การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิ บัติการเท็กช์ โหมด (ภาษาซี ) รหัสวิชา 2201-2411
หน่วยที่ 2
ภาษาคอมพิวเตอรและการใช ้โปรแกรมภาษาซี ์ การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์ จาเป็ นจะต้องอาศัยโปรแกรมเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทาการ ประมวลผลโดยโปรแกรมดังกล่าวอาจจะเป็ นโปรแกรมสาเร็ จรู ปหรื อโปรแกรมที่นกั เขียนโปรแกรม พัฒนาขึ้นโดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) ภาษาใดภาษาหนึ่งที่นกั เขียนโปรแกรมมีความ ถนัด ภาษาซีเป็ นภาษาระดับสู งที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างลักษณะของภาษามี โครงสร้างง่ายต่อการทาความเข้าใจนอกจากนั้นภาษาซี ยงั มีบทบาทต่อวงการธุ รกิจเนื่องจากองค์กรธุ รกิจนา ภาษาซีไปเขียนเป็ นโปรแกรมเพื่อควบคุ มอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆมากมาย
1. คอมพิวเตอร์ และภาษาคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ ึนเพื่อให้ทางานตามคาสั่งของมนุษย์โดยคาสั่ง เหล่านั้นมักเรี ยกว่า“โปรแกรม”โปรแกรมจะถูกแปลให้เป็ นภาษาที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ เข้าใจเรี ยกว่า ภาษาเครื่อง โดยมีอยู่ 2 บิตคือบิต 0 และบิต 1 บิตทั้งสองนี้เรี ยกว่า รหัสเลขฐานสองโดยรหัสทั้งสองจะถูก เปลี่ยนเป็ นสัญญาณไฟฟ้ าที่คอมพิวเตอร์สามารถนาไปประมวลผลได้ในปัจจุบนั การพัฒนาโปรแกรม ประยุกต์จะเขียนในรู ปแบบภาษาที่มนุษย์เข้าใจง่ายซึ่ งเรี ยกว่า“ (ภาษาระดับสู ง(High Level Language) “ ซึ่ งภาษาระดับสู งคือภาษาที่อยูใ่ นรู ปรหัสภาษาอังกฤษนักเขียนโปรแกรมจะทาการบันทึกคาสั่งภาษา ระดับสู งแต่ละภาษาเข้าสู่ คอมพิวเตอร์ และคอมพิวเตอร์ จะทาการแปลภาษาระดับสู งให้ เป็ นภาษาเครื่อง (Machine Language) เพื่อนาคาสั่งเหล่านั้นไปทาการประมวลผลโดยภาษาระดับสู งมีหลายภาษาเช่นภาษาซี ภาษาเบสิ กภาษาปาสคาลภาษาจาวาภาษาพีเอชพีโดยนักเขียนโปรแกรมประยุกต์จะใช้ภาษาใดในการเขียน โปรแกรมนั้นขึ้นอยูก่ บั ความถนัดของตนเองเป็ นหลัก
2. โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ดว้ ยภาษาระดับสู งนั้นจะไม่สามารถสั่งให้คอมพิวเตอร์ ทางานได้ ตราบใดที่ยงั ไม่มีการแปลภาษาระดับสู งเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ องเนื่องจากภาษาระดับสู งเป็ นภาษาที่ ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ทาให้นกั เขียนโปรแกรมมีความเข้าใจและเขียนโปรแกรมได้ง่ายแต่คอมพิวเตอร์ ไม่ สามารถเข้าใจคาสั่งได้จึงต้องทาการแปลภาษาระดับสู งเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ องในการแปลภาษา ระดับสู งให้เป็ นภาษาเครื่ องนั้นจาเป็ นต้องใช้ตวั แปลภาษาซึ่ งมีตวั แปลภาษาอยู่ 2 ประเภทคือ 1. อินเทอร์พรี เตอร์ (Interpreter) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสู งที่แปลทีละคาสั่งตัวแปลภาษา ระดับสู งชนิดนี้หากแปลแล้วพบข้อผิดพลาดของคาสั่งจะหยุดการแปลทันทีจนกว่าจะแก้ไขข้อผิดพลาดจึง จะทาการแปลคาสัง่ ต่อไป 2. คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสู งที่แปลทีละโปรแกรมหากแปลแล้วพบ ข้อผิดพลาดของคาสั่งจะแสดงข้อผิดพลาดทั้งหมดออกมาต้อง ทาการแก้ไขคาสั่งเหล่านั้น เสี ยก่อนจึงจะทาการแปลคาสั่งใหม่ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ มีความรวดเร็ วกว่าการแปลด้วย อินเทอร์พรี เตอร์
