Vol.167 AUGUST 2016
CELEBRITY STYLE INTERIOR | ARCHITECTURE | DESIGN | FASHION | PEOPLE | LIFESTYLE
CONTENTS 024 032
042
032
Model : Jomsuda Chirathivat Chongvisal Photographer : Mr.P Photographer Asst : Peenut Panich Stylist : Akkaphol Ruthaiyanont Stylist Asst: Tidawan Suttichai Makeup & Hairstyle : Thipavee Phoochai เครื่องแต่งกาย Kingkan Fl.2 EmQuartier Tel: 095-614-4245 เครื่องประดับ Ravipa Fl.M Paragon Tel: 090-919-9295 Pandora Fl.2 Central Chidlom Tel: 02-655-7177 ขอขอบคุณสถานที่ HARNN HERITAGE SPA
DAYSPIRATION
DAYLIVERY 010
PUBLISHING EDITORIAL
012
LIVING ROOM
014
DAYBEDS VIP
016
DAY WATCH
020
022
032
LETRATURE
WARM-HEARTED LEADERSHIP
TAKE A SEAT
LIVING SPACE
024
040
ARRIVAL GATE
STORAGE
VACATION IN YOUR HOME
026
042
HOT SHOP
MR.CLAY CERAMICS/ URBAAN HOME/ THE NO CAPTION ROOM
LIVING SPACE
030
052
LIFESTYLE SANCTUARY
LIVING SPACE
BACK ISSUE
BEFORE SUNSET
DAYBED'S
062
THE SELECTED SEAT
STORAGE
PERFECT COMBINATION
052
064
STYLE INSPIRED
MOMENT IN TIME/ SHADES OF COOL
ทีฆายุกา โหตุ มหาราชินี ด วยเกล าด วยกระหม อม ขอเดชะ ข าพระพ�ทธเจ า บร�ษัท เอ็กซ ตร�ม แอดเวอร ไทซิ�ง จำกัด ผู ผลิตนิตยสารเดย เบดส (Daybeds Magazine)
ARRIVAL GATE text: พีรยา เชื้อสุนทรโสภณ photo: ภาพประชาสัมพันธ์
01
01. MERIDIANI SOFA Motif พร้อมน�ำเสนอคุณภาพการออกแบบชั้นเยี่ยม ด้วยเฟอร์นิเจอร์หุ้มเบาะจาก Meridiani สร้างสรรค์ ความคลาสสิกผ่านกรรมวิธีดั้งเดิมให้ลุคดูร่วมสมัย มากขึ้น ซึ่งโซฟาตัวนี้ท�ำโครงสร้างให้ดูเรียบง่ายด้วย การใช้ผ้าบุสีขาวหุ้มทั้งตัว เพื่อสะท้อนแนวคิดที่ว่า ความหรูหราแท้จริงนัน้ เป็นความเรียบง่ายแต่ประณีต
02. LESLIE DINING LITTLE ARMCHAIR เก้าอี้อาร์มแชร์ จาก Minotti ที่เหมาะส�ำหรับการ นั่ งรั บประทานอาหารในบรรยากาศสบายๆ ด้ ว ย โครงสร้างที่สะท้อนเอกลักษณ์งานดีไซน์เฉพาะตัว ผ่านการออกแบบ และเลือกใช้วสั ดุผา้ หรือหนัง ทีผ่ า่ น การตัดเย็บอย่างดีนำ� มาหุม้ ทัง้ ตัว หรือเลือกส่วนของ เก้าอี้ที่ต้องการได้อย่างมีรสนิยม 02
03
03. AS-SHELL ARMCHAIR SB Design Square ส่งอาร์มแชร์แบรนด์ Heritage Home สร้างสรรค์ความนุ่มสบายผ่านรูปทรงที่ ได้ แรงบันดาลใจจากเปลือกหอย สร้างความสมบูรณ์ของ การพักผ่อนด้วยผ้าบุหมุ้ โครงสร้างทัง้ ตัว พร้อมเบาะ นุ่มสบายรองรับทุกสรีระ ให้ดีเทลที่สนุกสนานด้วย พนักพิงลอนเปลือกหอยที่สวยงาม 04
04. TAKO Mobella สร้ า งสรรค์ ค วามตื่ น จาตื่ น ใจด้ ว ยชุ ด เฟอร์นิเจอร์คอลเลกชั่นขนมไทย ซึ่งตะโก้น�ำเสนอ รายละเอียดรูปทรงผ่านการพับกระทงใบเตย โดยน�ำ มาสานให้เป็นแพตเทิรน์ เดียวกัน ส่วนเบาะขนเป็ดหนา นุม่ ล้อกันกับความขาวเนียนของเนือ้ กะทิ ทีใ่ ห้ทงั้ ความ สวยงามและฟังก์ชันการใช้งาน
024 | daybedsmag.com
05
05. LOFT LIGHTING สร้างมิติความสว่างไสวด้วยโคมไฟระย้าจาก L&E น�ำเสนอความงามอย่างมีสไตล์ด้วยลุคดิบเท่แบบ สไตล์ลอฟต์ ใช้โครงสีเงินของสเตนเลสสร้างจุดเด่นให้ โคมไฟ LED มีลูกเล่นที่น่าสนใจ หยอกล้อกับสายไฟ ทีห่ อ้ ยระย้าระเพดานห้อง ในรูปแบบทีเ่ รียบเท่ได้ตามใจ ต้องการ 06
06. DEDAR WALLPAPER น�ำสีสันและลวดลายวอลล์เปเปอร์เปลี่ยนบ้านคุณให้ สนุกสนานยิ่งขึ้น Motif คัดสรรแบรนด์คุณภาพ น�ำ Dedar จากอิตาลี ซึ่งเป็นผู้น�ำด้านการผลิตผ้าเพื่อ การท�ำเครือ่ งเรือนอันเก่าแก่และมีคุณภาพได้อย่าง หลากหลาย จนได้รับความไว้วางใจจากแอร์เมสให้ ผลิตคอลเลกชั่นผ้าบุและวอลล์เปเปอร์ที่เต็มเปี่ยมไป ด้วยจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ 07. BLENDER เครื่องปัน่ รุน่ EBR9804S จาก Electrolux ให้การท�ำ อาหารเป็นเรื่องง่ายๆ ในดีไซน์เรียบหรู ด้วยโทนสี สเตนเลสสุดคลาสสิก ตัวโถปั่นใช้พลาสติกเกรด พรีเมียม ปลอดสาร BPA ที่มีความใสเหมือนแก้วแต่ ทนทานต่อการแตก ส่วนมือท�ำจากโครเมียม สามารถ ปรับความแรงได้ 3 ระดับ ทั้งเมนูร้อนและเย็น เพื่อการ รังสรรค์เมนูหลากหลายได้ดั่งใจ
07
08
