Daybeds Vol.166

Page 1








INTERVIEW text: นวภัทร ดัสดุลย์

photo: ฉัตรชัย เจริญพุฒ, Courtesy of Stu/D/O Architects

STU/D/O ARCHITECTS

อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ และชนาสิต ชลศึกษ์ สองสถาปนิกรุ่นใหม่ผู้สร้างคุณค่าให้สถาปัตยกรรมที่กลมกลืนไปกับบริบท

98 | daybedsmag.com


ไม่บอ่ ยครัง้ นักทีจ่ ะเห็นสถาปัตยกรรมกับต้นไม้กลมกลืน เป็นส่วนหนึ่งของกันและกันได้อย่างน่าทึ่ง โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในเมืองใหญ่อย่างกรุงเทพมหานครฯ การจะ ลงทุนก่อสร้างอาคารประเภทพาณิชยกรรมขึ้นมาสัก หลังหนึง่ ย่อมมีปจั จัยเรื่องความคุม้ ค่าเข้ามาเกีย่ วข้อง อยู่เสมอ ทว่าบนพื้นฐานของความเป็นไปได้ ในการ ประกอบธุรกิจทีก่ อ่ เกิดทัง้ ในแง่ประโยชน์และภาพลักษณ์ ของอาคารพาณิชย์แล้วก็นบั ว่า ‘Naiipa Art Complex’ คือหนึง่ ในต้นแบบของงานสถาปัตยกรรมทีผ่ ปู้ ระกอบ การเล็ ง เห็ น ถึ ง คุ ณ ค่ า ของต้ น ไม้ และกล้ า ที่ จ ะให้ สถาปนิกออกแบบตัวอาคารโอบกอดต้นไม้เอาไว้ อย่างแนบแน่น

น� ำ ความประทั บ ใจมุ ่ ง ตรงมาหาค� ำ ตอบกั บ ที ม สร้างสรรค์โครงการ ‘Naiipa Art Complex’ น�ำโดย คุ ณ โอ๋ อภิ ช าติ ศรีโ รจนภิ ญ โญ และคุ ณ ดิ ว ชนาสิต ชลศึกษ์ สองสถาปนิกเพื่อนร่วมรุ่นคณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ผูร้ ว่ มก่อตัง้ สตูดโิ อออกแบบสถาปัตยกรรมทีใ่ ช้อกั ษร ภาษาอังกฤษตัวแรกของชื่อเล่น คือ (D) และ (O) มาตั้ง ชื่อบริษัทในนาม ‘Stu/D/O Architects’ เพื่อคุยถึง แนวคิ ดในการออกแบบโครงการดั งกล่ า ว และถื อ โอกาสนี้สนทนากับพวกเขาถึงผลงานการออกแบบ ล่าสุดอื่นๆ ที่น่าสนใจ ตลอดจนเรื่องราวในองค์กร ขนาดเล็กทีม่ อี อฟฟิศสเปซเท่ๆ ให้ทมี สถาปนิกได้ออก ไอเดียสร้างสรรค์ผลงานกันตั้งแต่วันก่อตั้งมาจนถึง ทัง้ หมดทัง้ มวลทีก่ ล่าวมานัน้ ได้จุดชนวนให้ Daybeds ปัจจุบัน คุณโอ๋-อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ (คนขวา) จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ระหว่างปี 1998-2003) รุ่นเดียวกับคุณดิว-ชนาสิต ชลศึกษ์ (คนซ้าย) นอกจากนี้ทั้งคู่ยังเคยผ่านประสบการณ์การท�ำงานที่ Architects 49 มาด้วยกัน (ระหว่างปี 2003-2007) ก่อนที่คุณโอ๋จะไปศึกษาต่อด้าน Architecture and Urbanism ที่ MIT (Massachusetts Institute of Technology) ในรัฐ แมสซาชูเซตส์, สหรัฐอเมริกา (ระหว่างปี 2007-2009) ส่วนคุณดิวไปศึกษาต่อด้าน Sustainable Environmental Design ที่ AA (Architectural Association School of Architecture) กรุงลอนดอน, สหราชอาณาจักร (ระหว่างปี 2008-2010) ในปี 2010 ทัง้ คูก่ ลับมาร่วมก่อตัง้ บริษทั สถาปนิก Stu/D/O Architects

