รายงานประจำปีกองทุนเงินทดแทน 2554

Page 1


รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


สารบัญ

หน้า

ความเป็นมาและหน้าที่ความรับผิดชอบ

4-5

ขอบข่ายความคุ้มครอง

6

คณะกรรมการ

7

ผลการดำ�เนินงาน • การกำ�หนดอัตราเ งินสมทบ

12-14

• เ งินทดแทน

15-29

• งานคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ

30-47

• การตรวจแนะนำ�การปฏิบัติงานกองทุนเงินทดแทน • การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน • สถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน • งบการเงิน

48 48-49 50 51-54

ภาพกิจกรรม

56-59

รายนามผู้บริหารและคณะกรรมการ

61-63

ประมวลกฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบ คำ�สั่งที่เกี่ยวข้อง

65-67

ตารางภาคผนวก

69-114


สารบัญตาราง ตารางที่ 1 จำ�นวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและ อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 ตารางที่ 2 จำ�นวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและ อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จำ�แนกตามหน่วยงาน ตารางที่ 3 จำ�นวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและ อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จำ�แนกตามรหัสประเภทกิจการ ตารางที่ 4 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกความรุนแรงและรายเดือน ปี 2554 ตารางที่ 5 จำ�นวนนายจ้าง จำ�นวนลูกจ้าง จำ�นวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554 ตารางที่ 6 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรงและสาเหตุที่ประสบอันตราย ปี 2554 ตารางที่ 7 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งานจำ�แนกตามความรุนแรง และโรคที่เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการทำ�งาน ปี 2554 ตารางที่ 8 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรงและอวัยวะที่ได้รับอันตราย ปี 2554 ตารางที่ 9 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรงและสิ่งที่ทำ�ให้ประสบอันตราย ปี 2554 ตารางที่ 10 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรงและผลของการประสบอันตราย ปี 2554 ตารางที่ 11 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งานจำ�แนกตามความรุนแรง และกลุ่มอายุและอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554 ตารางที่ 12 สถิตกิ ารประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจากการทำ�งานจำ�แนกตามความรุนแรงและ ขนาดสถานประกอบการและอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554 ตารางที่ 13 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งานจำ�แนกตามความรุนแรง และประเภทกิจการและอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554 ตารางที่ 14 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรงและตำ�แหน่งหน้าที่ ปี 2554 ตารางที่ 15 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน จำ�แนกตามความรุนแรง (นอกข่ายกองทุนเงินทดแทน) ปี 2545–2554

หน้า 69 70-75 76-82 83 84-89 90 91 92 93 94 95 96 97-104 105-113 114


ความเป็นมา ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103 ลงวันที่ 16 มีนาคม 2515 ก�ำหนดให้มีส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ขึ้นในกรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย เพื่อเป็นหลักประกันให้ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจาก การท�ำงาน ได้รับเงินทดแทนเพื่อเลี้ยงดูตนเองและครอบครัวในขณะที่ขาดรายได้ประจ�ำโดยได้รับเต็มตามสิทธิที่ กฎหมายก�ำหนดไว้ กองทุนเงินทดแทน เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ปี 2517 ให้ความคุ้มครองสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 20 คน ขึ้นไป เฉพาะกรุงเทพมหานคร ต่อมาในปี 2519 ได้เริ่มขยายงานออกไปยังส่วนภูมิภาคเป็นครั้งแรก 5 จังหวัด คือ จังหวัดสมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรสาคร และนครปฐม และได้ขยายงาน ในส่วนภูมิภาคมาเรื่อยๆ จนถึง ปี 2531 ได้มีการขยายความคุ้มครองครบทุกจังหวัดทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2533 ส�ำนักงานประกันสังคม จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 กองทุนเงินทดแทนได้โอนมาสังกัดส�ำนักงานประกันสังคม ต่อมาเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2536 ส�ำนักงาน ประกันสังคมได้ขยายความคุ้มครองไปยังสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 10 คนขึ้นไป และเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2545 ได้ขยายความคุ้มครองไปยังสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป

4

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


หน้าที่ความรับผิดชอบ ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน  เป็นส่วนราชการในสังกัดส�ำนักงานประกันสังคม  กระทรวงแรงงาน มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ดำ � เนิ น การเกี่ ย วกั บ การกำ � หนดอั ต ราเงิ น สมทบหลั ก   อั ต ราเงิ น สมทบตามค่ า ประสบการณ์ การกำ�หนดรหัสประเภทกิจการตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนรวมถึงพัฒนาระบบกำ�หนดอัตรา เงินสมทบให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ดำ�เนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน  และคณะกรรมการ การแพทย์ คณะอนุกรรมการ ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน รวมถึงการให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� เกี่ยวกับเรื่องอุทธรณ์  และการจัดบริการทางการแพทย์  และพัฒนาระบบอุทธรณ์และบริการ ทางการแพทย์ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3. บริ ห ารและควบคุ ม การใช้ จ่ า ยเงิ น งบบริ ห ารกองทุ น เงิ น ทดแทนในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การบำ � บั ด รั ก ษาส่ ง เสริ ม การฟื้ น ฟู ส มรรถภาพในการทำ � งาน  ส่ ง เสริ ม หรื อ ป้ อ งกั น เกี่ ย วกั บ ความปลอดภัยในการทำ�งาน และค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินงานของสำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 4. ดำ�เนินการกำ�หนดเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างและผู้มีสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทนรวมถึง กำ�หนดแนวปฏิบัติและมาตรฐานการวินิจฉัยเงินทดแทน การตรวจแนะนำ� ให้คำ�ปรึกษา และ ติดตามประเมินผลการวินิจฉัยเงินทดแทน ตลอดจนรับสมัคร จัดทำ�ข้อตกลง ตรวจสอบและกำ�กับ ดูแลคุณภาพมาตรฐานการให้บริการทางการแพทย์ของสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุน เงินทดแทน รวมถึงพัฒนาระบบเงินทดแทนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 5. ปฏิ บั ติ ง านร่ ว มกั บ หรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน่ ว ยงานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง  หรื อ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

5


ขอบข่ายความคุ้มครอง กองทุนเงินทดแทน ในปัจจุบนั ให้ความคุม้ ครองกับสถานประกอบการทุกท้องทีท่ วั่ ราชอาณาจักรที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป เว้นแต่บางกิจการตามมาตรา 4 แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 และกิจการตาม ประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง ประเภท ขนาดของกิจการ และท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงิน สมทบ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2545 ซึ่งก�ำหนดไว้ 1. กิจการที่ไม่บังคับใช้ตามมาตรา 4 1) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนท้องถิ่น 2) รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ 3) นายจ้างซึ่งประกอบธุรกิจโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนเฉพาะในส่วน ที่เกี่ยวกับครูหรือครูใหญ่ 4) นายจ้างซึ่งดำ�เนินกิจกรรมที่มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำ�ไรในทางเศรษฐกิจ 5) นายจ้างอื่นตามที่กำ�หนดในกฎกระทรวง 2. กิจการที่ไม่บังคับใช้ตามประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง ประเภทขนาดของ กิจการ และท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2545 1) นายจ้างที่ประกอบกิจการเพาะปลูก ประมง ป่าไม้ และเลี้ยงสัตว์ ซึ่งมิได้ใช้ลูกจ้างตลอดปีและ ไม่มีงานลักษณะอื่นรวมอยู่ด้วย 2) นายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา ซึ่งงานที่ลูกจ้างทำ�นั้นมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย 3) นายจ้างที่ประกอบการค้าเร่ การค้าแผงลอย นายจ้าง หมายความว่า ผู้ซึ่งตกลงรับลูกจ้างเข้าท�ำงานโดยจ่ายค่าจ้างให้ และหมายความรวมถึง ผู้ซึ่ง ได้รับมอบหมายให้ท�ำงานแทนนายจ้าง ในกรณีที่นายจ้างเป็นนิติบุคคลให้หมายความรวมถึง ผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการ แทนนิติบุคคล และผู้ซึ่งได้รับมอบหมายจากผู้มีอ�ำนาจกระท�ำการแทนนิติบุคคล ให้ท�ำการแทนด้วย ลูกจ้าง หมายความว่า ผู้ซึ่งท�ำงานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้าง แต่ไม่รวมถึงลูกจ้างซึ่งท�ำงานเกี่ยวกับ งานบ้านอันมิได้มีการประกอบธุรกิจรวมอยู่ด้วย

6

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


คณะกรรมการ ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 มีคณะกรรมการ 2 คณะ ประกอบด้วยคณะกรรมการ กองทุนเงินทดแทน  และคณะกรรมการการแพทย์  ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน มีกรอบและอ�ำนาจหน้าที่ ดังนี้ 1. คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ประกอบด้วย  เลขาธิก ารสำ � นั ก งานประกั นสั ง คมเป็ นประธานกรรมการ  และผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ด้านการแพทย์ ด้านนิติศาสตร์ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านการคลัง ด้านประกันสังคม หรือประกันภัย ไม่เกิน 6 คน กับผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง ฝ่ายละ 3 คน เป็นกรรมการ และผู้แทนสำ�นักงานประกันสังคม เป็นกรรมการและเลขานุการ อำ�นาจหน้าที่  เสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการบริหารกองทุนและการจ่ายเงิน ทดแทน ตลอดจนให้ความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงและระเบียบต่างๆ รวมถึงการวางระเบียบเกี่ยวกับ การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินกองทุน การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน และการพิจารณาวินิจฉัย อุทธรณ์ คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน มีคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน เพื่อช่วยให้การปฏิบัติงานของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความคล่องตัว จำ�นวน 8 คณะ 2. คณะกรรมการการแพทย์ ประกอบด้วย ประธานกรรมการและกรรมการ ซึ่งแต่งตั้งจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ เวชกรรมสาขาต่างๆ มีจำ�นวนรวมกันไม่เกิน 15 คน และผู้แทนสำ�นักงานประกันสังคมเป็นกรรมการและเลขานุการ อำ�นาจหน้าที่  เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการเกี่ยวกับการดำ�เนินงานให้บริการทางการแพทย์/ ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ในทางการแพทย์ รวมถึงการให้ความเห็นต่อสำ�นักงานในการออกกฎกระทรวงและประกาศ กระทรวง ในส่วนที่เกี่ยวข้อง คณะกรรมการการแพทย์ มีคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการการแพทย์ เพื่อช่วยให้การ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการการแพทย์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีความคล่องตัว จำ�นวน 9 คณะ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

7


8

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

สำ�นักงานประกันสังคม

คณะอนุกรรมการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัย ในการทำ�งาน คณะอนุกรรมการกำ�หนดอัตราเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน คณะอนุกรรมการ ศึกษา วิเคราะห์และพัฒนาการกำ�หนดอัตราเงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน คณะอนุกรรมการพิจารณายกร่างระเบียบคณะกรรมการกองทุน เงินทดแทนว่าด้วยการรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุน เงินทดแทน คณะอนุกรรมการ (เฉพาะกิจ) พิจารณาจัดสรรดอกผลของกองทุน เงินทดแทน ประจ�ำปี 2554

คณะอนุกรรมการการวิจัย

คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เงินทดแทน (กรณีทั่วไป)

ประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ 8 คณะ คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เงินทดแทน (กรณีเกี่ยวกับการแพทย์)

คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน

คณะกรรมการการแพทย์

คณะอนุกรรมการวิชาการระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ

คณะอนุกรรมการด้านการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพ

คณะอนุกรรมการทบทวนค�ำวินิจฉัย

คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานภาคตะวันออก จังหวัดระยอง คณะอนุกรรมการพัฒนาบริการทางการแพทย์

ประกอบด้วยคณะอนุกรรมการ 9 คณะ คณะอนุกรรมการการแพทย์ หน่วยที่ 1 (สำ�นักงานประกันสังคมจังหวัดสมุทรปราการ) คณะอนุกรรมการการแพทย์ หน่วยที่ 2 (สำ�นักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 7) คณะอนุกรรมการการแพทย์ หน่วยที่ 3 (สำ�นักงานประกันสังคมจังหวัดปทุมธานี) คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน จังหวัดปทุมธานี

คณะกรรมการ


กระบวนพิจารณาการวินิจฉัยของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนกรณีอุทธรณ์ สำ�นักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร พื้นที่/จังหวัด/สาขาอำ�เภอ

สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน (ฝ่ายอุทธรณ์)

กรณีเกี่ยวกับแพทย์

กรณีทั่วไป (กฎหมาย, เงินสบทบ)

ตรวจสอบเอกสาร

ตรวจสอบเอกสาร

ขอเอกสารหลักฐาน เพิ่มเติม

ขอเอกสารหลักฐาน เพิ่มเติม

นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะอนุกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ฯ กรณีเกี่ยวกับการแพทย์

นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะอนุกรรมการพิจารณา อุทธรณ์ฯ/กรณีทั่วไป

มติคณะอนุกรรมการ

มติคณะอนุกรรมการ

มติคณะอนุกรรมการ ขอเอกสารหลักฐาน/ หารือผู้เชี่ยวชาญ

นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน

มติคณะกรรมการ ขอเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม

มติคณะอนุกรรมการ ขอเอกสารหลักฐาน

มติคณะกรรมการ แจ้งผลคำ�วินิจฉัย ไม่พอใจคำ�วินิจฉัย ฟ้องศาลแรงงาน ภายใน 30 วัน รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

9


กระบวนการวินิจฉัยของคณะกรรมการการแพทย์ กองทุนเงินทดแทน กรณีปรึกษา/หารือ/ก�ำหนดหลักเกณฑ์ทางการแพทย์ สำ�นักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานคร พื้นที่/จังหวัด/สาขาอำ�เภอ

สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน (ฝ่ายอุทธรณ์)

กรณีปรึกษา/หารือ – ค่ารักษาตามกฎกระทรวงฯ – ข้อปรึกษาทางการแพทย์อื่นๆ ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อเท็จจริง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

กำ�หนดหลักเกณฑ์ ทางการแพทย์

ตรวจสอบวิเคราะห์ข้อเท็จจริง และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง

ขอเอกสารหลักฐาน เพิ่มเติม นำ�เรื่องเข้าพิจารณา ในคณะอนุกรรมการพัฒนา บริการทางการแพทย์

นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะอนุกรรมการ ทบทวนคำ�วินิจฉัย มติคณะอนุกรรมการ ขอเอกสารหลักฐาน/ หารือผู้เชี่ยวชาญ

มติคณะอนุกรรมการ

นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะกรรมการการแพทย์ กองทุนเงินทดแทน มติคณะกรรมการ ขอเอกสารหลักฐานเพิ่มเติม

มติคณะกรรมการ แจ้งผลการพิจารณา

10

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

นำ�เรื่องเข้าพิจารณา ในคณะกรรมการการแพทย์ เพื่อให้ความเห็น นำ�เรื่องเข้าพิจารณาใน คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ให้ความเห็นชอบ


ผลการดำ�เนินงาน


ผลการด�ำเนินงาน 1. การก�ำหนดอัตราเงินสมทบ ส�ำนักงานประกันสังคม  ด�ำเนินการจัดเก็บเงินสมทบสะสมเป็นกองทุนเงินทดแทนจากนายจ้าง เพียงฝ่ายเดียว โดยก�ำหนดให้นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบปีละครั้ง ภายในเดือน มกราคมของปี กรณีที่นายจ้างขึ้นทะเบียนระหว่างปี มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่มีหน้าที่ โดยมีวิธีการน�ำส่งเงินสมทบของนายจ้าง 2 วิธี คือ – ชำ�ระเป็นรายปี ภายในเดือนมกราคมของทุกปี – ชำ�ระเป็นงวดโดยจะต้องจ่ายเงินฝากไว้เป็นจำ�นวนร้อยละ 25 ของเงินสมทบโดยประมาณ ที่จะต้องจ่ายในปีนั้น และชำ�ระเงินสมทบเป็น 4 งวด ตามปี

อัตราเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

– อัตราเงินสมทบหลัก

เป็นอัตราเงินสมทบที่ก�ำหนดขึ้นตามความเสี่ยงของประเภทกิจการ ปัจจุบันมี 131 รหัส อัตรา เงินสมทบจะอยู่ระหว่างร้อยละ 0.2–1.0 โดยอัตราเงินสมทบหลักจะใช้ในการค�ำนวณเงินสมทบเมื่อนายจ้าง มาขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทนครั้งแรก และปีถัดไปจนถึงปีที่ 4 ของการจัดเก็บเงินสมทบ

– อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์

เป็นอัตราเงินสมทบที่เก็บจากนายจ้างที่จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ปีที่ 5 เป็นต้นไป โดยนายจ้าง จะได้รับการเพิ่มหรือลดอัตราเงินสมทบขึ้นอยู่กับสถิติการประสบอันตรายที่เกิดขึ้น และการขอรับเงินทดแทน ในแต่ละกรณี นายจ้างรายใดมีสถิติการประสบอันตรายน้อยหรือการขอรับเงินทดแทนน้อยจะได้รับการปรับ อัตราเงินสมทบลดลงจากอัตราเงินสมทบหลักตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึงร้อยละ 80 ส่วนนายจ้างรายใดมีสถิติการ ประสบอันตรายสูงหรือขอรับเงินทดแทนจ�ำนวนมาก  ก็ต้องถูกปรับอัตราเงินสมทบเพิ่มขึ้นจากอัตราเงินสมทบ หลักตั้งแต่ร้อยละ 20 ถึง ร้อยละ 150 เป็นไปตามสัดส่วนของอัตราส่วนการสูญเสีย

การจัดเก็บเงินสมทบ มีผลการด�ำเนินงานดังนี้

1.1 จำ�นวนนายจ้างและจำ�นวนลูกจ้าง

ปี 2554 มีนายจ้างกองทุนเงินทดแทน จ�ำนวน 338,270 ราย เพิ่มขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 5,691 ราย หรือร้อยละ 1.71 และมีลูกจ้าง จ�ำนวน 8,222,960 ราย เพิ่มขึ้นจากปี 2553 จ�ำนวน 45,342 ราย หรือร้อยละ 0.55

12

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


ตารางที่ 1 จำ�นวนนายจ้างและจำ�นวนลูกจ้าง ปี 2545–2554 จำ�นวนนายจ้าง (ราย) 253,363 273,626 293,361 306,294 317,532 322,911 323,526 329,620 332,579 338,270

ปี 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

จำ�นวนลูกจ้าง (ราย) 6,541,105 7,033,907 7,386,825 7,720,747 7,992,025 8,178,180 8,135,606 7,939,923 8,177,618 8,222,960

1.2 จ�ำนวนกิจการนายจ้าง

ปี 2554 กองทุนเงินทดแทน ด�ำเนินการก�ำหนดอัตราเงินสมทบของรหัสประเภทกิจการ นายจ้าง จ�ำนวน 343,478 กิจการ แบ่งเป็น

1. กิจการที่จ่ายเงินสมทบตามอัตราเงินสมทบหลัก จ�ำนวน 118,190 กิจการ

2. กิจการที่จ่ายเงินสมทบตามอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์  จ�ำนวน  225,288 กิจการ ตารางที่ 2 จ�ำนวนนายจ้างและจ�ำนวนกิจการของนายจ้าง ปี 2550–2554

ปี

จำ�นวนนายจ้าง (แห่ง)

2550 2551 2552 2553 2554

322,911 323,526 329,620 332,579 338,270

จำ�นวนกิจการของนายจ้าง (รหัสประเภทกิจการ) อัตราเงินสมทบ อัตราเงินสมทบหลัก ตามค่าประสบการณ์ 179,164 145,571 138,506 189,706 129,854 204,339 120,946 214,473 118,190 225,288

รวม 324,735 328,212 334,193 335,419 343,478

หมายเหตุ : นายจ้าง 1 ราย อาจมีรหัสกิจการมากกว่า 1 รหัสกิจการ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

13


จำนวนกิจการของนายจาง ป 2554 อัตราเงินสมทบ ตามคาประสบการณ 225,288 (65.59%)

อัตราเงินสมทบหลัก 118,190 (34.41%)

จากตารางที่ 2 พบว่า กิจการที่จ่ายเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ จ�ำนวน 225,288 กิจการ จากกิจการดังกล่าวมีกิจการที่ได้รับการลดอัตราเงินสมทบ เพิ่มอัตราเงินสมทบ และอัตราเงินสมทบเท่ากับอัตรา เงินสมทบหลัก ดังนี้

1. กิจการที่ได้รับการลดอัตราเงินสมทบ จ�ำนวน 199,164 กิจการ

2. กิจการที่ได้รับการเพิ่มอัตราเงินสมทบ จ�ำนวน 23,869 กิจการ

3. กิจการที่ใช้อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์เท่ากับอัตราเงินสมทบหลัก จ�ำนวน 2,255 กิจการ

จำนวนกิจการของนายจางที่ใชอัตราเงินสมทบตามคาประสบการณ ป 2554 อัตราเงินสมทบเทาเดิม 2,255 (0.66%)

อัตราเงินสมทบลดลง 199,164 (57.98%)

14

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

อัตราเงินสมทบเพิ่มขึ้น 23,869 (6.95%)


2. เงินทดแทน กองทุนเงินทดแทน ให้ความคุ้มครองแก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จนเป็นเหตุให้ได้รับบาดเจ็บ เจ็บป่วย สูญเสียอวัยวะ ทุพพลภาพ สูญหายหรือถึงแก่ความตาย โดยกองทุนเงิน ทดแทนจะจ่ายเงินทดแทนแก่ลูกจ้างแทนนายจ้าง ซึ่งประกอบด้วย ค่ารักษาพยาบาล ค่าทดแทนรายเดือน ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน  และค่าท�ำศพ  รวมถึงให้การบ�ำบัดรักษาและส่งเสริมฟื้นฟูสมรรถภาพ แก่ลูกจ้างที่ประสบอันตรายจากการท�ำงาน ให้สามารถเลี้ยงชีพได้ด้วยตนเองโดยไม่เป็นภาระแก่สังคม ทั้งนี้ เมื่อลูกจ้างประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือ สูญหายเนื่องจากการท�ำงาน นายจ้างมีหน้าที่ แจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย ต่อส�ำนักงานประกันสังคมท้องที่ที่ลูกจ้างท�ำงานอยู่หรือ ที่นายจ้างมีภูมิล�ำเนาอยู่ ภายใน 15 วัน นับแต่วันที่นายจ้างทราบหรือควรจะให้ทราบถึงการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย และลูกจ้างหรือผู้มีสิทธิมีหน้าที่ยื่นค�ำร้องขอรับเงินทดแทน ภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่วันที่ประสบอันตราย เจ็บป่วยหรือสูญหายแล้วแต่กรณี

2.1 การวินิจฉัยเงินทดแทน

ปี 2554 กองทุนเงินทดแทนด�ำเนินการวินจิ ฉัยเรือ่ งการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจาก การท�ำงาน และลูกจ้างมีสทิ ธิได้รบั เงินทดแทน จ�ำนวนทัง้ สิน้ 129,632 ราย เมือ่ เปรียบเทียบกับปีทผี่ า่ นมา พบว่า มีจ�ำนวนลดลง 16,879 ราย หรือร้อยละ 11.52 ตารางที่ 3 จ�ำนวนการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง ปี 2545–2554 ความรุนแรง

ปี

จำ�นวน ลูกจ้าง

ตาย

2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

6,541,105 7,033,907 7,386,825 7,720,747 7,992,025 8,178,180 8,135,606 7,939,923 8,177,618 8,222,960

650 787 861 1,444 808 741 613 597 619 590

ทุพพลภาพ 14 17 23 19 21 16 15 8 11 4

สูญเสีย อวัยวะ 3,424 3,821 3,775 3,425 3,413 3,259 3,096 2,383 2,149 1,630

หยุดงาน เกิน 3 วัน 49,012 52,364 52,893 53,641 51,901 50,525 45,719 39,850 39,919 35,709

หยุดงาน ไม่เกิน 3 วัน 137,879 153,684 157,982 155,706 148,114 144,111 127,059 106,598 103,813 91,699

รวม 190,979 210,673 215,534 214,235 204,257 198,652 176,502 149,436 146,511 129,632

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

15


จำนวนการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน ป 2554 ทุพพลภาพ 4 ราย (0.003%)

สูญเสียอวัยวะบางสวน 1,630 ราย ( 1.257%)

ตาย 590 ราย (0.455%)

หยุดงานเกิน 3 วัน 35,709 ราย (27.546%)

หยุดงานไมเกิน 3 วัน 91,699 ราย (70.738%)

2.2 อัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย

ปี 2554 อัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย โดยเทียบกับจ�ำนวนลูกจ้าง ในความคุม้ ครองกองทุนเงินทดแทน ณ 31 ธันวาคม 2554 จ�ำนวน 8,222,960 ราย พบว่า มีอัตราการ ประสบอันตราย เท่ากับ 15.76 ต่อพันราย และหากนับจ�ำนวนการประสบอันตรายเฉพาะกรณีรา้ ยแรง พบว่า อัตรา การประสบอันตราย เท่ากับ 4.61 ต่อพันราย อัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย ป 2545–2554 นับทุกกรณีความรุนแรง

อัตราตอ 1,000 ราย 40.00 35.00 30.00

นับกรณีรายแรง 29.20

29.95

29.18

27.75

25.00

25.56

24.29

21.70

20.00 15.00 10.00

18.85

17.92

8.12

8.10

7.79

7.58

7.02

6.67

6.08

5.40

5.22

4.61

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552

2553

2554

5.00 0.00

หมายเหตุ : 1. นับทุกกรณีความรุนแรง หมายถึง ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หยุดงานเกิน 3 วัน และหยุดงานไม่เกิน 3 วัน 2. นับกรณีร้ายแรง หมายถึง ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ และหยุดงานเกิน 3 วัน

16

15.76

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

ป


เชียงราย

แผนที่แสดงอัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย แจกแจงรายจังหวัด นับทุกกรณีความรุนแรง

10.16

แมฮองสอน

พะเยา

2.47

7.53

เชียงใหม

ลำปาง

11.02

15.24

ลำพูน

นาน 3.84

แพร

11.69

บึงกาฬ

14.69

อุตรดิตถ ตาก

6.09

พิษณุโลก

7.34

6.87

เลย

17.40

สุโขทัย

16.85

อุดรธานี สกลนคร นครพนม 5.65 หนองบัวลำภู 18.74 8.30 8.59

11.41

11.60

7.94

ชัยภูมิ 6.21

22.68

นครสวรรค อุทัยธานี

ชัยนาท

บุรีรัมย

15.56

สระบุรี

สุพรรณบุรี

7.60

2.94

3.29

อุบลราชธาณี สุรินทร ศรีสะเกษ 4.55 11.04

3.42

15.15

15.23

14.03

นครราชสีมา

12.49

9.71

มหาสารคาม 4.16 รอยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ 6.23

ลพบุรี

15.93

มุกดาหาร

7.40

20.73

13.97

กาญจนบุรี

กาฬสินธุ

ขอนแกน

กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ 8.75

0

หนองคาย

นครนายก 15.48 ปราจีนบุรี

สระแกว

13.84

ราชบุรี

ฉะเชิงเทรา

9.38

ชลบุรี ระยอง

จันทบุรี

23.30

18.32 16.79

เพชรบุรี 16.36

13.90

ประจวบคีรีขันธ 14.30

ชุมพร 14.35

ระนอง

11.16

สมุทรปราการ 34.90 ปทุมธานี 14.95 พระนครศรีอยุธยา 11.31 กรุงเทพฯ 12.51 อางทอง 13.84 นนทบุรี 17.81 สิงหบุรี 18.43 นครปฐม 21.09 สมุทรสาคร 25.31 สมุทรสงคราม 12.86

