ปฐมนิเทศวิชาปรัชญาอินเดีย ภาคเรียนที่ 1 /2555 หอง SPD 9 วันที่ 18 กุมภาพันธ 2555 การศึกษาปรัชญาอินเดีย
การศึกษาแนวคิด ( THOUGHTS OR CONCEPTS) ในอารยธรรมอินเดีย *** ไมใชเรื่องอะไรก็ไดที่เกีย่ วกับอินเดีย ***
การศึกษาแนวคิดอินเดียโบราณ (Ancient Indian Thoughts)
เนื้อหาวิชาปรัชญาอินเดีย ในวิชานี้ มุงเนื้อหาไปที่
สายอาสติกะ (Astika)
- ไมมุงไปที่ สายนาสติกะ ( not the Nastika system) - ไมมุงไปที่ ปรัชญาอินเดียรวมสมัย ( not contemporary Indian thoughts ) 1. สายอาสติกะ ปรัชญาอินเดีย มี 2 สาย
2. สายนาสติกะ
= สายที่สืบทอดวัฒนธรรมพระเวท ไดแก พราหมณ – ฮินดู ระบบแนวคิด 6 ทรรศนะ = สายที่ไมสืบทอดวัฒนธรรมพระเวท ไดแก พุทธ เชน และจารวาก
เหตุที่วิชาปรัชญาอินเดียในหลักสูตรนี้ ไมรวมแนวคิดสายนาสติกะเขาไวในเนื้อหาทีต ่ องศึกษา เพราะ
1. สายนาสติกะ โดยเฉพาะ พระพุทธศาสนา นักศึกษาไดเรียนในกลุมวิชาเอกอยูแลว 2. สวนศาสนาเชน ไมคอยมีบทบาทมากนัก มีบทบาทเฉพาะกลุมผูสนใจสามารถ คนควาเพิ่มเติมเองได 3. แนวคิดของจารวาก เปนแนวคิดเชิงวัตถุนิยมของอินเดีย แนวคิดยังอยูในขอบเขต จํากัด และไมลึกซึ้งในความเขาใจชีวิต
เหตุที่วิชาปรัชญาอินเดียในหลักสูตรนี้ ไมรวมปรัชญาอินเดียรวม สมัยเขาไวในเนื้อหาที่ตองศึกษา
ปรัชญาอินเดียรวมสมัย เปนแนวคิดที่เกิดขึ้นในชวงเวลาทีอ่ ินเดียไดรับ อิทธิพลแนวคิดจากอารยธรรมตะวันตกแลว
เพราะ
จุดมุงหมายของการศึกษาแนวคิดปรัชญาอินเดียสมัยโบราณ เพื่อใหผูศึกษา
ทราบถึงแนวคิดที่เปนของอินเดียแทๆ กอนการเขามาของอารยธรมตะวันตก
คุณคาของวิชาปรัชญาอินเดีย 1. ใหความรู ปริบททางความคิดที่คูขนานมากับพระพุทธศาสนา 2. ใหความรูและแนวทางที่สามารถแยกแยะความแตกตางระหวางพระพุทธศาสนากับ แนวคิดอื่นที่มีแหลงกําเนิดจากอารยธรรมเดียวกัน 3. เพิ่มพูนความเขาใจพระพุทธศาสนาใหชัดเจนยิ่งขึ้น 4. สงเสริมใหตระหนักถึงคุณคาของแนวคิดอินเดียในฐานะรากฐานของอารยธรรม ตะวันออก 5. เปนแนวทางในการนําไปประยุกตใชในชีวติ
Indian philosophy
สวน คําวา
ปรัชญา
= Indian darsanas (ทรรศนะ) = Indian demonstrations = Indian thoughts = Indian concepts มาจาก ธาตุ
คําวา ปรัชญาในคําสอนสันสกฤต ตรงกับ ปญญา
ปรัชญา
มาจากธาตุ
(สันสกฤต) =
ปญญา
ชฺญา (สันสกฤต) = รู ปญญาในคําบาลี
ญา (บาลี) = รู
(บาลี) =
wisdom
ในทางตะวันออก โดยเฉพาะอยางยิ่ง อินเดีย ปรัชญา / ปญญา
ไมใชแคสติปญญาความฉลาด ไหวพริบดี ไมใชแคความรูค วามคิดทางประสาทสัมผัส ไมใชแคความคิดหาเหตุผล
ปรัชญา / ปญญา
ไมใช intellect Intellect เปนสติปญญาที่รับรูผานประสาทสัมผัสและเปนความคิดเชิง เหตุผล ( reason)