08. CLICK ชุดเฟอร์นิเจอร์เพื่อชีวิตคอนโดฯ ใหม่ล่าสุดจาก Index LivingMall ปฏิวตั งิ านออกแบบให้เข้ากับไลฟ์สไตล์ชวี ิตคน เมืองในพื้นทีจ่ ำ� กัด ด้วยชุดเตียงนอนขนาด 5 ฟุต ทีห่ วั เตียง แบบสูงออกแบบให้รองรับการเก็บข้าวของได้ เช่นเดียวกับ ฐานเตียงนอนยกสูง ทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นเป็นโต๊ะ ลิ้นชัก และบันได เข้าเซตกันกับตู้เสื้อผ้าและตู้วางทีวีที่ออกแบบ พิเศษให้ ใช้งานได้สะดวกสบาย daybedsmag.com | 025
LIVING SPACE text: นวภัทร ดัสดุลย์ photo: ฉัตรชัย เจริญพุฒ
BEFORE SUNSET ก่อนตะวันลับขอบฟ้าที่บ้านตากอากาศหลังใหม่ของริก้า ดีล่า
052 | daybedsmag.com
01 I จากลานจอดรถด้านหลังอาคาร มีช่องทางเดินผ่านคอร์ต เล็กๆ ซึ่งปลูกต้นสาละลังกาและจิกน�้ำที่ก�ำลังรอวันเติบใหญ่ เข้าสู่โหมดส่วนตัวบนชั้น 2 ของบ้าน 02 I พื้นที่ใช้สอยบนชั้น 2 แบ่งออกเป็นสองฝั่ง คือฝั่งมุม ห้องรับแขกที่เชื่อมกับแพนทรีและส่วนรับประทานอาหาร และฝั่งห้องนอนใหญ่ของคุณริก้า 03 I บริเวณด้านหลังประตูทางเข้าที่เป็นระแนงเหล็ก ต้อนรับผู้ มาเยือนด้วยตู้กระจกที่คุณริก้าตั้งใจซื้อมาเก็บไว้แต่ปรากฏ ว่าเข้ากันได้ดีกับมุมเล็กๆ จึงน�ำมาตั้งไว้เพื่อเป็นมุมแขวน ของใช้ เช่น หมวก กุญแจ และโคมไฟกระดาษตั้งโต๊ะรูปดาว รุ่น STRÅLA จาก Ikea ซึ่งคุณริก้าบอกว่าเป็นบุคลิกของ เจ้าของบ้านที่จะต้องมีพร็อพกระจุกกระจิกตั้งอยู่ในทุกส่วน ของบ้าน
01
02
อาคารคอนกรีตสีขรึมเทาทีว่ างตัวขนานไปกับเส้นตัด ขอบฟ้าเหนือผืนดินทีล่ าดเอียงลึกลงไปทางทะเล พื้นที่ อยู่อาศัยที่ค่อยๆ ลดหลั่นระดับชั้นลงไปตามลักษณะ ภูมทิ ศั น์ โดยเปิดหน้าอาคารออกสูช่ ายหาดตะวันรอน อันเงียบสงบ แม้ภาพรวมของสถาปัตยกรรมโมเดิรน์ ที่ ภายนอกดูเรียบง่าย ไม่หวือหวา ทว่าความน่าสนใจที่ ซ่อนอยู่ภายในบ้านตากอากาศหลังใหม่ของคุณริก้า ดีลา่ หลังนี้ คือการจับคูส่ สี นั และการผสานเฟอร์นเิ จอร์ ของตกแต่ง ภาพเขียน ตลอดจนงานประติมากรรมชิ้น โปรด ซึ่งสะท้อนความเป็นเธอลงไปในทุกพื้นที่อย่าง ชัดเจน
daybedsmag.com | 053 03
054 | daybedsmag.com
คุณริก้าเล่าย้อนไปถึงความประทับใจในวันวานของ เมืองตากอากาศชายฝัง่ ทะเลตะวันออกว่า “สมัยเด็กๆ เราจะชอบมาเที่ยวพัทยาแล้วก็สัตหีบ สัก 16-17 ปี ที่แล้ว” พร้อมเล่าต่อถึงเมื่อครั้งที่เธอได้มาพบที่ดิน เปล่าผืนนี้ครั้งแรกเมื่อเกือบ 10 ปีก่อน ซึ่งภายหลัง ตัดสินใจอย่างถี่ถ้วนประจวบเหมาะกับความพร้อม เรื่องงบประมาณ เธอจึงไม่ลังเลที่จะตัดสินใจซื้อที่ดิน เปล่าผืนนี้จากเจ้าของโครงการมาครอบครองเป็น กรรมสิทธิ์ในที่สุด คุณริก้าให้เหตุผลว่า “ชอบมาก เพราะที่แบบนี้หาไม่ได้แล้ว ขับรถ (จากกรุงเทพฯ) มา ชัว่ โมงนิดๆ คุณก็ ได้อยูใ่ นอีกโลกหนึง่ แต่ขบั ไป 20 นาที ก็คือเมือง (พัทยา) คุณสามารถซื้อทุกอย่างได้ จะซื้อ ไวน์ จะซื้อชีส มีทุกสิ่ง แล้วมันเป็น Sunset ริก้าไม่ ชอบ Sunrise แล้วถ้าคุณดูหาดทรายก็เป็นทรายขาว มันแบบครบทุกอย่าง ดีมาก”
05
04
ในส่วนของการออกแบบและการตกแต่งภายใน คุณริกา้ ได้สถาปนิกทีเ่ ธอไว้ ใจและเป็นคนออกแบบบ้านหลังแรก ของเธอมาก่อนอย่าง คุณวิฑูรย์ คุณาลังการ จาก บริษัท ไอ เอ ดับบลิว จ�ำกัด มาช่วยเนรมิตบ้านตาก อากาศบนที่ดินผืนในสุดของโครงการบ้านอายุกว่า 50 ปี โดยที่เธอบอกว่าเอกลักษณ์ของบ้านแต่ละหลัง ของเธอจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อม แต่ถึง กระนัน้ ยังคงมีกลิ่นอายทีส่ ะท้อนความเป็นเธอซุกซ่อน อยู่ภายในเสมอ “เราพยายามท�ำให้อารมณ์ของบ้าน แต่ละหลังไม่เหมือนกัน บ้านที่ปากช่องมันจะเป็นป่าก็ เป็นอีกอารมณ์หนึ่ง แต่ถ้าพูดถึงการตกแต่งมันคือ กลิ่นอายของเรา พอดูบ้านหลังอื่นคุณก็จะรู้ว่านี่มัน คือกลิ่นอายของเรา จากที่เคยชอบโซฟาแบบนี้มัน ก็จะไม่เป็นแบบอื่น มันไม่ได้แตกต่างกันขนาดนั้น แต่ แน่นอนคือบ้านทีอ่ ยูใ่ นเขากับบ้านทีอ่ ยูร่ ิมทะเลมันก็จะ แตกต่างในการก่อสร้าง” 04 I ส่วนรับประทานอาหารจัดวางโต๊ะไม้ท็อปหิน Soprano Table ออกแบบโดย Silvia Prevedello และเก้าอี้ June Chair ออกแบบโดย Emmanuel Babled และ Strip Chairs ออกแบบโดย Massimo Castagna ทั้งหมดจากแบรนด์ Henge 05 I บริเวณห้องรับแขกประดับประดาด้วยของสะสม ของตกแต่ง และภาพเขียนไว้ ตามมุมต่างๆ เน้นการจัดวางโซฟาบุหนังแบบโมดูลาร์คละสีสันแม็ตช์กับ หมอนอิงทั้งแบบลายทางสลับหมอนอิงสีสด ที่ช่วยเติมความโดดเด่นให้มุม พักผ่อนไม่รู้สึกจ�ำเจ คู่กับโต๊ะกาแฟ Nomad Table ออกแบบโดย Massimo Castagna จากแบรนด์ Henge และโคมไฟตั้งพื้นสีส้ม Taac ออกแบบโดย Umberto Asnago จากแบรนด์ Penta พร้อมขึงราวผ้าม่านโอบล้อมพื้นที่ ไว้ ส�ำหรับเลื่อนเปิดรับแสงหรือเลื่อนปิดเพื่อสร้างความเป็นส่วนตัวในการ พักผ่อน