ตราด 9.03

5.86

สุราษฏรธานี พังงา 5.29

ภูเก็ต 9.64

อัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย

14.69

กระบี่ นครศรีธรรมราช 9.29

11.82

ตั้งแต 0 - 9 ราย

ตั้งแต 20 - 29 ราย

ตั้งแต 10 - 19 ราย

ตั้งแต 30 รายขึ้นไป

ตรัง พัทลุง

19.39

10.25

สตูล 18.87

11.47

สงขลา

11.25

ปตตานี ยะลา 16.99

นราธิวาส 6.70

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

17


เชียงราย

แผนที่แสดงอัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย แจกแจงรายจังหวัด นับกรณีรายแรง

2.37

แมฮองสอน

พะเยา

1.64

2.95

เชียงใหม

ลำปาง

2.85

5.81

ลำพูน

นาน 3.42

แพร

1.78

บึงกาฬ

10.29

อุตรดิตถ ตาก

อุดรธานี สกลนคร นครพนม 3.55 หนองบัวลำภู 4.19 4.18

3.15

พิษณุโลก

3.04

3.05

6.01

เลย

6.11

สุโขทัย

2.70

4.55

5.52

3.18

ชัยภูมิ 3.76

5.79

นครสวรรค อุทัยธานี 6.99

ลพบุรี

บุรีรัมย

3.54

สระบุรี

สุพรรณบุรี

4.12

2.00

2.56

อุบลราชธาณี สุรินทร ศรีสะเกษ 2.58 4.86

2.79

5.23

4.79

5.74

นครราชสีมา

3.38

4.12

มหาสารคาม 2.38 รอยเอ็ด ยโสธร อำนาจเจริญ 4.07

5.43

มุกดาหาร

4.96

4.48

ชัยนาท

กาญจนบุรี

กาฬสินธุ

ขอนแกน

กำแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ 3.84

0

หนองคาย

นครนายก 7.63 ปราจีนบุรี

สระแกว

3.45

ราชบุรี

ฉะเชิงเทรา

3.00

ชลบุรี ระยอง

จันทบุรี

5.61

5.55 3.09

เพชรบุรี 6.48

2.92

ประจวบคีรีขันธ 6.12

ชุมพร 8.11

ระนอง

4.06

สมุทรปราการ 10.73 ปทุมธานี 4.51 พระนครศรีอยุธยา 3.03 กรุงเทพฯ 3.30 อางทอง 6.92 นนทบุรี 7.71 สิงหบุรี 5.32 นครปฐม 5.13 สมุทรสาคร 8.61 สมุทรสงคราม 7.68

ตราด 4.36

3.41

สุราษฏรธานี พังงา 2.80

อัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย

4.44

ตั้งแต 0 - 4 ราย

กระบี่ นครศรีธรรมราช

ภูเก็ต 3.75

4.77

ตั้งแต 10 รายขึ้นไป

6.57

ตรัง พัทลุง 8.14

6.63

สตูล 12.45

5.59

สงขลา

7.26

ปตตานี ยะลา 10.29

18

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

นราธิวาส 4.77

ตั้งแต 5 - 9 ราย


2.3 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน ปี 2554

ปี 2554 มีการวินิจฉัยเรื่องการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำนวน 129,632 ราย เมื่อพิจารณารายละเอียดการประสบอันตรายของแต่ละประเด็น ดังนี้

2.3.1 จังหวัด

พบว่า จังหวัดที่มีจ�ำนวนการประสบอันตรายสูงสุด คือ กรุงเทพมหานคร จ�ำนวน 37,177 ราย รองลงมา คือ จังหวัดสมุทรปราการ จ�ำนวน 22,818 ราย และจังหวัดชลบุรี จ�ำนวน 9,104 ราย หรือ ร้อยละ 28.68 17.60 และ 7.02 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ จังหวัดที่มีจำนวนการประสบอันตรายสูงสุด 10 จังหวัดแรก จำนวน (ราย)

50,000 40,000 30,000 20,000 10,000

37,177 22,818 9,140 8,057

5,557 4,228 4,172 3,771 3,695 3,627

0

จังหวัด

จังหวัดที่มีอัตราการประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย สูงสุด คือ จังหวัด สมุทรปราการเท่ากับ 34.90 รายต่อพันราย รองลงมา คือ จังหวัดสมุทรสาครเท่ากับ 25.31 รายต่อพันราย และ จังหวัดฉะเชิงเทราเท่ากับ 23.30 รายต่อพันราย ตามล�ำดับ จังหวัดที่มีอัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย สูงสุด 10 จังหวัดแรก อัตราตอ 1,000 ราย 40 34.90 35 30 25.31 23.30 22.68 25 21.09 20.73 19.39 18.87 18.77 18.43 20 15 10 5 จังหวัด 0

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

19


2.3.2 สาเหตุที่ประสบอันตราย

พบว่า สาเหตุที่ท�ำให้ลูกจ้างประสบอันตรายสูงสุด คือ วัตถุหรือสิ่งของตัด/บาด/ ทิม่ แทง จ�ำนวน 29,382 ราย รองลงมา คือ วัตถุหรือสิ่งของพังทลาย/หล่นทับ จ�ำนวน 20,537 ราย และวัตถุหรือ สิ่งของหรือสารเคมีกระเด็นเข้าตา จ�ำนวน 19,471 ราย หรือร้อยละ 22.67 15.84 และ 15.02 ของจ�ำนวนการ ประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ สาเหตุที่ทำใหลูกจางประสบอันตราย สูงสุด 10 อันดับแรก สาเหตุที่ประสบอันตราย 2,780 4,340 4,423 5,879 7,113 9,158

ผลจากความรอน/สัมผัสของรอน โรคที่เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการ... อุบัติเหตุจากยานพาหนะ หกลม ลื่นลม ตกจากที่สูง วัตถุหรือสิ่งของหนีบ/ดึง

18,863 19,471 20,537

วัตถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน วัตถุหรือสิ่งของหรือสารเคมีกระเด็นเขาตา วัตถุหรือสิ่งของพังทลาย/หลนทับ

29,382

วัตุหรือสิ่งของตัด/บาด/ทิ่มแทง

0

จำนวน (ราย)

5,000 10,000 15,000 20,000 25,000 30,000 35,000

2.3.3 สิ่งที่ท�ำให้ประสบอันตราย

พบว่า สิ่งที่ท�ำให้ลูกจ้างประสบอันตรายสูงสุด คือ วัตถุหรือสิ่งของ จ�ำนวน 59,326 ราย รองลงมา คือ เครือ่ งจักร จ�ำนวน 16,946 ราย และเครื่องมือ 16,591 ราย หรือร้อยละ 45.76 13.07 และ 12.80 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ สิ่งที่ทำใหลูกจางประสบอันตราย สูงสุด 10 อันดับแรก สิ่งที่ทำใหประสบอันตราย 996 1,454 4,754 5,680 6,169 6,895 10,344 16,591 16,946

คนหรือสัตว ไฟฟาและอุปกรณไฟฟา ทาทางการทำงาน และการยกของ อาคารหรือสิ่งกอสราง สิ่งมีพิษ สารเคมี ยานพาหนะ สภาพแวดลอมเกี่ยวกับการทำงาน เครื่องมือ เครื่องจักร

59,326

วัตถุหรือสิ่งของ 0

20

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

60,000

จำนวน (ราย)

70,000


2.3.4 อวัยวะที่ได้รับอันตราย

พบว่า อวัยวะที่ลูกจ้างได้รับอันตรายสูงสุด คือ นิ้วมือ จ�ำนวน 29,157 ราย รองลงมา คือ ตา จ�ำนวน 23,087 ราย และบาดเจ็บหลายส่วน บาดเจ็บตามร่างกาย จ�ำนวน 8,851 ราย หรือร้อยละ 22.49 17.81 และ 6.83 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ อวัยวะที่ไดรับอันตรายสูงสุด 10 อันดับแรก อวัยวะที่ไดรับอันตราย 4,070 5,718 6,783 7,248 7,478 8,216 8,812 8,851

ศรีษะ นิ้วเทา แขน/ศอก/ขอศอก ขา/หนาแขง/นอง/เขา/หัวเขา นิ้วหัวแมมือ เทา สนเทา งามนิ้วเทา มือ บาดเจ็บหลายสวน

23,087

ตา

29,157

นิ้วมือ

0

5,000

10,000

15,000

20,000

25,000

30,000

จำนวน (ราย) 35,000

2.3.5 ผลของการประสบอันตราย

พบว่า ผลของการประสบอันตรายทีเ่ กิดขึน้ กับลูกจ้างสูงสุด คือ บาดแผลลึก จ�ำนวน 51,932 ราย รองลงมา คือ ข้อต่อเคล็ดและการอักเสบตึงตัวของกล้ามเนื้อ จ�ำนวน 22,617 ราย และบาดแผลตืน้ จ�ำนวน 18,201 ราย หรือร้อยละ 40.06 17.45 และ 14.04 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ ผลของการประสบอันตราย สูงสุด 10 อันดับแรก ผลของการประสบอันตราย 1,131 1,137 1,415 2,113 6,901 8,629 12,584 18,201 22,617

การไดรับสารพิษ สารเคมี สภาพการบาดเจ็บอื่นๆ ที่ไมสามารถจำแนกอยูในกลุม ผลจากสภาพอากาศ การสัมผัส และสถานะที่เกี่ยวของ การตัดขาด และการเลาะควานทำลายอวัยวะ การฟกช้ำ และการถูกรถชน การถูกเบียด บาดแผลไหม กระดูกหัก/แตก/ราว บาดแผลตื้น ขอตอเคล็ด และการอักเสบ ตึงตัวของกลามเนื้อ

51,932 จำนวน (ราย)

บาดแผลลึก

0

10,000

20,000

30,000

40,000

50,000

60,000

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

21


2.3.6 กลุ่มอายุ

พบว่า กลุม่ อายุของลูกจ้างทีม่ จี �ำนวนการประสบอันตรายสูงสุด คือ อายุ 25–29 ปี จ�ำนวน 24,971 ราย รองลงมา คือ อายุ 30–34 ปี จ�ำนวน 24,831 ราย และอายุ 20–24 ปี จ�ำนวน 20,023 ราย หรือร้อยละ 19.26 19.15 และ 15.45 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ กลุ่มอายุของลูกจ้างที่มีอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 รายสูงสุด คือ อายุ 15–19 ปี เท่ากับ 28.69 รายต่อพันราย รองลงมา คือ อายุ 20–24 ปี เท่ากับ 19.08 รายต่อพันราย และอายุ 35–39 ปี เท่ากับ 15.28 รายต่อพันราย ตามล�ำดับ จำนวนและอัตราการประสบอันตราย จำแนกตามกลุมอายุ จำนวน (ราย)

อัตราตอ 1,000 ราย

30,000 25,000

28.69

30.00 25.00

19,253

19.08

15,000 10,000

24,971 24,831 20,023

20,000

35.00

จำนวนการประสบอันตราย อัตราตอ 1,000 ราย

15.11 15.16

20.00

14,665 14.13 13.74 13.30 15.28 14.73 9,750 10.14

6,960

5,730

5,000

2,591

0

858

ป ป ป ป ป ป ป ป ป ป 19 - 24 - 29 - 34 - 39 - 44 - 49 - 54 - 59 ปขึ้นไ 50 40 45 55 30 35 15 20 25 60

15.00 10.00 5.00 0.00

กลุมอายุ

2.3.7 ขนาดสถานประกอบการ

พบว่ า  ขนาดสถานประกอบการที่ มี จ�ำนวนลู ก จ้ า งประสบอั น ตรายสู ง สุ ด   คื อ สถานประกอบการ ที่มีลูกจ้าง 200–499 คน จ�ำนวน 22,134 ราย รองลงมา คือ สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 20–49 คน จ�ำนวน 20,388 ราย และสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 1,000 คนขึ้นไป จ�ำนวน 19,226 ราย หรือร้อยละ 17.07 15.73 และ 14.83 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ ขนาดสถานประกอบการที่มีอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย สูงสุด คือ สถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 20–49 คน เท่ากับ 20.73 รายต่อพันราย รองลงมา คือ สถานประกอบการ ที่มีลูกจ้าง 50–99 คน เท่ากับ 19.32 รายต่อพันราย และสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง 100–199 คน เท่ากับ 18.69 รายต่อพันราย ตามล�ำดับ

22

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


จำนวนและอัตราการประสบอันตราย จำแนกตามขนาดสถานประกอบการ จำนวนการประสบอันตราย อัตราตอ 1,000 ราย

จำนวน (ราย)

25,000

20.73

20,000

17.12

15,000

18.69

20,388

19,226 12,727

17.10

15,158 17,562

11,002

10,000

25.00

22,134

19.32

12.38

อัตราตอ 1,000 ราย 20.00 15.00

13.98

10.00

11.02

11,435

0

0.00

คน 99

1,0

500

00

-9

99 200

100

-4

-1

-9

99

9ค

คน

คน

น 50

10

20

-1

-4

9ค

9ค

0ค ต่ำก วา 1

คน ขึ้น ไป

5.00

5,000

ขนาดสถานประกอบการ

2.3.8 ประเภทกิจการ

พบว่า ประเภทกิจการที่มีจ�ำนวนการประสบอันตรายสูงสุด คือ ประเภทกิจการ การก่อสร้าง จ�ำนวน 9,275 ราย รองลงมา คือ ประเภทกิจการการผลิตเครื่องดื่ม อาหาร ฯลฯ จ�ำนวน 7,373 ราย และประเภทกิจการการค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะ จ�ำนวน 6,978 ราย หรือร้อยละ 7.15 5.69 และ 5.38 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ ประเภทกิจการที่มีจำนวนการประสบอันตรายสูงสุด 10 อันดับแรก จำนวน (ราย)

10,000

9,275 7,373 6,978

5,978 5,806

5,330

5,000

0 1 130

กอ

การ

0

าร

อาห

ดื่ม รื่อง

เค

ลิต

ารผ

ก 203

ง สรา

150

5 061

ฯ นะ

าห

านพ

ย ฟา

ฟ ื่องไ

คร

คาเ

าร 1ก

ฯ ฯล

การ

พล

ัณฑ

ภ ลิต

ผ ลิต

ิก าสต หล

าร

4ก

080

อม

ล อห

6 161

ึง

กล

าร

ตาค

ภัต

ะ โลห

ะ าหน

ยาน

รณ ปุ ก

นอ

ว

ิ้นส

ิตช

ล 8ผ

100

รโ

าหา

อ ราน

ม งแร

4,903 4,659 4,641 4,276

2

150

รรพ

านส

ร 503

อ

ดุก

าวัส

ค การ

าเบ 4

100

นื่ ๆ

าอ

ารค

ด็ ก

ล ็ดเต

ินค

า ส

ค สิน

ง สรา

ระก

ิต ป

ผล การ

รถย

อ ม

ซ อบ

ประเภทกิจการ

ล ต ฯ

1

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

23


2.3.9 ต�ำแหน่งของลูกจ้าง

พบว่า ต�ำแหน่งของลูกจ้างที่เกิดการประสบอันตรายสูงสุด คือ ผูป้ ฏิบตั งิ านในโรงงาน ผูค้ วบคุมเครือ่ งจักรและผูป้ ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ จ�ำนวน 48,893 ราย รองลงมา คือ ผู้ปฏิบัติงานโดยใช้ฝีมือ ในธุรกิจต่างๆ จ�ำนวน 39,260 ราย และอาชีพงานพื้นฐาน (แรงงานเหมืองแร่และก่อสร้าง, แรงงานการผลิต) จ�ำนวน 17,794 ราย หรือร้อยละ 37.72 30.29 และ 13.73 ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด ตามล�ำดับ

3,713 ราย 4,042 ราย 35,546 ราย

1,025 ราย 803 ราย 556 ราย 48,893 ราย

ผูปฏิบัติงานในโรงงาน ผูควบคุมเครื่องจักร และผูปฏิบัติงานดานการประกอบ ผูปฏิบัติงานโดยใชฝมือในธุรกิจตางๆ อาชีพงานพื้นฐาน (แรงงานเหมืองแร และ กอสราง, แรงงานการผลิต) พนักงานบริการ พนักงานขายในรานคา และตลาด ชางเทคนิค และผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ เสมียน เจาหนาที่

17,794 ราย

ผูปฏิบัติงานฝมือดานการเกษตรและประมง ผูฐัญยัติกฎหมาย ขาราชการอาวุโส ผูจัดการ

39,260 ราย

ผูประกอบวิชาชีพดานตางๆ

2.4 สถานการณ์สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน ปี 2550–2554

เมื่อพิจารณารายละเอียดการประสบอันตราย ปี 2550–2554 ของแต่ละประเด็น ดังนี้

2.4.1 จังหวัด

พบว่ า  จั ง หวั ด ที่ มี จ�ำนวนลู ก จ้ า งประสบอั น ตรายสู ง สุ ด   5  อั น ดั บ แรกของปี 2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ จังหวัดกรุงเทพมหานคร ยังคงเป็นจังหวัดที่มีจ�ำนวนการประสบอันตราย สูงสุด หรือ โดยเฉลี่ย 5 ปี มีลูกจ้างประสบอันตรายร้อยละ 28.52 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตราย ทั้งหมด รองลงมา คือ จังหวัดสมุทรปราการ ร้อยละ 17.78 และจังหวัดชลบุรี ร้อยละ 6.98 ตามล�ำดับ

24

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


าการ

สมุทร

นี ทุมธา

สมุทร

8,898 8,003 6,551 7,024 5,557

จังหวัด

สาคร

ลบุรี

ปร

พมห

14,229 11,607 9,645 9,369 8,057

14,255 12,577 9,607 10,475 9,104

านคร

กรุงเท

2550 2551 2552 2553 2554

35,162 32,996 25,925 25,754 22,818

50,424 43,986 39,229 37,177

จำนวน (ราย) 60,000 55,000 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

57,906

จังหวัดที่มีจำนวนการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554

2.4.2 สาเหตุที่ประสบอันตราย

พบว่า  สาเหตุที่ท�ำให้ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน สูงสุด 5 อันดับแรกของปี 2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ วัตถุหรือสิง่ ของตัด/บาด/ทิม่ แทง ยังคงเป็นสาเหตุหลัก ของการประสบอันตราย หรือโดยเฉลีย่ 5 ปี มีลกู จ้างประสบอันตรายร้อยละ 23.22 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบ อันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ วัตถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน ร้อยละ 16.31 และวัตถุหรือสิ่งของหรือสารเคมี กระเด็นเข้าตา ร้อยละ 15.91 ตามล�ำดับ

35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 12,963 11,961 9,948 10,300 9,158

40,000

33,425 29,884 25,021 24,186 18,863

34,485 33,648 29,382

45,000

26,285 22,506 19,376 20,049 20,537

50,000

32,649 29,518 23,697 22,732 19,471

จำนวน (ราย)

47,385 41,502

สาเหตุท่ที ำใหลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554

สาเหตุที่ทำให ประสบอันตราย /ดึง

ับ

งห นีบ

/หล วัต

ถุห

รือ

สิ่งข อ

ลาย ังท

วัต

ถุห ร

ือส

ิ่งขอ งพ

เคม งห รือ สาร ิ่งขอ

ถุห ร

ือส

นท

าตา ็นเข ะเด ีกร

งกร สิ่งข อ ถุห รือ วัต วัต

วัต

ถุห รือ สิ่งข

องต ัด

/บา

ะแ

ด/ท

ทก

ิ่มแ

ทง

/ชน

5,000 0

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

25


2.4.3 สิ่งที่ท�ำให้ประสบอันตราย

พบว่า  สิ่งที่ท�ำให้ลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานสูงสุด 5 อันดับแรกของปี 2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ วัตถุหรือสิ่งของ หรือโดยเฉลี่ย 5 ปี มีลูกจ้างประสบอันตราย ร้อยละ 46.23 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ เครื่องจักร ร้อยละ 12.97 และ เครื่องมือ ร้อยละ 12.53 ตามล�ำดับ

จำนวน (ราย) 100,000 90,000 80,000 70,000 60,000

93,858 82,068 68,225 67,348 59,326

สิ่งที่ทำใหลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554

ำงา ารท

9,738 8,855 8,293 7,782 6,895

ี่ยวก

ับก

เคร

สิ่งที่ทำให ประสบอันตราย

หน

ือ ื่องม

ักร ื่องจ เคร

สภ า

พแ

วด

ลอ

มเก

วัต

ถุห

รือส

ิ่งขอ

10,000 0

พา

20,000

ยาน

30,000

14,780 13,448 11,841 11,319 10,344

25,962 23,427 18,611 19,035 16,946

40,000

24,313 22,249 18,855 18,141 16,591

50,000

2.4.4 อวัยวะที่ได้รับอันตราย

พบว่ า  อวั ย วะที่ ลู ก จ้ า งได้ รั บ อั น ตรายหรื อ เจ็ บ ป่ ว ยเนื่ อ งจากการท�ำงานสู ง สุ ด 5 อันดับแรกของปี 2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ ยังคงเป็นนิ้วมือ/นิ้วหัวแม่มือ หรือโดยเฉลี่ย 5 ปี มีลูกจ้าง ประสบอันตรายร้อยละ 27.89 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ ตา ร้อยละ 18.91 และมือ ร้อยละ 6.85 ตามล�ำดับ

26

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


13,517 12,296 10,169 10,046 8,812

30,000 20,000 10,000

12,695 10,904 9,305 9,158 8,216

40,000

12,451 11,246 10,120 9,856 8,851

50,000

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554

39,193

60,000

35,099 28,209 26,753 23,087

จำนวน (ราย)

55,516 49,244 41,078 40,829 36,635

อวัยวะที่ลูกจางไดรับอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554

อวัยวะที่ ประสบอันตราย

0 นิ้วมือ / นิ้วหัวแมมือ

ตา

มือ

บาดเจ็บ เทา / สนเทา / หลายสวน งามนิ้วเทา บาดเจ็บตามรางกาย

2.4.5 กลุ่มอายุ พบว่า  กลุ่มอายุของลูกจ้างที่มีจ�ำนวนการประสบอันตรายสูงสุดของปี 2550– 2554 ไม่แตกต่างกัน คือ กลุ่มอายุ 25–29 ปี ยังคงเป็นกลุ่มอายุที่มีจ�ำนวนการประสบอันตรายสูงสุด หรือโดย เฉลี่ย 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 22.56 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ กลุ่มอายุ 30–34 ปี ร้อยละ 18.25 และกลุ่มอายุ 20–24 ปี ร้อยละ 16.83 ตามล�ำดับ เมือ่ พิจารณาอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย พบว่า ลูกจ้างอายุ 15–19 ปี ยังคงเป็นกลุ่มอายุที่มีอัตราการประสบอันตรายสูงสุด หรือโดยเฉลี่ย 5 ปี เท่ากับ 33.53 รายต่อพันราย รองลงมา คือ ลูกจ้างอายุ 20–24 ปี เท่ากับ 23.62 รายต่อพันราย และลูกจ้างอายุ 25–29 ปี เท่ากับ 20.01 ราย ต่อพันราย ตามล�ำดับ กลุมอายุของลูกจางที่มีจำนวนการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554 ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 17,772 16,677 15,611 15,440 14,665

26,871 24,625 21,741 21,556 19,253

37,946 31,617 23,799 23,116 20,023

37,233 33,180 28,907 22,254 24,831

60,000 55,000 50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

47,015 40,520 32,728 36,652 24,971

จำนวน (ราย)

กลุมอายุ 25 - 29 ป

30 - 34 ป

20 - 24 ป

35 - 39 ป

40 - 44 ป

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

27


กลุมอายุของลูกจางที่มีอัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554 อัตราตอ 1,000 (ราย)

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554

21.02 18.67 17.20 16.28 14.73

20.00

22.46 20.44 18.01 17.42 15.28

30.00

24.16 21.39 18.37 21.04 15.11

40.00

28.85 26.60 22.18 21.40 19.08

38.83 38.90 31.42 29.80 28.69

50.00

10.00

กลุมอายุ

0.00 15 - 19 ป

20 - 24 ป

25 - 29 ป

35 - 39 ป

40 - 44 ป

2.4.6 ขนาดสถานประกอบการ

พบว่ า  ขนาดสถานประกอบการที่ มี จ�ำนวนลู ก จ้ า งประสบอั น ตรายสู ง สุ ด ของ ปี 2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ สถานประกอบการขนาด 200–499 คน ยังคงเป็นขนาดที่มีจ�ำนวน การประสบอันตรายสูงสุด หรือโดยเฉลี่ย 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 18.13 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ สถานประกอบการขนาด 20–49 คน ร้อยละ 15.27 และสถานประกอบการขนาด 100–199 คน ร้อยละ 14.77 ตามล�ำดับ เมื่อพิจารณาอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย พบว่า โดยเฉลี่ย 5 ปี สถานประกอบการขนาด 50–99 คน มีอัตราการประสบอันตรายสูงสุด เท่ากับ 25.86 รายต่อพันราย รองลงมา คือ สถานประกอบการขนาด 100–199 คน เท่ากับ 25.59 รายต่อพันราย และสถานประกอบการขนาด 20–49 คน เท่ากับ 25.17 รายต่อพันราย ตามล�ำดับ ขนาดสถานประกอบการที่มีจำนวนลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554

28

รายงานประจำ�ปี 2554

25,122 21,862 18,041 18,635 19,226

29,666 26,127 23,103 22,134 17,562

ขนาดสถานประกอบการ 200–499 คน

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

29,282 26,477 23,114 22,610 20,388

38,642 33,133 25,884 26,448 22,134

จำนวน (ราย)

50,000 45,000 40,000 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0

25,153 23,195 19,182 18,258 15,158

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554

20–49 คน

100–199 คน

1,000 คนขึ้นไป

50-99 คน


ขนาดสถานประกอบการที่มีอัตราการประสบอันตรายตอลูกจาง 1,000 ราย สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554