แต
ไปสู
ปรัชญา / ปญญา
กาวขามประสาทสัมผัส กาวขามขั้นเหตุผล
ความรูจากภายใน ( insight knowledge)
เนื้อหาที่จะตองศึกษาในวิชาปรัชญาอินเดีย 1. ความเขาใจเรื่องปรัชญาและทรรศนะ 1.1 ปรัชญากับทรรศนะ (แนวคิด) : ความแตกตาง 1.2 ลักษณะเฉพาะของแนวคิดอินเดีย 2. แนวคิดในอารธรรมอินเดีย กอนยุคพระเวท 2.1 สินธุ : อารยธรรมลี้ลับดั้งเดิม 2.2 ความเชื่อและวิถีชีวิตในยุคสินธุ 3. แนวคิดในอารยธรรมอินเดีย ยุคพระเวท 3.1 การเขามาของอารยัน : กําเนิดพระเวท 3.2 ความเชื่อและวิถีชีวิตในยุคพระเวท 3.3 อิทธิพลของพระเวทตอการวางรากฐานอารยธรรม 4. แนวคิดในอารยธรรมอินเดีย หลังยุคพระเวท 4.1 อุปนิษัท : พัฒนาการสูจุดเปลี่ยนครั้งสําคัญ 4.2 แนวคิดจากภควัทคีตาในยุคมหากาพย 4.3 แนวคิดในระบบ 6 ทรรศนะ (3 คู)
4.3.1 สํานัก นยายะ และไวเศษกะ 4.3.2 สํานัก สางขยะ และโยคะ 4.3.3 สํานัก มีมางสา และเวทานตะ 1. ความเขาใจเรื่องปรัชญาและทรรศนะ
1.1 ปรัชญากับทรรศนะ (แนวคิด) : ความแตกตาง
ในประเทศไทยนิยมแปล philosophy กันวา ปรัชญา แตในความเปนจริง philosophy ไม ตรงกับความหมายขอปรัชญา philosophy
ตรงกับ ทรรศนะ หรือ แนวคิด ( thoughts or concepts )
2. แนวคิดในอารยธรรมอินเดียกอนยุคพระเวท
อดีตอัน รุงเรือง อารยธรรมสินธุ
ยุคสินธุ
กอนการเขามาของอารยัน
ยุคสินธุ
ราว 4000 – 3000 ป กอนคริสตศักราช ( 3500 – 2500 ป กอนพุทธศักราช ) 1. มีอักษรเขียน ซึ่งยังไมมีผูใด 2. ยังไมมีปรากฏวรรณกรรมคัมภีร 3. มีหลักฐานแสดงความเจริญรุงเรืองหลายดาน เชน สถาปตยกรรม ผังเมือง และสาธารณูปโภค 4. มีความเชื่อเกาแกดั้งเดิม ที่แสดงรองรอยวาเปนแบบฉบับความเชื่อของ อินเดีย
อารยธรรมสินธุลมสลาย โดยปจจุบันยังไมมีผูใดระบุสาเหตุที่แนชัดได แตสามารถระบุไดวา แตสามารถระบุไดวา
อารยธรรมสินธุไมไดลมสลายเพราะการเขามาของอารยันอยางแนนอน
** เพราะอารยธรรมสินธุลมสลายไปกอนการเขามาของอารยัน สาเหตุการลมสลายของอารยธรรมสินธุ สันนิษฐานวา 1. เกิดอุทกภัยครั้งรายแรง 2. เกิดภัยแลง ความอดอยากและโรคระบาด
ชวงสินธุลมสลาย
การเขามาของอารยัน
กําเนิดพระเวท ราว 1000 ป ที่ประวัติศาสตรวาง ( blank )
พระเวทยุคปลาย
อาถรรพเวท ( Atharvaveda)
เกิดภายหลัง มีแนวคิดอื่นในทองถิ่นเขามา ผสมผสาน ปะปน เชน ตันตระ และ คาถาอาคม
3. แนวคิดในอารยธรรมอินเดียยุคพระเวท
ชาวอารยัน ( Aryans) เขามาตั้งรกรากในอิ ย –1 ราวนเดี 2000
ราว 2000- 1500 ป กอนคริสตศักราช ( 1500 – 1000 ป กอนพุทธศักราช )
กําเนิดพระ เวท
จินตนาการทางศาสนาของอารยัน ปรากฏใน พระเวทยุคตน เริ่มตนจาก
พระเวท เปนคัมภีรเกาแกที่สุด เทาที่มนุษยชาติสรางขึ้น