daybedsmag.com | 055
06 06 I สระว่ายจรดแนวอาคารด้านหน้า ออกแบบโดยลดระดับต�่ำว่าห้องนั่งเล่น ลงมาเล็กน้อยตามลักษณะของภูมิทัศน์ ที่ลาดเอียง ฝั่งติดกับห้องรับแขกสร้าง โครงหลังคาระแนงต่อออกมาคลุมพื้นที่ บางส่วนเพื่อป้องกันความร้อนลงมา ปะทะในเวลากลางวัน ฝั่งหนึ่งเปิดโล่งเพื่อ รับวิวทะเลโดยไร้สิ่งบดบังสายตา
08
056 | daybedsmag.com 07
07-08 I ห้องนอนใหญ่มหี อ้ งน�ำ้ ในตัวของคุณริกา้ เปลี่ยนโหมดอารมณ์ ไปจากห้องรับแขก ที่เน้นสีสัน ภายในเน้นโทนสีขาวด�ำจาก ลวดลายแพตเทิร์นของพื้นและผนัง ซึ่ง คุณริก้าบอกว่าเธอไม่ชอบบ้านสีขาว ล้วนเพราะดูนา่ เบือ่ และดูไม่มคี าเเร็กเตอร์ แต่จะชอบสีขาวด�ำและการเล่นสีสันที่ สนุกสนานมากกว่า 09-11 I พื้นที่ส่วนกลางของหนุ่มๆ ชั้นล่างจัดเป็น มุมนั่งเล่นที่ผสานเฟอร์นิเจอร์ ใหม่และ เก่า งานศิลปะ และงานประติมากรรมเข้า ด้วยกัน อาทิ เตียงสไตล์วินเทจ โต๊ะพูล ตู้ยาแผนโบราณ และบาร์เบอร์บาร์หรือ โต๊ะบาร์จากร้านตัดผมชายที่ ได้จาก อเมริกา ที่คุณริก้าตั้งใจว่าจะท�ำเป็นบาร์ เครื่องดื่มในอนาคต
09
ในระหว่างนัน้ คุณริกา้ ได้พาเราเดินชมมุมต่างๆ ภายใน บ้าน โดยเริ่มตั้งแต่ประตูทางเข้าจากโรงจอดรถที่อยู่ ชั้นบนสุดของบ้านก้าวลงผ่านช่องทางเดินที่มีคอร์ต เล็กๆ มุง่ ตรงเข้าสูโ่ หมดส่วนตัวบนชัน้ 2 ของบ้านทีแ่ บ่ง พืน้ ที่ใช้สอยออกเป็นสองฝั่ง ได้แก่ ส่วนห้องรับแขกที่ เชือ่ มกับแพนทรีและโต๊ะรับประทานอาหารทางฝัง่ ซ้าย ของอาคาร และห้องนอนใหญ่ของคุณริก้าทางฝั่งขวา โดยมีสระว่ายน�ำ้ ด้านในสุดยืน่ ออกไปจรดแนวอาคาร ด้านหน้าในระดับที่ต�่ำว่าห้องนั่งเล่นลงมาเล็กน้อย จากนั้นคุณริก้าพาเราก้าวลงบันไดไปสู่ชั้นล่างของ อาคารที่เธอบอกว่า “เป็นโลกของลูก” นั่นคือพื้นที่ ส่วนตัวของ 2 ชายหนุ่ม แก็บบี้ ลูกชายคนโต และรีโอ ลูกชายคนเล็ก ซึง่ แยกห้องนอนออกเป็นสองฝัง่ โดย มี พืน้ ที่ส่วนกลางจัดเป็นมุมนั่งเล่นที่ผสานเฟอร์นิเจอร์ ใหม่และเก่า งานศิลปะ และงานประติมากรรมเข้าด้วย กันอย่างลงตัว
daybedsmag.com | 057
10
058 | daybedsmag.com
daybedsmag.com | 059
11
12
13
12-13 I ห้องนอนของแก็บบี้ลูกชายคนโต ได้คุณแม่มาช่วยประดับ รูปภาพและตกแต่งรายละเอียดต่างๆ ออกมาได้อย่าง น่าสนใจ 14-15 I ประตูกระจกบานใหญ่เปิดออกสู่สนามหญ้า โดยริม สนามหญ้าด้านนอกบริเวณจุดเชื่อมต่อกับชายหาดมี ระเบียงขนาดย่อม จัดเรียงเฟอร์นิเจอร์เอาต์ดอร์ ไว้เป็นมุม ส�ำหรับนั่งพักผ่อนและสังสรรค์ยามตะวันลับขอบฟ้า
060 | daybedsmag.com
14
ก่อนตะวันลับขอบฟ้าในบ้านตากอากาศส่วนตัว คุณริกา้ ได้ ให้ค�ำนิยามทิ้งท้ายถึงบ้านในมุมมองของเธอไว้ อย่างน่าสนใจ “เรามองว่าบ้านมันไม่จ�ำเป็นต้องสวย อย่างเดียว มันต้องใช้งานได้ บางบ้านเรามีความรู้สึก ว่าถ้าไม่ได้ตกแต่งเองมันก็ ไม่มีความเป็นตัวเอง ถ้ามี อินทีเรียร์ช่วยก็ดีแต่สุดท้ายมันก็ต้องเป็นเรา เพราะ เราจะรู้ว่าใช้ชีวิตอย่างไร จะนั่งตรงไหน” ซึ่งนิยามที่ว่า นี้เผยให้เห็นตัวตนชัดเจนเมื่อกวาดสายตาไปรอบๆ พื้น ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ไม่ ว ่ า จะเป็ น การจั บ คู ่ สี สั น ของ เฟอร์นเิ จอร์และของตกแต่งเข้าด้วยกัน การจัดวางงาน ศิลปะหลากแขนงทีแ่ ทรกตัวอยูใ่ นทุกมุมของบ้าน หรือ มุมพักผ่อนทีส่ ามารถใช้ชวี ิตวันหยุดไปกับหาดทราย สายลม และเสียงคลื่นได้อย่างอิสระ
“เรามองว่าบ้านมันไม่จ�ำเป็นต้องสวยอย่างเดียว มันต้องใช้งานได้ บางบ้าน เรามีความรูส้ กึ ว่าถ้าไม่ได้ตกแต่งเองมันก็ไม่มคี วามเป็นตัวเอง ถ้ามีอนิ ทีเรียร์ ช่วยก็ดีแต่สุดท้ายมันก็ต้องเป็นเรา เพราะเราจะรู้ว่าใช้ชีวิตอย่างไร จะนั่งตรง ไหน” ริก้า ดีล่า 15
daybedsmag.com | 061
COTTO, DESTINY IMPRESSION
