดรับผลงานออกแบบที่นั่งซึ่งยึดหลัก การออกแบบที่มีผูใชเปนศูนยกลาง พรอมแสดง ถึงพลังความคิดสรางสรรค ศักยภาพของวัสดุ และนวัตกรรม เพ�่อใชเปนที่นั่งในศูนยสรางสรรค งานออกแบบแหงใหม
คุณสมบัติ • นักออกแบบมืออาชีพ นักศึกษา และผูที่สนใจทั่วไป • ไมจำกัดอายุ
สมัครไดแลววันนี้ - 31 พฤษภาคม 2559 WWW.TCDC.OR.TH/CHAIRCOMPETITION2016
CREATIVE THAILAND I 33
รางวัล • เง�นรางวัลชนะเลิศมูลคา 300,000 บาท โดยผลงานจะ ไดรับการผลิตและใชงานจร�ง • เจาของผลงานทีเ่ ขารอบ 10 ผลงานสุดทาย จะไดเขาอบรม เชิงปฏิบัติการเร�่องการผลิตตนแบบกับบร�ษัทผูผลิต เฟอรนิเจอรชั้นนำ และจัดแสดงนิทรรศการที่ TCDC
เรื่อง: วรรณเพ็ญ บุญเพ็ญ
“ทุกวันนี้ ทุกคนเชื่อในการศึกษา เราสามารถสอนให้เด็กคำ�นวณ สอนนักบินให้รู้จักการลงจอด สอนศัลยแพทย์ให้ผ่าตัด สมองได้ แต่ยงั มีอกี สิง่ ทีด่ เู หมือนว่าเราจะยังไม่เชือ่ ว่าเป็นสิง่ ทีส่ อนกันได้ นัน่ คือสอนเรือ่ งการใช้ชวี ติ เช่นสอนว่าวิธใี ดทีใ่ ช้รกั ษา ความสัมพันธ์ อาชีพไหนที่เหมาะกับตัวเอง มีเงินไปเพื่ออะไร ต้องจัดการกับความเครียด ความเสียใจ ความอับอายอย่างไร ฯลฯ เราปล่อยให้ผคู้ นค้นหาคำ�ตอบเหล่านีด้ ว้ ยตัวเองโดยไม่ให้การศึกษา จนบ่อยครัง้ นำ�ไปสูค่ วามเครียดและเกิดความวุน่ วาย ในสังคม ดังนั้นเราจึงสร้าง The School of Life ที่จะสอนบทเรียนชีวิตที่โรงเรียนไม่ได้สอน เพื่อที่เราจะได้ไม่ต้องทำ�ผิดซํ้า ในเรื่องที่สามารถเรียนรู้ได้ในขณะที่ยังมีเวลา” นี่คือบางส่วนบางตอนของวิดีโอแนะนำ� The School of Life The School of Life ก่อตั้งขึ้นแห่งแรกที่กรุงลอนดอนเมื่อปี 2008 เพื่อเป็น สถานซึง่ รวบรวมบุคลากรนักคิดจากหลากหลายสาขา อาทิ ศิลปิน นักเขียน นักปรัชญา นักจิตวิทยา นักเศรษฐศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ ฯลฯ มาร่วมมือกัน สร้างองค์ความรูแ้ ละผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกันมาถ่ายทอดประสบการณ์ชวี ติ ที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงอยู่อย่างเป็นสุขท่ามกลางยุคสมัยที่ซับซ้อนในปัจจุบัน โดยมีการแบ่งกิจกรรมการเรียนรู้ออกเป็นทั้งการเข้าเรียนในห้องเรียน การ เข้าร่วมเวิร์กช็อป และการเข้าร่วมกิจกรรมที่เน้นการสอนทักษะการใช้ชีวิต ในแง่มุมต่างๆ ซึ่งผู้ที่สนใจสามารถเข้าเรียนหรือเข้าร่วมกิจกรรมได้โดยไม่ แบ่งแยกเพศ เชื้อชาติ ศาสนา และอายุ โดยมีค่าใช้จ่ายอัตราพิเศษสำ�หรับ ผู้ที่ยังมีสถานะเป็นนักเรียนนักศึกษา ขณะนี้ The School of Life มีสาขา ทั่วโลกแล้วกว่า 10 แห่ง ได้แก่ ลอนดอน, เมลเบิร์น, ปารีส, อัมสเตอร์ดัม, อิสตันบูล, โซล, เซาเปาลู (บลาซิล), เบลเกรด (เซอร์เบีย), แอนต์เวิร์ป (เบลเยียม) และ เทลอาวีฟ (อิสราเอล) ในขณะที่ฝั่งออนไลน์ The School of Life ก็มีบทเรียนที่เผยแพร่ฟรีผ่าน ช่องยูทูปเป็นประจำ�ทุกสัปดาห์ โดยมีเนื้อหาแบ่งหมวดหมู่ออกได้เป็นเรื่อง ความสัมพันธ์ การเข้าใจตัวเอง งานกับโลกทุนนิยม ปรัชญา จิตวิทยา ศิลปะ และสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ วรรณกรรม สังคมวิทยา และวัฒนธรรม ป็อป ซึ่งบทเรียนต่างๆ จะมุ่งเน้นการให้วัตถุดิบทางความคิดเพื่อให้ผู้ชมได้ นำ�ไปปรับใช้แก้ปญั หาในชีวติ ส่วนตัว รวมไปถึงการมุง่ ไปสูก่ ารเปิดใจยอมรับ และเข้าใจตนเอง คนรอบข้าง วัฒนธรรม และสังคมในปัจจุบนั ซึง่ นอกเหนือ จากช่อง The School of Life แล้ว ยังมีอีกหลายช่องในยูทูปที่ถ่ายทอดบท
เรียนนอกห้องเรียนทีน่ า่ สนใจไม่แพ้กนั อย่างเช่น BBC Radio4 ช่องทีร่ วบรวม ความคิด ไอเดียและการตัง้ ประเด็นคำ�ถามสูก่ ารถกเรือ่ งราวผ่านการเล่าเรือ่ ง ด้วยแอนิเมชันได้อย่างสร้างสรรค์, Blank on Blank เว็บไซต์ที่รวบรวม บทสัมภาษณ์ผมู้ อี ทิ ธิพลทางประวัตศิ าสตร์และบุคคลทีเ่ ป็นไอคอนในวงการ ต่างๆ โดยนำ�บทสัมภาษณ์มาเล่าผ่านแอนิเมชันที่ดูร่วมสมัยมากยิ่งขึ้น, CrashCourse คอร์สเรียนสนุกที่สอนตั้งแต่วิชาวิทยาศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ กฎหมาย ประวัติศาสตร์ ปรัชญา จิตวิทยา ด้วยการยกตัวอย่างประกอบ การสอนที่ทันเหตุการณ์และสอดแทรกด้วยอารมณ์ขัน เป็นต้น แม้วา่ ปัจจุบนั การประสบความสำ�เร็จด้านวิชาการจะเป็นเป้าหมายของ หลายๆ คน แต่สงิ่ ทีใ่ ครๆ ต่างรูอ้ ยูแ่ ก่ใจก็คอื สิง่ นีไ้ ม่ได้เป็นเครือ่ งรับประกัน ถึงความสำ�เร็จในอนาคตรวมทั้งความสามารถในการใช้ชีวิตได้อย่างเป็นสุข เหมือนอย่างที่อลัน เดอ บอตตอง (Alain de Botton) ผู้ก่อตั้ง The School of Life ได้เคยกล่าวไว้วา่ “เรามักคิดว่าทำ�อย่างไรถึงจะมีชวี ติ ทีป่ ระสบความ สำ�เร็จ บ่อยครั้งที่ความหมายของความสำ�เร็จกลับไม่ใช่ความคิดของเราเอง แต่เป็นของคนอื่น มันคงเป็นเรื่องแย่หากไม่ได้ในสิ่งที่คุณต้องการ แต่คงจะ แย่ยิ่งกว่านั้นหากพบว่าจริงๆ แล้ว สิ่งนั้นไม่ใช่สิ่งที่คุณต้องการเลย สิ่งที่ผม อยากบอกก็คือ ขอให้มั่นใจว่าความคิดเรื่องความสำ�เร็จเป็นของเราอย่าง แท้จริง” ที่มา: วิดีโอ “Alain de Botton: A kinder, gentler philosophy of success” จาก ted.com / theschooloflife.com / wikipedia.org / youtube.com : the school of life, Blank on Blank, BBC Radio4, CrashCourse
CREATIVE THAILAND I 34
the-school-of-life
ohmygoodness.net
the-school-of-life
Creative Will : คิด ทํา ดี
CREATIVE THAILAND I 35