24.01 22.02 19.58 18.66 17.12

20.00

28.65 24.80 20.67 20.41 17.10

30.00

30.35 27.73 23.86 23.16 20.73

32.04 29.84 24.65 23.43 19.32

40.00

32.05 28.29 25.32 23.61 18.69

อัตราตอ 1,000 ราย

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554

10.00

ขนาดสถานประกอบการ

0.00

50-99 คน

100–199 คน

20–49 คน

200–499 คน

10–19 คน

2.4.7 ประเภทกิจการ

พบว่า  ประเภทกิจการที่มีจ�ำนวนลูกจ้างประสบอันตรายสูงสุดของปี  2550–2554 ไม่แตกต่างกัน คือ ประเภทกิจการก่อสร้าง ยังคงเป็นประเภทกิจการที่มีจ�ำนวนการประสบอันตรายสูงสุด หรือโดยเฉลี่ย 5 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.40 ต่อปี ของจ�ำนวนการประสบอันตรายทั้งหมด รองลงมา คือ ประเภท กิจการการผลิตเครื่องดื่ม อาหาร ฯลฯ ร้อยละ 5.80 และประเภทกิจการการค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะฯ ร้อยละ 5.39 ตามล�ำดับ ประเภทกิจการที่มีจำนวนลูกจางประสบอันตรายหรือเจ็บปวยเนื่องจากการทำงาน สูงสุด 5 อันดับแรก ป 2550-2554 จำนวน (ราย)

ป 2550 ป 2551 ป 2552 ป 2553 ป 2554 9,042 8,294 6,176 6,230 5,806

8,910 7,839 6,510 6,513 5,978

10,000

10,560 9,428 8,381 7,792 6,978

15,000

10,991 9,862 9,241 8,781 7,373

15,207 13,396 11,295 9,275

20,000

18,979

25,000

5,000 0 1 130

ง สรา

กอ

การ

020

3ก

ลิต ารผ

เคร

ื่ม ื่องด

าร

อาห

นะฯ

าห

านพ

ย ฟา

ื่องไ

คร คาเ

าร

1ก

150

ฯลฯ

0

ลิต

ารผ

ก 615

ลา

ฑพ

ภัณ ผลิต

สติก

4 080

อม อ หล

ะ โลห

ประเภทกิจการ

กลึง

หล

การ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

29


3. งานคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการ ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน มีภารกิจในการด�ำเนินการเกี่ยวกับงานเลขานุการของคณะกรรมการ กองทุนเงินทดแทน คณะกรรมการการแพทย์ และคณะอนุกรรมการ ภายใต้พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ในการจัดเตรียม ประสานงานด้านข้อมูล ข้อเท็จจริง ประกอบการพิจารณาเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติ งานของคณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการ ตามภารกิจหน้าที่ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ผลการด�ำเนินงาน ปี 2554 ของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน คณะกรรมการการแพทย์ และ คณะอนุกรรมการ มีรายละเอียด ดังนี้

3.1 คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน

คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ได้ด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่ตามมาตรา 32 แห่ง พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ในการเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการบริหารกองทุน และการจ่ายเงินทดแทน  พิจารณาให้ความเห็นต่อรัฐมนตรีในการออกกฎกระทรวงและระเบียบต่างๆ  เพื่อ ด�ำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้  วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงแรงงานเกี่ยวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน และการเก็บรักษาเงินกองทุน วางระเบียบโดยความเห็นชอบของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการ สังคมเกี่ยวกับการจัดหาผลประโยชน์ของกองทุน พิจารณาวินิจฉัยข้ออุทธรณ์ตามมาตรา 52 ให้ค�ำปรึกษา และแนะน�ำแก่ส�ำนักงานประกันสังคมในการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้  ปฏิบัติการอื่นใด  ตามที่ พระราชบัญญัตินี้  หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการ  หรือตามที่รัฐมนตรี มอบหมาย ดังนี้

(1) ด้านนโยบายการบริหารกองทุนและการจ่ายเงินทดแทน

(1.1) พิจารณาให้ความเห็นชอบก�ำหนดสัดส่วนการจัดสรรดอกผลของเงินกองทุนเงิน ทดแทน ประจ�ำปี 2554 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบ�ำบัดรักษาและส่งเสริมการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ของลูกจ้างร้อยละ 50 และเพือ่ เป็นค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน ร้อยละ 50 (1.2) พิจารณาจัดสรรเงินดอกผลกองทุนเงินทดแทนเพื่อด�ำเนินงานกองทุนเงินทดแทน ประจ�ำปี 2554 เสนอกระทรวงแรงงานให้ความเห็นชอบ เป็นจ�ำนวนเงิน 155,951,180 บาท ดังนี้ (1.2.1) ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานของส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน (ร้อยละ 3) จ�ำนวนเงิน 24,802,380 บาท (1.2.2) ค่ า ใช้ จ ่ า ยในการบ�ำบั ด รั ก ษาและส่ ง เสริ ม การฟื ้ น ฟู ส มรรถภาพใน การท�ำงานของลูกจ้างและค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน (ร้อยละ 22) จ�ำนวนเงิน 131,148,800 บาท ประกอบด้วย - ค่าใช้จ่ายในการบ�ำบัดรักษาและส่งเสริมการฟื้นฟูสมรรถภาพใน การท�ำงาน จ�ำนวนเงิน 51,323,800 บาท - ค่าใช้จ่ายในการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยใน การท�ำงาน จ�ำนวนเงิน 79,825,000 บาท

30

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


(1.3) พิจารณาให้ความเห็นชอบงบการเงินกองทุนเงินทดแทน  ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และ 31 ธันวาคม 2552 (1.4) พิจารณาทบทวนจ�ำนวนเงินดอกผลของกองทุนต่อปีที่จะน�ำมาจัดสรรเพื่อด�ำเนิน การตามมาตรา 28 ปี 2555 โดยมีมติให้ประมาณการดอกผลของเงินกองทุนเงินทดแทน ประจ�ำปี 2554 จ�ำนวน 1,309.84 ล้านบาท เป็นกรอบวงเงินในการพิจารณาจัดสรรตามมาตรา 28 แห่งพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายประจ�ำปี 2555 (1.5) พิจารณาให้ความเห็นชอบปรับเพิ่มประเภทหลักทรัพย์  และสัดส่วนการลงทุน ในแผนการลงทุนกองทุนเงินทดแทน ประจ�ำปี 2554 โดยมีมติลดการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความมั่นคงสูง (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60) ในส่วนเงินฝากธนาคาร (ได้รับความคุ้มครองจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก) ลดสัดส่วน จากร้อยละ 5 – 15 เป็นร้อยละ 5 – 10 และเพิ่มการลงทุนในหลักทรัพย์ที่มีความเสี่ยง (ไม่เกินร้อยละ 40) ในส่วนของเงินฝากธนาคาร (ไม่ได้รับความคุ้มครองจากสถาบันคุ้มครองเงินฝาก) ในสัดส่วนร้อยละ 0 - 5 (1.6) พิ จ ารณาแผนแม่ บ ทด้ า นการส่ ง เสริ ม หรื อ ป้ อ งกั น เกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ใน การท�ำงานของส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2554 – 2558) เพื่อ เป็นกรอบแนวทางของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนในการพิจารณาสนับสนุนงบประมาณแก่หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในด้านการส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน (1.7) พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบข้ อ เสนอการปรั บ ปรุ ง อั ต ราเงิ น สมทบกองทุ น เงิ น ทดแทนตามรหัสประเภทกิจการมาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศไทย (TSIC) โดยก�ำหนดรูปแบบการก�ำหนด อัตราเงินสมทบหลักเท่ากับอัตราเงินสมทบหลักเดิมโดยเฉลี่ยของกลุ่ม และรูปแบบการค�ำนวณอัตราเงินสมทบ ตามค่าประสบการณ์ใช้หลักการค�ำนวณอัตราส่วนการสูญเสียด้วยวิธีการปรับให้เรียบแบบเอ็กซ์โพเนนเชียล เชิงเดียว ตารางลด-เพิ่มก�ำหนดที่อัตราเงินสมทบลดลงร้อยละ 20 – 80 และเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 – 120 และ เงินสมทบขั้นต�่ำ 240 บาท ต่อกิจการ

(2) พิจารณางบประมาณสนับสนุน

(2.1) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนโครงการของส�ำนักโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค จ�ำนวน 3 โครงการ (2.2) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนโครงการศูนย์โรคจากการ ท�ำงานของโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี สังกัดกรมการแพทย์ ได้แก่ โครงการพัฒนาศูนย์โรคจากการท�ำงานและ เครือข่ายสถานประกอบการ โครงการฝึกอบรมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ หลักสูตรระยะสั้น 2 เดือน โครงการ ฝึกอบรมประเมินการสูญเสียสมรรถภาพส�ำหรับแพทย์ โครงการฝึกอบรมพยาบาล (2.3) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนแผนการประชาสัมพันธ์ งานกองทุนเงินทดแทน ประจ�ำปี 2554 (2.4) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนค่าใช้จ่ายโครงการอบรม แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ (หลักสูตร 2 เดือน) ของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

31


(2.5) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนโครงการจัดสอบการอ่าน ฟิล์มโรคปอดนิวโมโคนิโอซิส ตามมาตรฐานองค์การแรงงานระหว่างประเทศของสถาบันโรคทรวงอก (2.6) พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบอนุ มั ติ ง บประมาณสนั บ สนุ น โครงการเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพการป้องกันและลดปัญหาการประสบอันตรายในสถานประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม โดย สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) (2.7) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติม เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการปรับบัญชีค่าจ้างลูกจ้างชั่วคราวของกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จ�ำนวน 40 อัตรา ในอัตราที่ ส�ำนักงาน กพ. ก�ำหนด (2.8) พิจารณาอนุมัติหลักการค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมฝากฝึกผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพในการท�ำงานของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน  กรณีเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ในสถานประกอบการเดิม  และกรณีเข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงานในสถานประกอบการที่มิใช่ สถานประกอบการเดิม (2.9) พิ จ ารณาอนุ มั ติ ห ลั ก การค่ า ตอบแทนผู ้ เชี่ ย วชาญด้ า นวิ ช าการอื่ น ๆ  เพื่ อ ให้ ค�ำปรึกษาแนะน�ำงานวิชาการของส�ำนักงาน  คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน  คณะกรรมการการแพทย์ และคณะอนุกรรมการของส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทนในการด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน (2.10) พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบอนุ มั ติ ค ่ า ก่ อ สร้ า งอาคารชุ ด ที่ พั ก ข้ า ราชการและ พนักงานของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน ประจ�ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น เพิ่มเติม (2.11) พิจารณาให้ความเห็นชอบอนุมัติค่าจ้างออกแบบและค่าตกแต่งภายในศูนย์ฟื้นฟู สมรรถภาพคนงานประจ�ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น และค่าก่อสร้างบ้านพักผู้อ�ำนวยการ และ หัวหน้าฝ่ายของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานประจ�ำภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น (2.12) พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบอนุ มั ติ กั น เงิ น เพื่ อ ด�ำเนิ น งานกองทุ น เงิ น ทดแทน ไว้ด�ำเนินการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีปฏิทิน งบประมาณประจ�ำปี 2555 (3) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ (3.1) พิจารณาค�ำขออนุมัติจ�ำหน่ายหนี้เงินสมทบกองทุนเงินทดแทนออกจากบัญชีเป็น หนี้สูญ (3.2) พิจารณาเห็นชอบในหลักการสนับสนุนโครงการพัฒนาระบบการจัดการความ ปลอดภัยและอาชีวอนามัย ILO-OSH MS 2001 และกฎกระทรวงแรงงานส่วนที่ 2 ปี 2554 ของสมาคมส่งเสริม ความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) (3.3) พิจารณาเห็นชอบสนับสนุนการด�ำเนินการเลือกตั้งผู้แทนฝ่ายนายจ้าง และผู้แทน ฝ่ายลูกจ้าง ในส่วนของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน (3.4) พิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งคณะอนุกรรมการการวิจัย เพิ่มเติม (3.5) พิจารณาค�ำของบประมาณการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดอบรมหลักสูตรการ ส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงานเพิ่มเติม โดยมีมติให้พิจารณางบประมาณในปีถัดไป และก�ำหนดสัดส่วนระหว่างสภาองค์การนายจ้างและสภาองค์การลูกจ้างในอัตรา 50 : 50

32

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


(3.6) พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบอนุ มั ติ ข ยายเวลาการด�ำเนิ น โครงการเสริ ม สร้ า ง ศักยภาพการป้องกันและลดปัญหาการประสบอันตรายในสถานประกอบกิจการขนาดกลางและขนาดย่อมของ สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงาน (ประเทศไทย) (4) พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ตามมาตรา 52 ของนายจ้าง ลูกจ้าง และผู้มีสิทธิ ซึ่งอุทธรณ์กรณี เกี่ยวกับค�ำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ จ�ำนวน 295 ราย จ�ำแนกตามประเภทข้ออุทธรณ์ ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20.

เรื่องอุทธรณ์ กรณีเนื่องจากการทำ�งาน กรณีไม่เนื่องจากการทำ�งาน กรณีประเมินการสูญเสีย กรณีขอเป็นผู้มีสิทธิตามมาตรา 20 ขอขยายหรือเลื่อนกำ�หนดระยะเวลา ขอรับเงินค่าทดแทนคราวเดียว กรณีนิติสัมพันธ์ ขอให้กองทุนเงินทดแทนเป็นผู้จ่ายเงินทดแทน ขอเพิ่มค่าทดแทนตามมาตรา 18(4) กรณีผู้มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบ คำ�นวณการจ่ายค่าทดแทนใหม่ กรณีการตรวจบัญชี กรณีอัตราเงินสมทบ กรณียกเว้นเงินเพิ่ม กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 35,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 45,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 85,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 110,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 300,000 บาท รวม

จำ�นวน (ราย) 47 13 39 5 2 3 2 1 1 1 1 4 14 3 1 69 1 64 3 21 295

(5) พิจารณาให้ความเห็นเรื่องหารือการจ่ายค่ารักษาพยาบาล  เท่าที่จ่ายจริงได้ไม่เกิน 300,000 บาท ตามกฎกระทรวงก�ำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2551 ข้อ 5 จ�ำนวน 33 ราย

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

33


ผลการด�ำเนินงานของคณะอนุกรรมการ ที่อยู่ภายใต้คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ได้แก่

3.1.1 คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เงินทดแทน (กรณีเกี่ยวกับการแพทย์)

พิจารณาเรื่องอุทธรณ์ของนายจ้าง ลูกจ้างและผู้มีสิทธิรับเงินทดแทน ซึ่งอุทธรณ์ กรณีเกี่ยวกับการแพทย์ อัตราค่ารักษาพยาบาล มาตรฐานการรักษาและการให้บริการทางการแพทย์และการ อุทธรณ์ค�ำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย จ�ำนวน 254 ราย ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

34

เรื่องอุทธรณ์ กรณีเนื่องจากการทำ�งาน กรณีไม่เนื่องจากการทำ�งาน กรณีประเมินการสูญเสีย กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 35,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 45,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 85,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 110,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 300,000 บาท รวม

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

จำ�นวน (ราย) 28 15 43 1 76 2 75 10 4 254


3.1.2 คณะอนุกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เงินทดแทน (กรณีทั่วไป)

พิจารณาเรื่องอุทธรณ์ของนายจ้าง ลูกจ้างและผู้มีสิทธิรับเงินทดแทน ซึ่งอุทธรณ์ กรณีเกี่ยวกับการประเมินเงินสมทบ  การก�ำหนดรหัสประเภทกิจการและการค�ำนวณเงินเพิ่มตามกฎหมาย และการอุทธรณ์ ค�ำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมาย จ�ำนวน 56 ราย ดังนี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

เรื่องอุทธรณ์ กรณีเนื่องจากการทำ�งาน กรณีไม่เนื่องจากการทำ�งาน กรณีขอเป็นผู้มีสิทธิตามมาตรา 20 กรณีนิติสัมพันธ์ ขอเพิ่มค่าทดแทน ให้กองทุนจ่ายเงินทดแทน ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ จ่ายค่าทดแทนคราวเดียว ตรวจบัญชี ลดอัตราเงินสมทบ ควบรวมกิจการ ยกเว้นเงินเพิ่ม ถอนอุทธรณ์ รวม

จำ�นวน (ราย) 14 5 5 3 3 2 2 1 5 8 2 3 3 56

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

35


3.1.3 คณะอนุกรรมการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน

ปี  2554  คณะอนุกรรมการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัยใน การท�ำงาน  ได้ด�ำเนินการพิจารณากลั่นกรองโครงการ และงบประมาณ ที่หน่วยงานอื่นขอรับการสนับสนุนใน การด�ำเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงานเนื่องจากการท�ำงาน ดังนี้ หน่วยงาน 1. การดำ�เนินงานเกี่ยวกับคลินิกโรคจากการทำ�งาน 1.1 โครงการพัฒนาศักยภาพคลินิกอาชีวเวชศาสตร์ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข (คลินิกโรค จากการทำ�งาน ระยะที่ 5) จำ�นวน 60 แห่ง 1.2 โครงการศูนย์โรคจากการทำ�งาน (โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี) 1.3 สำ�นักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม 1.4 สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม แห่งประเทศไทย 1.5 โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย 1.6 โรงพยาบาลโรคทรวงอก 1.7 สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน (โครงการประชุมชี้แจง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำ�เนินงานคลินิกโรคจากการ ทำ�งาน) 2. การดำ�เนินการเกี่ยวกับการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับ ความปลอดภัยในการทำ�งาน 2.1 กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน 2.2 สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในการทำ�งาน (ประเทศไทย)

36

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

จำ�นวน โครงการ

จำ�นวนเงิน (บาท)

1

11,310,000

1

900,000

1 1

671,600 162,000

7 1 1

1,370,000 134,000 1,500,000

3 1

9,433,000 2,232,000


ผลการด�ำเนินงานของหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการด�ำเนินการ เกี่ยวกับการป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงานและคลินิกโรคจากการท�ำงาน

1. การป้องกันและส่งเสริมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน

หน่วยงาน 1. กรมสวัสดิการและ คุ้มครองแรงงาน

2. สำ�นักงานกองทุน เงินทดแทน

ผลการดำ�เนินงาน 1.) ค่าใช้จ่ายในการดำ�เนินการจัดทำ�โครงการ 1.1 ส่งเสริมการจัดการด้านความปลอดภัยฯ ในโครงการเร่งรัด เพื่อลดสถิติ อุบตั เิ หตุในสถานประกอบกิจการทีป่ ระสบอันตรายสูง จำ�นวน 2,299 แห่ง ต่อลูกจ้าง 99,198 คน 1.2 ตรวจวิเคราะห์ วินจิ ฉัยสภาพแวดล้อมฯ และทดสอบ วิเคราะห์ การเปลีย่ นแปลงสมรรถภาพ และเสรีภาพของลูกจ้าง จำ�นวน 775 แห่ง ต่อ 14,135 ตัวอย่าง ต่อลูกจ้าง 48,518 คน 1.3 จัดทำ�โครงการพัฒนาความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในสถานประกอบ กิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก จำ�นวน 243 แห่ง/14,166 คน 1.4 จัดทำ�โครงการส่งเสริมและพัฒนาความปลอดภัยฯ แรงงานภาคเกษตร จำ�นวน 362 แห่ง/617 คน 1.5 สนับสนุนด้านเทคนิคและวิชาการ จำ�นวน 3,246 ครั้ง/91,982 คน 1.6 เผยแพร่เอกสาร ข่าวสารความปลอดภัยฯ จำ�นวน 95,465 ฉบับ 2.) จัดงานสัมมนาวิชาการงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน แห่งชาติ ครั้งที่ 25 2.1 ส่วนกลาง ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา มีผู้เข้าร่วมงาน มากกว่า 2,000 คน 2.2 ส่วนภูมิภาคแยกเป็น ภาคใต้ (จังหวัดนครศรีธรรมราช) มีผู้เข้าร่วมงาน จำ�นวน 1,300 คน ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี) มีผู้เข้าร่วมงาน จำ�นวน 1,000 คน ภาคเหนือ (จังหวัดลำ�ปาง) มีผู้เข้าร่วมงาน จำ�นวน 1,219 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัดอุดรธานี) มีผู้เข้าร่วมงาน จำ�นวน 1,200 คน 3.) โครงการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ด้านความปลอดภัยในการทำ�งาน เพื่อป้องกันและลดอุบตั เิ หตุหรือโรคจากการทำ�งาน 3.1 จัดอบรมลูกจ้างในส่วนกลาง จำ�นวน 60 คน 3.2 จัดอบรมลูกจ้างในส่วนภูมิภาค จำ�นวน 19 รุ่น 19 จังหวัด มีผู้เข้ารับการอบรมจำ�นวน 997 คน ร่วมจัดนิทรรศการและกิจกรรมงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งานแห่งชาติ – มีผเู้ ข้าร่วมชมนิทรรศการของสำ�นักงานประกันสังคม จำ�นวน 3,000 ราย – มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม การเล่นเกมส์ ตอบคำ�ถามและรับของรางวัล จำ�นวน 11,499 ราย รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

37


2. โครงการคลินิกโรคจากการท�ำงาน

2.1 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย์

การให้บริการ 1. การให้บริการตรวจสุขภาพแก่ลูกจ้าง 2. การตรวจวินิจฉัยโรคจากการทำ�งาน วินิจฉัยว่า เป็นโรคเนือ่ งจากงาน โรคเหตุสภาวะทางกายภาพ – หูเสือ่ ม – โรคผิวหนัง – โรคกระดูกหรือกล้ามเนื้อ

346 ราย 125 ราย

3. ตรวจประเมินการสูญเสียและทุพพลภาพ

182 ราย

4. ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� ลูกจ้างเกี่ยวกับการทำ�งาน

68 ราย

5. การสำ�รวจสถานที่ทำ�งานในสถานประกอบการ

9 แห่ง

6. จัดจ้างในการติดตาม ประสานข้อมูลกับโรงงานและสรุปผล

55 ราย

7. โครงการพัฒนาศูนย์โรคจากการทำ�งาน 7.1 การพัฒนาระบบการดำ�เนินงานอาชีวอนามัย รูปแบบนพรัตน์ โมเดลเพือ่ ส่งเสริมงานอาชีวอนามัยในสถานประกอบการ โดยประชุมเครือข่าย – คณะกรรมการ – สถานประกอบการ สัมมนารูปแบบการพัฒนา อาชีวอนามัยในสถานประกอบการ

40 ราย 27 ราย 20 ราย

15 คน 80 คน

7.2 การจัดอบรมแพทย์อาชีวเวชศาสตร์หลักสูตร 2 เดือน

33 คน

7.3 การจัดอบรมประเมินการสูญเสียสมรรถภาพ

35 คน

7.4 การจัดอบรมความรู้พื้นฐานด้านอาชีวอนามัย สำ�หรับพยาบาล

59 คน

7.5 การอบรมการซักประวัตคิ ดั กรอง และการวินจิ ฉัยโรคจากการทำ�งาน

55 คน

7.6 การจัดสัมมนาในการพิจารณาและปรับระบบการซักประวัติ อาชีพ เพื่อการดูแลผู้ป่วยกลุ่มวัยทำ�งาน 2 ครั้งๆ ละ 30 คน

38

ผลการดำ�เนินงาน 9,460 ราย

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

60 คน


2.2 ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม การให้บริการ

1. ให้บริการตรวจสุขภาพเชิงรุก - สถานประกอบการ / ลูกจ้าง - ให้สุขศึกษา / คำ�ปรึกษา / ลูกจ้าง

ผลการดำ�เนินงาน 1,629 แห่ง/151,841 ราย 1,959 แห่ง/144,820 ราย

2. การจัดบริการตรวจสุขภาพเชิงรับในโรงพยาบาล มีลูกจ้างเข้ารับการตรวจวินิจฉัย ผลการวินิจฉัยของแพทย์ - โรคเนื่องจากการทำ�งาน - โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก - โรคผิวหนัง - โรคระบบทางเดินหายใจ - อื่นๆ

79,561 ราย

3. อุบัติเหตุจากการทำ�งาน

16,199 ราย

11,268 ราย 7,419 ราย 1,113 ราย 1,086 ราย 1,650 ราย

2.3 โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัย การให้บริการ

ผลการดำ�เนินงาน

1. ให้บริการตรวจสุขภาพลูกจ้างในสถานประกอบการ

39 แห่ง/19,093 ราย

2. ให้บริการสุขศึกษาแก่ลูกจ้างในสถานประกอบการ

5 แห่ง/825 ราย

3. ให้คำ�ปรึกษาแนะนำ�ลูกจ้างที่มารับบริการที่โรงพยาบาล

1,872 ราย

4. ตรวจวินิจฉัยโรคจากการทำ�งาน

603 ราย

5. วินิจฉัยโรคจากการทำ�งาน

120 ราย

6. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและอุบัติเหตุ จากการทำ�งานในสถานประกอบการ

5 แห่ง/200 ราย

2.4 ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

จัดประชุมชี้แจงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานโครงการคลินิกโรคจากการ ท�ำงาน มีผู้เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 347 คน

2.5 สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย

สนับสนุนค่าลงทะเบียนแพทย์อาชีวเวชศาสตร์ในการประชุมนานาชาติของสมาคมโรค จากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมแห่งประเทศไทย ผู้เข้าร่วมประชุม จ�ำนวน 33 คน รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

39


2.6 สถาบันโรคทรวงอก

สนับสนุนโครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญและการประเมินผู้เชี่ยวชาญในการอ่านฟิล์มโรคปอด นิวโมโคนิโอซิส ตามมาตรฐานองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ครั้งที่ 2 ของสถาบันโรคทรวงอก จ�ำนวนผู้เข้า สอบใหม่จ�ำนวน 20 คน ผู้สอบต่อไป Certificate จ�ำนวน 9 คน

3.2 คณะกรรมการการแพทย์

คณะกรรมการการแพทย์   ได้ ด�ำเนิ น การตามมี อ�ำนาจหน้ า ที่ ต ามมาตรา  40  แห่ ง พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ในการเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนเกี่ยวกับ การด�ำเนินงานในการให้บริการทางการแพทย์  ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำทางการแพทย์แก่คณะกรรมการกองทุน เงินทดแทนและส�ำนักงานประกันสังคม  ให้ความเห็นต่อส�ำนักงานประกันสังคมในการออกกฎกระทรวงตาม มาตรา 13 และประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมตามมาตรา 14 และมาตรา 18(2) และ(3) และ ปฏิบัติการอื่นๆ ตามที่พระราชบัญญัตินี้บัญญัติให้เป็นอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการแพทย์ หรือตามที่ รัฐมนตรีหรือคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนมอบหมาย ดังนี้ (1) เสนอความเห็นแนวนโยบายและหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการบริการทางการแพทย์  ต่อ คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน ได้แก่ (1.1) ก�ำหนดรูปแบบตารางแนวทางการพิจารณาค่ารักษาพยาบาลตามกฎกระทรวง เพื่อใช้ในการพิจารณาค่ารักษาพยาบาล (1.2) ก�ำหนดหลักเกณฑ์การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพลูกจ้างที่มีการติดเชื้อเอดส์ และตับอักเสบเนื่องจากการท�ำงาน