หนึ่งความประทับใจ ในดี ไซน์เรียบแต่หรูหรา จากเจน-จอมสุดา ใน Daybeds ปกนี้ นอกจากเราจะได้สุดยอดงานดีไซน์ จาก 2 แบรนด์ดังระดับโลกอย่าง COTTO และ HARNN มาขึ้นปกแล้ว เรายังได้คุณเจน-จอมสุดา จิราธิวัฒน์ ทายาทรุ่นที่ 3 จากตระกูลจิราธิวัฒน์ ที่มาในอิริยาบถ สบายๆ กับกิจกรรมที่ คุณเจนชื่ น ชอบอย่ างการสปา ทรีตเมนท์ โดยวันนี้เราได้พบกับคุณเจน ที่ หาญ เฮอริ เทจ สปา กรุงเทพฯ ลักซ์ซัวรี่สปาแห่งใหม่ที่โดดเด่นด้าน การดีไซน์ที่ ได้เลือกผลิตภัณฑ์จากโกลเบิลแบรนด์อย่าง COTTO มาตกแต่ง เรามาฟังความประทับใจ ส�ำหรับ ความรู้สึกแรกที่คุณเจนได้มาสัมผัสที่นี่กัน “ปกติเป็นคนชอบเดินทางอยู่แล้ว จะต่างจังหวัดก็ดี หรือ ต่างประเทศก็ ได้ ซึ่งส่วนใหญ่ก็จะไปท�ำกิจกรรมหลายๆ อย่าง สมัยตอนเป็นวัยรุ่นก็จะค่อนข้างแอดเวนเจอร์ หน่อย พอโตมาก็จะเริ่มเข้าหาธรรมชาติมากยิ่งขึ้น จาก ที่เดินทางจะนึกถึงงานมาก่อนอันดับแรก พอออกจาก งาน มีน้องคนแรกก็เริ่มหันมาเที่ยวสถานที่ที่มันเฉพาะ มากยิ่งขึ้นอย่างการไปเที่ยวตามเมืองเล็กๆ ไปดูวิถีชีวิต คน, ดูเมือง, ดูโรงแรม เดินซื้อของแต่งบ้าน แล้วก็นวด จริงๆ ไม่แน่ใจว่าที่เลือกเจนเพราะแอบรู้มาหรือเปล่า ? ว่าเจนเป็นคนชอบนวดมาก (หัวเราะ)
076 | daybedsmag.com
ส�ำหรับเจนคือติดนวดมาตั้งแต่สมัยเรียนที่มาแตร์เดอี เลยค่ะ เริ่มจากคุณแม่เป็นคนชอบนวดก่อน แล้วเราคง เห็นก็เลยท�ำตาม ต่อเดือนอย่างต�่ำๆ ต้องมี 2-3 ครั้ง แล้วซึ่งเจนเป็นคนที่ค่อนข้างเพอร์เฟคชั่นนิสต์มากนะ ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องกิน เรื่องการแต่งบ้าน การเลือกใช้ของอะไร ก็แล้วแต่เราจะพิถีพิถันหมด อย่างเรื่องนวด ตอนเด็กๆ เราจะนวดแบบสวยๆ ไม่ปวดเมือ่ ยมาก นวดไปตามคุณแม่ ตามกระแสอะไรไป แต่พอโตมาหน่อย เราเริ่มปวดเมื่อย ไงคะ เริ่ม อยากให้ น วดเฉพาะจุด ซึ่ ง ถ้ า โชคดี เ จอ Therapist ที่มีฝีมือเราก็จะติด นอกจากนั้นก็เป็นเรื่อง ของบรรยากาศ ส�ำหรับ หาญ เฮอริเทจ สปา กรุงเทพฯ ครั้งแรกที่เดิน เข้ามาต้องบอกก่อนเลยว่ารู้สึกเป็นส่วนตัวมาก เป็น แสตนด์อะโลนที่อยู่บนความสูงแบบเห็นวิวก�ำลังดี ไม่ อยากจะเชื่อว่ากลางเมืองมีพื้นที่ที่เงียบสงบขนาดนี้ และ ภายในห้องนวด อย่างแรกที่สะดุดก่อนเลยคือการดีไซน์ ของสุขภัณฑ์ และก๊อกน�้ำ ยิ่งได้สัมผัสก็ยิ่งชอบ อย่าง ความโค้งมนของอ่างล้างมือ การดีไซน์ก๊อกน�้ำที่ดูเรียบ ง่ายแต่หรูหรา แค่นี้ก็เพอร์เฟคแล้ว ในส่วนของห้องอาบ น�้ำ อย่างตอนแรกที่เรามาไม่มีแสงเลย แต่ช่วงที่ถ่าย แสง พระอาทิตย์เขาสาดเข้ามาพอดี ท�ำให้เราเห็นรายละเอียด เล็กๆ อย่างเรื่องมิติแสงเงา บนกระเบื้อง ‘Pætchwork/ Collection ที่ทาง COTTO พิถีพิถัน ถ้าพูดถึงความ เป็นเพอร์เฟคชั่นนิสต์ของเจนที่มี เจนว่า ‘Pætchwork/ Collection สมบู ร ณ์ แ บบมากค่ ะ ถื อ เป็ น อี ก หนึ่ ง ประสบการณ์ ใหม่ที่ ไม่เคยได้จากที่ ไหน” และนี่ คือความประทั บ ใจของคุ ณ เจน-จอมสุ ดา จิร าธิ วั ฒ น์ ที่ มี ต ่ อ หาญ เฮอริเ ทจ สปา กรุ ง เทพฯ และ ‘ P æ t c h w o r k / C o l l e c t i o n ที่ อ อ ก แ บ บ โ ด ย Piero Lissoni จาก COTTO
daybedsmag.com | 077
GREEN SPACE text: นวภัทร ดัสดุลย์ photo: ฉัตรชัย เจริญพุฒ
078 | daybedsmag.com
LITTLE BY LITTLE
ต่อเติมไปทีละเล็กทีละน้อยกับสองมุมใหม่ ภายใต้บรรยากาศคุ้นเคยในบ้านสวนลิตเติ้ลทรี daybedsmag.com | 079
01
02
080 | daybedsmag.com
03
04
อีกครั้งที่ Daybeds กลับมาเยือน ‘ลิตเติ้ลทรี’ (Little Tree) บ้านสวนในฝันริมแม่น�้ำท่าจีน ที่ครอบครัว ริ้วบ�ำรุงได้ผสานความรักในต้นไม้กบั โมเดลธุรกิจทีน่ า่ เอาเยี่ยงอย่างรวมเข้าด้วยกันได้กลมเกลียว พร้อม เยี่ยมชม ‘Green Room’ และ ‘Emily's Tearoom’ สองมุมใหม่ที่บ่งบอกถึงธุรกิจและต้นไม้นานาพรรณ ซึ่งเติบโตอย่างควบคู่กันไป แน่นอนว่าถ้าน�ำไปเปรียบ กับภาพยนตร์สักเรื่องหนึ่งที่พวกเขาลงมือเขียนบท และก�ำกับการแสดงเองแล้วนั้น ต้นไม้ยังคงรับบท นักแสดงน�ำคอยด�ำเนินเรื่องราวโดยมีอาหาร ขนม และเครือ่ งดื่ม ตลอดจนงานดีไซน์ และการบริการเช่า สถานทีจ่ ดั งานเป็นนักแสดงสมทบทีช่ ว่ ยเติมเต็มความ เข้มข้นของภาพยนตร์เรื่องนี้ได้เป็นอย่างดี