3.โปรแกรมและประเภทของโปรแกรม โปรแกรมหมายถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทาการพัฒนาขึ้นเพื่อสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ ปฏิบตั ิงาน ตามขั้นตอนที่กาหนดโดยโปรแกรมแบ่งเป็ นประเภทหลักๆได้ 2 ประเภทคือ 1. โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ (Operating System: OS) หมายถึงโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุม การทางานของอุปกรณ์ต่างๆในระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้ผใู ้ ช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ ได้หากไม่มี โปรแกรมชนิดนี้จะไม่สามารถติดต่อกับอุปกรณ์ต่างๆของคอมพิวเตอร์ ได้ตวั อย่างของโปรแกรม ระบบปฏิบตั ิการได้แก่Unix,Linux, Microsoft Windows เป็ นต้น 2. โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) หมายถึงโปรแกรมที่นกั เขียนโปรแกรมทาการ เขียนขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งมักจะพัฒนาด้วยภาษาระดับสู งทาให้ง่ายต่อการทาความเข้าใจเช่น โปรแกรมระบบบัญชีโปรแกรมระบบสิ นค้าคงคลัง
4.ต้ นกาเนิดภาษาซี ภาษาซี ถูกพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ.1970 โดย Dennis Ritchie ที่ Bell Telephone Laboratories และในปี ค.ศ. 1978 Brian Kernighan และ Dennis Ritchie ได้พิมพ์ขอ้ กาหนดเกี่ยวกับ ภาษาซี ออกเผยแพร่ เรี ยกว่า K&R หลังจากการเผยแพร่ ภาษาซี ได้รับความนิยมเป็ นอย่างมากและได้นาไป พัฒนาเป็ นโปรแกรมในเชิงพาณิ ชย์สาเหตุที่ทาให้มีการใช้ภาษาซี อย่างแพร่ หลายเนื่องจากภาษาซี มีการใช้ งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องนอกจากนั้นภาษาระดับสู งหลายภาษายังใช้ หลักการของภาษาซี เช่น Java, PHP, Perl, C# เป็ นต้น
โครงสร้ างโปรแกรมภาษาซี โครงสร้ างโปรแกรมภาษาซีประกอบด้ วย 3 ส่ วนได้ แก่
1.ส่ วนหัว หรื อส่ วนพรี โพรเซสเซอร์ ไดเร็ กทีฟ (Preprocessor Directive) เป็ นส่ วนแรกของการ เขียนโปรแกรมในส่ วนนี้จะขึ้นต้นด้วยเครื่ องหมาย# ตามด้วย include ตามหลัง include จะเป็ นชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ (Header File) โดยชื่อไฟล์ที่อยูต่ ามหลัง include เป็ นไฟล์ที่จะถูกเรี ยกขึ้นมาเพื่อใช้ ในการประมวลผลร่ วมกับไฟล์ที่ผเู ้ ขียนโปรแกรมเขียนขึ้น รู ปแบบการกาหนด Preprocessor Directive กาหนดได้ 2 วิธีดงั นี้ วิธีที่ 1 #include<ชื่อเฮดเดอร์ ไฟล์> เช่น#include<stdio.h> วิธีที่ 2 #include “ชื่อเฮดเดอร์ ไฟล์” เช่น#include “stdio.h” คาว่าinclude และstdio.hต้องขึ้นต้นด้วยอักษรตัวเล็กเท่านั้นโดยคาว่า stdio.hเป็ นชื่อของเฮดเดอร์ ไฟล์ที่เก็บไลบรารี่ ฟังก์ชนั (Library Function) หรื อฟังก์ชนั มาตรฐานการเรี ยกใช้งาน ไลบรารี่ ฟังก์ชนั จะต้อง เรี ยกผ่านคาสั่ง #include โดยไลบรารี่ ฟังก์ชนั จะถูกเก็บไว้ในไฟล์ที่มีนามสกุล.h
เช่น #include<conio.h>เป็ นการเรี ยกใช้ไลบรารี ฟังก์ชนั ที่เก็บอยูใ่ นไฟล์ conio.h ซึ่ งได้แก่ฟังก์ชนั clrscr(), getch()เป็ นต้น 2. ส่ วนประกาศเป็ นส่ วนที่ใช้สาหรับประกาศตัวแปร (Variable Declaration) ค่าคงที่ (Constant) หรื อประกาศฟังก์ชนั ที่ผใู ้ ช้เขียนขึ้นเอง(User Define Function) มักจะเขียนไว้ถดั จากส่ วนหัว หากโปรแกรมใดไม่มีการใช้ตวั แปรค่าคงที่หรื อฟังก์ชนั ที่เขียนขึ้นเองก็ไม่จาเป็ นต้องมีส่วนนี้ 3. ส่ วนโปรแกรมหลัก เป็ นส่ วนที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมส่ วนนี้มกั จะเขียนไว้ถดั จากส่ วน ประกาศส่ วนโปรแกรมหลักจะขึ้นต้นด้วยคาว่า main() ตามด้วยเครื่ องหมายปี กกาเปิ ดและ ปี กกาปิ ด ({}) ใน การเขียนคาสั่งต่างๆจะเขียนไว้ภายใต้เครื่ องหมายปี กกาเปิ ดและปี กกาปิ ด ({}) ที่อยูห่ ลัง main() คาสั่งต่างๆ จะต้องปิ ดท้ายด้วยเครื่ องหมายเซมิโคลอน (;) รหัสรู ปแบบและรหัสควบคุม 1. รหัสรู ปแบบ (Format Code) ในการเขียนโปรแกรมภาษาซี มีการใช้รหัสรู ปแบบคู่กบั ตัวแปรเพื่อใช้สาหรับการรับหรื อการ แสดงค่าตัวแปรโดยรหัสรู ปแบบที่ใช้มีหลายรหัสดังปรากฏในตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2แสดงรหัสรู ปแบบ (Format Code)