(2) ให้ค�ำปรึกษาแนะน�ำในทางการแพทย์แก่คณะกรรมการและส�ำนักงาน ดังนี้

ค่ารักษาพยาบาล 1. กรณีค่ารักษาพยาบาล เกิน 45,000 บาท 2. กรณีค่ารักษาพยาบาล เกิน 110,000 บาท 3. กรณีค่ารักษาพยาบาล เกิน 200,000 บาท 4. กรณีโรงพยาบาลขอทบทวนคำ�วินิจฉัย 5. กรณีเข้าข่ายตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรง และเรื้อรัง พ.ศ. 2549 ข้อ 2.7 6. กรณีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีอื่นๆ รวม

40

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

จำ�นวน (ราย) 1 – 87 4 11

4 107


(3) ให้ ค วามเห็ น แนวทางในเรื่ อ งการออกกฎกระทรวงประกาศกระทรวงแรงงานและ สวัสดิการสังคมต่อส�ำนักงานประกันสังคม ดังนี้ (3.1) ปรับปรุงแก้ไขกฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ.2539) ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการและอัตราการจ่ายค่าฟื้นฟูฯ ขณะนี้อยู่ระหว่างการพิจารณาอัตราการจ่าย ที่เหมาะสม (3.2) ประเด็นการแก้ไขกฎกระทรวงก�ำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2551 เพื่อให้คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนพิจารณาต่อไป (3.3) ทบทวนการตีความค�ำอธิบายแนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล ข้อ 3(1) - (6) และข้อ 4 (4) ตามกฎกระทรวงก�ำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2551 เพื่อเป็นแนวทางใน การพิจารณาจ่ายค่ารักษาพยาบาล

ผลการด�ำเนินงานของคณะอนุกรรมการ  ที่อยู่ภายใต้คณะกรรมการการแพทย์ ได้แก่

3.2.1 คณะอนุกรรมการด้านการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพ

ปี 2554 คณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาประเมินการสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสีย สมรรถภาพ  ในการท�ำงานของลูกจ้างที่ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานให้แก่นายจ้าง จ�ำนวน 170 ราย ดังนี้ การประเมินการสูญเสีย 1. ระบบกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ 2. ระบบการมองเห็น 3. ระบบภายใน 4. ระบบทางเดินหายใจ 5. กรณีทุพพลภาพ 6. ระบบผิวหนัง 7. ระบบโสต ศอ นาสิก รวม

จำ�นวน(ราย) 85 44 5 10 17 8 1 170

3.2.2 คณะอนุกรรมการพัฒนาบริการทางการแพทย์

คณะอนุกรรมการพัฒนาบริการทางการแพทย์ มีหน้าที่ในการศึกษาและพัฒนารูปแบบ การจัดการระบบบริการทางการแพทย์ วิเคราะห์ ปรับปรุงวิธีการและอัตราการจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ รวมทั้ง พิจ ารณาก�ำหนดมาตรฐานสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุ นเงินทดแทนและให้ค�ำแนะน�ำ ส�ำนักงานในการก�ำกับสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

41


ปี  2554  คณะอนุกรรมการฯ  ได้เสนอแนวทางการปรับปรุงการจัดบริการทาง การแพทย์ของกองทุนเงินทดแทน ดังนี้ (1) จัดท�ำหลักเกณฑ์การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพลูกจ้างที่ติดเชื้อ HIV และ ตับอักเสบเนื่องจากการท�ำงาน ดังนี้ หลักเกณฑ์ 1. การพิจารณาลูกจ้าง

ลูกจ้างที่ติดเชื้อ HIV ลูกจ้างที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ 1.1 ต้องมีการบันทึกการรายงานสาเหตุ 1.1 ต้องมีการบันทึกการรายงานสาเหตุ ของการติ ด เชื้ อ ว่ า ลู ก จ้ า งได้ รั บ ของการติ ด เชื้ อ ว่ า ลู ก จ้ า งได้ รั บ อุบัติเหตุติดเชื้อจากการทำ�งาน อุบัติเหตุติดเชื้อจากการทำ�งาน 1.2 ประเมิ น คนไข้ ห รื อ เลื อ ดคนไข้ 1.2 ประเมิ น คนไข้ ห รื อ เลื อ ดคนไข้ ต้องมีผลเป็นลบก่อนการติดเชื้อ และตำ�แหน่งที่โดนเข็มตำ�โดยแบ่ง ตามเกณฑ์การพิจารณาการติดเชือ้ 1.3 ต้ อ งเก็ บ เลื อ ดนั้ น ไว้   เพื่ อ ตรวจ ไวรัสตับอักเสบ B และเชือ้ ไวรัสตับ พิสูจน์อีกครั้งว่าเลือดของลูกจ้าง อักเสบ C เป็นบวกหรือไม่ในช่วง 4 สัปดาห์ และ 6 เดือน

2. การพิจารณาจ่ายค่า ทดแทน

จ่ายเป็นรายเดือนหรือเงินก้อน หรือทั้งรายเดือนและเงินก้อน

ไม่มีการจ่ายค่าทดแทน เนื่องจากไม่ได้ ทำ�ให้สูญเสียสมรรถภาพในการทำ�งาน

(2) จัดท�ำค�ำอธิบายแนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลข้อ 3(1) – (6) ตาม กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2551 โดยปรับแก้ไขค�ำอธิบายแนวทาง การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลตามกฎกระทรวงฯ ข้อ 3 (2) ข้อ 3 (3) และ ข้อ 3 (5) ให้มีความชัดเจน และ เสนอข้อคิดเห็นการควบคุมและตรวจสอบการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลของกองทุนเงินทดแทน ดังนี้ กองทุนเงินทดแทน

(2.1) จ้างแพทย์อาวุโส หรือแพทย์ท�ำงานไม่ประจ�ำ เพื่อสุ่มตรวจแฟ้มของ

(2.2) จัดท�ำแบบสอบถามให้โรงพยาบาลที่ตั้งเบิกค่ารักษาพยาบาลสูงเกิน 45,000 บาท ตอบแบบสอบถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถพิจารณาวินิจฉัยจ่ายค่ารักษาพยาบาลได้รวดเร็วขึ้น (3) แนวปฏิ บั ติ ก ารจ่ า ยค่ า รั ก ษาพยาบาลของกองทุ น เงิ น ทดแทน  และจ่ า ย ค่าธรรมเนียมแพทย์ ไม่เกินร้อยละ 80 ของอัตราสูงสุด ของคู่มือค่าธรรมเนียมแพทย์ของแพทย์สภา โดยเสนอ ข้อคิดเห็น ดังนี้ (3.1) หากรายการค่ารักษาพยาบาลใดไม่มีในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2542) เรื่อง ชนิดหรือประเภทของการรักษาพยาบาล การบริการอื่นของสถานพยาบาลและ สิทธิของผู้ป่วย ผู้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลไม่สามารถเรียกเก็บได้

42

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


(3.2) การจ่ายค่าธรรมเนียมแพทย์ไม่เกินร้อยละ 80 ของอัตราสูงสุดของคู่มือ ค่าธรรมเนียมแพทย์ของแพทย์สภา ควรให้เจ้าหน้าที่สถานพยาบาลระบุการท�ำหัตถการในใบแจ้งหนี้ เพื่อให้ เจ้าหน้าที่วินิจฉัยพิจารณาเทียบเคียงกับหัตถการที่มีอยู่ และหากไม่สามารถวินิจฉัยจ่ายค่ารักษาพยาบาลได้ให้ ด�ำเนินการส่งเรื่องหารือคณะอนุกรรมการการแพทย์หรือคณะกรรมการการแพทย์เป็นรายกรณี (3.3) ควรจ้างบุคลากรทางการแพทย์เพื่อตรวจสอบค่ารักษาพยาบาลและ จัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในการพัฒนาเป็น clearing house และสร้างระบบตรวจสอบค่ารักษาพยาบาลให้กับ ส�ำนักงานประกันสังคม (4) การแก้ไขปัญหาการจ่ายค่ารักษาพยาบาลเกินวงเงินที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงฯ โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ (4.1) กรณี ลู ก จ้ า งเป็ น โรคที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งมาจากการประสบอั น ตราย  เช่ น แผลกดทับ กระบวนการรักษาต้องต่อเนื่องและอยู่ในความดูแลของกองทุนเงินทดแทน  หากการเกิดแผลกดทับ เกิดในระหว่างการรักษาในโรงพยาบาลต้องเป็นความรับผิดชอบของโรงพยาบาล  แต่หากเกิดแผลกดทับใน ขณะอยู่ที่บ้านและเต็มวงเงินค่ารักษาพยาบาลตามกฎหมายกองทุนเงินทดแทน  ต้องใช้สิทธิของส�ำนักงานหลัก ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) เนื่องจากเป็นประชาชนไทยที่รัฐต้องให้การดูแลในเรื่องการรักษาพยาบาล (4.2) การใช้ เ งิ น ดอกผลของกองทุ น เงิ น ทดแทนตามมาตรา  28  แห่ ง พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ไม่เกินร้อยละ 22 มาใช้ในการจ่ายค่ารักษาพยาบาลส่วนที่เกินวงเงิน ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวง  เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของลูกจ้างในเบื้องต้นและแก้ไขปัญหาการจ่ายค่ารักษา พยาบาลของลู ก จ้ า งกรณี ไ ด้ รั บ ค่ า รั ก ษาจากกองทุ น อื่ น ที่ มี อ ยู ่ ใ นระบบ  โดยต้ อ งผ่ า นความเห็ น ชอบของ คณะกรรมการการแพทย์เป็นรายกรณี (4.3) การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดระบบบริการทางการแพทย์ของ กองทุนเงินทดแทนและกองทุนประกันสังคมให้สามารถเชื่อมโยงหรือรองรับกันได้ ทั้งนี้ ได้เสนอให้ใช้รูปแบบ การจัดการกองทุนร่วมกันในกรณีโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูงโดยใช้หลักเกณฑ์หรือมาตรฐานเดียวกัน ซึ่งการจ่ายต้อง ก�ำหนดบัญชีโรคและอัตราค่ารักษาพยาบาลต่อโรค หรือการใช้ระบบ DRG (5) ศึกษารูปแบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่เหมาะสมกับกองทุนเงินทดแทน โดย เสนอให้จ้างผู้เชี่ยวชาญหรือนักวิชาการด�ำเนินในเรื่องนี้ โดยให้เขียนแบบจ�ำลอง (Model) และน�ำเสนอรูปแบบ การจ่ายประมาณ 3 - 4 รูปแบบ เช่น DRG, Fee for service หรือ Co-payment พร้อมทั้งเสนอทางเลือก ข้อดี ข้อเสีย เพื่อประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน และต้องก�ำหนดระยะเวลาแล้ว เสร็จ ภายใน 3 - 6 เดือน และเนื่องจาก Cost Containment เป็นสิ่งส�ำคัญในระบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาล ดังนั้นรูปแบบการจ่ายค่ารักษาพยาบาลควรเป็นรูปแบบที่สามารถจัดการ Cost Containment ได้ และต้อง ครอบคลุมค่ารักษาพยาบาลของลูกจ้างทุกราย (6) หลั ก เกณฑ์ ก ารจ่ า ยค่ า รั ก ษาพยาบาลให้ กั บ สถานพยาบาลในความตกลง ของกองทุนเงินทดแทน โดยเสนอให้ปรับปรุงแก้ไขแบบ กท. 44 ให้มีความถูกต้อง ชัดเจน และไม่ขัดกับหลัก กฎหมาย รวมทั้งเอื้อประโยชน์ให้กับทุกฝ่ายทั้งนายจ้าง ลูกจ้าง สถานพยาบาล และส�ำนักงานประกันสังคม ดังนี้ รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

43


(6.1) ร่างแบบ กท. 44 ต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงสิทธิของคนไข้ที่เข้ารับ การรักษาว่าประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน โดยนายจ้างให้การรับรองและแสดงความรับผิดชอบ ค่าใช้จ่าย (6.2) ควรจะเขียนค�ำเตือนให้นายจ้างต้องยื่นแบบ  กท.  44  เมื่อลูกจ้าง ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยจากการท�ำงาน (6.3) ควรแก้แบบ กท. 44 โดยใส่ข้อความในเชิงบวกและประโยชน์ที่จะ ได้รับ ทั้งนี้ต้องประชาสัมพันธ์ให้กับสถานพยาบาลและนายจ้างได้รับรู้ (6.4) ควรเพิ่มข้อความในหมายเหตุ เช่น ถ้าลูกจ้างหรือนายจ้างให้ถ้อยค�ำ หรือข้อความไม่ตรงกัน โรงพยาบาลสามารถเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลจากลูกจ้างหรือนายจ้างได้ ซึ่งหมายเหตุ อาจระบุไว้ด้านหลังของร่างแบบ กท. 44 (6.5) ควรหาแนวทางแก้ไขปัญหากรณีลูกจ้างแจ้งข้อมูลการประสบอันตราย ให้แก่โรงพยาบาลและส�ำนักงานประกันสังคมไม่ตรงกัน นายจ้างต้องรับผิดชอบค่ารักษาพยาบาลในส่วนนี้ (6.6) ควรให้สถานพยาบาลมีสิทธิอุทธรณ์การประสบอันตรายของลูกจ้าง และระบุเงื่อนไขการอุทธรณ์ไว้ในข้อตกลงการเป็นสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน (6.7) เมื่อปรับปรุงร่างแบบ กท. 44 เรียบร้อยแล้วควรให้กองนิติการตรวจ สอบว่ามีข้อความใดขัดต่อกฎหมายหรือไม่ จากนั้นน�ำเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการการแพทย์และ คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน (7) พิ จ ารณาแบบตรวจประเมิ น มาตรฐานและคุ ณ ภาพสถานพยาบาลใน ความตกลงของกองทุนเงินทดแทน ซึ่งคณะอนุกรรมการได้เสนอแนวทาง ได้แก่ (7.1) ปรับเปลี่ยนรูปแบบการตรวจสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุน เงินทดแทน โดยแยกการประเมิน (assessment) และการตรวจสอบ (audit) ให้ชัดเจน (7.2) การตรวจมาตรฐานสถานพยาบาลมี ห ลายหน่ ว ยงานที่ ด�ำเนิ น การ ในเรื่องนี้ ซึ่งส�ำนักงานประกันสังคม อาจอ้างอิงจากผลการตรวจสถานพยาบาลจากหน่วยงานอื่นๆ เช่น สถาบัน รับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ซึ่งจะท�ำให้ลดขั้นตอนหรือระยะเวลาในการด�ำเนินงานตรวจ สอบสถานพยาบาลของกองทุนเงินทดแทน (7.3) การปรั บ เปลี่ ย นระบบการตรวจสถานพยาบาลส�ำนั ก งานกองทุ น เงินทดแทน อาจต้องจ้างที่ปรึกษาทางการแพทย์และพยาบาลเพิ่ม เพื่อเน้นการตรวจ Audit chat ซึ่งต้องใช้ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน Medical audit และ Financial audit ซึ่งผลของการตรวจที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อ การจัดท�ำ Clearing house เพื่อใช้ในการด�ำเนินงานของกองทุนเงินทดแทนในอนาคต (7.4) การเก็บข้อมูลทางสถิติให้เป็นประโยชน์ในการจัดท�ำ Clearing house ในอนาคตต้องเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบการตรวจสอบ (audit) จึงต้องมีระบบการเก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายและระบบ การตรวจสอบที่มีมาตรฐาน

44

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


(8) การให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพลูกจ้าง โดยมีข้อคิดเห็น ดังนี้

(8.1) ส�ำนักงานประกันสังคมควรเพิ่มจุดในการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพให้ มากขึ้น เพื่อให้ลูกจ้างที่สูญเสียอวัยวะหรือทุพพลภาพได้รับการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างทั่วถึง (8.2) ควรปรับปรุงศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานให้เป็นศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ คนงานต้นแบบในการฝึกอบรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ  โดยให้หน่วยงานต่างๆ  ที่ประสงค์ให้บริการฟื้น ฟูฯ สมรรถภาพมาเข้ารับการอบรมการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ (8.3) ควรเพิ่มทางเลือกให้กับลูกจ้าง โดยให้โรงพยาบาลหรือหน่วยงานต่างๆ ที่สนใจให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพมารับการอบรมและขึ้นทะเบียนกับส�ำนักงานประกันสังคมเพื่อเพิ่มช่องทาง ในการให้บริการแก่ลูกจ้าง (8.4) ควรส่งครูฝึกอาชีพไปอบรมความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ เพื่อพัฒนาหลักสูตร ให้ทันสมัยและรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ (8.5) ควรตั้งเป็นองค์กรอิสระหรือเป็น SDU (Service Delivery Unit) ซึ่ง สามารถจ่ายค่าจ้างบุคลากรได้ตามอัตราที่คณะกรรมการกองทุนเงินทดแทนก�ำหนดหรืออาจมุ่งไปที่การให้ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพเป็นหลัก สมรรถภาพในการท�ำงาน

(8.6) ควรให้การสนับสนุนเรื่องการศึกษาเพิ่มเติม แก่ลูกจ้างที่เข้ารับการฟื้นฟู

(8.7) ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน ควรมีมาตรการหรือแนวทางที่จะเข้าไป ทดแทนหรือรองรับในสิ่งที่ลูกจ้างได้รับจากครอบครัวหรือรายได้ที่เพียงพอต่อการเลี้ยงชีพ (8.8) หากลูกจ้างไม่ต้องการพักในศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน  ก็ควรใช้ วิธี Home Program ให้ลูกจ้างสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพที่บ้านและกลับมาพบเจ้าหน้าที่ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพ คนงาน สัปดาห์ละครั้งหรือเดือนละครั้ง เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน (8.9) ส�ำนักงานประกันสังคมควรเปลี่ยนกระบวนทัศน์  (Paradigm)  หรือ วิธีคิดเพื่อให้ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานสามารถหารายได้จากคนไข้กลุ่มอื่นๆ ได้เอง

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

45


3.2.3 คณะอนุกรรมการทบทวนค�ำวินิจฉัย

ปี 2554 คณะอนุกรรมการทบทวนค�ำวินิจฉัย ได้พิจารณาการขอทบทวนค่ารักษา พยาบาลของสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน หารือกรณีค่ารักษาพยาบาล และกรณีการ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำนวน 106 ราย ดังนี้ เรื่อง 1. กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 110,000 บาท 2. กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 200,000 บาท 3. กรณีค่ารักษาพยาบาลไม่เกิน 300,000 บาท 4. กรณีโรงพยาบาลขอทบทวนคำ�วินิจฉัย 5. กรณีเข้าข่ายตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ. 2549 ข้อ 2.7 6. กรณีการจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีอื่นๆ รวม

46

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

จำ�นวน (ราย) 1 85 6 11 3 106


3.2.4 คณะอนุกรรมการการแพทย์ หน่วยที่ 1 -3

ปี 2554 คณะอนุกรรมการการแพทย์ หน่วยที่ 1-3 ได้ด�ำเนินการให้ค�ำปรึกษา และแนะน�ำแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ในการพิจารณาวินิจฉัยเงินทดแทน  และการจ่ายค่ารักษาพยาบาลตาม กฎกระทรวงที่เหมาะสมกับความจ�ำเป็นตามลักษณะของการประสบอันตรายและหรือความรุนแรงของโรค ดังนี้ คณะอนุกรรมการการแพทย์ ผลการดำ�เนินการ

1. พิจารณาให้คำ�ปรึกษาและ แนะนำ�แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ในการพิจารณาวินิจฉัย เงินทดแทน กรณีการประสบ อันตรายหรือเจ็บป่วยของ ลูกจ้าง กรณีเกี่ยวกับการแพทย์ 2. ให้คำ�ปรึกษาในการจ่าย ค่ารักษาพยาบาลตาม กฎกระทรวง ที่เหมาะสมกับ ความจำ�เป็นตามลักษณะของ การประสบอันตรายและหรือ ความรุนแรงของโรค รวม

หน่วย : ราย

หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หน่วยที่ 3 สำ�นักงาน สำ�นักงาน สำ�นักงาน ประกันสังคม ประกันสังคม ประกันสังคม จังหวัดสมุทรปราการ กรุงเทพมหานครพืน้ ที่ 7 จังหวัดปทุมธานี 712

384

280

428

302

515

1,140

686

795

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

47


4. การตรวจแนะน�ำการปฏิบัติงานกองทุนเงินทดแทน ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน  ได้ออกตรวจแนะน�ำให้ค�ำปรึกษาและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานวินิจฉัยเงินทดแทนและงานด้านเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน ให้แก่เจ้าหน้าที่งาน กองทุนเงินทดแทน เพื่อให้การด�ำเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย เจ้าหน้าที่มีความมั่นใจในการปฏิบัติงาน เกิดภาพพจน์ที่ดีขององค์กรและสร้างความเชื่อถือไว้วางใจแก่นายจ้าง  ลูกจ้าง  รวมทั้งให้เจ้าหน้าที่ถือเป็น แนวปฏิบัติเดียวกันทั่วประเทศ จ�ำนวน 25 หน่วยงาน ดังนี้ ภาคกลาง 1. สระบุรี 2. สาขาอำ�เภอหนองแค 3. อ่างทอง 4. ลพบุรี 5. ชัยนาท 6. สิงห์บุรี

ภาคเหนือ 1. แม่ฮ่องสอน 2. เชียงราย 3. พะเยา 4. อุตรดิตถ์ 5. น่าน 6. พิษณุโลก

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. ยโสธร 2. มุกดาหาร 3. อำ�นาจเจริญ 4. บุรีรัมย์ 5. ศรีสะเกษ 6. อุบลราชธานี

ภาคใต้ 1. กระบี่ 2. พังงา 3. ตรัง 4. นครศรีธรรมราช 5. สาขาอำ�เภอทุ่งสง 6. ภูเก็ต 7. สาขาอำ�เภอกระทู้

5. การบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน ศูนย์ฟน้ื ฟูสมรรถภาพคนงานเป็นหน่วยงานทีใ่ ห้บริการฟืน้ ฟูสมรรถภาพแก่ลกู จ้างและผูป้ ระกันตนทีป่ ระสบ อันตราย ซึง่ สิน้ สุดการรักษาจากโรงพยาบาลแต่ยงั มีปญั หาด้านร่างกายและจิตใจ โดยจะให้บริการ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพด้าน การแพทย์ ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ ฟื้นฟูสมรรถภาพด้านจิตใจและสังคม หลังสิ้นสุดการฟืน้ ฟูฯ ลูกจ้างและ ผูป้ ระกันตนสามารถกลับเข้าท�ำงานกับนายจ้างเดิม นายจ้างใหม่ หรือประกอบอาชีพ อิสระ เลี้ยงดูตนเองได้

คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้รับบริการจากศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน

1. เป็นลูกจ้างทีป่ ระสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนือ่ งจากการท�ำงานและผูป้ ระกันตนทีท่ พุ พลภาพ

2. สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในกิจวัตรประจ�ำวัน เกิดขึ้นสามารถฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงานให้ดีขึ้นได้

และสภาพความพิการหรือความบกพร่องที่

3. ไม่ติดยาเสพติด และไม่เป็นโรคเรื้อรัง โรคติดต่อร้ายแรงหรือโรคติดต่ออันตราย พิการทาง สมอง จิตฟั่นเฟือน

48

4. อายุ 15 ปีขึ้นไป

5. ไม่จ�ำกัดความรู้

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


ตารางที่ 5 การให้บริการของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน ปี 2554 กิจกรรม 1. ผู้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพ 1.1 ผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพเดิม 1.2 ผู้เข้ารับการฟื้นฟู สมรรถภาพใหม่ 2. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านการแพทย์ 3. ให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ด้านอาชีพ 3.1 ฝึกเตรียมเข้าทำ�งาน 3.2 ฝึกอาชีพ 4. จบการฟื้นฟูสมรรถภาพ 4.1 ประกอบอาชีพ กับนายจ้างเดิม 4.2 ประกอบอาชีพ กับนายจ้างใหม่ 4.3 ประกอบอาชีพอิสระ 4.4 ช่วยงานบ้าน 4.5 เสียชีวิตด้วยโรคประจำ�ตัว ที่มา :

ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงาน จังหวัด จังหวัด จั ง หวั ด ระยอง ปทุมธานี เชียงใหม่ 405 392 173 238 258 107 167

134

603

66

970

367

334

392

173

899

176

145

42

363

117 59 114

รวม

81 64 190

214

25 17 250

223 140 2

328

23

9

32

41 11 1

27 – –

2 – –

70 11 1

442

1. ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดระยองและจังหวัดเชียงใหม่ 2. เดือนตุลาคม–ธันวาคม 2554 ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานจังหวัดปทุมธานีประสบภัยน�้ำท่วมอพยพเข้ารับ การฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานจังหวัดระยอง

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

49


6. สถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน ปี 2554 ส�ำนักงานประกันสังคม มีสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน จ�ำนวน ทั้งสิ้น 1,098 แห่ง ประกอบด้วยสถานพยาบาลของรัฐ จ�ำนวน 874 แห่ง และสถานพยาบาลเอกชน จ�ำนวน 224 แห่ง ในจ�ำนวนนี้ เป็นสถานพยาบาลระดับสูงที่เข้าโครงการประกันสังคม จ�ำนวน 226 แห่ง และ ไม่ได้เข้าร่วมโครงการประกันสังคม จ�ำนวน 30 แห่ง เป็นสถานพยาบาลระดับต้น จ�ำนวน 781 แห่ง และ คลินิก จ�ำนวน 61 แห่ง ตารางที่ 6 จ�ำนวนสถานพยาบาลในความตกลงของกองทุนเงินทดแทน ปี 2553–2554 หน่วย : แห่ง สถานพยาบาล 1. ระดับสูง 1.1 เข้าโครงการประกันสังคม 1.2 ไม่เข้าโครงการประกันสังคม 2. ระดับต้น 3. ระดับคลินิก รวม

50

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

รัฐบาล

เอกชน

รวม

ปี 2553 ปี 2554 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2553 ปี 2554 146 – 728 – 874

146 – 728 – 874

77 33 53 59 222

80 30 53 61 224

223 33 781 59 1,096

226 30 781 61 1,098


7. งบการเงิน ฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 กองทุนเงินทดแทนมีสินทรัพย์ จ�ำนวน 34,103.75 ล้านบาท มีทุนและหนี้สิน จ�ำนวน 30,599.57 ล้านบาท และจ�ำนวน 3,504.18 ล้านบาท ตามล�ำดับ ในส่วนของหนีส้ นิ เป็นเงินส�ำรองส�ำหรับการประสบอันตรายทีเ่ กิดขึน้ แล้ว จ�ำนวน 3,217.90 ล้านบาท และหนี้สิน หมุนเวียน จ�ำนวน 286.28 ล้านบาท