เนือ่ งจากว่าพื้นทีส่ ว่ นใหญ่ภายในอาณาบริเวณบ้านสวน ลิตเติ้ลทรี เต็มไปด้วยแนวต้นไม้นอ้ ยใหญ่และมีลานโล่ง กว้ า งที่ ค่ อ นข้ า งจ� ำ กั ด คุ ณ วิทย์ ใ ห้ เหตุ ผ ลถึ งการ ต่อขยายอาคารเท่าทีจ่ ำ� เป็นต่อไปอย่างน่าสนใจอีกว่า “กลัวขยายไปจนมีความรูส้ กึ เหมือนร้านอาหาร ถึงไม่ อยากขยายเข้ามาในพื้นที่พักอาศัย” เขาจึงใช้วิธีการ ปรับโครงสร้างเก่าทีม่ แี ทนการสร้างอาคารขึ้นใหม่ คง เสน่ห์ ไว้เหมือนอย่างเช่นห้องเก็บของเดิมทีม่ าปรับปรุง เป็นอาคารเรือนกระจกหลังแรก กับ ‘Green Room’ อาคารเรือนกระจกหลังสองที่ใช้ห้องเรียนเก่ามาปรับ รูปด้านใหม่เช่นกัน ในขณะทีอ่ าคารเรือนกระจกหลังที่ สามอย่าง ‘Emily's Tearoom’ นั้นเป็นการต่อเติม พื้นที่ใหม่จากด้านหลังบ้านโดยที่ ไม่ได้ตัดต้นไม้แม้สัก กิ่ง เท่ากับว่าสองมุมใหม่ภายใต้บรรยากาศคุ้นเคย บนค�ำถามที่ว่าต้นไม้มีส่วนช่วยบ�ำบัดจิตใจคนได้จริง ทัง้ Green Room และ Emily's Tearoom ยังคงซุกซ่อน หรือไม่ “ต้นไม้ชว่ ยให้เราผ่อนคลาย ไม่วา่ จะเหนือ่ ย ท้อ ตัวเองอยู่ภายใต้อาณัติของนานาต้นไม้น้อยใหญ่ หรือเครียด ต้นไม้ท�ำให้เราสงบ” คุณวิทย์-ศิริวิทย์ เหมือนเช่นอาคารเก่าที่แล้วมา ริ้วบ�ำรุง นักจัดสวนมือทองให้ค�ำตอบกับเราแบบนั้น เพราะเขาเชื่อมั่นเสมอว่าต้นไม้ช่วยท�ำให้จิตใจสงบนิ่ง เริ่มต้นจาก Green Room ซึง่ เป็นอาคารเรือนกระจก ยิ่งขึ้นได้จริง แม้ด้วยเหตุผลส่วนหนึ่งจะเกิดจากความ หลังที่สอง ในวันธรรมดาจะไม่เปิดให้บริการในส่วน รักความผูกพันที่เขามีต่อต้นไม้เป็นทุ นเดิมอยู่แล้ว ของคาเฟ่ แต่จะเปิดเฉพาะในวันเสาร์และอาทิตย์เพื่อ ก็ตาม หากแต่เรื่องแบบนี้ใครไม่ลองมาพิสูจน์ด้วย รองรับจ�ำนวนลูกค้าที่เพิ่มมากขึ้นในแต่ละสัปดาห์ ตัวเองแล้วจะพบค�ำตอบที่ว่านั้นได้อย่างไร จริงไหม โดยพื้นที่ตรงนี้ในวันธรรมดานั้นจะถูกใช้เป็นสถานที่
ส�ำหรับการถ่ายพรีเว็ดดิ้ง หรือส�ำหรับงานจัดเลี้ยง ต่างๆ ในโอกาสพิเศษเท่านั้น ลักษณะของอาคาร เรือนกระจกหลังนี้เสมือนอาคารสองหลังที่เชื่อมต่อ ถึงกันเป็นอาคารเดียวเพื่อการใช้งานที่สะดวก เน้น ความโปร่งโล่งด้วยการก่อผนังอาคารและมุงหลังคา โปร่งแสง เพื่อที่จะสามารถปลูกต้นไม้ ไว้ภายในได้ พร้อมประดับประดาด้วยเฟอร์นิเจอร์ ไม้เก่า โต๊ะ และ เก้าอี้ กอปรกับพันธุ์ ไม้ตา่ งๆ เข้ามุมอย่างเป็นสัดส่วน บริเวณช่องว่างตรงกลางอาคารสร้างเป็นห้องล้างมือ 01 I การจัดวางต้นไม้คละขนาดและรูปฟอร์ม กอปรกับการประดับด้วยเฟอร์นิเจอร์ เก่า ช่วยเพิ่มความน่าสนใจให้มุมล้างมือ ในพื้นที่กะทัดรัดด้วยได้เป็นอย่างดี 02 I การเลือกเก็บรักษาแนวต้นไม้เดิมเอาไว้ ให้เป็นส่วนหนึ่งในอาคารแทนการตัด ล�ำต้นทิ้ง ช่วยสร้างคาแร็กเตอร์ ให้แก่ อาคารเรือนกระจกได้เป็นอย่างดี อีกทั้ง ยังสามารถเป็นจุดส�ำหรับแขวนหรือ ประดับต้นไม้เล็กๆ แซมเข้าไปได้อีกด้วย 03-04 I มุมใหม่ใช่ว่าจ�ำเป็นต้องตกแต่งให้ดูใหม่ สมชือ่ การน�ำตูเ้ อกสารเก่า การก่อผนังอิฐ โชว์แนวและทาด้วยสีขาวทับแบบไม่ เรียบร้อยนัก ตลอดจนเน้นการจัดวางต้นไม้ ทีเ่ หมาะสมทัง้ รูปฟอร์มและสภาพแวดล้อม ก็ชว่ ยให้มมุ นัง่ เล่นหรือห้องอาหารโปรด ของคุณมีเสน่ห์ ได้เช่นกัน
daybedsmag.com | 081
05 I ห้องเวิร์กช็อปของครูปิ๋มน่ารักลงตัวด้วยเฟอร์นิเจอร์น้อย ชิ้น และการประดับประดากระถางต้นไม้ทั้งแบบตั้งพื้น ตั้ง โต๊ะ และแขวนเพดาน 06 I Emily's Tearoom 07 I ด้วยการจัดเรียงถ้วยชาและจานชามเซรามิกบนโต๊ะกลาง เป็นดิสเพลย์อย่างเป็นระเบียบ สร้างจุดเด่นให้กับ Emily's Tearoom ได้ตั้งแต่แรกพบ 05
และฝั่งขวาสุดของอาคารนั้นยังมีห้องเวิร์กช็อปของ ครูปม๋ิ -คุณศิริลกั ษณ์ ริ้วบ�ำรุง ตัง้ อยูต่ ดิ ริมคูนำ�้ ในขณะ ทีอ่ กี หนึง่ ส่วนต่อขยายใหม่อย่าง Emily's Tearoom คือ อาคารเรือนกระจกที่ต่อเติมยื่นออกมาจากทางด้าน หลังบ้านของครอบครัวริ้วบ�ำรุง เน้นความโปร่งโล่ง ด้วยการก่อผนังอาคารและมุงหลังคาโปร่งแสงเช่นกัน เป็นพื้นทีจ่ ดั จ�ำหน่ายงานดีไซน์ลายสวยแบบไม่ซำ�้ อาทิ ถ้วยชา จาน และชามเซรามิก ตลอดจนเขียงไม้ เป็นต้น ส�ำหรับใครที่อยากหยิบจับกลับไปเป็นของฝากให้คน พิเศษ หรือใช้ตกแต่งบ้านในโอกาสต่อไป นับว่า Green Room และ Emily's Tearoom เป็นส่วน ต่อขยายที่ตัวอาคารนั้นไม่ได้ถูกก่อสร้างขึ้นเพื่อมา เบียดเบียนต้นไม้ แต่สร้างขึ้นเพื่ออาศัยเป็นส่วนหนึ่ง ภายใต้รม่ เงา คงไว้ซงึ่ บรรยากาศและความร่มรื่น รวม ถึงไม่กระทบกับความเป็นส่วนตัวของคนในครอบครัว จนมากเกินพอดี หรืออย่างน้อยๆ ก็เป็นบทพิสูจน์ ให้ เห็นว่า ในบางครั้งต้นไม้ก็สามารถบ�ำบัดจิตใจคนเรา ให้เกิดความสงบได้จริง เพราะ Daybeds สัมผัสได้ถึง ความรู้สึกนั้นจึงได้เขียนยืนยันลงเป็นลายลักษณ์ อักษรเปื้อนน�้ำหมึกพิมพ์ลงในกระดาษเล่มนี้ 082 | daybedsmag.com