daybedsmag.com | 99


01

DBS: การมีพาร์ตเนอร์ชว่ ยให้การท�ำงานง่ายขึ้นใช่ หรือไม่ CHANASIT: ใช่ครับ APICHART: ออฟฟิศเรานอกจากความคิดของเรา สองคน เราก็จะรับฟังความคิดเห็นของน้องๆ ในทีมทุก คนเหมือนกัน DBS: คุณมองว่าการเปิดบริษัทของตัวเองจ�ำเป็น ต้องมีประสบการณ์มากน้อยแค่ ไหน การไปเรียนต่อ ก่ อ นมี ค วามส� ำ คั ญ และให้ ป ระสบการณ์ กั บ คุ ณ อย่างไร CHANASIT: ผมว่าประสบการณ์เป็นเรื่องที่มีความ ส� ำ คั ญ มากพอสมควร คื อ อย่ า งน้ อ ยมั น น่ า จะได้ เรียนรู้ทุก Process ของการออกแบบตั้งแต่เริ่มต้น Conceptual Design หรือการก่อสร้างจริงค่อนข้าง ส�ำคัญมากเลย ไม่อย่างนัน้ มันไม่รวู่ า่ สิ่งทีเ่ ราคิดทีเ่ รา เขียนมาในกระดาษกับตอนสร้างจริงมันเกิดปัญหา อะไรบ้ า ง ผมเลยคิ ด ว่ า อย่ า งน้ อ ยมั น ต้ อ งผ่ า น DAYBEDS: อยากให้เล่าย้อนไปถึงเรื่องราวที่เป็น เวลามาดู เ รื่ อ งของการบริ ห ารจั ด การเยอะหน่ อ ย Process ทุกอย่างให้ครบถ้วนก่อนแล้วการที่มาเปิด จุดเริ่มต้นของ Stu/D/O Architects มีความเป็นมา ส่ ว นเรื่ อ งของปั ญ หามั น ก็ มี อ ยู ่ แ ล้ ว แต่ ก็ เ ป็ น เรื่ อ ง ออฟฟิศมันจะลดปัญหาจากการทีเ่ ราขาดประสบการณ์ ในจุดนั้นๆ ได้มากพอสมควรครับ อย่างไร ปกติไม่มีเรื่องอะไรที่เป็นเรื่องใหญ่ครับ APICHART: จริงๆ แล้วเราก็เป็นเพื่อนกลุ่มเดียวกัน ที่จุฬาฯ นี่ละครับ พอไปท�ำงานที่ A49 ก็อยู่คนละ สตูดิโอ A49 เขาจะแบ่งออกเป็นสตูดิโอที่ออกแบบ อาคารสาธารณะ อาคารขนาดใหญ่ กับสตูดโิ อทีอ่ อกแบบ บ้านซึง่ ก็จะเน้นกันคนละทาง คุณดิวเขาก็จะอยูส่ ตูดโิ อ บ้านจะเน้นที่ดีเทลความละเอียด ส่วนของผมก็จะเน้น อะไรทีม่ นั ดูเป็นสเกลใหญ่หน่อยต่างกันออกไป เคยได้ ท�ำงานร่วมกันอยู่บ้างก็รู้สึกว่าเข้าขากันได้ดี เลยคุย กันไว้วา่ ในอนาคตถ้าเป็นไปได้กอ็ าจจะลองท�ำออฟฟิศ ร่วมกัน หลังจากนั้นผมก็ออกไปเรียนต่อ คุณดิวก็ ออกไปเรียนต่อพอดีแล้วเราก็กลับมาในระยะเวลาใกล้ เคียงกัน ก็เลยได้มโี อกาสมาท�ำออฟฟิศด้วยกันจริงๆ DBS: แบ่งหน้าที่การท�ำงานอย่างไร ปัญหาที่พบใน การเปิดบริษัทเป็นของตัวเองในช่วงแรกๆ คืออะไร APICHART: จริงๆ แล้วต้องเรียกว่าผมกับคุณดิว เป็นเหมือนคนที่มองอะไรคนละทางกัน แต่ก็มีหลาย อย่างที่เป็นเหมือนจุดสมดุลซึ่งกันและกัน อย่างเช่น คุณดิวจะเป็นคนที่ลงรายละเอียดมากกว่า มีความ สนใจในเรื่องของดีไซน์ที่ลึกกว่า ของผมก็อาจจะแบ่ง 100 | daybedsmag.com