ฐานะทางการเงิน

สินทรัพย 34,103.75

=

หนี้สิน 3,504.18 ลานบาท ทุน 30,599.57

ผลการด�ำเนินงานรอบ 12 เดือน สิ้นสุด ณ 31 ธันวาคม 2554 กองทุนเงินทดแทนมีรายได้ จ�ำนวน 4,293.56 ล้านบาท มีค่าใช้จ่าย จ�ำนวน 1,844.04 ล้านบาท กองทุนมีรายได้สูงกว่าค่าใช้จา่ ยก่อนการตัง้ ส�ำรอง เงินทดแทนส�ำหรับการประสบอันตรายทีเ่ กิดขึน้ แล้ว จ�ำนวน 2,449.51 ล้านบาท

ผลการดำเนินงาน

รายได 4,293.56 ลานบาท

=

คาใชจาย 1,844.04 ลานบาท

รายไดสูงกวาคาใชจาย 2,499.51 ลานบาท

หมายเหตุ : อยูกรงานการตรวจเงิ ะหวางรอการตรวจสอบของสำนั หมายเหตุ : อยู่ระหว่างรอการตรวจสอบของส�ำนั นแผ่นดิน กงานการตรวจเงินแผนดิน

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

51


กองทุนเงินทดแทน งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินลงทุนชั่วคราวสุทธิ ลูกหนี้สุทธิ ดอกเบี้ยค้างรับ สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาวสุทธิ รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์ หนี้สินและทุน

3,434,774,244.44 3,393,661,284.66 298,724,301.66 313,207,679.92 1,048,745.56 7,441,416,256.24 26,662,334,369.48 26,662,334,369.48 34,103,750,625.72

หนี้สินหมุนเวียน เงินฝากจากนายจ้าง เงินสมทบรับล่วงหน้า หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไม่หมุนเวียน สำ�รองเงินทดแทนสำ�หรับการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นแล้ว รวมหนี้สิน ทุน กองทุนสะสม กำ�ไรที่ยังไม่เกิดขึ้นของเงินลงทุน รวมทุน รวมหนี้สินและทุน ที่มา :

ส�ำนักบริหารการเงิน การบัญชี และการลงทุน

หมายเหตุ : อยู่ระหว่างรอการตรวจสอบของส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

52

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

61,850,456.51 222,186,136.03 2,242,599.19 286,279,191.73 3,217,902,518.75 3,504,181,710.48 30,603,922,893.84 (4,353,978.60) 30,599,568,915.24 34,103,750,625.72


กองทุนเงินทดแทน งบรายได้–ค่าใช้จ่าย สำ�หรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 รายได้ เงินสมทบ เงินเพิ่มตามกฎหมาย ส่วนลดรับ รายได้ค่าปรับ ดอกเบี้ยรับ กำ�ไรจากการขายหลักทรัพย์ รายได้เงินผูกพันที่ผู้มีสิทธิไม่มารับ รายได้อื่น รวมรายได้ ค่าใช้จ่าย เงินทดแทน ค่าใช้จ่ายในการจัดสรรให้แก่สำ�นักงานประกันสังคม – ในการฟื้นฟูสมรรถภาพและส่งเสริมความปลอดภัย – ในการดำ�เนินงานของสำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน หนี้สูญ หนี้สงสัยจะสูญ ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายก่อนรายการเงินทดแทนที่เกิดจากการ เพิ่ม/ลด สำ�รองเงินทดแทนสำ�หรับการประสบอันตรายที่เกิดขึ้นแล้ว บวก เงินทดแทนที่เกิดจากการลดสำ�รองเงินทดแทน รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ ที่มา :

2,969,221,771.56 20,771,141.96 15,543,865.35 198,000.00 1,261,122,445.86 1,370,148.00 21,201,709.04 4,129,065.85 4,293,558,147.62 1,616,524,825.91 160,548,800.00 24,802,380.00 1,957,560.14 39,403,218.20 811,200.00 1,844,047,984.25 2,449,510,163.37 11,667,425.91 2,461,177,589.28

ส�ำนักบริหารการเงิน การบัญชี และการลงทุน

หมายเหตุ : อยู่ระหว่างรอการตรวจสอบของส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

53


เงินกองทุนเงินทดแทน ปี 2554 สำ�นักงานประกันสังคมได้นำ�เงินกองทุนเงินทดแทนไปลงทุนในพันธบัตร หุ้นกู้ เงินฝาก ธนาคาร ฯลฯ เป็นเงินทัง้ สิน้ 33,479 ล้านบาท ได้รบั ผลตอบแทนจากการลงทุนเป็นเงิน 1,258 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.90 ต่อปี 35,000 4.23

30,000 25,000

3.06

20,000

18,468

15,000

2.53

4.61

4.59

21,372

23,480

26,058

28,270

30,810 3.75

33,479 5.00 4.50 3.90 4.00

3.80

3.50 3.00

19,834

2.50 2.00 1.50

10,000 5,000 0

1.00 382 2547

609 2548

ผลตอบแทนเงินสดสะสม

54

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

888 2549

1,033 2550

1,097 2551

เงินลงทุนกองทุนเงินทดแทน

1,088 2552

1,167 2553

1,258 2554

0.50 0.00

อัตราผลตอบแทน 12 เดือนยอนหลัง


ภาพกิจกรรม


ตรวจแนะนำ�การปฏิบัติงานด้านเงินทดแทน และเงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน  ณ  สำ�นักงานประกันสังคม  จังหวัด มุกดาหาร ระหว่างวันที่ 25–26 กรกฎาคม 2554

ตรวจแนะนำ�การปฏิบัติงาน  ด้านเงินทดแทนและเงินสมทบ กองทุนเงินทดแทน  ณ  สำ�นักงานประกันสังคมจังหวัดน่าน ระหว่างวันที่ 1–2 กันยายน 2554

56

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทนร่วมจัดนิทรรศการและกิจกรรมในงานสัปดาห์ความปลอดภัยในการทำ�งาน แห่งชาติ ครั้งที่ 25 ระหว่างวันที่ 7–9 กรกฎาคม 2554 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน  (นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน)  เป็นประธานเปิดการประชุมชี้แจง และสร้ า งเครื อ ข่ า ยโครงการคลิ นิ ก โรคจาก การทำ�งาน ระหว่างวันที่ 21–22 มีนาคม 2554 ณ ห้องประชุมแกรนด์บอลรูม โรงแรมดิเอม– เมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

57


สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน จัดสัมมนาโครงการ พั ฒ นาที ม งานเจ้ า หน้ า ที่ สำ � นั ก งานกองทุ น เงินทดแทน ระหว่างวันที่ 15–17 ธันวาคม 2554 ณ โรงแรมนาน่า รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดเพชรบุรี

ผู ้ อ�ำนวยการส�ำนั ก งานกองทุ น เงิ น ทดแทน (นางธนพร  เมธาวิ กู ล )  บรรยายหลั ก สู ต ร การเสริ ม สร้ า งสมรรถนะเจ้ า หน้ า ที่ วิ นิ จ ฉั ย เงินทดแทน ระหว่างวันที่ 2–7 ตุลาคม 2554 ณ โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร

58

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


เลขาธิการส�ำนักงานประกันสังคม  (นายจีระศักดิ์ สุ ค นธชาติ )   เป็ น ประธานเปิ ด โครงการสั ม มนา เชิงปฏิบัติการหัวหน้างาน  ด้านเงินสมทบกองทุน เงินทดแทน ระหว่างวันที่ 27–29 พฤศจิกายน 2554 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน  (นางธนพร เมธาวิกูล) บรรยายหลักสูตรการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เจ้ า หน้ า ที่ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านด้ า นเงิ น สมทบ  ระหว่ า งวั น ที่ 29 พฤศจิกายน–2 ธันวาคม 2554 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

59


รายนามผู้บริหาร รายนามคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน รายนามคณะกรรมการการแพทย์


นายปั้น วรรณพินิจ เลขาธิการ

นางผจงสิน วรรณโกวิท รองเลขาธิการ

นายพีรพัฒน์ พรศิริเลิศกิจ รองเลขาธิการ

นายสุภา มะโนปัญญา รองเลขาธิการ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

61


รายนามคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน

62

1.

นายปั้น วรรณพินิจ เลขาธิการส�ำนักงานประกันสังคม

ประธานกรรมการ

2.

นายแพทย์ไกรจักร แก้วนิล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์

กรรมการ

3.

นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์

กรรมการ

4.

นายรังสฤษฏ์ จันทรัตน์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านนิติศาสตร์

กรรมการ

5.

นางพรรณี สถาวโรดม ผู้ทรงคุณวุฒิด้านเศรษฐศาสตร์

กรรมการ

6.

นายปิง คุณะวัฒน์สถิตย์ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการคลัง

กรรมการ

7.

นายผดุงศักดิ์ เทพหัสดิน ณ อยุธยา ผู้ทรงคุณวุฒิด้านประกันสังคม

กรรมการ

8.

นายปณพล ธรรมพรหมกุล ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง

กรรมการ

9.

นายธ�ำรง คุโณปการ ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง

กรรมการ

10.

นายอรรถยุทธ ลียะวณิช ผู้แทนฝ่ายนายจ้าง

กรรมการ

11.

นางสาวสุภาพร ประจันนวล ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง

กรรมการ

12.

นายมานิตย์ พรหมการีย์กุล ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง

กรรมการ

13.

นายณรงค์ บุญเจริญ ผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง

กรรมการ

14.

ผู้แทนส�ำนักงานประกันสังคม กรรมการและเลขานุการ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


รายนามคณะกรรมการการแพทย์ 1. นายปราชญ์ บุญยวงศ์วิโรจน์

ประธานกรรมการ

2. นายวันชาติ ศุภจัตุรัส

กรรมการ

3. นายอัคร รัตตะรังสี

กรรมการ

4. นายพงษ์ศักดิ์ วัฒนา

กรรมการ

5. นายนรินทร์ อินทะสะมะกุล

กรรมการ

6. พลต�ำรวจโทภาสกร รักษ์กุล

กรรมการ

7. นายณรงค์ศักดิ์ อังคะสุวพลา

กรรมการ

8. นายวิวัฒน์ ยถาภูธานนท์

กรรมการ

9. นางวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ

กรรมการ

10. พลเรือโทวิโรจน์ รุธิรวัฒน์

กรรมการ

11. นายพรชัย สิทธิศรัณย์กุล

กรรมการ

12. นายเจษฎา โชคด�ำรงสุข

กรรมการ

13. นายสุขสันต์ กิตติศุภกร

กรรมการ

14. นายสมควร หาญพัฒนชัยกูร

กรรมการ

15. ผูแ้ ทนส�ำนกั งานประกันสังคม

กรรมการและเลขานุการ

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

63


ประมวลกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ คำ�สั่งที่เกี่ยวข้อง


ประมวลกฎกระทรวง ระเบียบ ประกาศ ค�ำสั่งที่เกี่ยวข้อง 1. กฎกระทรวง

1.1 กฎกระทรวง (พ.ศ. 2538) ว่าด้วย การก�ำหนดอัตราส่วนลดกรณีจ่ายค่าทดแทน คราวเดียวเต็มจ�ำนวน หรือเป็นระยะเวลาอย่างอื่น ฉบับลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 1.2 กฎกระทรวงฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) ว่าด้วย การก�ำหนดหลักเกณฑ์วิธีการ และอัตราค่าใช้จ่ายในการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงานของลูกจ้าง ฉบับลงวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 1.3 กฎกระทรวงก�ำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้างจ่าย พ.ศ. 2551 ฉบับลงวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2551

2. ประกาศกระทรวงแรงงาน

2.1 เรื่อง ประเภท ขนาดของกิจการ และท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ ฉบับลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 2.2 เรื่อง อัตราเงินสมทบ อัตราเงินฝากวิธีการประเมินและการเรียกเก็บเงินสมทบ ฉบับลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 2.3 เรื่อง ก�ำหนดแบบบัตรประจ�ำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ฉบับลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 2.4 เรื่อง ก�ำหนดแบบค�ำขอรับค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ฉบับลงวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2539 2.5 เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัยและการประเมินการสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วย หรือบาดเจ็บด้วยโรคจากการท�ำงาน ฉบับลงวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 2.6 เรื่อง ประเภท ขนาดของกิจการและท้องที่ที่ให้นายจ้างจ่ายเงินสมทบ (ฉบับที่ 2) ฉบับลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 2.7 เรื่อง ก�ำหนดระยะเวลาการจ่ายค่าทดแทนและหลักเกณฑ์ และวิธีการค�ำนวณค่าจ้างรายเดือน ฉบับลงวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 2.8 เรื่อง ขยายหรือเลื่อนก�ำหนดเวลาการน�ำส่งเงินสมทบของสถานประกอบการ ที่ได้รับผลกระทบจากภัยธรณีพิบัติ ตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 และพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2548 ฉบับลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2548 2.9 เรื่อง ก�ำหนดชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการท�ำงานฉบับลงวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 2.10 เรื่อง การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่างอื่นซึ่งรุนแรงและเรื้อรัง พ.ศ. 2553 ฉบับลงวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

65


3. ประกาศส�ำนักงานประกันสังคม

3.1 เรื่อง การลงทะเบียนนายจ้างตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 3.2 เรื่อง การแจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสูญหาย และการขอรับเงินทดแทนตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 3.3 เรื่อง การออกค�ำสั่งให้นายจ้างจ่ายเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 3.4 เรื่อง ก�ำหนดแบบอุทธรณ์ ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 3.5 เรื่อง การก�ำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงาน พ.ศ. 2551 ฉบับลงวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 3.6 เรื่อง ก�ำหนดหลักเกณฑ์ อัตรา และวิธีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่แพทย์ผู้ประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพของร่างกายของลูกจ้าง ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2549 ฉบับลงวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 3.7 ว่าด้วย การจ่ายค่ารักษาพยาบาล ค่าท�ำศพให้แก่นายจ้าง และค่าทดแทนคราวเดียว เต็มจ�ำนวนหรือเป็นระยะเวลาอย่างอื่น พ.ศ. 2549 ฉบับลงวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 3.8 เรื่อง หลักเกณฑ์การประเมินการสูญเสียสมรรถภาพ โดยใช้คู่มือแนวทางการประเมิน การสูญเสียสมรรถภาพทางกายและจิต ฉบับเฉลิมพระเกียรติในโอกาสจัดงานฉลอง สิริราชสมบัติครองราชย์ 60 ปี ฉบับลงวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551

4. ระเบียบกระทรวงแรงงาน

4.1 ว่าด้วย การจ่ายเงินกองทุนเงินทดแทนเป็นค่าเบี้ยประชุม และค่าใช้จ่ายอื่นของกรรมการ พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 4.2 ว่าด้วย การยึด อายัด และขายทอดตลาดทรัพย์สินของนายจ้างซึ่งไม่น�ำส่งเงินสมทบ และหรือเงินเพิ่ม พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 4.3 ว่าด้วย วิธีการค�ำนวณค่าเฉลี่ยเงินทดแทนของกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2538 ฉบับลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2538

5. ระเบียบคณะกรรมการกองทุนเงินทดแทน

5.1 ว่าด้วย การรับเงิน การจ่ายเงินและการเก็บรักษาเงิน กองทุนเงินทดแทน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553 ฉบับลงวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553 5.2 ว่าด้วย การจัดหาผลประโยชน์ของกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2547 ฉบับลงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2547

66

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม


6. ระเบียบส�ำนักงานประกันสังคม

6.1 ว่าด้วย การขอรับเงินทดแทนที่นายจ้างได้ทดรองจ่ายไปคืนจาก ส�ำนักงานประกันสังคม พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 6.2 ว่าด้วย การฟ้องคดีและแก้ต่างคดีเกี่ยวกับเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2537 6.3 ว่าด้วย การแจ้งเตือนให้ผู้มีสิทธิไปขอรับเงิน พ.ศ. 2539 ฉบับลงวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2539 6.4 ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการ การรับเงิน และการจ่ายเงิน กองทุนเงินทดแทนทางธนาคาร พ.ศ. 2548 ฉบับลงวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2548 6.5 ว่าด้วย การรับเงิน การจ่ายเงิน เก็บรักษาเงิน และการน�ำเงินกองทุนเงินทดแทน ไปใช้ในการบ�ำบัดรักษาและส่งเสริมการฟื้นฟูสมรรถภาพในการท�ำงาน ส่งเสริมหรือป้องกันเกี่ยวกับความปลอดภัยในการท�ำงาน และการด�ำเนินงาน ของส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน พ.ศ. 2549 ฉบับลงวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2549

7. ค�ำสั่งกระทรวงแรงงาน

7.1 ค�ำสั่งที่ 150/2537 เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่เพื่อมีอ�ำนาจฟ้องคดี และแก้ต่างคดี ฉบับลงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2537 7.2 ค�ำสั่งที่ 26/2541 เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 7.3 ค�ำสั่งที่ 108/2541 เรื่อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ เงินทดแทน พ.ศ. 2537 ฉบับลงวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2541

รายงานประจำ�ปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน สำ�นักงานประกันสังคม

67


ภาคผนวก


ตารางที่ 1 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 หน่วย: รหัสประเภทกิจการ

อัตราเงินสมทบ รวมจ�ำนวนกิจการทั้งหมด 1. อัตราเงินสมทบหลัก 2. อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ 2.1 อัตราเงินสมทบลดลง ร้อยละ 80 ร้อยละ 70 ร้อยละ 60 ร้อยละ 50 ร้อยละ 40 ร้อยละ 30 ร้อยละ 20 2.2 อัตราเงินสมทบเท่าเดิม 2.3 อัตราเงินสมทบเพิ่มขึ้น ร้อยละ 20 ร้อยละ 30 ร้อยละ 40 ร้อยละ 50 ร้อยละ 60 ร้อยละ 70 ร้อยละ 80 ร้อยละ 100 ร้อยละ 110 ร้อยละ 120 ร้อยละ 130 ร้อยละ 140 ร้อยละ 150 หมายเหตุ: 1. นายจ้าง 1 ราย อาจมีกิจการมากกว่า 1 รหัสกิจการ 2. จำ�นวนกิจการนายจ้าง ณ ธันวาคม 2554

ปี 2554

จ�ำนวน 343,478 118,190 225,288 199,164 170,633 7,936 6,105 4,887 3,783 3,187 2,633 2,255 23,869 1,947 1,725 1,421 1,292 1,098 996 818 727 696 612 541 497 11,499

ร้อยละ 100 34.41 65.59

ที่มา: สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

69


70 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

หน่วยงาน รวม

เขตพื้นที่ 1 เขตพื้นที่ 2 เขตพื้นที่ 3 เขตพื้นที่ 4 เขตพื้นที่ 5 เขตพื้นที่ 6 เขตพื้นที่ 7 เขตพื้นที่ 8 เขตพื้นที่ 9 เขตพื้นที่10 เขตพื้นที่11 เขตพื้นที่ 12 สมุทรปราการ สาขาอ�ำเภอพระประแดง สาขาอ�ำเภอบางเสาธง นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สาขาอ�ำเภออุทัย

รวม กิจการ ทั้งหมด 343,478 8,265 13,528 11,992 11,467 8,228 9,293 13,138 12,784 16,231 9,763 8,782 10,795 8,298 2,394 7,296 12,598 10,958 2,950 1,186

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 118,190 1,463 4,703 3,859 3,574 2,090 3,045 3,594 4,023 5,723 4,121 2,223 3,838 2,633 661 2,606 5,052 4,552 1,021 422

34.41 17.70 34.76 32.18 31.17 25.40 32.77 27.36 31.47 35.26 42.21 25.31 35.55 31.73 27.61 35.72 40.10 41.54 34.61 35.58

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 199,164 6,115 7,990 7,479 7,396 5,459 5,325 7,469 7,685 9,414 4,929 5,942 6,425 4,351 1,221 3,435 6,615 5,457 1,730 665

57.98 73.99 59.06 62.37 64.50 66.35 57.30 56.85 60.11 58.00 50.49 67.66 59.52 52.43 51.00 47.08 52.51 49.80 58.64 56.07

2,255 46 71 63 44 61 74 173 108 109 63 55 60 108 45 137 66 88 21 9

0.66 0.56 0.52 0.53 0.38 0.74 0.80 1.32 0.84 0.67 0.65 0.63 0.56 1.30 1.88 1.88 0.52 0.80 0.71 0.76

23,869 641 764 591 453 618 849 1,902 968 985 650 562 472 1,206 467 1,118 865 861 178 90

6.95 7.76 5.65 4.93 3.95 7.51 9.14 14.48 7.57 6.07 6.66 6.40 4.37 14.53 19.51 15.32 6.87 7.86 6.03 7.59

รวม 225,288 6,802 8,825 8,133 7,893 6,138 6,248 9,544 8,761 10,508 5,642 6,559 6,957 5,665 1,733 4,690 7,546 6,406 1,929 764

ร้อยละ 65.59 82.30 65.24 67.82 68.83 74.60 67.23 72.64 68.53 64.74 57.79 74.69 64.45 68.27 72.39 64.28 59.90 58.46 65.39 64.42


ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39

หน่วยงาน อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี สาขาอ�ำเภอหนองแค ชลบุรี สาขาอ�ำเภอศรีราชา ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา สาขาอ�ำเภอบางปะกง ปราจีนบุรี นครนายก สระแก้ว นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ

รวม กิจการ ทั้งหมด 687 1,643 669 584 2,400 743 6,130 8,248 5,715 1,872 945 2,070 745 1,461 754 702 6,154 1,430 1,605 1,238

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 194 497 156 160 807 278 2,454 3,927 2,470 560 373 683 282 565 252 265 2,086 415 491 336

28.24 30.25 23.32 27.40 33.63 37.42 40.03 47.61 43.22 29.91 39.47 33.00 37.85 38.67 33.42 37.75 33.90 29.02 30.59 27.14

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 452 1,076 460 399 1,403 408 3,225 3,960 2,960 1,233 537 1,184 344 811 447 413 3,573 963 990 862

65.79 65.49 68.76 68.32 58.46 54.91 52.61 48.01 51.79 65.87 56.83 57.20 46.17 55.51 59.28 58.83 58.06 67.34 61.68 69.63

1 4 3 1 18 8 47 44 29 10 2 25 18 6 6 2 33 2 9 1

0.15 0.24 0.45 0.17 0.75 1.08 0.77 0.53 0.51 0.53 0.21 1.21 2.42 0.41 0.80 0.28 0.54 0.14 0.56 0.08

40 5.82 66 4.02 50 7.47 24 4.11 172 7.17 49 6.59 404 6.59 317 3.84 256 4.48 69 3.69 33 3.49 178 8.60 101 13.56 79 5.41 49 6.50 22 3.13 462 7.51 50 3.50 115 7.17 39 3.15

รวม 493 1,146 513 424 1,593 465 3,676 4,321 3,245 1,312 572 1,387 463 896 502 437 4,068 1,015 1,114 902

ร้อยละ 71.76 69.75 76.68 72.60 66.38 62.58 59.97 52.39 56.78 70.09 60.53 67.00 62.15 61.33 66.58 62.25 66.10 70.98 69.41 72.86

71


72 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่ 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

หน่วยงาน อุบลราชธานี สาขาอ�ำเภอเดชอุดม ยโสธร ชัยภูมิ อ�ำนาจเจริญ บึงกาฬ หนองบัวล�ำภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง

รวม กิจการ ทั้งหมด 2,449 184 742 1,246 366 170 394 4,292 2,898 978 782 1,161 1,660 929 1,585 701 874 10,950 1,629 2,740

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 693 58 192 371 123 65 147 1,525 934 324 284 409 537 239 475 240 334 4,902 548 893

28.30 31.52 25.88 29.78 33.61 38.24 37.31 35.53 32.23 33.13 36.32 35.23 32.35 25.73 29.97 34.24 38.22 44.77 33.64 32.59

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 1,628 118 520 823 229 103 236 2,602 1,705 633 446 724 1,077 667 1,025 453 507 5,408 936 1,654

66.48 64.13 70.08 66.05 62.57 60.59 59.90 60.62 58.83 64.72 57.03 62.36 64.88 71.80 64.67 64.62 58.01 49.39 57.46 60.36

12 2 1 12 17 4 3 1 3 7 59 17 13

0.49 0.00 0.00 0.16 0.00 0.00 0.25 0.28 0.59 0.00 0.51 0.26 0.06 0.32 0.44 0.00 0.00 0.54 1.04 0.47

116 8 30 50 14 2 10 153 242 21 48 25 45 20 78 8 33 581 128 180

4.74 4.35 4.04 4.01 3.83 1.18 2.54 3.56 8.35 2.15 6.14 2.15 2.71 2.15 4.92 1.14 3.78 5.31 7.86 6.57

รวม 1,756 126 550 875 243 105 247 2,767 1,964 654 498 752 1,123 690 1,110 461 540 6,048 1,081 1,847

ร้อยละ 71.70 68.48 74.12 70.22 66.39 61.76 62.69 64.47 67.77 66.87 63.68 64.77 67.65 74.27 70.03 65.76 61.78 55.23 66.36 67.41


ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

60 61 62 63 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 74 75 76 77 78 79

หน่วยงาน อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน นครสวรรค์ สาขาอ�ำเภอตาคลี อุทัยธานี ก�ำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ ราชบุรี สาขาอ�ำเภอบ้านโป่ง กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม

รวม กิจการ ทั้งหมด 1,005 1,252 991 1,109 3,536 423 2,172 353 633 1,202 1,057 950 2,337 1,010 1,475 2,166 1,219 2,044 2,578 5,908

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 269 399 294 335 1,509 170 636 107 214 395 428 225 787 297 416 610 355 694 709 1,803

26.77 31.87 29.67 30.21 42.68 40.19 29.28 30.31 33.81 32.86 40.49 23.68 33.68 29.41 28.20 28.16 29.12 33.95 27.50 30.52

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 675 776 655 730 1,858 247 1,270 222 393 746 593 663 1,438 644 971 1,399 752 1,173 1,555 3,396

67.16 61.98 66.09 65.83 52.55 58.39 58.47 62.89 62.09 62.06 56.10 69.79 61.53 63.76 65.83 64.59 61.69 57.39 60.32 57.48

4 2 4 12 16 1 2 7 2 4 10 4 7 9 8 13 21 61

0.00 0.32 0.20 0.36 0.34 0.00 0.74 0.28 0.32 0.58 0.19 0.42 0.43 0.40 0.47 0.42 0.66 0.64 0.81 1.03

61 6.07 73 5.83 40 4.04 40 3.61 157 4.44 6 1.42 250 11.51 23 6.52 24 3.79 54 4.49 34 3.22 58 6.11 102 4.36 65 6.44 81 5.49 148 6.83 104 8.53 164 8.02 293 11.37 648 10.97

รวม 736 853 697 774 2,027 253 1,536 246 419 807 629 725 1,550 713 1,059 1,556 864 1,350 1,869 4,105

ร้อยละ 73.23 68.13 70.33 69.79 57.32 59.81 70.72 69.69 66.19 67.14 59.51 76.32 66.32 70.59 71.80 71.84 70.88 66.05 72.50 69.48

73


74 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่ 80 81 82 83 84 85 86 87 88 89 90 91 92 93 94 95 96 97 98 99

