Right to clean air

Page 1

RIGHT TO CLEAN AIR THE ART EXHIBITION ------------------------------------------------------ขออากาศดีคืนมา


วัตถุประสงค์ของการจัดนิทรรศการ • เพื่อศึกษาความเข้าใจผลกระทบของมลพิษทางอากาศ • เพื่อทาความรู้จักกับฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) • เพื่อนาเสนอภัยคุกคามของฝุ่นละอองขนาดเล็กฝุ่นจากหลากหลายแหล่งในรูปแบบ ภาพถ่ายและผลงานศิลปะ • เพื่อสร้างแผนปฏิบัติการที่หนักแน่นเพื่อทาให้อากาศดีขึ้น ลดมลพิษที่มีผลต่อสุขภาพ และ แนวทางป้องกันของ กรีนพีช


กลุ่มเป้าหมาย • เหมาะสาหรับ • นักเรียน นักศึกษา ผู้ใหญ่ และ ผู้ที่สนใจในเรื่องสภาวะอากาศ สิ่งแวดล้อม ในเชิงศิลปะ


สื่อในการนาเสนอ • สื่อวัสดุ (materials) ที่ใช้ในงาน ได้แก่ วารสาร แผ่นปลิว ภาพถ่าย ภาพโปสเตอร์ หุ่นจาลอง 3 มิติ


สื่อในการนาเสนอ • วารสาร

แผ่นปลิว


สื่อในการนาเสนอ • ภาพถ่าย

ภาพโปสเตอร์


สื่อในการนาเสนอ • หุ่นจาลอง 3 มิติ


สื่อในการนาเสนอ • สื่ออุปกรณ์ (equipments) ได้แก่ เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์ แทปเล็ต


สื่อในการนาเสนอ • เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์

แทปเล็ต


สื่อในการนาเสนอ • สื่อกิจกรรม (activities) ได้แก่ การทดลอง การสร้างสถานการณ์จาลอง การแสดงตัวอย่างสมมุติ


สื่อในการนาเสนอ • การทดลอง การสร้างสถานการณ์จาลอง


สื่อในการนาเสนอ • การแสดงตัวอย่างสมมุติ


• ภาพผังการจัดแสดงนิทรรศการ

ผังการแสดง


จากการศึกษาวิเคราะห์สื่อ สามารถนาแนวทาง การออกแบบสื่อมาปรับใช้ในงานแสดงนิทรรศการของตนเองได้อย่างไรบ้าง • 1. การนาเทคนิค ในการให้ผู้เข้าชมมีส่วนร่วมในงาน เช่น ใน นิทรรศการ Right to Clean Air นั้นมีการให้ผู้เข้าชมนาแปรงแตะที่ ผงคาร์บอนแล้วนามาปัด ระบายลงที่ป้ายโชว์งานทาให้ฟอนต์ เด่นชัด ขึ้น เราจึงสามารถนาเทคนิคนี้มาปรับใช้กับป้ายของงานของเราได้ แทนที่จะนามาตั้งโชว์ให้ถ่ายรู้ได้หรือเพียงแค่มองดู เพียงอย่างเดียว


จากการศึกษาวิเคราะห์สื่อ สามารถนาแนวทาง การออกแบบสื่อมาปรับใช้ในงานแสดงนิทรรศการของตนเองได้อย่างไรบ้าง • 2. การทาสื่อประชาสัมพันธ์ โดยการปั้มสัญลักษณ์ลงบนกระดาษที่ แสดงถึงการเห็นชอบหรือเห็นด้วยกับความคิดและจุดประสงค์ของ งาน เป็นไอเดียที่ดูเรียบง่ายแต่ก็เป็นการชักวนให้ผู้คนสนใจได้ดี เรา จึงสามารถนามาปรับใช่กับงานได้ แทนการที่จะทาใบประเมินให้ผู้เข้า ชมงานติ๊กและแสดงความคิดเห็น ซ้ามันค่อนข้างซ้าซากและจาเจ การ ทาแบบสื่อที่กล่าวไว้ข้างต้นนั้นจะดูดึงดูดความสนใจมากกว่า และ ประหยัดงบประมาณมากกว่าอีกด้วย


จากการศึกษาวิเคราะห์สื่อ สามารถนาแนวทาง การออกแบบสื่อมาปรับใช้ในงานแสดงนิทรรศการของตนเองได้อย่างไรบ้าง • 3. การทาสื่อในการให้ผู้เข้าชมได้ร่วมสนุก เช่น การให้ทุกคนหยอดลูก ปิงปองหรือเม็ดลูกปัด ใส่เข้าไปในช่องเพื่อทาสื่อว่าการที่เราอยู่ ท่ามกลางมลภาวะ เรารับอะไรเข้าไปบ้างนอกจากอากาศ เราจึง สามารถนามาปรับใช้ทาให้สื่อของเราดูมีลูกเล่นมากยิ่งขึ้น ให้คนที่ ร่วมงานสนุกมากยิ่งขึ้น เพราะให้ร่วมสนุกไปกับสื่อแทนที่จะรับฟัง หรืออ่านเพียงอย่างเดียว


จากการศึกษาวิเคราะห์สื่อ สามารถนาแนวทาง การออกแบบสื่อมาปรับใช้ในงานแสดงนิทรรศการของตนเองได้อย่างไรบ้าง • 4.การทาสื่อให้มีลูกเล่น แทนที่จะเป็นแค่รูปกับตัวอักษร การทาให้มัน มีลูกเล่นเหมือนกันเปิดแผ่นป้ายและใช้สีที่แตกต่างกันนั้น ทาให้ ผู้ร่วมงานแยกแยะเนื้อหาได้ง่ายขึ้น ทาให้มีมิติและมีสมาธิจดจ่อกับ เนื้อหามากยิ่งขึ้น เราจึงสามารถนามาปรับใช้กับงานเราได้ ซึ่งจะทาให้ งานที่ดูเรียบไม่มีมิติหรือเป็นแค่เพียงโปสเตอร์แบนๆแผ่นหนึ่งเท่านั้น


จากการศึกษาวิเคราะห์สื่อ สามารถนาแนวทาง การออกแบบสื่อมาปรับใช้ในงานแสดงนิทรรศการของตนเองได้อย่างไรบ้าง • 5. การนาคลิปวีดีโอมาเป็นสื่อให้การอธิบายจุดประสงค์ ของงาน ทาให้งานดูไม่น่าเบื่อเพราะในงานมีสื่ออย่าง อื่นนอกเหนือ ภาพหรือตัวอักษร ซึ่งเราสารมารถนา มาปรับใช้ได้เพื่อความไม่ซ้าซากจาเจ


รายชื่อสมาชิกกลุ่ม • นางสาว ดาราวลัย นิลมณี 5711306893 • นางสาว ดลวรรณ หวังดี 5711306885 • นางสาว โชติกา คล้อยวิถี 5711312297 • นาย ฤกษ์มงคล รัศมีจันทร์ 5711312248 • นาย ณัฐวุฒิ สุคนธชาติ 5521303262


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.