รหัส %d %u %f %c %s %e %o %x
การใช้ งาน รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มหรื อเลขฐานสิ บ รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มบวก รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยม รับหรื อแสดงค่าอักขระ 1 ตัว รับหรื อแสดงค่าข้อความ รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยมในรู ปแบบเลขยกกาลัง รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานแปด รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานสิ บหก
ตัวอย่างการใช้รหัสรู ปแบบควบคู่กบั การรับหรื อพิมพ์ค่าตัวแปรเช่น int sum; printf(“sum = %d”,sum);
แสดงค่าตัวแปร sum โดยตัวแปร sum มีชนิด เป็ นintดังนั้น format code ที่ใช้คือ %d
float salary; printf(“your salary is %f”,salary); char ch; scanf(“%c”,&ch); printf(“character is %c”,ch);
แสดงค่าตัวแปร salary โดยตัวแปร salary มี ชนิดเป็ น float ดังนั้น format code ที่ใช้คือ %f รับและแสดงค่าตัวแปร ch โดยตัวแปร chมี ชนิดเป็ น char ดังนั้น format code ที่ใช้คือ %c
char name[30]; scanf(“%s”,&name); printf(“character is %s”,name);
รับและแสดงค่าตัวแปร name โดยตัวแปร name มีชนิดเป็ นชุดอักขระดังนั้น format code ที่ใช้คือ %s
int num1, num2; scanf(“%d %d”,&num1,&num2); printf(“number one is %o ”,num1); printf(“number two is %o ”,num2);
รับและแสดงค่าตัวแปร num1,num2โดยตัว แปร num1 และ num2 มีชนิดเป็ นเลขจานวน เต็มในการรับค่าจากคียบ์ อร์ ด format code ที่ ใช้คือ %d แต่ในการแสดงผลในรู ปเลขฐาน 8 format code ที่ใช้คือ %o
int num1, num2; scanf(“%d %d”,&num1,&num2); printf(“number one is %x ”,num1); printf(“number two is %x ”,num2);
รับและแสดงค่าตัวแปร num1,num2โดยตัว แปร num1 และ num2 มีชนิดเป็ นเลขจานวน เต็มในการรับค่าจากคียบ์ อร์ ด format code ที่ ใช้คือ %d แต่ในการแสดงผลในรู ปเลขฐาน 16 format code ที่ใช้คือ %o
float number = 100;
แสดงค่าตัวแปร number โดยตัวแปร number
printf(“number is %e ”,number); int num1, num2; scanf(“%d %d”,&num1,&num2); printf(“number one is %x ”,num1); printf(“number two is %x ”,num2);
มีชนิดเป็ นเลขจานวนจริ งที่อยูใ่ นรู ปเลขยก กาลัง format code ที่ใช้คือ %e รับและแสดงค่าตัวแปร num1,num2โดยตัว แปร num1 และ num2 มีชนิดเป็ นเลขจานวน เต็มในการรับค่าจากคียบ์ อร์ ด format code ที่ ใช้คือ %d แต่ในการแสดงผลในรู ปเลขฐาน 16 format code ที่ใช้คือ %o
2. รหัสควบคุม (Control Code) การเขียนโปรแกรมภาษาซี บางครั้งมีความจาเป็ นต้องใช้รหัสควบคุมเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตาม ต้องการโดยรหัสควบคุมที่ใช้โดยทัว่ ไปปรากฏดังในตารางที่ 2.3 ตารางที่ 2.3 แสดงรหัสควบคุม (Control Code) รหัส \n \t \r \b
การใช้ งาน ขึ้นต้นบรรทัดใหม่ เลื่อนเคอร์เซอร์ 1 แท็บ ให้เคอร์ เซอร์ เลื่อนไปอยูต่ าแหน่งแรกของบรรทัด ลบอักขระหน้าเคอร์เซอร์ 1 ตัว