หน่วยงาน สมุทรสาคร สาขาอ�ำเภอกระทุ่มแบน สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช สาขาอ�ำเภอทุ่งสง กระบี่ พังงา ภูเก็ต สาขาอ�ำเภอกะทู้ สุราษฏร์ธานี สาขาอ�ำเภอเกาะสมุย ระนอง ชุมพร สงขลา สาขาอ�ำเภอหาดใหญ่ สาขาอ�ำเภอสะเดา สตูล ตรัง

รวม กิจการ ทั้งหมด 4,413 3,025 876 1,622 2,308 2,030 833 1,985 923 5,384 2,776 2,698 1,969 631 1,462 1,450 4,928 557 693 1,982

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 1,560 912 299 465 932 567 282 835 359 2,556 1,614 980 1,137 180 441 526 1,636 204 250 569

35.35 30.15 34.13 28.67 40.38 27.93 33.85 42.07 38.89 47.47 58.14 36.32 57.75 28.53 30.16 36.28 33.20 36.62 36.08 28.71

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 2,186 1,553 499 1,005 1,259 1,365 497 1,076 523 2,653 1,097 1,570 769 432 936 856 3,000 326 417 1,325

49.54 51.34 56.96 61.96 54.55 67.24 59.66 54.21 56.66 49.28 39.52 58.19 39.06 68.46 64.02 59.03 60.88 0.00 60.17 66.85

56 46 6 10 8 11 5 5 2 9 7 13 5 1 8 3 25 1 4 7

1.27 1.52 0.68 0.62 0.35 0.54 0.60 0.25 0.22 0.17 0.25 0.48 0.25 0.16 0.55 0.21 0.51 0.00 0.58 0.35

611 13.85 514 16.99 72 8.22 142 8.75 109 4.72 87 4.29 49 5.88 69 3.48 39 4.23 166 3.08 58 2.09 135 5.00 58 2.95 18 2.85 77 5.27 65 4.48 267 5.42 26 0.00 22 3.17 81 4.09

รวม 2,853 2,113 577 1,157 1,376 1,463 551 1,150 564 2,828 1,162 1,718 832 451 1,021 924 3,292 353 443 1,413

ร้อยละ 64.65 69.85 65.87 71.33 59.62 72.07 66.15 57.93 61.11 52.53 41.86 63.68 42.25 71.47 69.84 63.72 66.80 63.38 63.92 71.29


ตารางที่ 2 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามหน่วยงาน/เขตพื้นที่ หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

ที่ 100 101 102 103

หน่วยงาน พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

รวม กิจการ ทั้งหมด 954 1,407 1,311 1,370

อัตรา ร้อยละ เงินสมทบหลัก 357 403 347 380

37.42 28.64 26.47 27.74

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 562 946 901 959

58.91 67.24 68.73 70.00

4 7 4

หมายเหตุ : 1. นายจ้าง 1 ราย อาจมีกิจการมากกว่า 1 รหัสกิจการ 2. จำ�นวนกิจการนายจ้าง ณ 31 ธันวาคม 2554

0.00 0.28 0.53 0.29

35 54 56 27

3.67 3.84 4.27 1.97

รวม 597 1,004 964 990

ร้อยละ 62.58 71.36 73.53 72.26

ที่มา : สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

75


76 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รหัส กิจการ 0101 0102 0103 0104 0105 0106 0107 0108 0201 0202 0203 0204 0205 0206 0207

ประเภทกิจการ

รวมทั่วประเทศ ส�ำรวจแร่ น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ท�ำเหมืองแร่ ยกเว้นเหมืองใต้ดิน การท�ำเหมืองแร่ใต้ดิน การระเบิด ย่อย โม่หรือบดหิน การขุดเจาะน�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ การขุดดิน กรวด การดูดทราย การผลิตเกลือดิบ กิจการอื่นที่มิได้จัดประเภทไว้ การฆ่าสัตว์ การผลิตผงชูรส การผลิตเครื่องดื่ม ถนอมอาหาร การผลิตน�้ำแข็ง การผลิตน�้ำตาลและท�ำให้บริสุทธิ์ การท�ำเกลือให้บริสุทธิ์ การอบ แปรสภาพเมล็ดพืช การท�ำแป้ง 0208 การผลิตน�้ำมันพืช 0209 การผลิตยาสูบ การบ่ม อบใบยา 0301 การหีบฝ้าย ปั่นนุ่น

รวม กิจการ ทั้งหมด 343,478 74 221 24 374 65 407 8 99 178 17 7,149 1,072 67 15 1,598 156 72 25

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 118,190 37 51 15 68 36 116 2 30 71 4 2,049 219 8 2 326

34.41 50.00 23.08 62.50 18.18 55.38 28.50 25.00 30.30 39.89 23.53 28.66 20.43 11.94 13.33 20.40

46 29.49 8 11.11 6 24.00

199,164 36 148 8 244 28 257 5 61 84 7 4,478 703 40 8 1,057

57.98 1.00 66.97 33.33 65.24 43.08 63.14 62.50 61.62 47.19 41.18 62.64 65.58 59.70 53.33 66.15

84 53.85 56 77.78 13 52.00

2,255 4 5 2 3 1 57 13 1 18

0.66 0.00 1.81 0.00 1.34 0.00 0.49 0.00 0.00 1.69 5.88 0.80 1.21 1.49 0.00 1.13

2 1.28 - 0.00 - 0.00

23,869 1 18 1 57 1 32 1 8 20 5 565 137 18 5 197

6.95 1.35 8.14 4.17 15.24 1.54 7.86 12.50 8.08 11.24 29.41 7.90 12.78 26.87 33.33 12.33

24 15.38 8 11.11 6 24.00

รวม 225,288 37 170 9 306 29 291 6 69 107 13 5,100 853 59 13 1,272

ร้อยละ 65.59 50.00 76.92 37.50 81.82 44.62 71.50 75.00 69.70 60.11 76.47 71.34 79.57 88.06 86.67 79.60

110 70.51 64 88.89 19 76.00


ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รหัส กิจการ 0302 0303 0304 0305 0306 0307 0308 0309

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

0310 0401 0402 0403 0404 0405 0501

0502 0503 0601

ประเภทกิจการ การผลิตเส้นไหม การปั่น ทอฯ โดยใช้เครื่องจักร การปั่น ทอฯ โดยไม่ใช้เครื่องจักร การอัดปอ อัดใยมะพร้าว การผลิตส�ำลี ไม้พันส�ำลี ผ้ากอซ การผลิตเครื่องแต่งกาย อื่นๆ จากผ้า การท�ำดอกไม้ประดิษฐ์ การฟอก ผลิตผลิตภัณฑ์จาก หนังสัตว์ฯ การผลิตรองเท้า การท�ำป่าไม้ เลื่อย แปรรูปไม้ การไสอบอาบน�้ำยาไม้ ผลิตชิ้นไม้ ผลิตภัณฑ์จากหวายและพืชอื่น การเผาถ่าน ผลิตเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้ การผลิตเยื่อกระดาษ หรือ กระดาษ การผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ การพิมพ์ กิจการหนังสือพิมพ์ การผลิตเคมีภัณฑ์

รวม กิจการ ทั้งหมด 12 1,989 280 65 26 4,043 113 633 646 682 1,031 124 30 2,961 104 1,308 4,701 351

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 2 343 79 20 6 1,117

16.67 17.24 28.21 30.77 23.08 27.63

15 13.27 155 24.49 133 201 226 25 16 834 25

20.59 29.47 21.92 20.16 53.33 28.17 24.04

279 21.33 1,084 23.06 74 21.08

9 1,235 182 33 12 2,627

75.00 62.09 65.00 50.77 46.15 64.98

91 80.53 395 62.40 422 351 555 87 9 1,664 60

65.33 51.47 53.83 70.16 30.00 56.20 57.69

784 59.94 3,008 63.99 242 68.95

38 40

0.00 1.91 0.00 0.00 0.00 0.99

1 0.88 8 1.26 5 14 17 1 45 6

0.77 2.05 1.65 0.81 0.00 1.52 5.77

22 1.68 44 0.94 3 0.85

1 373 19 12 8 259

8.33 18.75 6.79 18.46 30.77 6.41

6 5.31 75 11.85 86 116 233 11 5 418 13

13.31 17.01 22.60 8.87 16.67 14.12 12.50

223 17.05 565 12.02 32 9.12

รวม 10 1,646 201 45 20 2,926

ร้อยละ 83.33 82.76 71.79 69.23 76.92 72.37

98 86.73 478 75.51 513 481 805 99 14 2,127 79

79.41 70.53 78.08 79.84 46.67 71.83 75.96

1,029 78.67 3,617 76.94 277 78.92

77


78 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รหัส กิจการ 0602 0603 0604 0605 0606 0607 0608 0609 0610 0611 0612 0613 0614 0615 0616 0617 0618 0619 0620

ประเภทกิจการ ผลิตสี หมึก สารขัดเงาและอื่นๆ การผลิต การบรรจุยา ผลิตวัตถุระเบิด กระสุนปืน พลุฯ การผลิตไม้ขีดไฟ ผลิตสบู่ เครื่องส�ำอาง และอื่นฯ ผลิตผลิตภัณฑ์เคมีปราบศัตรูพืชสัตว์ ผลิตผลิตภัณฑ์เคมีที่มิได้จัด ประเภท การผลิตกาว กลั่นน�้ำมันแยกก๊าซรวมผลิตภัณฑ์ การผลิต การบรรจุก๊าซ การผลิตยาง ผลิตภัณฑ์จากยาง การผลิตยางรถยนต์ฯลฯ หล่อดอกยาง ผลิตเม็ดพลาสติก ใยสงเคราะห์ การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก ผลิตกระดูกป่น ออสซิอิน ไขมัน การผลิตปุ๋ยเคมี การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การผสม บรรจุ กรด ด่าง การผลิตเทปภาพ เทปเสียง

รวม กิจการ ทั้งหมด 452 412 35 3 784 114 261

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ

รวม

ร้อยละ

94 84 5 1 235 29 73

20.80 20.39 14.29 33.33 29.97 25.44 27.97

296 279 29 1 475 74 151

65.49 67.72 82.86 33.33 60.59 64.91 57.85

8 6 1 4 3 3

1.77 1.46 2.86 0.00 0.51 2.63 1.15

54 43 1 70 8 34

11.95 10.44 0.00 33.33 8.93 7.02 13.03

358 328 30 2 549 85 188

79.20 79.61 85.71 66.67 70.03 74.56 72.03

95 151 545 1,006 185

20 52 203 230 50

21.05 34.44 37.25 22.86 27.03

60 88 301 630 104

63.16 58.28 55.23 62.62 56.22

2 1 2 12 3

2.11 0.66 0.37 1.19 1.62

13 10 39 134 28

13.68 6.62 7.16 13.32 15.14

75 99 342 776 135

78.95 65.56 62.75 77.14 72.97

449 3,787 11 142 236 47 26

129 861 1 44 121 12 6

28.73 22.74 9.09 30.99 51.27 25.53 23.08

251 2,265 7 85 92 29 19

55.90 59.81 63.64 59.86 38.98 61.70 73.08

6 64 3 2 1

1.34 1.69 0.00 2.11 0.85 0.00 3.85

63 597 3 10 21 6 -

14.03 15.76 27.27 7.04 8.90 12.77 0.00

320 2,926 10 98 115 35 20

71.27 77.26 90.91 69.01 48.73 74.47 76.92


ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

รหัส กิจการ

ประเภทกิจการ

0701 0702 0703 0704 0705 0801 0802 0803 0804 0901 0902 0903 0904 0905 0906 0907 0908 0909 0910 0911

ผลิตผลิตภัณฑ์จากดิน สุขภัณฑ์ การผลิตซีเมนต์ ปูนขาว การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรง ผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต แร่อโลหะ ผลิตกระจก เครื่องแก้ว หลอดไฟ การถลุงแร่ โดยใช้กรรมวิธีทางเคมี การถลุงแร่ โดยใช้กรรมวิธีอื่น การรีดโลหะ ผลิตเหล็ก การหล่อหลอม การกลึงโลหะ ผลิต ซ่อมเครื่องเรือนจากโลหะ ผลิต ติดตั้งประตูฯ ที่เป็นโลหะ ผลิตท่อ โลหะที่ใช้ในการสร้าง การผลิต ซ่อมหม้อน�้ำ และอื่นๆ การผลิตลวด ผลิตภัณฑ์จากลวด การผลิตสายเคเบิ้ล สายไฟฟ้า การเคลือบ ชุบ อาบ ขัดโลหะ การผลิต ประกอบเครื่องจักร ฯลฯ ผลิต ประกอบซ่อมเครื่องใช้แพทย์ ผลิต ติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ ผลิตซ่อมวิทยุ-โทรทัศน์ชิ้นส่วน

รวม กิจการ ทั้งหมด 999 110 921 1,552 182 4 9 439 6,324 719 3,093 1,184 289 568 113 1,007 2,207 190 3,007 2,765

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 196 30 213 360 51 3 2 141 1,714 190 994 479 58 135 31 346 833 62 1,028 894

19.62 27.27 23.13 23.20 28.02 75.00 22.22 32.12 27.10 26.43 32.14 40.46 20.07 23.77 27.43 34.36 37.74 32.63 34.19 32.33

718 68 544 1,007 109 1 7 195 3,411 397 1,617 515 178 315 65 531 1,079 111 1,649 1,721

71.87 61.82 59.07 64.88 59.89 25.00 77.78 44.42 53.94 55.22 52.28 43.50 61.59 55.46 57.52 52.73 48.89 58.42 54.84 62.24

5 1 13 18 4 14 122 23 37 36 4 14 2 15 31 2 22 9

0.50 0.91 1.41 1.16 2.20 0.00 0.00 3.19 1.93 3.20 1.20 3.04 1.38 2.46 1.77 1.49 1.40 1.05 0.73 0.33

80 11 151 167 18 89 1,077 109 445 154 49 104 15 115 264 15 308 141

8.01 10.00 16.40 10.76 9.89 0.00 0.00 20.27 17.03 15.16 14.39 13.01 16.96 18.31 13.27 11.42 11.96 7.89 10.24 5.10

รวม 803 80 708 1,192 131 1 7 298 4,610 529 2,099 705 231 433 82 661 1,374 128 1,979 1,871

ร้อยละ 80.38 72.73 76.87 76.80 71.98 25.00 77.78 67.88 72.90 73.57 67.86 59.54 79.93 76.23 72.57 65.64 62.26 67.37 65.81 67.67

79


80 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รหัส กิจการ 0912 0913 0914 0915 0916 1001 1002 1003 1004 1005 1006 1007 1008 1009 1101 1102 1103 1201 1202

ประเภทกิจการ ผลิตซ่อมเครื่องไฟฟ้า อุปกรณ์ ผลิต ประกอบซ่อมนาฬิกา ชิ้นส่วน การผลิตแบตเตอรี่ การปั๊มโลหะ การผลิตผลิตภัณฑ์โลหะอื่นๆ การต่อ ซ่อม รื้อเรือท�ำด้วยโลหะ การต่อ ซ่อมเรือประเภทอื่น ผลิตซ่อมรถจักรรถพ่วง อุปกรณ์ การผลิต ประกอบ ซ่อมรถยนต์ ฯลฯ การผลิต ประกอบ ซ่อมรถ จักรยาน ฯลฯ ผลิต ซ่อมรถลากจูงด้วยแรงสัตว์ฯ ผลิต ประกอบ ซ่อม รถใช้งานเกษตร ผลิตชิ้นส่วนอุปกรณ์ของยานพาหนะ การซ่อม การบ�ำรุงรักษาอากาศยาน ผลิตเครื่องประดับเพชรพลอยอื่นๆ การผลิตเบาะรถยนต์ เบาะอื่นๆ การผลิตผลิตภัณฑ์เบ็ดเตล็ดอื่นๆ การติดตั้งไฟฟ้าสายหลัก การติดตั้งประปาสายหลัก

รวม กิจการ ทั้งหมด 1,919 95 45 1,480 2,030 228 133 70 12,755 1,762 16 303 1,452 26 1,561 329 1,109 493 207

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ

รวม

ร้อยละ

479 22 16 301 609 86 33 28 3,328 320

24.96 23.16 35.56 20.34 30.00 37.72 24.81 40.00 26.09 18.16

1,132 71 21 663 1,064 105 89 33 8,035 1,297

58.99 74.74 46.67 44.80 52.41 46.05 66.92 47.14 62.99 73.61

31 1 32 50 2 2 1 120 14

1.62 0.00 2.22 2.16 2.46 0.88 1.50 1.43 0.94 0.79

277 2 7 484 307 35 9 8 1,272 131

14.43 2.11 15.56 32.70 15.12 15.35 6.77 11.43 9.97 7.43

1,440 73 29 1,179 1,421 142 100 42 9,427 1,442

75.04 76.84 64.44 79.66 70.00 62.28 75.19 60.00 73.91 81.84

4 48 450 16 352 86 268 185 86

25.00 15.84 30.99 61.54 22.55 26.14 24.17 37.53 41.55

12 187 757 10 1,079 216 692 256 104

75.00 61.72 52.13 38.46 69.12 65.65 62.40 51.93 50.24

3 27 9 5 16 5 3

0.00 0.99 1.86 0.00 0.58 1.52 1.44 1.01 1.45

65 218 121 22 133 47 14

0.00 21.45 15.01 0.00 7.75 6.69 11.99 9.53 6.76

12 255 1,002 10 1,209 243 841 308 121

75.00 84.16 69.01 38.46 77.45 73.86 75.83 62.47 58.45


ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

รหัส กิจการ

ประเภทกิจการ

1203 1301 1302 1303 1304 1305 1401 1402 1403 1404 1405 1406 1407 1408 1409 1410 1411 1501 1502 1503

การติดตั้งโทรศัพท์สายหลัก การก่อสร้าง การรื้ออาคาร สิ่งปลูกสร้าง การติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ การปูพื้น ทาสี ตกแต่งอาคาร การขุด หรือเจาะบ่อน�้ำ การขนส่งทางรถไฟ รถไฟฟ้า ขนส่งสินค้า ผู้โดยสารทางรถยนต์ ให้เช่ายานพาหนะโดยไม่มีคนขับ การขนส่งทางน�้ำภายในประเทศ การขนส่งทางทะเลหลวง การขนส่งทางอากาศ การขนถ่ายสินค้า กิจการท่าเรือ การบ�ำรุงรักษา ส�ำนักงานจัดการเดินทาง การบรรจุหีบห่อ นายหน้าขนส่งฯ กิจการคลังสินค้า การรับฝาก การค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะ ฯลฯ การค้าวัสดุก่อสร้าง ร้านสินค้าเบ็ดเตล็ดการค้าอื่นๆ

รวม กิจการ ทั้งหมด 335 16,359 72 1,710 2,160 97 8 8,561 292 366 197 146 478 69 3,853 3,795 287 59,344 16,365 34,729

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 133 5,998 44 731 828 33 2 3,060 124 127 47 42 189 23 1,752 1,208 110 19,968 4,651 11,357

39.70 36.66 61.11 42.75 38.33 34.02 25.00 35.74 42.47 34.70 23.86 28.77 39.54 33.33 45.47 31.83 38.33 33.65 28.42 32.70

174 9,340 23 822 1,151 56 4 4,795 151 208 127 97 243 38 2,024 2,356 150 35,774 9,975 21,736

51.94 57.09 31.94 48.07 53.29 57.73 50.00 56.01 51.71 56.83 64.47 66.44 50.84 55.07 52.53 62.08 52.26 60.28 60.95 62.59

2 98 15 11 1 66 2 1 1 1 6 4 26 3 284 135 112

0.60 0.60 0.00 0.88 0.51 0.00 12.50 0.77 0.68 0.27 0.51 0.68 1.26 0.00 0.10 0.69 1.05 0.48 0.82 0.32

26 923 5 142 170 8 1 640 15 30 22 6 40 8 73 205 24 3,318 1,604 1,524

7.76 5.64 6.94 8.30 7.87 8.25 12.50 7.48 5.14 8.20 11.17 4.11 8.37 11.59 1.89 5.40 8.36 5.59 9.80 4.39

รวม 202 10,361 28 979 1,332 64 6 5,501 168 239 150 104 289 46 2,101 2,587 177 39,376 11,714 23,372

ร้อยละ 60.30 63.34 38.89 57.25 61.67 65.98 75.00 64.26 57.53 65.30 76.14 71.23 60.46 66.67 54.53 68.17 61.67 66.35 71.58 67.30

81


82 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 3 จ�ำนวนกิจการของนายจ้างที่ใช้อัตราเงินสมทบหลักและอัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ ปี 2554 จ�ำแนกตามรหัสประเภทกิจการ

หน่วย : รหัสประเภทกิจการ

รหัส กิจการ

ประเภทกิจการ

1601 1602 1603 1604 1605 1606 1607 1608 1609 1610 1611 1612 1613 1614 1615 1616 1617

สถาบันการเงิน บริการด้านธุรกิจ โรงพยาบาล บริการสุขภาพ สถานสอนขับรถยนต์ บริการวิศวกรรม เทคนิค สถาปัตย์ บริการโฆษณา งานพาณิชยศิลป์ การให้เช่า ตัวแทน นายหน้า ฯลฯ บริการให้เช่า ซ่อม เครื่องจักร ฯลฯ บริการให้เช่า ซ่อม เครื่องใช้ ฯลฯ สถานีวิทยุ สถานีโทรทัศน์ ฯลฯ บริการบันเทิง กีฬา สโมสร ฯลฯ บริการติดตั้งระบบไฟฟ้า ฯลฯ บริการติดตั้งประปา บริการซัก อบ รีด บริการรักษาความปลอดภัย ฯลฯ การเลี้ยงสัตว์ ภัตตาคาร ร้านขายอาหาร โรงแรม งานอาชีพหรือบริการซึ่งมิได้จัด ประเภทฯ

รวม กิจการ ทั้งหมด 26,576 5,537 33 2,096 4,427 7,570 2,215 293 2,548 1,618 4,478 176 596 5,530 1,213 26,343 11,850

จ�ำนวนกิจการของนายจ้าง อัตราเงินสมทบตามค่าประสบการณ์ อัตรา เงินสมทบ ร้อยละ ลดลง เพิ่มขึ้น ร้ อ ยละ เท่ า เดิ ม ร้ อ ยละ หลัก (20%-80%) (20%-150%) ร้อยละ 11,449 1,705 18 826 1,962 3,100 772 105 1,061 772 1,923 68 220 2,651 401 11,318 4,957

43.08 30.79 54.55 39.41 44.32 40.95 34.85 35.84 41.64 47.71 42.94 38.64 36.91 47.94 33.06 42.96 41.83

14,675 3,681 15 1,198 2,183 4,122 1,206 173 1,411 746 2,216 94 354 2,539 694 13,794 6,439

55.22 66.48 45.45 57.16 49.31 54.45 54.45 59.04 55.38 46.11 49.49 53.41 59.40 45.91 57.21 52.36 54.34

19 13 5 22 22 21 7 11 35 2 2 28 5 112 19

หมายเหตุ : 1. นายจ้าง 1 ราย อาจมีกิจการมากกว่า 1 รหัสกิจการ 2. จำ�นวนกิจการนายจ้าง ณ ธันวาคม 2554

0.07 0.23 0.00 0.24 0.50 0.29 0.95 0.00 0.27 0.68 0.78 1.14 0.34 0.51 0.41 0.43 0.16

433 138 67 260 326 216 15 69 89 304 12 20 312 113 1,119 435

1.63 2.49 0.00 3.20 5.87 4.31 9.75 5.12 2.71 5.50 6.79 6.82 3.36 5.64 9.32 4.25 3.67

รวม 15,127 3,832 15 1,270 2,465 4,470 1,443 188 1,487 846 2,555 108 376 2,879 812 15,025 6,893

ร้อยละ 56.92 69.21 45.45 60.59 55.68 59.05 65.15 64.16 58.36 52.29 57.06 61.36 63.09 52.06 66.94 57.04 58.17

ที่มา : สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน


ตารางที่ 4 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงานจ�ำแนกความรุนแรง และรายเดือน 2554 ความรุนแรง เดือน

ตาย

ทุพพลภาพ

สูญเสีย อวัยวะบางส่วน

หยุดงาน เกิน 3 วัน

หยุดงาน ไม่เกิน 3 วัน

รวม

มกราคม

40

-

279

2,820

7,831

10,970

กุมภาพันธ์

42

-

231

2,812

7,501

10,586

มีนาคม

71

-

300

3,356

9,200

12,927

เมษายน

35

1

190

2,482

6,285

8,993

พฤษภาคม

39

1

149

2,674

6,526

9,389

มิถุนายน

58

-

140

3,534

8,571

12,303

กรกฎาคม

35

1

98

3,010

7,657

10,801

สิงหาคม

50

-

84

3,477

8,777

12,388

กันยายน

51

-

47

3,114

7,867

11,079

ตุลาคม

38

-

45

2,444

5,948

8,475

พฤศจิกายน

79

1

36

2,796

7,268

10,180

ธันวาคม

52

-

31

3,190

8,268

11,541

590

4

1,630

35,709

91,699

129,632

รวมทั้งหมด

ที่มา: สำ�นักงานกองทุนเงินทดแทน

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม

83


84 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

รวมทั่วประเทศ รวม กรุงเทพมหานคร เขตพื้นที่ 1 เขตพื้นที่ 2 เขตพื้นที่ 3 เขตพื้นที่ 4 เขตพื้นที่ 5 เขตพื้นที่ 6 เขตพื้นที่ 7 เขตพื้นที่ 8 เขตพื้นที่ 9 เขตพื้นที่ 10 เขตพื้นที่ 11 เขตพื้นที่ 12 รวม 5 จังหวัด รอบกรุงเทพฯ สมุทรปราการ นนทบุรี

ตาย

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 15.76 4.61 12.51 3.30 9.84 2.58 9.58 0.95 10.04 1.90 5.29 1.52 10.89 3.17 24.96 6.62 28.51 10.14 6.73 1.83 12.72 3.93 18.25 4.16 8.17 1.48 16.18 4.79

338,270 8,222,960 132,811 2,972,446 8,249 93,301 13,382 315,307 11,904 362,458 11,066 383,813 8,208 119,221 9,153 128,774 13,012 232,039 12,675 296,415 16,085 293,169 9,661 206,931 8,736 226,481 10,680 314,537

590 148 5 28 11 13 3 6 10 7 23 15 5 22

4 -

1,630 173 2 9 6 5 6 14 49 20 36 10 16

35,709 9,474 234 263 673 564 369 832 2,294 536 1,109 809 321 1,470

91,699 27,382 677 2,720 2,950 1,450 920 2,362 4,262 1,453 2,577 2,916 1,515 3,580

54,200 1,730,756

108

1

925

12,929

29,935

43,898 25.36

8.07

33 17

1 -

353 33

6,629 1,582

15,802 2,139

22,818 34.90 3,771 17.81

10.73 7.71

17,866 12,417

653,750 211,750

129,632 37,177 918 3,020 3,640 2,032 1,298 3,214 6,615 1,996 3,729 3,776 1,851 5,088


ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

ตาย

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร

10,812 5,778 7,327

371,706 175,170 318,380

26 12 20

-

19 140 380

1,631 747 2,340

3,881 2,796 5,317

รวมภาคกลาง

51,002 1,983,949

137

1

323

7,235

22,806

พระนครศรีอยุธยา อ่างทอง ลพบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท สระบุรี ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด ฉะเชิงเทรา ปราจีนบุรี นครนายก

3,960 680 1,640 634 581 3,078 13,820 5,579 1,842 929 2,714 1,408 749

13 2 8 1 1 10 35 14 3 7 4 1

-

6 2 9 2 5 21 138 53 1 2 22 2 10

953 54 199 83 55 710 1,505 821 89 41 976 371 91

2,655 58 582 212 118 1,405 7,426 3,340 163 46 3,167 1,135 105

320,550 8,380 63,913 16,172 11,234 141,621 542,339 304,117 22,930 9,860 179,088 109,231 13,376

5,557 3,695 8,057

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 14.95 4.51 21.09 5.13 25.31 8.61

30,502 15.37 3,627 116 798 298 179 2,146 9,104 4,228 256 89 4,172 1,512 207

11.31 13.84 12.49 18.43 15.93 15.15 16.79 13.90 11.16 9.03 23.30 13.84 15.48

3.88 3.03 6.92 3.38 5.32 5.43 5.23 3.09 2.92 4.06 4.36 5.61 3.45 7.63

85


86 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

ตาย

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 100 1,396 506 455 154 535 624

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 9.38 3.00 18.32 5.55 14.03 5.74 15.23 4.79 12.86 7.68 16.36 6.48 14.30 6.12

สระแก้ว ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี สมุทรสงคราม เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์

686 3,368 2,002 2,569 878 1,612 2,273

10,659 76,213 36,066 29,875 11,976 32,702 43,647

5 7 6 2 3 15

1 -

1 19 10 5 5 4 6

31 399 190 131 85 205 246

68 973 299 312 62 323 357

รวมภาคเหนือ

34,375

491,843

54

1

65

1,694

4,333

6,147 12.50

3.69

เชียงใหม่ ล�ำพูน ล�ำปาง อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน พะเยา เชียงราย แม่ฮ่องสอน

11,037 1,615 2,668 982 1,239 914 1,072 3,454 373

147,497 72,976 41,679 10,631 10,690 7,027 9,163 37,104 2,433

5 2 1 3 1 3 8 -

1 -

4 11 16 1 7 1 2 1 -

412 116 225 61 102 20 25 79 4

1,205 723 393 120 47 3 42 289 2

1,626 853 635 185 157 27 69 377 6

2.85 1.78 5.81 6.11 10.29 3.42 2.95 2.37 1.64

11.02 11.69 15.24 17.40 14.69 3.84 7.53 10.16 2.47


ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

นครสวรรค์ อุทัยธานี ก�ำแพงเพชร ตาก สุโขทัย พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์ รวม ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี ยโสธร ชัยภูมิ อ�ำนาจเจริญ

ตาย

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 777 88 148 81 70 404 162 482

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 20.73 4.48 13.97 6.99 8.75 3.84 6.87 3.05 7.34 3.04 11.41 4.55 11.61 5.52 22.68 5.79

2,566 614 1,199 964 946 2,262 1,006 1,464

37,480 6,299 16,908 11,791 9,537 35,420 13,955 21,253

10 1 1 6 6 2 5

-

3 2 3 1 7 3 3

155 41 61 29 29 148 72 115

609 44 83 45 41 243 85 359

31,146

538,449

87

1

98

1,727

4,005

5,918 10.99

3.55

6,056 1,389 1,546 1,206 2,541 730 1,224 357

194,382 21,835 19,562 11,112 36,491 7,495 16,744 2,734

18 6 2 3 4 23 -

1 -

36 2 8 8 1 4 -

634 81 85 20 89 15 36 7

2,337 76 121 7 72 7 41 2

3,025 15.56 166 7.60 216 11.04 38 3.42 166 4.55 22 2.94 104 6.21 9 3.29

3.54 4.12 4.86 2.79 2.58 2.00 3.76 2.56

87


88 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

ตาย

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 0 0 8.59 2.70 7.94 3.18 18.74 4.19 6.09 3.15 16.85 6.01 4.16 2.38 6.23 4.07 7.40 4.96 8.30 4.18 5.65 3.55 9.71 4.12

บึงกาฬ หนองบัวล�ำภู ขอนแก่น อุดรธานี เลย หนองคาย มหาสารคาม ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สกลนคร นครพนม มุกดาหาร

169 390 4,261 2,815 964 781 1,118 1,645 887 1,564 705 798

1,877 5,936 91,082 36,988 9,196 9,315 15,139 18,929 12,302 14,343 6,193 6,794

1 8 4 1 2 1 3 5 3 3

-

19 8 3 1 4 3 1 -

15 263 143 25 54 34 70 53 56 22 25

35 433 538 27 101 27 41 30 59 13 38

รวมภาคใต้

34,736

505,517

56

-

46

2,650

3,238

5,990 11.85

5.44

2,817 2,015 908 7,909

38,505 28,539 12,483 114,123

4 2 9

-

1 3 2 8

248 131 33 411

202 129 31 672

455 11.82 265 9.29 66 5.29 1,100 9.64

6.57 4.77 2.80 3.75

นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงา ภูเก็ต

51 723 693 56 157 63 118 91 119 35 66


ตารางที่ 5 จ�ำนวนนายจ้าง จ�ำนวนลูกจ้าง จ�ำนวนการประสบอันตราย และอัตราการประสบอันตรายต่อลูกจ้าง 1,000 ราย ปี 2554

จังหวัด/เขตพื้นที่

จ�ำนวน นายจ้าง (ราย)

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

สุราษฎร์ธานี ระนอง ชุมพร สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

4,596 634 1,424 6,857 672 1,924 941 1,372 1,245 1,422

70,988 7,332 20,972 135,503 7,630 26,303 8,295 13,506 12,535 8,803

ตาย 7 3 17 1 1 7 3 2

ความรุนแรง

รวมจ�ำนวน การประสบอั นตราย ทุพพลภาพ สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน (ราย) อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน -

หมายเหตุ : 1. นับทุกกรณี หมายถึง ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หยุดงานเกิน 3 วัน หยุดงานไม่เกิน 3 วัน 2. นับกรณีร้ายแรง หมายถึง ตาย ทุพพลภาพ สูญเสียอวัยวะ หยุดงานเกิน 3 วัน

7 1 8 4 1 7 2 2 -

301 24 159 736 94 206 54 89 124 40

728 18 131 797 49 296 30 54 84 17

1,043 43 301 1,554 144 510 85 152 213 59

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย นับทุก นับกรณี กรณี ร้ายแรง 14.69 4.44 5.86 3.41 14.35 8.11 11.47 5.59 18.87 12.45 19.39 8.14 10.25 6.63 11.25 7.26 16.99 10.29 6.70 4.77

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

89


ตารางที่ 6 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและสาเหตุที่ประสบอันตราย ปี 2554 ความรุนแรง สาเหตุที่ประสบอันตราย 1. ตกจากที่สูง 2. หกล้ม ลื่นล้ม 3. อาคารหรือสิ่งก่อสร้างพังทับ 4. วัตถุหรือสิ่งของพังทลาย/หล่นทับ 5. วัตถุหรือสิ่งของกระแทก/ชน 6. วัตถุหรือสิ่งของหนีบ/ดึง 7. วัตถุหรือสิ่งของตัด/บาด/ทิ่มแทง 8. วัตถุหรือสิ่งของหรือสารเคมีกระเด็นเข้าตา 9. ประสบอันตรายจากการยกหรือ เคลื่อนย้ายของหนัก 10. ประสบอันตรายจากท่าทางการท�ำงาน 11. อุบัติเหตุจากยานพาหนะ 12. วัตถุหรือสิ่งของระเบิด 13. ไฟฟ้าช็อต 14. ผลจากความร้อนสูง/สัมผัสของร้อน 15. ผลจากความเย็นจัด/สัมผัสของเย็น 16. สัมผัสสิ่งมีพิษ สารเคมี 17. อันตรายจากรังสี 18. อันตรายจากแสง 19. ถูกท�ำร้ายร่างกาย 20. ถูกสัตว์ท�ำร้าย 21. โรคที่เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพ ของงานหรือเนื่องจากการท�ำงาน 22. ภัยพิบัติ 23. เหตุการณ์ก่อความไม่สงบ 24. อื่นๆ รวมทั้งหมด

ตาย ทุพพลภาพ 81 3 6 39 19 11 2 -

1 1 -

287 30 71 4 12 1 2 3 19

1 1 -

590

4

-

สูญเสียอวัยวะ หยุดงาน หยุดงาน บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 25 2,986 4,020 19 1,804 4,053 3 11 515 8,042 11,941 190 4,995 13,658 463 3,920 4,764 342 8,196 20,842 10 956 18,505 2 147 691 2 28 7 5 10 1 1 1 8 1

137 2,125 274 311 928 1 180 1 25 47 84 459 4 84

527 1,982 380 636 1,838 6 898 13 2,061 53 728 3,871 221

รวม 7,113 5,879 20 20,537 18,863 9,158 29,382 19,471 840 666 4,423 691 1,023 2,780 7 1,079 14 2,086 114 814 4,340 7 325

1,630 35,709 91,699 129,632 ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

90

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม


ตารางที่ 7 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง และโรคที่เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงานหรือเนื่องจากการท�ำงาน ปี 2554

ความรุนแรง โรคที่เกิดขึ้นตามลักษณะหรือสภาพของงาน หยุดงาน หยุดงาน ตาย ทุพพลภาพ สูญเสีย อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

1. โรคที่เกิดขึ้นจากสารเคมี - โรคที่เกิดขึ้นจากตะกั่ว หรือสารประกอบ ของตะกั่ว 2. โรคที่เกิดขึ้นจากสาเหตุทางกายภาพ - โรคหูตึงจากเสียง 3. โรคจากสาเหตุทางชีวภาพ 4. โรคระบบหายใจที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท�ำงาน - โรคกลุ่มนิวโมโคนิโอลสิสส - โรคทางเดินหายใจส่วนบนที่เกิดจากสาร ภูมิแพ้หรือสารระคายเคืองในที่ท�ำงาน 5. โรคผิวหนังที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท�ำงาน - โรคผิวหนังที่เกิดจากสาเหตุทางกายภาพเคมี หรือชีวภาพอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการท�ำงาน - โรคผิวหนังอื่น ซึ่งพิสูจน์ได้ว่ามีสาเหตุ เนื่องจากการท�ำงาน 6. โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท�ำงาน - โรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างกระดูก ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท�ำงานหรือสาเหตุ จากลักษณะงานที่จ�ำเพาะหรือมีปัจจัย เสี่ยงสูงในสิ่งแวดล้อมการท�ำงาน 7. โรคมะเร็งที่เกิดขึ้นเนื่องจากการท�ำงาน 8. โรคอื่นๆ ซึ่งพิสูจน์ได้ว่าเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการท�ำงาน รวมทั้งหมด

-

-

-

1

33

รวม 34

-

-

3 -

1 -

9 -

13 -

1

-

1 -

-

2 -

3 1

-

-

-

40

1,000

1,040

-

-

-

-

2

2

1

-

4

417

2,824

3,246

-

-

-

-

1

1

2

-

8

459

3,871

4,340

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม

91


ตารางที่ 8 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและอวัยวะที่ได้รับอันตราย ปี 2554 ความรุนแรง อวัยวะที่ได้รับอันตราย 1. ศีรษะ 2. ตา 3. จมูก 4. หู 5. ปาก ฟัน ขากรรไกร และส่วนต่างๆ ในช่องปาก 6. ใบหน้า 7. คอ 8. หลัง 9. กระดูกซี่โครง / กระดูกชายโครง / ล�ำตัว 10. อกและอวัยวะภายในช่องอก 11. กระดูกเชิงกราน ท้องและอวัยวะในช่องท้อง 12. อวัยวะเพศ 13. บ่า / ไหล่ / สะบัก / รักแร้ 14. แขน / ศอก / ข้อศอก 15. ข้อมือ 16. มือ 17. นิ้วหัวแม่มือ 18. นิ้วมือ 19. เอว 20. สะโพก ก้น 21. ขา / หน้าแข้ง / น่อง / เข่า / หัวเข่า 22. ข้อเท้า / ตาตุ่ม 23. เท้า / ส้นเท้า / ง่ามนิ้วเท้า 24. นิ้วเท้า 25. บาดเจ็บหลายส่วน บาดเจ็บตามร่างกาย 26. ระบบหมุนเวียนโลหิต 27. อื่นๆ (ไม่สามารถระบุอวัยวะได้) รวมทั้งหมด

สูญเสีย อวั ยวะ ตาย ทุพพลภาพ บางส่วน

หยุดงาน หยุดงาน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

29 1 7 2 2 8 3 1 1 513 15 8

1 1 2 -

2 13 1 3 5 4 1 1 1 37 21 55 166 1,144 2 17 9 15 57 76 -

667 1,255 99 32 96 437 89 796 261 177 119 21 466 1,822 1,234 2,505 2,582 11,201 32 181 2,225 1,114 2,740 2,286 3,229 9 34

590

4

1,630

5,709

3,372 21,819 342 203 526 2,652 326 3,052 578 852 199 39 1,156 4,923 2,257 6,252 4,730 16,812 159 399 5,005 1,807 5,460 3,375 5,031 55 318

รวม 4,070 23,087 442 238 622 3,095 422 3,855 842 1,038 321 61 1,622 6,783 3,512 8,812 7,478 29,157 191 582 7,248 2,930 8,216 5,718 8,851 79 360

91,699 129,632

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

92

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม


ตารางที่ 9 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง และสิ่งที่ท�ำให้ประสบอันตราย ปี 2554 ความรุนแรง สิ่งที่ท�ำให้ประสบอันตราย 1. เครื่องมือ 2. เครื่องจักร 3. อาคารหรือสิ่งก่อสร้าง 4. วัตถุหรือสิ่งของ 5. ท่าทางการท�ำงาน และการยกของ 6. ยานพาหนะ 7. วัตถุระเบิด (ยกเว้นก๊าซ) 8. ก๊าซ 9. หม้อไอน�้ำและถังความดัน 10. ไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า 11. สิ่งมีพิษ สารเคมี 12. สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับการท�ำงาน 13. ภัยธรรมชาติ 14. เชื้อโรค 15. คนหรือสัตว์ 16. อื่นๆ รวมทั้งหมด

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะบางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 3 38 65 39 2 303 2 20 72 12 1 16 17 590

1 1 1 1 4

190 938 25 377 8 46 2 2 10 1 28 2 1 1,630

4,809 7,612 2,185 13,468 700 3,063 6 51 3 465 471 2,655 1 145 75 35,709

11,589 8,357 3,404 45,442 4,044 3,482 5 54 4 907 5,697 7,649 13 832 220 91,699

รวม 16,591 16,946 5,680 59,326 4,754 6,895 15 127 7 1,454 6,169 10,344 15 996 313 129,632

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม

93


ตารางที่ 10 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง และผลของการประสบอันตราย ปี 2554 ความรุนแรง ผลของการประสบอันตราย 1. กระดูกหัก กระดูกแตก กระดูกร้าว 2. ข้อต่อเคลื่อน 3. ข้อต่อเคล็ด และการอักเสบตึงตัวของกล้ามเนื้อ 4. การถูกกระแทกและการบาดเจ็บภายในอื่นๆ ที่ไม่ปรากฏ 5. การตัดขาด และการเลาะคว้านท�ำลายอวัยวะ 6. บาดแผลอื่นๆ (บาดแผลลึก) 7. บาดแผลตื้น 8. การฟกช�้ำ และการถูกชน การถูกเบียด 9. บาดแผลไหม้ 10. การได้รับสารพิษ สารเคมี 11. ผลจากสภาพอากาศ การสัมผัส และสถานะ ที่เกี่ยวข้อง 12. การหายใจไม่ออกเนื่องจากโลหิตขาดออกซิเจน 13. ผลจากกระแสไฟฟ้า 14. ผลกระทบจากรังสีหรือแสง 15. สภาพการบาดเจ็บหลายอย่างร่วมกัน 16. สภาพการบาดเจ็บอื่นๆ ที่ไม่สามารถจ�ำแนก อยู่ในกลุ่ม (1-15) รวมทั้งหมด

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน บางส่วน

รวม

7 2 4 21

3 1 -

441 3 51 -

9,033 466 5,059 135

3,100 448 17,503 143

12,584 920 22,617 299

3 4 1 8 1 1

-

550 541 12 2 20 4

1,164 15,066 1,133 1,386 1,671 101 41

396 36,321 17,055 5,513 6,930 1,029 1,369

2,113 51,932 18,201 6,901 8,629 1,131 1,415

8 69 16 445

-

6 -

3 117 14 166 154

2 323 923 106 538

13 509 937 294 1,137

590

4

1,630

35,709

91,699 129,632

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

94

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม


ตารางที่ 11 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง และกลุ่มอายุ ปี 2554 ความรุนแรง กลุ่มอายุ

ตาย

ทุพพลภาพ

สูญเสีย อวัยวะ บางส่วน

หยุดงาน เกิน 3 วัน

หยุดงาน รวมจ�ำนวน ไม่เกิน 3 วัน การประสบอันตราย

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

15 - 19 ปี

22

-

74

1,847

5,017

6,960

242,565

28.69

20 - 24 ปี

62

-

192

4,797

14,972

20,023

1,049,186

19.08

25 - 29 ปี

73

1

277

6,079

18,541

24,971

1,652,078

15.11

30 - 34 ปี

84

1

314

6,497

17,935

24,831

1,637,451

15.16

35 - 39 ปี

98

-

278

5,507

13,370

19,253

1,259,656

15.28

40 - 44 ปี

101

-

207

4,549

9,808

14,665

995,723

14.73

45 - 49 ปี

62

1

150

3,178

6,359

9,750

689,784

14.13

50 - 54 ปี

51

1

77

1,978

3,623

5,730

417,136

13.74

55 - 59 ปี

29

-

39

945

1,578

2,591

194,755

13.30

60 ปีขึ้นไป

8

-

22

332

496

858

84,626

10.14

รวมทั้งหมด

590

4

1,630

35,709

91,699

129,632

8,222,960

15.76 ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

95


96 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 12 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและขนาดสถานประกอบการ ปี 2554 ขนาดสถานประกอบการ (จ�ำนวนลูกจ้าง)

ความรุนแรง ตาย

ทุพพลภาพ

สูญเสีย อวัยวะ บางส่วน

หยุดงาน เกิน 3 วัน

หยุดงาน รวมจ�ำนวน ไม่เกิน 3 วัน การประสบอันตราย

จ�ำนวน ลูกจ้าง (ราย)

อัตรา การประสบอันตราย ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย

ต�่ำกว่า 10 คน

97

-

141

3,848

7,349

11,435

23,390

12.38

10 - 19 คน

61

1

140

3,549

7,251

11,002

642,602

17.12

20 - 49 คน

109

1

271

6,213

13,794

20,388

983,432

20.73

50 - 99 คน

68

-

202

4,395

10,493

15,158

784,677

19.32

100 - 199 คน

82

1

223

4,566

12,690

17,562

939,399

18.69

200 - 499 คน

63

-

300

5,738

16,033

22,134

1,294,269

17.10

500 - 999 คน

42

-

164

3,128

9,393

12,727

910,589

13.98

1,000 คนขึ้นไป

68

1

189

4,272

14,696

19,226

1,744,602

11.02

590

4

1,630

35,709

91,699

129,632

8,222,960

15.76

รวมทั้งหมด

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน


รหัส 0101 0102 0103 0104 0105 0106 0107 0108

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ การส�ำรวจแร่ น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ การท�ำเหมืองแร่ ยกเว้นเหมืองใต้ดิน การท�ำเหมืองแร่ใต้ดิน การระเบิด ย่อย โม่หรือบดหิน การขุดเจาะน�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ การขุดดิน กรวด การดูดทราย การผลิตเกลือดิบ กิจการอื่นที่มิได้จัดประเภทไว้

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

1 1 6 1 1

-

2 2 1 4

3 60 9 85 6 23 1 24

2 98 31 168 10 31 1 31

6 161 40 261 16 56 2 60

2,255 17,781 1,655 12,312 33,831 5,439 83 4,479

2.66 9.05 24.17 21.20 0.47 10.30 24.10 13.40

รวม 0100 การส�ำรวจ การท�ำเหมืองแร่ 0201 การฆ่าสัตว์ 0202 การผลิตผงชูรส 0203 การผลิตเครื่องดื่ม ถนอมอาหาร 0204 การผลิตน�้ำแข็ง 0205 การผลิตน�้ำตาลและท�ำให้บริสุทธิ์ 0206 การท�ำเกลือให้บริสุทธิ์ 0207 การอบ การแปรสภาพเมล็ดพืชการท�ำแป้ง 0208 การผลิตน�้ำมันพืช 0209 การผลิตยาสูบ การบ่ม อบใบยา

10 2 28 5 11 26 4 1

-

9 7 94 6 10 16 1 -

211 212 22 2,191 169 234 4 312 117 8

372 721 41 5,060 221 730 2 437 185 11

602 942 63 7,373 401 985 6 791 307 20

77,835 63,157 4,933 493,386 15,800 31,001 706 41,743 16,098 2,480

7.73 14.92 12.77 14.94 25.38 31.77 8.50 18.95 19.07 8.06

รวม 0200 การผลิตอาหาร เครื่องดื่ม

77

-

134

3,269

7,408

10,888

669,304

16.27

97


98 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

รหัส 0301 0302 0303 0304 0305 0306 0307 0308 0309 0310

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

การหีบฝ้าย ปั่นนุ่น การผลิตเส้นไหม การปั่น ทอฯ โดยใช้เครื่องจักร การปั่น ทอฯ โดยไม่ใช้เครื่องจักร การอัดปอ อัดใยมะพร้าว การผลิตส�ำลี ไม้พันส�ำลี ผ้ากอซ การผลิตเครื่องแต่งกาย อื่นๆ จากผ้า การท�ำดอกไม้ประดิษฐ์ การฟอก ผลิตผลิตภัณฑ์หนังสัตว์ การผลิตรองเท้า

7 2 1

-

1 72 2 16 1 5 17

4 1 1,063 6 8 20 355 12 156 259

6 3 1,896 31 4 28 1,276 30 385 646

11 4 3,038 37 12 50 1,649 43 546 923

327 2,352 181,096 4,253 765 2,474 227,964 2,815 31,252 57,878

33.64 1.70 16.78 8.70 15.69 20.21 7.23 15.28 17.47 15.95

รวม 0300 การผลิตสิ่งทอถัก เครื่องประดับ 0401 การท�ำป่าไม้ เลื่อย แปรรูปไม้ 0402 การไส อบอาบน�้ำยาไม้ ผลิตชิ้นไม้ 0403 การผลิตผลิตภัณฑ์จากหวาย ไผ่ กก 0404 การเผาถ่าน 0405 ผลิตเครื่องเรือน เครื่องใช้ไม้

10 3 4 4

-

114 13 32 2 87

1,884 420 414 11 3 990

4,305 312 550 23 2 1,601

6,313 748 1,000 36 5 2,682

511,176 20,692 27,816 1,766 183 96,534

12.35 36.15 35.95 20.39 27.32 27.78

รวม 0400 การท�ำป่าไม้ ผลิตภัณฑ์จากไม้ 0501 การผลิตเยื่อกระดาษ หรือกระดาษ 0502 การผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษ

11 4 2

-

134 6 22

1,838 95 461

2,488 158 908

4,471 263 1,393

146,991 16,119 55,905

30.42 16.32 24.92


รหัส

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

0503 การพิมพ์ กิจการหนังสือพิมพ์

1

-

21

512

1,128

1,662

100,107

16.60

รวม 0500 ผลิตภัณฑ์จากกระดาษ การพิมพ์ 0601 การผลิตเคมีภัณฑ์ 0602 การผลิต สี หมึก สารขัดเงา ฯลฯ 0603 การผลิต การบรรจุยา 0604 ผลิตวัตถุระเบิด กระสุนปืน พลุฯ 0605 การผลิตไม้ขีดไฟ 0606 ผลิตสบู่ แชมพู เครื่องส�ำอาง และอื่นๆ 0607 ผลิตภัณฑ์เคมีปราบศัตรูพืช สัตว์ 0608 ผลิตภัณฑ์เคมีที่มิได้จัดประเภท 0609 การผลิตกาว 0610 การกลั่นน�้ำมัน การแยกก๊าซรวมผลิตภัณฑ์ 0611 การผลิต การบรรจุก๊าซ 0612 การผลิตยาง ผลิตภัณฑ์จากยาง 0613 การผลิตยางรถยนต์ หล่อดอกยาง 0614 การผลิตเม็ดพลาสติก เรซิ่น ใยสังเคราะห์ 0615 การผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติก 0616 การผลิตกระดูกป่น ออสซิอิน ไขมัน 0617 การผลิตปุ๋ยเคมี

7 1 2 2 2 1 4 4 7 2

-

49 4 2 1 1 5 1 5 1 3 4 35 20 12 108 1 -

1,068 89 125 122 2 1 109 17 86 17 23 77 503 138 133 1,624 4 11

2,194 229 363 264 3 2 434 83 285 42 78 115 1,013 314 312 4,239 6 39

3,318 322 491 389 5 4 550 101 376 60 106 197 1,555 472 461 5,978 11 52

172,131 22,197 26,239 34,318 1,628 111 44,791 5,779 19,168 7,544 13,186 14,118 95,253 44,438 34,729 248,205 330 3,570

19.28 14.51 18.71 11.34 3.07 36.04 12.28 17.48 19.62 7.95 8.04 13.95 16.32 10.62 13.27 24.08 33.33 14.57

99


100 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

รหัส

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ

0618 การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ 0619 การผสม บรรจุ กรด ด่าง 0620 การผลิตเทปภาพ เทปเสียง

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน -

-

1 1 -

18 2 -

38 8 5

57 11 5

3,131 618 849

18.21 17.80 5.89

รวม 0600 ผลิตภัณฑ์เคมี น�้ำมันปิโตรเลียม 0701 ผลิตเครื่องปั้นดินเผา สุขภัณฑ์ 0702 การผลิตซีเมนต์ ปูนขาว 0703 การผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีตอัดแรง 0704 ผลิตผลิตภัณฑ์คอนกรีต แร่อโลหะ 0705 ผลิตกระจก เครื่องแก้ว หลอดไฟ

25 5 11 -

-

205 16 19 9 7

3,101 192 27 369 286 136

7,872 422 61 623 455 455

11,203 630 88 1,016 761 598

620,202 53,131 9,790 27,769 37,405 29,511

18.06 11.86 8.99 36.59 20.34 20.26

รวม 0700 ผลิตภัณฑ์จากแร่อโลหะ 0801 การถลุงแร่ โดยใช้กรรมวิธีทางเคมี 0802 การถลุงแร่ โดยใช้กรรมวิธีอื่น 0803 การรีดโลหะ ผลิตเหล็ก 0804 การหล่อหลอม การกลึงโลหะ