DBS: มีการถกเถียง (เพื่องานที่ดีที่สุด) กันบ้าง APICHART: การเรียนต่ออาจไม่ได้ส�ำคัญขนาดนั้น ประสบการณ์ส�ำคัญกว่า อาชีพสถาปนิกเป็นอาชีพ ไหม ที่ ต ้ อ งเจอคนทุ ก กลุ ่ ม ทุ ก ประเภทตั้ ง แต่ ผู้ รั บ เหมา CHANASIT: ถ้าถามว่าเถียงกันเรื่องไหนก็น่าจะ คนงานก่ อ สร้ า ง มาจนถึ ง คนที่ อ ยู ่ ใ นระดั บ การ เป็ น เรื่ อ งของดี ไ ซน์ นี่ แ หละครั บ เราพยายามมอง จัดการเท่าๆ กัน เช่น วิศวกร หรือระดับดีไซเนอร์ ปัญหาให้ขาด มองให้เห็นปัญหาก่อนว่าดีไซน์มันจะ เหมื อ นกั น หรือ เจ้ า ของก็ มี ตั้ ง แต่ เ ป็ น เจ้ า ของบ้ า น เกิดอะไรขึ้นบ้าง เหมือนเป็นการถกเถียงกันเพื่อให้ เจ้าของโครงการขนาดใหญ่ คือเราจะต้องปรับตัวและ ได้ Solution ที่ดีที่สุดจะเป็นลักษณะนั้นมากกว่า ก็จะต้องมีทักษะด้านการสื่อสารสูงมากๆ แต่การ เรียนต่อก็ช่วยให้เราออกไปเจอโลกที่กว้างกว่าเดิม APICHART: บางครั้ ง การที่ ผ มเคยอยู ่ ส ตู ดิ โ อ ออกแบบอาคารสูงและอาคารสาธารณะขนาดใหญ่มา DBS: การสื่อสารที่ว่าหมายถึงการพูดโน้มน้าว ผมมักจะมองอะไรที่ค่อนข้าง Realistic มากๆ ส่วน ด้วยใช่ ไหม คุณดิวเขาก็จะมีความรู้สึกว่าดีไซน์มันยังไม่ลึก ยังไม่ ครอบคลุมพอ ส�ำหรับเขารายละเอียดมันต้องเยอะ APICHART: การโน้มน้าวเป็นการสมดุลทุกอย่างครับ กว่านี้ มันต้องลงลึกกว่านี้ ซึ่งผมมองว่ามันเป็นเรื่อง เจ้ า ของจะเอาแบบหนึ่ ง ผู ้ รั บ เหมาจะเอาแบบหนึ่ ง ที่ดีนะ มันท�ำให้เราขยายขอบเขตที่เราตั้งเอาไว้จนได้ สถาปนิกจริงๆ แล้วท�ำเกือบทุกอย่าง ก็อย่างทีร่ กู้ นั ว่า งานที่มีคุณภาพมากกว่าที่เราคาดคิด มีคุณค่าทาง สถาปัตยกรรมเป็นศาสตร์ที่ต้องสวยด้วย ต้องดีและ สถาปัตยกรรมมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกันตัวผมเองก็ เหมาะสมกับการใช้งานด้วย ในขณะทีค่ นท�ำงานศิลปะ จะบอกว่าอะไรที่มันเป็นไปไม่ได้จริงๆ ก็จะบอกว่ามัน โดยทัว่ ไปก็จะสวยอย่างเดียว ในทางวิศวกรรมก็อาจจะ เป็นไปไม่ได้ ส่วนอะไรที่คุณดิวรู้สึกว่ามันยังไปได้อีก ดีอย่างเดียว แต่สถาปนิกจะมีความซับซ้อนในอีกระดับ ซึง่ เป็นสิ่งทีย่ ากมากแต่กด็ ทู า้ ทายและน่าสนใจครับ เขาก็จะบอกว่ามันควรจะต้องไปได้อีก