ฤคเวท (Rgveda)
ยชุรเวท ( Yajurveda) อธิบายพิธีกรรม
สามเวท (Samaveda)
พระเวทยุคกลาง
อธิบายพิธีกรรม
อธิบายพิธีกรรม
ความเชื่อและแนวคิดในยุคพระเวท 1. ยังไมมีแนวคิดเชิงปรัชญา 2. ยังไมมีแนวคิดเรื่องความหลุดพน กรรม และชญาน 3. มุงแสวงหาสวรรค การติดกามสุข 4. สะทอนความผูกพันระหวางมนุษยกับธรรมชาติ โดยยกยองใหเปนเทพตางๆ ( deification) 5. กอเกิดพิธีกรรม คือ ยัชญวิธี ( sacrifices ) 6. เปนที่มาของสรรพวิทยาการ ที่เกิดตามมาภายหลังยุคพระเวท
4. แนวคิดในอารยธรรมอินเดียยุคหลังพระเวท เนื้อหาสวนนี้ถือเปน
หัวใจ
เปนการเขาสูแนวคิด หรือ ทรรศนะของอินเดียโดยตรง
หรือ
เนื้อหาหลักของวิชา ปรัชญาอินเดีย
4.1 อุปนิษัท : พัฒนาการสูจุดเปลี่ยนครั้งสําคัญ แนวคิดยุคอุปนิษัทนี้ ไมเหมือนและไมใชพระเวท แตเปนการสืบตอ และเปนวิวัฒนาการของวัฒนธรรม พระเวท
อุปนิษัท ( Upanisads)
เปนจุดศูนยกลางแนวคิดสายอาสติกะ และเปนจุดเปลี่ยน ครั้งสําคัญที่สรางสรรคพลังยิ่งใหญ ใหกับแนวคิดอินเดีย
ยุคอุปนิษัท แนวลคิดอินเดียกาวหนาขึ้นสู 1. มองเห็นความไมแนนอนและทุกขของชีวิต อันเนื่องจากสังสาระ 2. มีแนวทางคนหาสัจธรรม สละโลก สละกามสุข 3. มีแนวทางปฏิบัติทางจิตจนเกิดความรู คือ ชญาน 4. มีจุดหมายปลายทางที่โมกษะ หรือ ความหลุดพน 5. มีคําสอนใหรูจักธรรมชาติบริสุทธิ์ ที่มีอยูภายในตน คือ อาตมัน 6. มีคําสอนเกี่ยวกับธรรมชาติยิ่งใหญสูงสุด หนึ่งเดียวที่ควบคุมระเบียบจักรวาล ธรรมชาตินี้คือ พร หมัน 4.2 แนวคิดจากภควคีตาในยุคมหากาพย มหากาพย มหาภารตะ
ภควัทคีตา
เปนสวนหนึ่งของมหาภารตะ ( บรรพที่ 6 ) แตแยกเปนคัมภีรตาวงหาก และมีเนื้อหาบริบูรณ ในตัวคัมภีรเอง ภควัทคีตา เปนหนึ่งใน วรรณกรรม ที่ทรงอิทธิพลของโลก
ภควัทคีตา สอนใหรูจักประสานธรรมชาติ 3 อยางในชีวิตมนุษย
1. ปญญา
การปฏิบัติเพื่อใหเกิด
ชญาน
2. เจตจํานง
การปฏิบัติและการกระทํา
กรรม
3. อารมณ
ศรัทธา
ภักดี
ชี้ทางใหมนุษยคลายความสับสน เกิดความเชื่อมั่นใน การกระทํากิจตามหนาที่ที่ตนมี โดยขามพนความ ยึดถือในผลตอบแทนแหงการกระทํา
ภควัทคีตา
4.3 แนวคิดในระบบ 6 ทรรศนะ ( 3 คู ) 4.3.1 สํานักนยายะ และไวเศษิกะ
นยายะ
ไวเศษิกะ
โดดเดนในเรื่อง
โดดเดนในเรื่อง
ตรรกศาตร การสืบสวนไปสูความรู ปรมาณูเปนเหตุ มูลฐานของสรรพสิ่ง
การจัดกลมและการจําแนกแยกแยะสรรพสิ่ง
4.3.2 สํานักสางขยะ และโยคะ สางขยะ โยคะ
เกาแกที่สุด โดดเดนใน
ทฤษฏีวิวัฒนาการของโลก สังสาระมาจากการ ขาดความสมดุลของพลังธรรมชาติ การปฏิบัติเนนสมาธิโยคะ วิเคราะหจิตอยาง ละเอียด
4.3.3 สํานักมีมางสาและเวทานตะ
มีมางสา
เวทานตะ
โดดเดนใน