16 2 3

-

51 1 39 74

1,010 1 2 490 1,531

2,016 3 7 1,092 4,198

3,093 4 10 1,623 5,806

157,606 338 479 35,181 100,055

19.62 11.83 20.88 46.13 58.03

รวม 0800 การผลิตโลหะขั้นมูลฐาน 0901 ผลิต ซ่อมเครื่องเรือนจากโลหะ 0902 ผลิต ติดตั้งประตูฯ ที่เป็นโลหะ 0903 การผลิตท่อ โลหะที่ใช้ในการสร้าง 0904 การผลิต ซ่อมหม้อน�้ำ และอื่น ๆ

5 3 6 1

-

114 11 13 48 7

2,024 270 398 711 108

5,300 646 1,079 1,959 265

7,443 927 1,493 2,724 381

136,053 22,567 34,231 57,672 6,969

54.71 41.08 43.62 47.23 54.67


รหัส 0905 0906 0907 0908 0909 0910 0911 0912 0913 0914 0915 0916

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ การผลิตลวด ผลิตภัณฑ์จากลวด ผลิตสายเคเบิ้ล สายไฟฟ้า สายโทรศัพท์ การเคลือบ ชุบ อาบ ขัดโลหะ การผลิต ประกอบเครื่องจักร ฯลฯ การผลิต ประกอบเครื่องใช้แพทย์ฯ ผลิต ติดตั้ง เครื่องปรับอากาศ ผลิต ซ่อมวิทยุ-โทรทัศน์ชิ้นส่วน ผลิต ซ่อมเครื่องไฟฟ้า อุปกรณ์ ผลิต ประกอบ ซ่อมนาฬิกาและชิ้นส่วน การผลิตแบตเตอรี่ การปั๊มโลหะ การผลิตผลิตภัณฑ์โลหะอื่นๆ

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

รวม 0900 ผลิตภัณฑ์จากโลหะ 1001 การต่อ ซ่อม รื้อเรือท�ำด้วยโลหะ 1002 การต่อ ซ่อมเรือประเภทอื่น 1003 การผลิต ซ่อมรถจักร รถพ่วง อุปกรณ์ 1004 การผลิต ประกอบ ซ่อมรถยนต์ ฯลฯ 1005 การผลิต ประกอบ ซ่อมจักรยาน ฯลฯ 1006 ผลิต ซ่อมรถลากจูงด้วยแรงสัตว์ 1007 ผลิต ประกอบ ซ่อม รถใช้งานเกษตร

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 5 1 1 1 2 2 1

1 -

23 6 8 27 11 14 37 1 2 134 64

279 72 194 534 18 241 439 591 21 23 1,091 832

756 201 622 1,781 115 836 2,131 1,844 87 142 2,241 2,424

1,058 279 829 2,343 133 1,089 2,585 2,474 109 167 3,469 3,321

27,662 15,363 27,478 66,058 30,090 53,373 452,288 100,872 14,219 5,974 69,127 65,921

38.25 18.16 30.17 35.47 4.42 20.40 5.72 24.53 7.67 27.95 50.18 50.38

23 1 1 6 2 -

1 -

406 4 1 28 5 1 3

5,822 81 25 17 807 56 61

17,129 392 55 92 3,435 179 2 107

23,381 478 82 109 4,276 242 3 171

1,049,864 6,822 1,716 1,707 195,699 28,509 61 4,597

22.27 70.07 47.79 63.85 21.85 8.49 49.18 37.20

101


102 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

รหัส

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ

1008 ผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์ยานพาหนะ 1009 การซ่อม การบ�ำรุงรักษาอากาศยาน รวม 1000 ผลิต ประกอบยานพาหนะ 1101 ผลิตเครื่องประดับเพชร พลอย ฯลฯ 1102 การผลิตเบาะรถยนต์ เบาะอื่นๆ 1103 การผลิตผลิตภัณฑ์เบ็ดเตล็ดอื่นๆ รวม 1100 อุตสาหกรรมการผลิตอื่นๆ 1201 การติดตั้งไฟฟ้าสายหลัก 1202 การติดตั้งประปาสายหลัก 1203 การติดตั้งโทรศัพท์สายหลัก รวม 1200 สาธารณูปโภค 1301 การก่อสร้าง 1302 การรื้ออาคาร สิ่งปลูกสร้าง 1303 การติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ 1304 การปูพื้น ทาสี ตกแต่งอาคาร 1305 การขุด หรือเจาะบ่อน�้ำ รวม 1300 การก่อสร้าง ติดตั้งเครื่องจักรขุดบ่อน�้ำ 1401 การขนส่งทางรถไฟ รถไฟฟ้า 1402 ขนส่งสินค้าผู้โดยสารทางรถยนต์ 1403 ให้เช่ายานพาหนะโดยไม่มีคนขับ

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 3 1 14 1 1 2 13 1 5 19 80 1 6 87 78 -

- 1 1 -

109 1 152 7 11 18 1 2 3 47 3 3 53 20 -

1,054 10 2,111 104 25 161 290 110 10 46 166 2,245 5 203 154 7 2,614 2 1,063 5

3,737 27 8,026 515 97 501 1,113 135 18 77 230 6,903 16 568 372 6 7,865 5 1,694 24

4,903 39 10,303 627 122 674 1,423 260 29 130 419 9,275 22 780 529 13 10,619 7 2,855 29

228,177 3,197 470,485 73,663 9,956 46,536 130,155 13,429 1,610 16,969 32,008 304,076 536 29,366 20,476 732 355,186 1,257 217,211 3,032

21.49 12.20 21.90 8.51 12.25 14.48 10.93 19.36 18.01 7.66 13.09 30.50 41.04 26.56 25.84 17.76 29.90 5.57 13.14 9.56


รหัส 1404 1405 1406 1407 1408 1409 1410 1411

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554 ความรุนแรง

ประเภทกิจการ

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

การขนส่งทางน�้ำภายในประเทศ การขนส่งทางทะเลหลวง การขนส่งทางอากาศ การขนถ่ายสินค้า กิจการท่าเรือ การบ�ำรุงรักษา ส�ำนักงานจัดการเดินทาง การบรรจุหีบห่อ นายหน้าขนส่งฯ กิจการคลังสินค้า การรับฝาก

3 1 4 1 2 9 1

-

1 1 2 1 6 1

72 31 9 91 19 30 238 39

95 38 11 162 20 42 638 107

171 70 21 259 40 75 891 148

9,322 6,575 10,177 18,019 3,234 31,143 96,580 10,147

18.34 10.65 2.06 14.37 12.37 2.41 9.23 14.59

รวม 1400 การขนส่ง การคมนาคม 1501 การค้าเครื่องไฟฟ้า ยานพาหนะฯ 1502 การค้าวัสดุก่อสร้าง 1503 ร้านสรรพสินค้า สินค้าเบ็ดเตล็ดการค้าอื่นๆ

99 47 25 26

-

32 42 43 14

1,599 1,979 1,644 1,191

2,836 4,910 2,947 3,410

4,566 6,978 4,659 4,641

406,697 676,981 146,692 592,432

11.23 10.31 31.76 7.83

รวม 1500 การค้า 1601 สถาบันการเงิน บริการด้านธุรกิจ 1602 โรงพยาบาล บริการสุขภาพ 1603 สถานสอนขับรถยนต์ 1604 บริการวิศวกรรม เทคนิค สถาปัตย์ 1605 บริการโฆษณา งานพาณิชยศิลป์ 1606 การให้เช่า ตัวแทน นายหน้า ฯลฯ

98 9 1 1 3 2

-

99 5 1 2 2

4,814 245 108 1 60 177 200

11,267 541 1,254 2 155 442 477

16,278 800 1,363 3 217 624 681

1,416,105 518,537 133,433 228 37,520 50,371 94,189

11.49 1.54 10.21 13.16 5.78 12.39 7.23

103


104 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 13 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและประเภทกิจการ ปี 2554

รหัส 1607 1608 1609 1610 1611 1612 1613 1614 1615 1616 1617

ความรุนแรง

ประเภทกิจการ บริการให้เช่า ซ่อมเครื่องจักร ฯลฯ บริการให้เช่า ซ่อมเครื่องใช้ ฯลฯ สถานีวิทยุ สถานีโทรทัศน์ ฯลฯ บริการบันเทิง กีฬา สโมสร ฯลฯ บริการติดตั้งระบบไฟฟ้า ฯลฯ บริการติดตั้งประปา บริการซัก อบ รีด บริการรักษาความปลอดภัย ฯลฯ การเลี้ยงสัตว์ ภัตตาคาร ร้านอาหาร โรงแรม อาชีพหรือบริการซึ่งมิได้จัดประเภท

รวม 1600 ประเภทกิจการอื่นๆ

รวมทั้งหมด

อัตรา รวมจ�ำนวน จ�ำนวนลูกจ้าง การประสบอั สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน นตราย ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ การประสบอันตราย (ราย) ต่อลูกจ้าง 1,000 ราย บางส่วน เกิน 3 วัน ไม่เกิน 3 วัน 5 1 4 1 15 13 17 11 4

1 1 -

9 1 1 12 9 12 3

254 7 87 141 225 12 17 547 176 1,364 267

619 12 126 327 543 39 34 1,439 450 3,943 875

887 20 218 469 785 51 51 2,012 652 5,330 1,149

36,864 3,679 41,653 42,488 62,304 1,902 5,277 275,061 28,895 422,415 116,346

24.06 5.44 5.23 11.04 12.60 26.81 9.66 7.31 22.56 12.62 9.88

87

2

57

3,888

11,278

15,312

1,871,162

8.18

590

4

1,630

35,709

91,699

129,632

8,222,960

15.76

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน


ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

11 ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส 111 ผู้บัญญัติกฎหมาย 112 ข้าราชการระดับอาวุโส 113 ผู้น�ำท้องถิ่น/หมู่บ้าน/เจ้าหน้าที่บริหารงานท้องถิ่น 114 เจ้าหน้าที่ระดับอาวุโสขององค์กรต่างๆ 115 เจ้าหน้าที่บริหารของหน่วยงานรัฐบาล รวมหมวดต�ำแหน่ง 11 12 ผู้จัดการบริษัท,เจ้าหน้าที่บริหารของหน่วยงานเอกชน 121 กรรมการและผู้บริหารระดับสูง กรรมการและผู้จัดการใหญ่ กรรมการบริหาร 122 ผู้จัดการฝ่ายการผลิต 123 ผู้จัดการฝ่ายอื่นๆ รวมหมวดต�ำแหน่ง 12 13 ผู้จัดการทั่วไป 131 ผู้จัดการทั่วไป รวมหมวดต�ำแหน่ง 13 21 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ และ วิศวกรรรมศาสตร์ 211 นักฟิสิกส์ นักเคมี และผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง 212 นักคณิตศาสตร์ นักสถิติ และผู้ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง 213 นักวิชาชีพด้านการค�ำนวณ 214 สถาปนิก วิศวกร และนักวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมหมวดต�ำแหน่ง 21

ตาย ทุพพลภาพ

1 4 2 7 2 2 2 2

-

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 11 22 11 22 10 31 3 58 166 2 80 175 5 148 372 76 160 76 160 4 1 4 86 223 4 87 227

รวม

33 33 42 231 259 532 238 238 4 1 315 320

105


106 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

ตาย ทุพพลภาพ

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 2 5 2 26 6 165

รวม

22 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต และ สุขอนามัย 221 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต 222 ผู้ประกอบวิชาชีพเกี่ยวกับสุขภาพ (ยกเว้นพยาบาล) 223 พยาบาลวิชาชีพและผดุงครรภ์

-

-

รวมหมวดต�ำแหน่ง 22 23 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอน 231 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอนระดับวิทยาลัย มหาวิทยาลัยและสถาบันอุดมศึกษา 232 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอนระดับมัธยมศึกษา 233 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอนระดับประถมศึกษาและก่อนประถมศึกษา 234 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอนการศึกษาพิเศษ 235 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการสอนอื่นๆ

-

-

-

10 -

196 1 1

206 1 1

รวมหมวดต�ำแหน่ง 23 24 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านอื่น ๆ 241 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านธุรกิจ 242 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านกฎหมาย 243 บรรณารักษ์ ผู้เก็บรักษาเอกสารส�ำคัญและวิชาชีพด้านงานสนเทศที่เกี่ยวข้อง 244 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสังคมศาสตร์ และด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 245 นักเขียนและนักประพันธ์หรือผู้ท�ำงานศิลปะด้านการแสดง 246 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านศาสนา

-

-

-

5 1 5 -

2 5 2 1 9 -

2 10 3 1 14 -

-

-

-

11

17

28

รวมหมวดต�ำแหน่ง 24

7 28 171


ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง

ต�ำแหน่ง

31 ผู้ปฏิบัติงานเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์

311 312 313 314 315

ช่างเทคนิคด้านวิทยาศาสตร์กายภาพและวิศวกรรมศาสตร์ ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ ผู้ปฏิบัติงานอุปกรณ์ทัศนศาสตร์และอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ควบคุมช่างเทคนิคประจ�ำเรือและอากาศยาน ผู้ตรวจสอบด้านคุณภาพและความปลอดภัย

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน

รวม

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

1 2

-

4 1 -

95 3 51 1 83

308 5 77 2 261

407 8 130 3 346

รวมหมวดต�ำแหน่ง 31 32 ผู้ปฏิบัติงานด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิต และสุขอนามัย 321 ช่างเทคนิคด้านวิทยาศาสตร์สิ่งมีชีวิตและอาชีพที่เกี่ยวข้องอื่นๆ 322 ผู้ประกอบอาชีพด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับสุขอนามัยแผนปัจจุบัน (ยกเว้นการพยาบาล) 323 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคนิคที่เกี่ยวกับการพยาบาลและผดุงครรภ์ 324 ผู้รักษาโรคด้วยการแพทย์แผนโบราณ และผู้รักษาโรคด้วยความเชื่อความศรัทธา

3 1 -

-

5 -

233 5 3 2

653 9 38 53 10

894 9 44 56 12

รวมหมวดต�ำแหน่ง 32 33 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสอน 331 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสอนในระดับประถมศึกษา 332 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสอนในระดับก่อนประถมศึกษา 333 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสอนการศึกษาพิเศษ 334 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการสอนในด้านอื่นๆ รวมหมวดต�ำแหน่ง 33

1 -

-

-

10 1 1

110 3 3 6

121 3 4 7

107


108 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

34 ผู้ปฏิบัติงานเทคนิคที่เกี่ยวข้องอื่นๆ 341 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการเงินและการขาย 342 ตัวแทนบริการทางธุรกิจ และนายหน้าทางการค้า 343 ปฏิบัติงานด้านงานบริหารงานทั่วไป 344 ผู้ปฏิบัติงานด้านศุลกากร สรรพากรและงานราชการอื่นๆ 345 ต�ำรวจ และนักสืบ 346 ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ 347 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับงานด้านศิลปะ บันเทิงและกีฬา 348 ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับศาสนา รวมหมวดต�ำแหน่ง 34 41 เสมียนส�ำนักงาน เจ้าหน้าที่ประจ�ำส�ำนักงาน 411 เลขานุการ และเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล 412 เสมียนงานด้านการเงินและตัวเลข 413 เสมียนงานพัสดุและขนส่ง 414 เจ้าหน้าที่ห้องสมุด ไปรษณีย์ และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 419 เสมียนส�ำนักงานอื่นๆ รวมหมวดต�ำแหน่ง 41 42 เจ้าหน้าที่บริการลูกค้า 421 พนักงานรับ-จ่ายเงิน (แคชเชียร์) และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกัน 422 พนักงานให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร รวมหมวดต�ำแหน่ง 42

ตาย ทุพพลภาพ 7 12 2 21 1 33 34 -

-

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 3 277 647 8 397 1,196 1 21 1 1 1 1 2 131 312 13 808 2,178 37 80 2 36 107 20 1,040 2,073 4 47 102 26 1,160 2,362 25 67 6 33 31 100

รวม 934 1,613 22 2 2 447 3,020 117 146 3,166 153 3,582 92 39 131


ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

รวม

2 2 1 7

-

รวมหมวดต�ำแหน่ง 51 52 นายแบบ นางแบบ พนักงานขาย และพนักงานสาธิตสินค้า 521 นายแบบ และนางแบบ 522 พนักงานขาย และพนักงานสาธิตสินค้า 523 ผู้ขายสินค้าในตลาด และแผงลอย

12 54 -

-

6 67 -

685 3,054 1

2,262 7,405 -

2,965 10,580 1

54 1 3 -

-

67 1 5 5 -

3,055 89 134 4 148 -

7,405 210 338 5 80 -

10,581 301 480 9 233 -

4

-

11

375

633

1,023

51 ผู้ให้บริการส่วนบุคคลและการบริการด้านความปลอดภัย 511 ผู้ให้บริการด้านการท่องเที่ยวและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 512 ผู้ให้บริการในภัตตาคารและบ้านเรือน 513 ผู้ให้บริการส่วนบุคคลและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกัน 514 ผู้ให้บริการส่วนบุคคลอื่นๆ 515 โหร ผู้ท�ำนายโชคชะตา และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 516 ผู้ให้บริการด้านการป้องกันภัย

ตาย ทุพพลภาพ

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 2 31 50 1 467 1,198 59 727 7 28 3 121 259

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

รวมหมวดต�ำแหน่ง 52 61 ผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการเกษตรและประมงเพื่อการค้าขาย 611 ผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการปลูกพืชไร่ 612 ผู้เลี้ยงสัตว์เพื่อการค้าและผู้ปฏิบัติงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง 613 ผู้ปลูกพืช และเลี้ยงสัตว์เพื่อการค้า 614 ผู้ท�ำงานด้านป่าไม้และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 615 ผู้ท�ำงานด้านการประมง การล่าสัตว์ และดักจับสัตว์ต่างๆ

รวมหมวดต�ำแหน่ง 61

85 1,668 787 35 390

109


110 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

62 ผู้ปฏิบัติงานฝีมือด้านการเกษตรและการประมงเพื่อการด�ำรงชีพ 621 ผู้ท�ำงานด้านการเกษตร และการประมงในเชิงเศรษฐกิจแบบพอเพียง

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน ตาย ทุพพลภาพ อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 1 1

รวม 2

รวมหมวดต�ำแหน่ง 62 71 ผู้ปฏิบัติงานในเหมืองแร่และงานก่อสร้าง 711 พนักงานในเหมืองแร่ พนักงานระเบิดแร่และหิน พนักงานตัดและแกะสลักหิน 712 ช่างก่อสร้างอาคาร สิ่งปลูกสร้าง และงานที่เกี่ยวข้อง 713 ช่างตกแต่งอาคาร สิ่งปลูกสร้างและงานที่เกี่ยวข้อง 714 ช่างสี และผู้ท�ำความสะอาดอาคารสิ่งปลูกสร้างและงานที่เกี่ยวข้อง

6 26 15 1

1 -

5 37 9 4

1 54 1,056 402 176

1 105 3,263 828 467

2 170 4,382 1,255 648

รวมหมวดต�ำแหน่ง 71 72 ผู้ปฏิบัติงานด้านโลหะ เครื่องจักร และงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 721 ช่างท�ำแบบหล่อโลหะ ช่างเชื่อม ช่างโลหะแผ่น ช่างโครงสร้างโลหะและ ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 722 ช่างเหล็ก ช่างท�ำเครื่องมือและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 723 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งเครื่องจักรกล 724 ช่างเครื่องและช่างปรับแต่งอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

48 4

1 -

55 34

1,688 790

4,663 2,849

6,455 3,677

5 34 20

1

89 102 64

1,279 2,829 1,467

3,843 8,282 5,016

5,216 11,247 6,568

รวมหมวดต�ำแหน่ง 72 73 ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องมือที่มีความเที่ยงตรง แม่นย�ำ งานหัตถกรรม งานการพิมพ์และงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 731 ผู้ปฏิบัติงานด้านอุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวกับความเที่ยงตรงแม่นย�ำ และงานโลหะภัณฑ์ อื่นๆ

63 3

1 -

289 10

6,365 177

19,990 790

26,708 980


ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง

ต�ำแหน่ง

ตาย ทุพพลภาพ

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 9 20 3 7 9 3 99 157

รวม

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

732 ช่างเครื่องดินเผา เครื่องแก้ว และผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 733 ช่างฝีมือหัตถกรรมไม้ สิ่งทอ เครื่องหนัง และอื่นๆ 734 ผู้ปฏิบตั ิงานเกี่ยวข้องกับการพิมพ์

-

-

รวมหมวดต�ำแหน่ง 73 74 ผู้ปฏิบัติงานที่ใช้ฝีมืออื่น ๆ 741 ผู้แปรรูปอาหาร ยาสูบและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 742 ผู้อบและอาบน�้ำยาไม้ ช่างท�ำเครื่องเรือนและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกัน 743 ผู้ผลิตสิ่งทอ เครื่องนุ่งห่มและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง 744 ผู้ผลิตเครื่องหนัง หนังสัตว์และรองเท้า

3 1 1 -

-

16 8 40 17 19

292 179 423 359 389

976 547 595 1,224 1,008

1,287 735 1,058 1,601 1,416

รวมหมวดต�ำแหน่ง 74 81 ผู้ควบคุมเครื่องจักรประจ�ำที่ภายในโรงงาน 811 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในอุตสาหกรรมเหมืองแร่และการแปรรูปแร่ธาตุ 812 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในกระบวนการแปรรูปโลหะ 813 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว เครื่องดินเผา เซรามิคและ ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง 814 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ และกระดาษ 815 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในกระบวนการแปรรูปทางเคมี 816 ผู้ปฏิบัติงานในการผลิตพลังงานไฟฟ้าและงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 817 ผู้ปฏิบัติงานในสายการประกอบอัตโนมัติและหุ่นยนต์อุตสาหกรรม

2 10 -

-

84 3 145 21

1,350 37 2,129 251

3,374 69 5,587 668

4,810 109 7,871 940

3 8 3 -

-

10 19 1 -

291 399 98 -

306 970 283 -

610 1,396 385 -

24

-

199

3,205

7,883

11,311

รวมหมวดต�ำแหน่ง 81

29 19 259

111


112 รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน

ส�ำนักงานประกันสังคม

ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง ต�ำแหน่ง

รวม

3 3 5 4 1 3 44 1 -

1 -

รวมหมวดต�ำแหน่ง 82 83 ผู้ควบคุมการขับเคลื่อนยานยนต์และเครื่องจักรที่เคลื่อนที่ได้ 831 ผู้ขับเคลื่อนหัวรถจักรและผู้ปฏิบัติงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 832 ผู้ขับยานยนต์ประเภทต่างๆ 833 ผู้ควบคุมเครื่องจักรทางการเกษตรและเครื่องจักรที่เคลื่อนที่ได้อื่นๆ 834 ลูกเรือและผู้ปฏิบัติงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

64 138 8 -

1 -

740 19 8 1

9,394 1 1,374 231 40

23,141 3 1,887 501 31

33,340 4 3,418 748 72

146 -

-

28 -

1,646 2

2,422 2 1

4,242 2 3

82 ผู้ควบคุมเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 821 ผู้ควบคุมเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์โลหะและแร่ธาตุ 822 ผู้ควบคุมเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์เคมี 823 ผู้ควบคุมเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์ยางและพลาสติก 824 ผู้ควบคุมเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์ไม้ 825 ผู้ควบคุมเครื่องจักรในอุตสาหกรรมการพิมพ์ 826 ผู้ปฏิบัติงานเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์สิ่งทอ/ขนสัตว์และเครื่องหนัง 827 ผู้ควบคุมเครื่องจักรผลิตผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 828 ผู้ปฏิบัติงานเครื่องจักรด้านการประกอบผลิตภัณฑ์อื่นๆ 829 ผู้ควบคุมเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบอื่นๆ

ตาย ทุพพลภาพ

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 261 2,156 5,985 12 276 859 150 1,813 4,574 69 785 1,276 39 771 1,649 64 769 1,493 109 2,227 5,154 23 454 1,597 13 143 554

รวมหมวดต�ำแหน่ง 83 91 อาชีพงานพื้นฐานต่างๆ ด้านการขายและการให้บริการ 911 ผู้จ�ำหน่ายสินค้าตามข้างถนน และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 912 ผู้เช็ดท�ำความสะอาดรองเท้า และงานบริการตามข้างถนนอื่นๆ

8,406 1,150 6,542 2,134 2,460 2,329 7,534 2,075 710


ตารางที่ 14 สถิติของการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรงและต�ำแหน่ง ปี 2554

รหัส

ความรุนแรง

ต�ำแหน่ง 913 914 915 916

ผู้ท�ำงานบ้านและผู้ช่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ท�ำความสะอาดและผู้ซักรีดเสื้อผ้า ผู้ดูแลรักษาอาคาร และผู้ท�ำความสะอาดหน้าต่างและงานความสะอาดอื่นๆ ผู้ส่งข้อมูล เอกสาร ผู้ขนสัมภาระ ผู้เปิด-ปิดประตูและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ผู้เก็บขยะ และผู้ใช้แรงงานอื่นๆ

ตาย ทุพพลภาพ

สูญเสีย หยุดงาน หยุดงาน อวัยวะ เกิน ไม่เกิน บางส่วน 3 วัน 3 วัน 2 274 780 11 422 1,155 8 934 2,411 6 11

รวม

1 9 11 -

1 -

รวมหมวดต�ำแหน่ง 91 92 แรงานด้านเกษตร ประมง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 921 แรงานด้านเกษตร ประมง และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

21 12

1 -

21 3

1,638 37

4,360 92

6,041 144

รวมหมวดต�ำแหน่ง 92 93 แรงงานเหมืองแร่ ก่อสร้าง การผลิตและการขนส่ง 931 แรงงานเหมืองแร่ และก่อสร้าง 932 แรงงานการผลิต 933 แรงงานขนส่ง

12 47 12 8

-

3 25 31 2

37 1,501 1,691 200

92 3,849 3,825 418

144 5,422 5,559 628

67

-

58

3,392

8,092

11,609

590

4

1,630

35,709

91,699

129,632

รวมหมวดต�ำแหน่ง 93 รวมทั้งหมด

1,057 1,598 3,364 17

รายงานประจ�ำปี 2554

ส�ำนักงานประกันสังคม

กองทุนเ งินทดแทน

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

113


ตารางที่ 15 สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการท�ำงาน จ�ำแนกตามความรุนแรง (นอกข่ายกองทุนเงินทดแทน) ปี 2545 - 2554 ความรุนแรง ปี 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ตาย 11 4 1 2 2 -

ทุพพลภาพ 2 1 1 -

สูญเสียอวัยวะ บางส่วน 28 4 5 6 1 1 11 7

หยุดงาน เกิน 3 วัน 19 2 1 3 2 1 1 -

หยุดงาน ไม่เกิน 3 วัน 7 32 1 2 1 -

รวม 67 10 40 11 5 4 2 1 12 7

ที่มา : ส�ำนักงานกองทุนเงินทดแทน

114

รายงานประจ�ำปี 2554

กองทุนเ งินทดแทน ส�ำนักงานประกันสังคม




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.