การติดตั้ง Turbo C++
ขั้นที่ 1 ก่อนอื่นต้องดาวน์โหลดโปรแกรม TC เป็ นลาดับแรก แล้วเริ่ มต้นโดยเปิ ดโปรแกรม Windows Explorerและคลิ๊กที่แถบ URL ด้านบน พิมพ์คาว่า http://www.sptc.ac.th/ nprotech/articles/C0001/TC.zip ดังภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 2.1ภาพแสดงขั้นตอนการดาวน์โหลดโปรแกรม Turbo C++โดยเปิ ดผ่านโปรแกรม Windows Explorer
ขั้นที่ 2 เมื่อพิมพ์ URL ครบแล้วให้กด Enter หนึ่งครั้งเพื่อ Download File TC.zip ซึ่ งจะปรากฏผลลัพธ์ดงั นี้ - ถ้าท่านต้องการเปิ ดไฟล์ คลิ๊ก Open - ถ้าต้องการบันทึกไฟล์ คลิ๊ก Save - ถ้าต้องการยกเลิกการดาวน์โหลดคลิ๊ก Cancel - ถ้าต้องการข้อมูลมากกว่านี้ คลิ๊ก More Info
ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงการดาวน์โหลด Download File TC.zip ขั้นที่ 3 เลือก Save และคลิ๊กลูกศรชี้ลง ตลอดจนเลือก ไดวร์ C: ดังภาพต่อไปนี้ ต้องการให้เลือกไดเร็ คทอรี่ เพื่อเก็บไฟล์เอาไว้ที่ C:\ เพราะว่าภายในโปรแกรมดังกล่าวนี้ ได้ทาการตั้ง ค่าพารามิเตอร์ ต่าง ๆ เกี่ยวกับการคอมไพล์ไว้ในไดเร็ คทอรี่ C:\TC ดังนั้น หากขยายไฟล์ผดิ ตาแหน่ง จะทา ให้ไม่สามารถคอมไพล์ได้ วิธีแก้ทาได้โดยการปรับเปลี่ยนที่เมนู Directory ให้ตรงกับไดเร็ คทอรี่ ที่ได้เก็บ ไฟล์ไว้ยงั ตาแหน่งที่ตอ้ งการ แต่ถา้ ทาตามวิธีที่แนะนานั้นไม่ตอ้ งทาการปรับแก้ค่าตัวเลือกใด ๆ
ภาพที่ 2.3 ภาพแสดงเก็บไฟล์โปรแกรม Turbo C++ที่ได้จากการดาวน์โหลดไว้ที่ C:\ ขั้นที่ 4 เริ่ มต้นการดาวน์โหลดไฟล์ ขณะที่ใช้งานอยูบ่ นระบบ LAN จึงสามารถโหลดไฟล์ดงั กล่าวด้วย ความเร็ วสู งกว่าการโหลดด้วย Modem ธรรมดา สังเกตที่อตั ราการ Transfer rate ที่ 31.0KB/Sec หากเป็ นโม เดมธรรมดาจะอยูท่ ี่ประมาณ 5 KB/Sec
ภาพที่ 2.3 การดาวน์โหลดไฟล์ ขณะที่ใช้งานอยูบ่ นระบบ LAN ขั้นที่ 5 เมื่อดาวน์โหลดเสร็ จแล้วคลาย Zip ไฟล์ TC.zip ที่โหลดมาแล้วด้วยการคลิ๊กขวา ดังภาพต่อไปนี้ สังเกตว่าไฟล์ที่โหลดมานั้นมีชื่อว่า TC.zip และต้องการให้ Save เอาไว้ที่ไดรว์ C:\ และคลาย Zip ออกไปไว้ ที่โฟล์เดอร์ C:\TC
ภาพที่ 2.4การคลาย Zip ไฟล์ TC.zip ขั้นที่ 6 ดับเบิ้ลคลิ๊กโฟลเดอร์ C:\TC ไฟล์ที่คลาย Zip เรี ยบร้อยแล้วจะเก็บไว้ที่โฟล์เดอร์ C:\TC และภายใน ไดเร็ คทอรี่ ดงั กล่าวจะประกอบด้วยโฟล์เดอร์ C:\TC\INCLUDE และ C:\TC\LIB ภายในโฟล์เดอร์ ทั้งสองจะเก็บไฟล์ ที่มีนามสกุล .H และ .LIB เอาไว้ในโฟล์เดอร์ ท้ งั สองตามลาดับ ขั้นที่ 7 เรี ยกให้ Turbo C ทางานโดยคลิ๊กที่ไฟล์ TC ดังภาพต่อไปนี้ ซึ่ งสามารถคลิ๊ก Start > Run และพิมพ์คา ว่า C:\TC\TC.EXE จากนั้นกดแป้ น Enter ซึ่ งจะให้ผลเช่นเดียวกับขั้นตอนนี้ กล่าวคือเรี ยกให้ Turbo C ทางานและพร้อมจะเขียนโปรแกรมและคอมไพล์ต่อไป
ภาพที่ 2.4การเรี ยกใช้ Turbo C ขั้นที่ 8 เมื่อไฟล์ TC.EXE ถูกเรี ยกให้ทางานจะปรากฏผลลัพธ์ดงั นี้ ภาพด้านล่างนี้เป็ นหน้าจอของ โปรแกรม TC ซึ่งถ้าต้องการให้โปรแกรมแสดงผลเต็มจอ สามารถกดแป้ น Alt + Enter (กด Alt ค้างไว้ แล้ว ตามด้วย Enter หนึ่งครั้ง) จะเป็ นการสลับไปมาระหว่างโหมด Full Screen กับโหมด Windows และใน ทานองเดียวกัน ถ้าต้องการสลับกลับมายังโหมดวินโดวส์ธรรมดา ให้กด Alt + Enter ได้เช่นเดียวกัน
ภาพที่ 2.5ภาพหน้าจอของโปรแกรม TC ขั้นที่ 9 พิมพ์โค๊ดภาษาซี ในขั้นตอนนี้จะต้องกด Esc ซ้ า ๆ สองถึงสามครั้งเพราะว่า กาลังอยูใ่ นสถานะการ เลือกเมนู การกด Esc จะทาให้กลับมายังจอภาพที่ใช้ในการแก้ไขโค๊ด จากนั้นจึงเริ่ มต้นพิมพ์โค๊ด ตาม ตัวอย่างด้านล่างนี้
