การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิบัติการเท็กช์โหมด1

Page 1

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิ บัติการเท็กช์ โหมด (ภาษาซี ) รหัสวิชา 2201-2411

แบบฝึ กหัด

หน่วยที่ 2

หน่ วยที่ 2

คำชี้แจง ตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงอธิบายความหมายของโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ดว้ ยภาษาระดับสูง จะไม่สามารถสัง่ ให้คอมพิวเตอร์ทางาน ได้ ตราบใดที่ยงั ไม่มีการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ อง เนื่องจากภาษาระดับสูง เป็ น ภาษาที่ใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ทาให้นกั เขียนโปรแกรมมีความเข้าใจและเขียนโปรแกรมได้ง่าย แต่ คอมพิวเตอร์ไม่สามารถเข้าใจคาสัง่ ได้ จึงต้องทาการแปลภาษาระดับสูงเหล่านั้นให้เป็ นภาษาเครื่ อง

2. อธิ บายข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมภาษาแบบอินเทอร์ พรี เตอร์ และคอมไพเลอร์ อินเทอร์พรี เตอร์ (Interpreter) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละคาสัง่ ตัวแปลภาษา ระดับสูงชนิดนี้ หากแปลแล้วพบข้อผิดพลาดของคาสัง่ จะหยุดการแปลทันที จนกว่านักเขียนโปรแกรม จะแก้ไขข้อผิดพลาด จึงจะทาการแปลคาสัง่ ต่อไป คอมไพเลอร์ (Compiler) เป็ นตัวแปลภาษาระดับสูงที่แปลทีละโปรแกรม หากแปลแล้วพบ ข้อผิดพลาดของคาสัง่ จะแสดงข้อผิดพลาดทั้งหมดออกมา ซึ่ งนักเขียนโปรแกรมจะต้อง ทาการแก้ไข คาสัง่ เหล่านั้นเสี ยก่อน จึงจะทาการแปลคาสัง่ ใหม่ ทาให้การแปลด้วยคอมไพเลอร์ มีความรวดเร็ วกว่า การแปลด้วยอินเทอร์พรี เตอร์

3. บอกข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ(Operating System: OS) เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการควบคุม การทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ ทาให้ผใู ้ ช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ ตัวอย่าง ของโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ ได้แก่ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็ นต้น โปรแกรมประยุกต์ (Application Software) เป็ นโปรแกรมที่นกั เขียนโปรแกรม ทาการ เขียนขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะด้านใดด้านหนึ่ง มักจะพัฒนาด้วยภาษาระดับสูง ทาให้ง่ายต่อการทา ความเข้าใจ เช่น โปรแกรมระบบบัญชีโปรแกรมระบบสิ นค้าคงคลังโปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล โปรแกรมระบบงานคลินิก โปรแกรมระบบงานสารบรรณ เป็ นต้น


การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิ บัติการเท็กช์ โหมด (ภาษาซี ) รหัสวิชา 2201-2411

หน่วยที่ 2

4. การเข้าสู่ โปรแรมภาษาซี มีกี่วธิ ี อะไรบ้าง จงอธิ บาย วิธีการเข้าสู่โปรแกรม 2 วิธี ได้แก่ วิธีที่ 1 เข้าสู่โปรแกรมตามขั้นตอนการปฏิบตั ิดงั นี้ 1. คลิก start 2. คลิก Programs 3. คลิก Accessories 4. คลิก Command Prompt 5. พิมพ์ cd\ [กด enter] 6. พิมพ์ cd\tc\bin [กด enter] 7. พิมพ์ tc [กด enter] วิธีที่ 2 เข้าสู่โปรแกรมโดยการสร้างช็อตคัท 1. ที่หน้าจอ Desktop คลิกขวาของเมาส์ 2. คลิก New 3. คลิก Shortcut 4. คลิก Browse 5. เลือกไฟล์ TC.EXE 6. คลิก Next 7. พิมพ์ชื่อ Shortcut 8. คลิก Finish

5. จงยกตัวอย่างการเลือกรหัสรู ปแบบในการเขียนโปรแกรมภาษาซี ให้เหมาะกับการใช้งานใด มา 5 ตัวอย่าง %d %u %f %c %s %e %o

รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มหรื อเลขฐานสิ บ รับหรื อแสดงค่าเลขจานวนเต็มบวก รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยม รับหรื อแสดงค่าอักขระ 1 ตัว รับหรื อแสดงค่าข้อความ รับหรื อแสดงค่าเลขทศนิยมในรู ปแบบเลขยกกาลัง รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานแปด


%x

รับหรื อแสดงค่าในรู ปแบบเลขฐานสิ บหก

การเขียนโปรแกรมบนระบบปฏิ บัติการเท็กช์ โหมด (ภาษาซี ) รหัสวิชา 2201-2411

หน่วยที่ 2

6. รหัสควบคุม มีความจาเป็ นอย่างไร ความจาเป็ นต้องใช้รหัสควบคุม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการ โดยรหัสควบคุมที่ใช้โดยทัว่ ไป

7. รหัสควบคุมมีอะไรบ้าง ใช้งานอย่างไร รหัส \n ใช้ในการขึ้นต้นบรรทัดใหม่ รหัส \t ใช้ในการเลื่อนเคอร์เซอร์ 1 แท็บ รหัส \r ใช้ให้เคอร์เซอร์เลื่อนไปอยูต่ าแหน่งแรกของบรรทัด รหัส \b ใช้ลบอักขระหน้าเคอร์เซอร์ 1 ตัว

8. การเข้าสู่ โปรแกรมมีข้ นั ตอนอะไรบ้าง คลิก start  Programs  Shortcut Command Prompt cd\ [กด enter] cd\tc\bin [กด enter] tc [กด enter] 9. รหัสรู ปแบบใดแสดงค่าตัวแปรได้ถูกต้อง float number = 50; printf(“number is %e ”,number); } แสดงค่าตัวแปร salary โดยตัวแปร salary มีชนิด เป็ น float ดังนั้น format code ที่ใช้คือ %f

10. กล่าวถึงข้อแตกต่างระหว่างโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการและโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการใช้ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ โปรแกรมประยุกต์เหมาะ สาหรับ Unix, Linux, Microsoft Windows เป็ นต้น



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.