การนําพิธีกรรมมาอธิบายเชิงปรัชญา ความคิดเรื่อง หนาที่ประโยชนแกหนาที่ หรือ ทําเพื่อกิจแหงหนาที่ เอกภาพความเปนหนึ่งของสัจธรรมสูงสุดที่ ปรากฏเปนความหลากหลาย
งานหมอบหมาย ( Assignments ) ในวิชาปรัชญาอินเดีย 1. จัดทํารายงานกลุม 2. สอบปลายภาค 1. การจัดทํารายงานกลุม ( Group Report ) 1.1 นําเสนอ ( present ) ในลักษณะสัมมนา 1.2 จัดทํารายงานเปน paper report ( เรื่องเดียวกับที่ present) สงปลายภาค 2. การสอบปลายภาค ( Final Examination) - ไมมีการสอบในหองสอบ - เปนการสอบแบบ take home examination - สอบและสงงานตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด การกําหนดหัวขอรายงาน สามารถเลือกหัวขอรายงานได โดยอิสระ ภายใตเงื่อนไขวา
จะตองเสนอหัวขอและเนื้อหาอยูภายในเนื้อหา วิชาปรัชญาอินเดีย โดยเปนการศึกษาคนควาเกี่ยวกับแนวคิดของอินเดีย
ไมใชเรื่องอะไรก็ไดที่สักแตวาเกี่ยวกับอินเดีย หามเสนอหัวขอดังตอไปนี้ ประเภทหัวขอที่ ไมอยู ในเนื้อหาวิชาปรัชญาอินเดีย 1. ประเภทประวัติศาสตรอินเดีย 2. ประเภทสังคมวัฒนธรรมอินเดีย 3. ประเภทตํานานเทพหรือความเชื่อเทพเจาตางๆของอินเดีย 4. ประเภทนิทานตํานานปรัมปรา (myths) ของอินเดีย 5. ประเภทอื่นๆ ที่อยูนอก เนื้อหาวิชาปรัชญาอินเดีย
แนวการตั้งหัวขอเรื่องรายงาน 1. การตั้งประเด็นเดี่ยว โดยไมเปรียบเทียบ - การตั้งชื่อเรื่อง ตองเปน นามวลี - ไมใชกิริยาวลี - ไมใชประโยคทุกชนิด - ไมใชคําถาม - ไมใชภาษาชาวบาน หรือ ภาษาพูด
-
ตัวอยางการตั้งจุดศูนยรวม (focus) ของเรื่องกับประเด็นศึกษา เชน ตรรกวิทยาของนยายะ : ศิลปะแหงวิธีคิดของอินเดีย ภควัทคีตากับแรงจูงใจสูความสําเร็จ อุปนิษัท : ภาพสะทอนความกาวหนาในเทวนิยมของอินเดีย มีมางสา : จากพิธีกรรมสูปรัชญา
2. การตั้งประเด็นคู โดยมีการเปรียบเทียบ เชน - กรรมและการเกิดใหมในอุปนิษัทกับพระพุทธศาสนา - โมกษะ : จุดหมายปลายทางที่แตกตางระหวางอุปนิษัทกับพระพุทธศาสนา - โลกธรรมในทรรศนะของพุทธศาสนากับแนวคิดเวทานตะของศังกราจารย
3. การตั้งประเด็นคู โดยไมเปรียบเทียบแตบงชี้ความสัมพันธ เชน - นยายะกับไวเศษิกะ : คูทรรศนะแหงศิลปะวิธ ีคิด - จากหลักการสูการปฏิบัติ ในทรรศนะสางขยะและโยคะ - ความสัมพันธระหวาง มายากับอวิทยา ในแนวคิดของอไทวตเวทานตะ - อิทธิพลของอหังการ ในทฤษฎีวิวัฒนาการโลกของสางขยะ
“ไมมีสิ่งใดที่ชวยใหแสงสวางไดยิ่งเทาความรู ไมมีสิ่งใดที่ชวยขัดถูเกลากิเลสไดเสมอเหมือนสัจจะ ไมมีสิ่งใดที่เปนบอเกิดความทุกขเวทนาไดเทาราคะ ไมมีสิ่งใดที่ใหความเปยมสุขไดเสมอเทาการเสียสละ” “เราไมตองการใหผูอื่นประพฤติปฏิบัติตอเราเชนใด เราก็ไมควรประพฤติปฏิบัติ เชนนั้น ตอผูอื่นดวยเชนกัน” มหาภารตะ