ภาพที่ 2.6การพิมพ์โค๊ดภาษาซี ขั้นที่ 10 ทาการคอมไพล์ดว้ ยการกด Alt + R แล้วกด Enter หนึ่งครั้ง ขั้นตอนนี้อาจจะกด Ctrl + F9 จะ ปรากฏผลเช่นเดียวกัน ในขั้นตอนนี้ยงั ไม่ได้บนั ทึกไฟล์เป็ น Helloworld.c ดังนั้นผลลัพธ์ที่ได้จะสร้างไฟล์ ชื่อว่า noname.exe ซึ่ งก็จะให้ผลลัพธ์อนั เดียวกัน ขั้นตอนต่อไปจะแสดงการบันทึกแฟ้ มข้อมูล
ภาพที่ 2.7ภาพแสดงขั้นตอนการคอมไพล์ ขั้นที่ 11 ออกจากโปรแกรม TC โดยการกด Alt + Q หรื อกด Alt + F และเลื่อนลูกศรมาที่ Quit ให้ผล เช่นเดียวกัน เนื่องจากยังไม่ได้บนั ทึกแฟ้ มข้อมูล เมื่อทาการออกจากโปรแกรม คอมไพล์ เลอร์จะถามว่า ต้องการบันทึกซอร์สโค๊ดหรื อไม่ ให้ตอบตามความต้องการของเราในกรณี ตวั อย่างนี้จะบันทึกไฟล์เก็บไว้ใน ชื่อ helloworld.c
ภาพที่ 2.8 ภาพแสดงขั้นตอนออกจากโปรแกรม TC ขั้นที่ 12 ก่อนที่จะจบการทางานโปรแกรมภาษาจะถามเกี่ยวกับการบันทึกไฟล์ ถ้าต้องการจะบันทึกให้ กด Yes และสาหรับผูเ้ ริ่ มต้นจะบันทึกไฟล์ชื่อ helloworld.c ดังนั้นกด Y เพื่อบอกคอมไพล์เลอร์ วา่ เรา ต้องการบันทึกซอรส์ โค๊ด
ภาพที่ 2.9 ภาพแสดงการบันทึกไฟล์
ขั้นที่ 13 ตั้งชื่อไฟล์วา่ helloworld.c จากนั้นกดแป้ น Enter หนึ่งครั้ง เนื่องจาก TurboCสนับสนุนการตั้งชื่อ ไฟล์ระบบเก่า คือตั้งได้ 8ตัว และนามสกุล 3 ตัว ดังนั้น จะเกิดการตัดคาอัตโนมัติให้เหลือเพียงคา ว่า hellowor.c แทนที่จะเป็ น helloworld.c
ภาพที่ 2.10 การตั้งชื่อไฟล์ ขั้นที่ 14 ในขั้นตอนที่ผา่ นมาได้คอมไพล์โค๊ดภาษาซี เสร็ จแล้วต่อไปต้องการรันโค๊ดใน DOS Prompt ขอให้ เลือก Start > Runในขั้นตอนนี้สามารถคลิ๊ก Start > Run และพิมพ์คาว่า C:\TC\noname.exe ซึ่งจะให้ผลเร็ ว และจะปิ ดวินโดวส์ไปอย่างรวดเร็ ว ดังนั้นจึงควรจะออกไปที่ DOS Prompt ด้วยการพิมพ์คาสั่ง Start > Run และพิมพ์ CMD ซึ่ งคาสั่ง CMD จะมีสาหรับวินโดวส์ NT และ 2000 และ XP เท่านั้น ไม่สามารถใช้ คาสั่ง CMD ในวินโดวส์ที่ต่ากว่าที่กล่าวมาได้ ดังนั้นถ้าเป็ นระบบปฏิบตั ิการตัวเก่า ท่านต้องเปลี่ยนมาพิมพ์ คาว่า Command เต็ม ๆ แทนคาว่า CMD
ภาพที่ 2.11 ภาพแสดงการรันโค๊ดใน DOS Prompt ขั้นที่ 15 พิมพ์คาสั่ง cmd เพื่อไปยัง Dos Prompt ดังที่ได้กล่าวไปแล้วคาสั่ง CMD ใช้ได้เฉพาะใน NT, 2000 และ XP เท่านั้น ถ้าจะให้ทางานได้ในระบบปฏิบตั ิการรุ่ นเก่าต้องพิมพ์คาว่า Command แทน CMD
ภาพที่ 2.12 ภาพแสดงการพิมพ์คาสั่ง cmd ในระบบปฏิบตั ิการรุ่ นเก่า ขั้นที่ 16 ผลลัพธ์ที่ได้จากคาสั่ง CMD จะเป็ นโปรแกรมที่บอกให้ระบบปฏิบตั ิการรับคาสั่ง DOS เหมือนใน ระบบเดิม เพียงแต่วา่ CMDต่างจาก Command ตรงที่สามารถใช้ลูกเล่นต่าง ๆ ได้ เช่นใช้คาสัง่ cd \win* ซึ่ง
จะหมายถึงเข้าไปในไดเร็ คทอรี่ อะไรก็ได้ที่ข้ ึนต้นด้วยคาว่า win เป็ นต้น ซึ่ งเป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ ของ Command ให้ดีข้ ึนนัน่ เอง นอกจากนั้น CMD ยังสามารถ ใช้เมาส์ลากตัวอักษรบริ เวณที่เราต้องการแล้ว คลิ๊กขวา เพื่อคัดลอกข้อความนั้นเอาไปยังคลิปบอร์ ด ได้อีกด้วย หรื อถ้า คลิ๊กลงบนพื้นที่ Console ก็จะ หมายถึงการวางข้อความที่อยูใ่ นคลิปบอร์ ดลงในพื้นที่ Console เป็ นต้น รายละเอียดส่ วนนี้ศึกษาได้จากคู่มือ การใช้งานคาสั่ง CMD ในOnline Help ของวินโดวส์
ภาพที่ 2.13 ภาพแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากคาสั่ง CMD ขั้นที่ 17 พิมพ์คาสั่ง cd\tc เพื่อเข้าไปยังไดเร็ คทอรี่ TC จากนั้นพิมพ์คา ว่า HELLOWOR.EXE เนื่องจาก TC สนับสนุนการตั้งชื่อไฟล์เพียง 8 ตัว ดังนั้นจะมีชื่อ เพียง HELLOWOR เท่านั้น ผลลัพธ์ของการ Execute จะให้ผลคือคาว่า Hello World ปรากฏบนจอภาพ คอมพิวเตอร