06
"ต้นไม้ช่วยบ�ำบัดจิตใจคนจริงๆ นะ ช่วยได้เยอะเลย เวลาเราจะเริ่มต้นอะไรใหม่ เวลาเรานิ่ง มีสมาธิ เราสงบอยู่กับมันสักพัก มันก็ท�ำให้เราคิดอะไรได้เยอะขึ้น ท�ำงานได้เยอะขึ้น" ศิริวิทย์ ริ้วบ�ำรุง
07
daybedsmag.com | 083
BLUEPRINT text: กรกฎ หลอดคำ� photo: เปี่ยมพล จันทร์เปี่ยม concept consultant: AL_A (Amanda Levete Architects) architect of records: VaSlab landscape architect: TROP lighting designer: Inverse structure/ m&e engineer: CT23 contractor: Ritta
72 COURTYARD สวนลับกลางกรุง
084 | daybedsmag.com
หลั ง จากที่ ไ ด้ ฝ ากไอเดี ย ไว้ กั บ ห้ า งใหญ่ ‘Central Embassy’ ในรูปโฉมที่สร้างความฮือฮากันไปแล้ว ครั้ ง หนึ่ ง ‘Amanda Levete Architects’ ที ม สถาปนิกหญิงจากเกาะอังกฤษ ก็ ได้กลับมาฝาก ผลงานไว้ ใ นใจกลางกรุ ง เทพหานครอี ก ครั้ ง ผ่ า น Façade สีด�ำขลับบนถนนทองหล่อของโปรเจ็กต์ ใหม่ ในชื่อ ‘72 Courtyard’ ที่เพิ่งแล้วเสร็จไปเมื่อกลาง ปี 2559 ที่ผ่านมา ดูคล้ายจะเป็นเทรนด์ของวงการสถาปัตยกรรมใน ไทย ในขณะที่บ้านเรายังไม่เปิดโอกาสให้ส�ำนักงาน สถาปนิกต่างชาติสามารถเข้ามาท�ำงานออกแบบ สถาปัตยกรรมในประเทศได้อย่างเต็มตัว การว่าจ้าง ให้สถาปนิกที่มีฝีมือระดับโลกออกไอเดีย และท�ำงาน ร่ ว มกั บ สถาปนิ ก ไทยเจ้ า ของท้ อ งที่ เ พื่อ ให้ เ ป็ น ผู ้ พัฒนาแบบต่อจนส�ำเร็จ จึงก�ำลังเป็นที่พบเห็นได้ ใน หลายอาคารสวยที่ ทั้ ง สร้ า งส� ำ เร็ จ แล้ ว และก� ำ ลั ง พัฒนาแบบจนถึงก�ำลังก่อสร้างในปัจจุบัน “เพราะว่าตอนนี้เขายังไม่อนุญาตให้สถาปนิกต่าง ประเทศท�ำแบบในเมืองไทย มันก็เลยค่อนข้างฮิตกัน ช่วงนี้ ที่ดีเวลลอปเปอร์เจ้าใหญ่ๆ จะจ้างสถาปนิก ต่างประเทศมาท�ำคอนเซ็ปต์ แล้วก็ ให้คนไทยที่เป็น คนท้องที่เนี่ยมาช่วยท�ำแบบ ที่ผมเห็นตัวอย่างแรกๆ เลย น่ า จะเป็ น ของ Thomas Leeser (Leeser Architects) ที่ท�ำเอ็มควอร์เทียร์ แล้วก็มีอีกหลาย งานอย่าง MahaNakhon ที่ท�ำโดย Ole Scheeren (จาก OMA), MahaSamutr โดย Kengo Kuma, หรือ Icon Siam โดย Norman Foster ซึ่งอันนี้มีอีก เยอะมาก นับไม่ถ้วน” คุณวสุ วิรัชศิลป์ แห่งส�ำนักออกแบบสถาปัตยกรรม VaSlab คื อ ผู ้ ที่ ไ ด้ ส านต่ อ และท� ำ งานร่ ว มกั บ ที ม สถาปนิกระดับโลก Amanda Levete Architects ใน ช่วงเวลาพัฒนาแบบร่วมครึ่งปี ไอเดียที่เกิดจากทั้ง 01
เจ้าของโครงการ สถาปนิกต่างชาติ และตัวคุณวสุ เอง จึงตกผลึกเป็นอาคารสีด�ำเรียบเกลี้ยงในรูปโฉม ที่ ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนบนระหว่างถนนทองหล่อ 16 และ 18 “ตรงนี้ต้องยกเครดิตให้กับเจ้าของด้วย เพราะเขา เป็นคนบอกบรีฟแทบทุกอย่าง อย่างเช่น ข้างหน้า อาคารที่เขาต้องการให้เป็นอาคารปิดทึบ แล้วมีช่อง เปิดเข้าไปข้างในนิดหนึ่ง เพราะเขาอยากท�ำอาคารให้ เกิดคอร์ตข้างใน ซึ่งด้านหลังเขาจะให้เป็นคลับ และให้ ด้านหน้าเป็น F&B (Food & Beverage)” เจ้าของ โครงการที่ ก ล่ า วถึ ง นี้ คื อ คุ ณ เชษฐ์ เชษฐโชติ ศั ก ดิ์ (ลูกชายคุณสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ หรือเฮียฮ้อ) ผู้วาง ทิศทางใหม่ให้กับค�ำว่า ‘คอมมูนิตี้มอลล์’ ในแบบที่ เขาต้ อ งการ วิสั ย ทั ศ น์ ร ะหว่ า งนั ก ออกแบบและ เจ้าของโครงการที่เกื้อหนุนกัน เป็นส่วนส�ำคัญอย่าง ยิ่งที่ท�ำให้คอมมูนิตี้มอลล์หลังใหม่กลายเป็นอาคาร มากเอกลักษณ์จนยากที่จะลอกเลียนแบบ บนพื้นที่ตั้งขนาดกว่า 1800 ตารางเมตร กล่องปิด ทึบ 2 กล่องเหนืออาคารสูง 3 ชั้น เน้นพื้นที่ทางเดิน ภายในที่ โ ปร่ ง โล่ ง ให้ ป รากฏชั ด การเลื อ กปิ ด บาง อย่างเพื่อเน้นภาพของอีกอย่าง จึงไม่เพียงท�ำให้ฉาก หน้าของอาคารมีความลึกลับและดึงดูดสายตา แต่ ยังช่วยให้พื้นที่การเข้าถึงอาคารมีความน่าสนใจและ ชัดเจนขึ้นไปในขณะเดียวกัน ทางเข้าที่ดึงดูดคนเดินเท้าที่คลาคล�่ำบนถนน เกิด จากคอนเซ็ปต์ของการตัด (Cut) ก้อนสี่เหลี่ยมด้าน หน้าเพื่อน�ำผู้คนไปสู่พื้นที่ใช้สอยภายในที่ถูกคว้าน ออก รอยตัดนี้ ได้กลายเป็นแนวแกนของอาคารที่ เชื้อเชิญผู้คนให้เดินผลุบหายเข้าไปเบื้องหลังกล่อง สีดำ� เพื่อไปพบกับ ‘พื้นทีส่ ว่ นกลาง’ ภายในทีท่ ำ� หน้าที่ เป็นพื้นที่ส�ำคัญ ให้ผู้คนได้นั่งพัก นั่งรอ หรือแม้แต่ จะมาเข้ า มาเพีย งแค่ เ ดิ น เล่ น ประวิง เวลาก็ ไม่ เ กี่ ย ง สอดคล้องกับแนวคิดทีถ่ กู ส่งต่อจากสถาปนิกต่างชาติ Amanda Levete ที่ต้องการให้อาคารหลังนี้เป็น สถานที่ที่เสมือนได้ดึงเอาพื้นที่บนท้องถนนของชาว ทองหล่ อ ให้ ม าปรากฏและผสมผสานอยู ่ ภ ายใน อาคารอย่ า งเป็ น เนื้ อ เดี ย ว และก็ เ ช่ น เดี ย วกั บ ที่ สถาปนิกหนุ่มได้กล่าวไว้ “มันจะเป็นคอมมูนิตี้มอลล์ ที่มี Active Plan หรือ Active Space ที่มีการใช้พื้นที่ ทุกเวลา อันนี้คือคอนเซ็ปต์ของ 72 Courtyard” 01 I ทางเดินกึ่งกลางที่น�ำไปสู่คอร์ตภายใน อาคาร ต้อนรับด้วยต้นไม้สีเขียวน้อย ใหญ่ ลดทอนบรรยากาศที่ร้อนอบอ้าว ให้ร่มรื่น
daybedsmag.com | 085
86 | daybedsmag.com
02
02 I พื้นผิวสีด�ำเรียบเกลี้ยงของวัสดุเทอราซโซ ให้ภาพที่แปลกใหม่ของวัสดุกรุอาคาร เทอราซโซนอกจากจะมีมิติของความนุ่ม และความลึก ที่เกิดจากเม็ดสีในตัววัสดุ ยังมีคุณสมบัติของความแข็งแรง ทนแดด ฝนและเหมาะกับการใช้เป็นวัสดุภายนอก
daybedsmag.com | 87
03
อาจเป็ น อี ก สั ญ ญาณที่ ท� ำ ให้ นั ก พั ฒ นาพื้น ที่ เ พื่อ การจับจ่ายทั้งหลายต้องหันกลับมาสนใจกับพื้นที่ เพื่อคนทั่วไปอย่างจริงจังมากขึ้น จนถึงวิธีวัดคุณค่า ของพื้น ที่ ที่ อ าจไม่ จ� ำ เป็ น ต้ อ งวั ด จากมู ล ค่ า ต่ อ ตารางเมตรในวิธีคิดแบบเดิมๆ
เพื่อให้ภาพดังกล่าวเกิดขึ้น วัสดุทางเดินของพื้นชัน้ 1 04 จึงใช้วสั ดุทเี่ ลียนแบบพื้นผิวถนนภายนอก ‘ยางมะตอย’ ถู ก ราดจนเต็ ม พื้น ที่ ท างเดิ น เชื่ อ มต่ อ ความเป็ น ภายในและภายนอกให้หลอมรวมเข้าด้วยกัน พื้นที่ที่ สัมพันธ์กันเป็นเนื้อเดียวนี้ยังเชื่อมต่อขึ้นไปยังพื้นที่ สามัญส่วนกลางที่ชั้น 2 ที่ท�ำหน้าที่คล้ายพื้นที่สวน เขียวขนาดเล็ก (Pocket Park) เป็นลานพื้นไม้กว้าง ขวางกึ่งภายนอกที่ประปรายด้วยต้นไม้สีเขียวน้อย ใหญ่ ส�ำหรับเดินเล่น นั่งเล่น และยังรองรับผู้คนที่จะ หลั่งไหลมายังคลับด้านหลัง อันเป็นอีกหนึ่งกิจกรรม ส� ำ คั ญ ของอาคารในเวลากลางคื น คอร์ ต กลาง ภายในระหว่างชั้น 1 และชั้น 2 มองเห็นและเชื่อมต่อ ถึงกันด้วยบรรยากาศ เชื่อมโยงและสัมพันธ์กันอยู่ ด้วยบันไดที่วิ่งตรงจากด้านหน้าอาคาร ลาดยาวมา บรรจบกับพื้นที่เบื้องหลังกล่องสีด�ำ สวนเขียวขนาด เล็กแม้จะอยู่สูง และเร้นหลบเข้าไปภายใน แต่ก็ยัง สามารถสั ม ผั ส ได้ ถึ ง ความเป็ น ต� ำ แหน่ ง แห่ ง ที่ แ ละ บรรยากาศของย่านทองหล่อ ก็ด้วยทางสัญจรที่ ไหลเวียน และเส้นแบ่งระหว่างภายในและภายนอก อาคารที่ ค รอบคลุ ม ขีด คั่ น อยู ่ อ ย่ า งเบาบางและ ใช้ เ ทอราซโซกรุ ผิว อาคารด้ ว ยเทคนิ ค พรีแ คส คลุมเครือ (Precast) คือการหล่อและขัดแผ่นเทอราซโซให้เสร็จ จากโรงงาน ก่อนจะยกมาติดตั้งบนผิวอาคาร คล้าย เหนื อ พื้น ที่ ที่ โ ปร่ ง โล่ ง ก้ อ นสี่ เ หลี่ ย มสี ด� ำ ที่ ล อย แผ่นคอนกรีตส�ำเร็จรูป ลดความผิดพลาดจากการ ตระหง่านถูกกรุผิวด้วยวัสดุตามแนวความคิดที่นัก หล่ อ และขั ด หน้ า งานและยั ง ท� ำ ให้ ง านติ ด ตั้ ง เป็ น ไป ออกแบบต้องการมอบภาพที่แตกต่างให้กับคอมมูนิ อย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ก่อให้เกิดให้ภาพใหม่ๆ ของงาน ตี้มอลล์หลังใหม่ แกรนิต หินอ่อน คอนกรีตเปลือย ออกแบบทั้งในเรื่องเทคนิควิธี และภาพสุดท้ายของ ถูกปัดตกไปเมื่อนักออกแบบเลือกใช้ ‘เทอราซโซ’ งานสถาปัตยกรรม หรือหินขัด วัสดุท่ีถูกพูดถึงไม่บ่อยนัก ในงานตกแต่ง องค์ประกอบของผนังเมื่อเทียบกับพื้นผิวหิน หรือ แม้คำ� ว่า ‘คอมมูนติ มี้ อลล์’ นัน้ จะมีมานาน และไม่ใช่เรื่อง อะลูมิเนียมคอมโพสิต แปลกใหม่อีกแล้วส�ำหรับเมืองไทย แต่รีเทลที่จะยอม มอบพื้นที่สาธารณะส่วนกลางให้คนทุกคนสามารถ “เทอราซโซเนี่ย