02

DBS: วัฒนธรรมองค์กรของ Stu/D/O Architects APICHART: จริง ๆ แล้ ว มี Desktop ที่ เ ป็ น คอมพิว เตอร์ อ ยู ่ แ ค่ 3 เครื่อ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ เ ป็ น CHANASIT: มีวัฒนธรรมองค์กรอย่างไรลองหันไป คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปกันหมด โต๊ะที่ออฟฟิศเป็น ดูด้านหลังครับ (ชนาสิตชี้ ไปที่บรรดาลูกทีมบางส่วน Communal Table ใครอยากจะนัง่ ตรงไหนก็นงั่ ได้ ใคร ทีก่ ำ� ลังนัง่ ท�ำงานกับพื้นแล้วยิ้ม) ก็คอ่ นข้างสบายๆ นะ อยากจะตัดโมเดลที่พื้นก็มาตัด ถ้าเกิดว่าจ�ำเป็นหรือ ครับ แต่ว่าเราอยากให้มันเป็นความสบายที่อยู่ในกฎ รู้สึกว่าอยากไปนั่งท�ำงานข้างนอกบ้างก็ ไปได้ ระเบียบ คือเราตั้งกฎระเบียบของออฟฟิศไว้ค่อนข้าง ชัดเจน แล้วเราก็ ให้น้องๆ เขารับผิดชอบในงานใน CHANASIT: เราท�ำงานกันแบบพี่ๆ น้องๆ อบอุ่นๆ หน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ผมคิดว่างานที่มันเกี่ยวกับ อยากให้น้องๆ สนุกกับการท�ำงานครับ การดีไซน์หรือ Creativity บางทีมันไปบังคับมากไม่ได้ เช่น ต้องนั่งท�ำงานอยู่ที่โต๊ะตลอดเวลาบางทีมันก็ตัน APICHART: การท�ำงานทุกโปรเจ็กต์จะเริ่มจากการ บางที เ ขาต้ อ งการที่ จ ะเปลี่ ย นบรรยากาศในการ คุยกันก่อน เซตทีมขึ้นมาเพื่อ Brainstorm กันหลายๆ ท�ำงาน รีเฟรชไอเดียของเขา ผมว่าอันนี้ส�ำคัญมาก คน เพื่อหาไอเดียที่น่าสนใจและดีที่สุด จนสุดท้ายพอ เพราะฉะนัน้ ก็เลยคุยกับคุณโอ๋วา่ อยากให้ออฟฟิศเรา ถึงช่วงพัฒนาแบบก็จะเหลือดีไซเนอร์สักคนสองคนที่ มันสบายๆ เน้นไปที่ Creativity มีกฎระเบียบที่จะไม่ ประจ�ำโปรเจ็กต์นั้นๆ ท�ำให้ระบบของการท�ำงานเสีย 03