ภาพที่ 2.14 ภาพแสดงพิมพ์คาสั่ง cd\tc เพื่อเข้าไปยังไดเร็ คทอรี่ TC ขั้นที่ 18 ผลลัพธ์ของการคอมไพล์จะปรากฏคาว่า Hello World ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ ขอให้ ท่าน ผูอ้ ่านระลึกไว้วา่ ขณะนี้เรากาลังเรี ยนรู ้ตวั อย่างการคอมไพล์ดว้ ย TurboCในหัวข้อต่อไปเราจะศึกษาเกี่ยวกับ การคอมไพล์ภาษาซีดว้ ยไมโครซอฟต์วชิ วลซีพลัส (Visual การใช้ งานโปรกรมภาษาซี ก่อนอื่นเราต้องรู ้จกั การใช้งานโปรแกรมภาษาซี เสี ยก่อน ซึ่ งในเนื้อหาของเอกสารการเรี ยนการ สอนฉบับนี้ใช้โปรแกรมภาษาซี รุ่น Turbo C++ Version 3.0 ในการเขียนโปรแกรมในการใช้งานจาเป็ น จะต้องมีตวั แปลภาษาจึงจะสามารถใช้งานโปรแกรมได้เมื่อติดตั้งโปรแกรมภาษาซี เรี ยบร้อยแล้วหากต้องการ ใช้งานโปรแกรมภาษาซี มีวธิ ี การเข้าสู่ โปรแกรม 2 วิธีได้แก่ วิธีที่ 1 เข้าสู่ โปรแกรมตามขั้นตอน วิธีที่ 2 เข้าสู่ โปรแกรมโดยการสร้างช็อตคัท วิธีการเข้าสู่ โปรแกรมแต่ละวิธีอธิ บายขั้นตอนได้ดงั ต่อไปนี้ วิธีที่ 1เข้าสู่ โปรแกรมตามขั้นตอนมีข้ นั ตอนการปฏิบตั ิดงั นี้
1. คลิก start 2. คลิก Programs 3. คลิก Accessories 4. คลิก Command Prompt 5. พิมพ์ cd\ [กด enter] 6. พิมพ์cd\tc\bin [กด enter] 7. พิมพ์tc [กด enter] ขั้นตอนการปฏิบัติท้งั 7 ขั้นตอนแสดงได้ ดังภาพ ขั้นตอนที่ 1 คลิก start ตามหมายเลข 1
ภาพที่ 2.15 การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 1 โดยการคลิกปุ่ ม start ขั้นตอนที่ 2 คลิก Programs ตามหมายเลข 2
ภาพที่ 2.16การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 2 โดยการคลิก Programs ขั้นตอนที่ 3 คลิก Accessories ตามหมายเลข 3
ภาพที่ 2.17การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 3 โดยการคลิก Accessories ขั้นตอนที่ 4 คลิก Command Prompt ตามหมายเลข 4
ภาพที่ 2.18การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 4 โดยการคลิก Command Prompt ขั้นตอนที่ 5 พิมพ์ cd\ [กด enter] ตามหมายเลข 5
ภาพที่ 2.19การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 5 โดยการพิมพ์ cd\ [กด enter] ผลที่ได้จะปรากฏดังภาพ
ภาพที่ 2.20หน้าจอเมื่อผ่านขั้นตอนที่ 5 หลังจากพิมพ์ cd\ ขั้นตอนที่ 6 พิมพ์cd\tc\bin [กด enter] ตามหมายเลข 6
ภาพที่ 2.21การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 6 โดยการพิมพ์cd\tc\bin [กด enter] ผลที่ได้จะปรากฏดังภาพ
ภาพที่ 2.22หน้าจอเมื่อผ่านขั้นตอนที่ 6 หลังจากพิมพ์cd\tc\bin [กด enter] ขั้นตอนที่ 7 พิมพ์tc [กด enter] ตามหมายเลข 7
ภาพที่ 2.23การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ในขั้นตอนที่ 7 โดยการพิมพ์tc [กด enter] จะปรากฏหน้าจอโปรแกรม Code Editor ซึ่งเป็ นหน้าจอสาหรับเขียนโปรแกรม
ภาพที่ 2.24หน้าจอเมื่อผ่านขั้นตอนที่ 7 หลังจากพิมพ์tc [กด enter] วิธีที่ 2 เข้ าสู่ โปรแกรมโดยการสร้ างช็ อตคัทมีข้ นั ตอนการปฏิบัติดังนี้ 1.ที่หน้าจอ Desktop คลิกขวาของเมาส์ 2. คลิกNew 3. คลิก Shortcut 4. คลิก Browse 5. เลือกไฟล์ TC.EXE 6.คลิก Next
7. พิมพ์ชื่อ Shortcut 8. คลิก Finish ขั้นตอนการปฏิบัติท้งั 8 ขั้นตอนปรากฏตามภาพ ขั้นตอนที่ 1 ที่หน้าจอ Desktop คลิกขวาของเมาส์จะพบเมนูลดั
ภาพที่ 2.25การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ตามขั้นตอนที่ 1 โดยการคลิกขวาของเมาส์ที่หน้าจอ Desktop เพื่อใช้เมนูลดั ขั้นตอนที่ 2 คลิกNew