DBS: สิ่งที่เกิดในปัจจุบัน Stu/D/O Architects เติบโตและเป็นทีร่ จู้ กั มากขึ้นนัน้ เป็นไปตามปณิธานที่ พวกคุณตั้งไว้มากน้อยแค่ ไหน APICHART: รู้สึกดีใจครับส�ำหรับออฟฟิศที่เปิดมา ประมาณ 5 ปี มีได้รางวัลสถาปนิกยอดเยี่ยม พอปีที่ ผ่านมาก็พึ่งได้เหรียญทอง เพราะว่าสิ่งที่เราตั้งใจท�ำ ไว้ สิ่งทีเ่ ราทุม่ เทกับมันมามีผลเป็นทีย่ อมรับ กรรมการ ก็ชอบ ต่างประเทศก็ชอบ ลูกค้าก็ชอบ รู้สึกมีก�ำลังใจ ที่จะสร้างผลงานดีๆ ต่อไป จริงๆ แล้วทุกโปรเจ็กต์ สถาปนิกเป็นอาชีพอาชีพหนึ่งที่สามารถออกแบบ อาคารให้ลูกค้าแฮปปี้แล้ว สร้างได้ ใช้งานได้ หรือไม่ก็ ออกแบบโปรเจ็กต์ที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรมเป็น สิ่งทีเ่ ราภูมใิ จด้วยก็ ได้ ซึง่ ทุกโปรเจ็กต์เราจะดันมาทาง ลักษณะหลังโดยตลอด กระทั่งบางโปรเจ็กต์ที่มันควร จะ Commercial มากๆ เราก็จะยังพยายามใส่คุณค่า ทางสถาปัตยกรรมเข้าไป โดยคนที่ ไม่ยอมปล่อยให้ ผ่านก็จะเป็นคุณดิวเสียเป็นส่วนใหญ่ เขาจะเป็นคนที่ รู้สึกว่าโปรเจ็กต์ออฟฟิศเรามันต้องดีกว่านี้ เขาก็จะ ดันอยูต่ ลอดซึง่ มันก็ทำ� ให้งานของเรามันจะดีขึ้นเรื่อยๆ

01-03 I ‘Naiipa Art Complex’ หรือ ‘ในป่า’ อาคารส�ำนักงานภายใต้ การบริหารงานของ บริษัท จีริศ46 จ�ำกัด ที่ยังคงเก็บรักษา ไม้ยืนต้นอายุกว่า 30 ปีเอาไว้ โดยให้ Stu/D/O Architects ออกแบบอาคารให้หลบหลีกอยู่ระหว่างต้นไม้ โดยค�ำนึงถึงผลกระทบต่อต้นไม้ ให้น้อยที่สุด ซึ่งในป่าเป็น อาคารที่ได้รับรางวัลผลงานสถาปัตยกรรมดีเด่น ของ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจ�ำ ปี 2559 - รางวัลสถาปัตยกรรมที่สมควรเผยแพร่ (Citation Awards)

daybedsmag.com | 101



SERPENTINE PAVILION 2016

รูดซิปงานสถาปัตยกรรมของสถาปนิกชาวเดนมาร์กที่กำ� ลังเป็นที่จับตามอง ณ เวลานี้

daybedsmag.com | 085



“I read; I travel; I become” PHOTOGRAPHER: PIAMPHON CHANPIAM STYLIST: KANTIKA K.

ชุดว่ายน้ำ� จาก Coralist Swimwear










KEEMALA โอบกอดขุนเขา เคล้าเสียงธรรมชาติ เมื่ อ พู ด ถึ ง ภู เ ก็ ต ส่ ว นมากจะนึ ก ถึ ง หาดทรายสวย และทะเลสีใส แต่ขณะเดียวกันภูเขาก็เป็นอีกหนึ่งสิ่ง ที่ควรค่าแก่การพาตัวเองไปสัมผัสเช่นเดียวกัน จะ ดี แ ค่ ไ หนถ้ า เปลี่ ย นจากเมื อ งที่ โ อมล้ อ มเราไว้ เป็นการถูกโอบกอดในผืนไม้ ใหญ่อันแสนร่มรื่นและ ร่ ม เย็ น ภายใน ‘กี ม าลา’ โรงแรมสไตล์ รี ส อร์ ท ที่ ชักชวนให้รู้สึกเสมือนโดนน�้ำทะเลซัดสาดเข้าฝั่งจน มาพบกับหมู่บ้านเล็กๆ กลางหุบเขา ด้ ว ยคอนเซ็ ป ต์ คื อ วิ ถี ชี วิ ต และความเป็ น หมู ่ บ ้ า น ซึ่ ง ออกแบบโดยค�ำนึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม และความ สมบูรณ์ของพืชพรรณ ภาพภูเขาสูงสลับกับทิวไม้ ที่ ส อดแทรกด้ ว ยบ้ า นพั ก ตั้ ง สลั บ ลดหลั่ น กั น ตาม ระดับความสูงชันของหุบเขา สถาปนิกและอินทีเรียร์ ออกแบบโดยดึงเอาแรงบันดาลใจจากผู้คนพื้นเมือง 148 | daybedsmag.com