ภาพที่ 2.26การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ข้ นั ตอนที่ 2 โดยการคลิก New ขั้นตอนที่ 3 คลิก Shortcut
3
ภาพที่ 2.27การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ข้ นั ตอนที่ 3 โดยการคลิก Shortcut ขั้นตอนที่ 4 คลิก Browse ตามหมายเลข 4
4
ภาพที่ 2.28การเข้าสู่ โปรแกรมภาษาซี ข้ นั ตอนที่ 4 โดยการคลิก Browse ขั้นตอนที่ 5 เลือกแฟ้ มข้อมูล TC.EXE ตามหมายเลข 5
5
ภาพที่ 2.29หน้าจอเมื่อเลือกแฟ้ มข้อมูล TC.EXE ในการสร้างช็อตคัท ขั้นตอนที่ 6 คลิก Next ตามหมายเลข 6
6
ภาพที่ 2.30คลิก Next เพื่อทาการสร้างช็อตคัท ขั้นตอนที่ 7 พิมพ์ชื่อช็อตคัทตามหมายเลข 7
7
ภาพที่ 2.31หน้าจอเพื่อให้พิมพ์ชื่อของช็อตคัท ขั้นตอนที่ 8 คลิก Finish ตามหมายเลข 8
8
ภาพที่ 2.32คลิก Finish เมื่อจบการสร้างช็อตคัท ภาพของไอคอนที่ได้เมื่อจบขบวนการสร้างช็อตคัท
ภาพที่ 2.33ไอคอนที่ได้หลังจากการสร้างช็อตคัท เมื่อต้องการเข้าสู่ โปรแกรมแบบใช้ช็อตคัทให้ดบั เบิลคลิกที่ไอคอน Turbo C++ IDE ที่สร้างขึ้น จากนั้นจะพบหน้าจอโปรแกรมดังภาพที่ 1.21
ภาพที่ 2.34หน้าจอการเขียนโปรแกรม Turbo C++ จากหน้าจอการเขียนโปรแกรม Turbo C++ โครงสร้างหน้าจอโปรแกรมภาษาซีมีเมนูหลักให้ เลือกปฏิบตั ิ 10 เมนูดงั ปรากฏในตารางที่ 2.1
ตารางที่ 2.1 เมนูการเลือกปฏิบตั ิโปรแกรมภาษาซี - File
เป็ นเมนูใช้ในการสร้างไฟล์เปิ ดไฟล์บนั ทึกไฟล์เปลี่ยนไดเร็ กทอรี่ พิมพ์ ไฟล์และออกจากโปรแกรม Turbo C++ IDE - Edit เป็ นเมนูใช้ในการตัดคัดลอกปะยกเลิกทาซ้ าตลอดจนการแก้ไข โปรแกรมที่เขียนขึ้น - Search ใช้ในการค้นหาคาแทนที่ตลอดจนเลื่อนเคอร์ เซอร์ ไปยังตาแหน่ง บรรทัดที่ระบุ - Run ใช้ในการรันโปรแกรมที่เขียนขึ้น - Compile ใช้ในการแปลไฟล์ที่เขียนขึ้น (Source File) ให้เป็ นไฟล์ภาษาเครื่ อง (Object File) - Debug ใช้ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดของไฟล์ที่เขียนขึ้น - Project ใช้ในการเปิ ด Project ที่นามาใช้หรื อเกี่ยวข้องกับไฟล์ที่เขียนขึ้น - Option ใช้ในการกาหนด Include, Library, Output, Source Directories ตลอดจนรายละเอียดอื่นๆ - Windows ใช้ในการปรับขนาดการปิ ดเปิ ดหน้าต่างที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม - Help ใช้ในการขอความช่วยเหลือเช่นค้นหาตามหัวข้อเรื่ องที่ตอ้ งการค้นหา ตลอดจนขอความช่วยเหลือเรื่ องอื่นๆที่ผเู ้ ขียนโปรแกรมต้องการ
แบบฝึ กหัด คาชี้แจง ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ดว้ ยภาษาระดับสูง จะไม่สามารถสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ ตราบใด ที่ยงั ไม่มีการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ อง เนื่องจากภาษาระดับสูง เป็ นภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษา มนุษย์ ทาให้นกั เขียนโปรแกรมมีความเข้าใจและเขียนโปรแกรมได้ง่าย แต่คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจคาสัง่ ได้ จึงต้องทาการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ อง
2. อธิ บายข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมภาษาแบบอินเทอร์ พรี เตอร์ และคอมไพเลอร์ อินเทอร์พรี เตอร์ (Interpreter) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละคาสัง่ ตัวแปลภาษาระดับสูงชนิด นี้ หากแปลแล้วพบข้อผิดพลาดของคาสัง่ จะหยุดการแปลทันที จนกว่านักเขียนโปรแกรมจะแก้ไขข้อผิดพลาด จึง จะทาการแปลคาสัง่ ต่อไป คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละโปรแกรม หากแปล แล้วพบ ข้อผิดพลาดของคาสัง่ จะแสดงข้อผิดพลาดทั้งหมดออกมา ซึ่ งนักเขียนโปรแกรมจะต้อง ทาการแก้ไขคาสัง่ เหล่านั้นเสี ยก่อน จึงจะทาการแปลคาสัง่ ใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ มีความรวดเร็ วกว่าการแปลด้วยอิน เทอร์พรี เตอร์
3. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ(Operating System: OS) เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุม การทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้ผใู ้ ช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ตัวอย่างของ โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ได้แก่ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็ นต้น โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) เป็ นโปรแกรมที่นกั เขียนโปรแกรม ทาการเขียนขึ้นเพื่อ ใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง มักจะพัฒนาด้วยภาษาระดับสูง ทาให้ง่ายต่อการทา ความเข้าใจ เช่น โปรแกรมระบบ บัญชี โปรแกรมระบบสิ นค้าคงคลังโปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล โปรแกรมระบบงานคลินิก โปรแกรมระบบงานสารบรรณ เป็ นต้น
4. การเข้าสู่ โปรแรมภาษาซี มีกี่วธิ ี อะไรบ้าง จงอธิ บาย วิธีการเข้าสู่โปรแกรม 2 วิธี ได้แก่ วิธีที่ 1 เข้าสู่โปรแกรมตามขั้นตอนการปฏิบตั ิดงั นี้ 1. คลิก start
2. คลิก Programs 3. คลิก Accessories 4. คลิก Command Prompt 5. พิมพ์ cd\ [กด enter] 6. พิมพ์ cd\tc\bin [กด enter] 7. พิมพ์ tc [กด enter] วิธีที่ 2 เข้าสู่โปรแกรมโดยการสร้างช็อตคัท 1. ที่หน้าจอ Desktop คลิกขวาของเมาส์ 2. คลิก New 3. คลิก Shortcut 4. คลิก Browse 5. เลือกไฟล์ TC.EXE 6. คลิก Next 7. พิมพ์ชื่อ Shortcut 8. คลิก Finish
5. จงยกตัวอย่างการเลือกรหัสรู ปแบบในการเขียนโปรแกรมภาษาซี ให้เหมาะกับการใช้งานใดมา ตัวอย่าง %d %u %f %c %s %e %o %x
รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มหรื อเลขฐานสิ บ รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มบวก รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยม รับหรื อแสดงค่าอักขระ 1 ตัว รับหรื อแสดงค่าข้อความ รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยมในรู ปแบบเลขยกกาลัง รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานแปด รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานสิ บหก
6. รหัสควบคุม มีความจาเป็ นอย่างไร ความจาเป็ นต้องใช้รหัสควบคุม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดยรหัสควบคุมที่ใช้โดยทัว่ ไป
5
7. รหัสควบคุมมีอะไรบ้าง ใช้งานอย่างไร รหัส \n ใช้ในการขึ้นต้นบรรทัดใหม่ รหัส \t ใช้ในการเลื่อนเคอร์เซอร์ 1 แท็บ รหัส \r ใช้ให้ เคอร์เซอร์เลื่อนไปอยูต่ าแหน่งแรกของบรรทัด รหัส \b ใช้ลบอักขระหน้าเคอร์เซอร์ 1 ตัว
8. การเข้าสู่ โปรแกรมมีข้ นั ตอนอะไรบ้าง คลิก start Programs Shortcut Command Prompt cd\ [กด enter] cd\tc\bin [กด enter] tc [กด enter]
9. รหัสรู ปแบบใดแสดงค่าตัวแปรได้ถูกต้อง float number = 50; printf(“number is %e ”,number); } แสดงค่าตัวแปร salary โดยตัวแปร salary มีชนิดเป็ น float ดังนั้น format code ที่ใช้คือ %f
10. กล่าวถึงข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ โปรแกรมประยุกต์เหมาะสาหรับ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็ นต้น