ชนเผ่ า และความหลากหลายทางวั ฒ นธรรม ประเพณี จนถือก�ำเนิดเป็นบ้านพัก 4 รูปแบบ จาก กลุ่มคน 4 กลุ่มในจินตนาการ ตามลักษณะวิถีชีวิต ของคนแต่ละกลุ่ม Clay Pool Cottage กลุ ่ ม ชนเผ่ า ปฐพี ผู ้ ค นที่ ท�ำงานเกี่ยวกับดิน อย่างเกษตรกร ชาวนา คนสวน ช่างไม้ ชาวประมง เน้นการออกแบบในรูปแบบบ้าน ดินที่หลังคามุงจาก อยู่ใกล้ชิดกับแหล่งน�้ำ เน้นการ ใช้เฟอร์นิเจอร์ ไม้และวัสดุจากธรรชาติ Tent Pool Cottage วิ ล ล่ า แบบบ้ า นคนจร ของเหล่ า พ่ อ ค้ า นักส�ำรวจ นักผจญภัย ที่ ไม่เคยหยุดนิ่งกับที่ อพยพ ย้ายแหล่งที่พักอาศัยเรื่อยไป วัสดุที่ใช้จึงเน้นการใช้ สิ่ ง ทอและผื น ผ้ า ใบเพื่ อ ความสะดวกในการย้ า ย ถิ่นฐาน


Tree Pool House บ้านของชาวเวหา ชอบใกล้ชิด กั บ ท้ อ งฟ้ า จึ ง สร้ า งบ้ า นยกสู ง จากผื น ดิ น ที่ เ ป็ น ลั ก ษณะของกลุ ่ ม นั ก สร้ า ง สถาปนิ ก หรื อ หมอ เฟอร์ นิ เ จอร์ ที่ ใ ช้ เ ป็ น แบบแขวนและลอยตั ว ได้ และ หลังสุดท้าย Bird Nest Pool Villa บ้านรังนกของ คนชั้นสูงที่ชอบความหรูหรา ลุ่มหลงการเคลื่อนไหว ของดวงดาวแบบศิลปิน นักดนตรี เน้นเฟอร์นิเจอร์ ที่มีสีสันดูมีระดับ

และที่พลาดไม่ได้กับการรับการบ�ำบัด ผ่อนคลาย Location: 10/88 หมู่ 6 ต.กมลา อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต 83150 ความเมื่อยล้าภายใน Mala Spa ด้วยศาสตร์การ โทร. 0-7635-8777 หรือ www.keemala.com บ�ำบัดหลากหลายโปรแกรมจากทั้งไทย ธิเบต และ วัฒนธรรมอื่นๆ ผ่านการใช้ผลิตภัณฑ์ออร์แกนิก จากธรรมชาติ นอกจากนี้ ยั ง มี กิ จ กรรมอื่ น ๆ อี ก มากมายที่จะมาช่วยเติมเต็มช่วงเวลาพักผ่อนของ คุณให้น่าหลงใหลมากกว่าที่เคย

การออกแบบทั้ ง หมดเน้ น ย�้ ำ ความเป็ น ธรรมชาติ จากภายในสู ่ ภ ายนอก ครบครั น ด้ ว ยสิ่ ง อ�ำนวย ความสะดวก ห้องพักทุกหลังมีสระว่ายน�้ำส่วนตัว ให้ลงแหวกว่ายได้อย่างเป็นส่วนตัว พร้อมระเบียง พั ก ผ่ อ นให้ ท อดมองดาว มองฟ้ า มองผื น ป่ า และ ทั ศ นี ย ภาพโดยรอบ ท่ า มกลางกลิ่ น อายดิ น และ เสียงบรรเลงจากธรรมชาติ ส่วนด้านอาหาร Mala Restaurant พร้ อ มเสริ ฟ อาหารไทยพื้ น บ้ า น อาหารนานาชาติ และอาหารเพื่อสุขภาพ ชูความ เป็น Wellness ไว้ ได้อย่างครบครัน

daybedsmag.com | 149



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.