เสน่ห์ของมันคือ มันจะมีประกายใน เข้าถึงได้ตลอดทัง้ วันตัง้ แต่เช้าจรดค�ำ่ แทนพื้นทีใ่ ห้เช่า เม็ดหินที่ผสมในคอนกรีตแล้ ว ขั ด สี ออกมา ซึ่ ง เรา ที่จะสามารถขยับขยายออกไปได้อย่างเต็มที่นั้น ต้อง เลือกสีเม็ดหินกับเลือกสีตัวคอนกรีตได้ แล้วมันจะมี นับว่าเป็นเรือ่ งแปลกใหม่ที่ ไม่ใช่ดีเวลลอปเปอร์ทุกคน ความพิเศษคือ มันมีความมันเงา เวลาโดนฝนมันจะ กล้าจะยอมรับความเสีย่ ง เพราะแม้จะมีพื้นทีท่ กี่ ว้างขวาง ด�ำขลับเลย แต่ตอนกลางวัน ดูแล้วจะเป็นสีเทา มัน แต่ส�ำหรับ 72 Courtyard นั้นกลับเปิดให้มีพื้นที่ เลยมีความพิเศษของพื้นผิวตลอดเวลา” สถาปนิก ส�ำหรับร้านอาหารและเครื่องดื่มเพียง 9 ราย นี่จึง 088 | daybedsmag.com
“มันก็เป็นสีสันของโปรแกรมประเภทนี้นะ ที่มันไม่ใช่ แค่ที่เขาเรียกกันว่า ‘Another Community Mall’ ที่ มันเกิดขึ้นดาษดื่นมาก จริงๆ มันก็สะท้อนให้เห็นถึง ค่านิยมบางอย่างว่าสังคมเมืองไทย ไม่มีที่ ไปก็ยังไป มอลล์ ซึ่งมันก็ ไม่ใช่สิ่งผิด เพียงแต่ว่ามอลล์มันควร จะแตกต่าง หรือให้อะไรคืนกลับมากับสังคมเนี่ยมัน ยาก มอลล์ที่ ไม่ได้มองแค่เรื่อง Profit แต่มองเรื่อง Character หรือคุณภาพของโปรแกรม ทีส่ ะท้อนเรื่อง กรีนพ็อกเก็ต พื้นที่สีเขียว หรืออะไรก็ตาม มันยังหา ยากมากในปัจจุบัน” สถาปนิกกล่าวปิดท้าย
03 I บันไดจากด้านหน้าอาคารลาดผ่านทางเดินชั้น 1 ขึ้นไปยัง พื้นที่ส่วนกลางชั้น 2 โดยตลอดการเดินบรรยากาศโดย รวมยังเชื่อมโยงถึงกัน มองเห็น และปฏิสัมพันธ์กันได้ตลอด การใช้งานคอร์ตกลาง 04 I บันได้เทอราซโซสีขาว และบล็อกแก้วพิเศษน�ำเข้าจากอิตาลี ที่สถาปนิกเลือกใช้ ซึ่งมีความกว้าง ยาว สูง คุณสมบัติที่ แตกต่างจากบล็อกแก้วในไทย จึงเป็นความท้าทายหนึ่งของ โครงการที่ท�ำให้ต้องมีการศึกษาเทคนิคการติดตั้ง เรียนรู้ ร่วมกับผู้ก่อสร้างและช่างเทคนิค และใช้โครงสร้างพิเศษที่มี ความซับซ้อนกว่าปกติรองรับ 05 I ลานไม้บนชั้น 2 ของอาคาร เป็นลานโล่งกว้างและสวนเขียว ขนาดเล็ก (Pocket Park) ที่มองเห็นบรรยากาศโดยรวม ของอาคารและผู้คนที่แวะเวียนได้โดยตลอด
05
06
C
C
B
B
B
06 I แปลนแสดงการใช้งานชั้น 1 07 I แปลนแสดงการใช้งานชั้น 2 08 I แปลนแสดงการใช้งานชั้น 3 09 I แปลนแสดงการใช้งานชั้น Mezzanine
C
A
D
B
B
C
C
B
C
N 07 C
B B F
E B G
C
08 C
B
B F
B C
09
F
G F G
G
A B C D E F G
I Plaza I Rental Space | Kitchen | Office | Walk Way | Night Club | Club Office
daybedsmag.com | 089
OVERSEAS text: FATT
photo: สุพรรณา จันทร์เพ็ญศรี, วัทธิกร โกศลกิตย์
SERPENTINE SUMMER HOUSES 2016 4 สถาปัตยกรรมในคราบงานศิลปะกลางสวนป่า ของ 4 สถาปนิกที่ปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ ได้อย่างน่าประหลาด 092 | daybedsmag.com
daybedsmag.com | 093
เข้ า เมื อ งหลวงทั้ ง ที ก ารที่ จ ะเยี่ ย มชมเพี ย งแค่ Serpentine Pavilion ซึ่งเป็นส่วนจัดแสดงหลักก็ กระไรอยู่ ในวันที่กลับมานั่งอ่านบทความเกี่ยวกับ ตอนที่แล้วนั้นก็พบว่า ปีนี้ผู้จัดได้เพิ่มนิทรรศการ ควบคู่กับ Pavilion หลักของ Big ในชื่อ Summer Houses ดั ง นั้ น การเดิ น ทางเข้ า เมื อ งหลวงครั้ ง ที่ สอง นอกจากจะเป็นการไปเยี่ยมชมงานของ Bjarke Ingels อีกครั้ง แต่เจตนาหลักคือการไปดู Summer Houses อี ก ด้ ว ย โดยเลื อ กวั น ที่ แ ดดดี ที่ สุ ด ของ สัปดาห์ซึ่งส�ำหรับประเทศนี้แล้ว แสงแดดเป็นสิ่งที่ หาดูได้ยาก แม้จะเข้าสู่ฤดูร้อนแล้วก็ตาม Summer Houses ที่เพิ่มเข้ามา มีท้ังหมด 4 งาน โดย 4 สถาปนิกทั้งสี่งานจะได้ โจทย์จากการอ้างอิง Queen Caroline’s Temple บ้านหลังเล็กๆ ที่ถูก สร้างเมื่อปี 1734 ออกแบบโดย William Kent มอบ ให้ราชินี Caroline ตั้งอยู่บนเนินท่ามกลางสวนป่า
01
094 | daybedsmag.com
ตั้งอยู่ไม่ห่างกับ Serpentine Gallery มากนัก หาก ไม่สังเกตอาจจะผ่านเดินผ่านไปได้ง่ายๆ สถาปนิกทั้ง 4 คนได้แก่ Kunlé Adeyemi, Yona Friedman, Asif Khan และ Barkow Leibinger จริงๆ ทุกงานน่าสนใจหมด เพราะทีม่ าหรือประเด็นในการยก ขึ้นมาท�ำงานนัน้ แตกต่างกัน ในตอนทีส่ องนีข้ อพูดถึง งานของ Barkow Leibinger เป็นหลัก แต่ก่อนอื่น จะ ขอยกตัวอย่างงานของ Kunle’ ที่ ได้ท�ำการจ�ำลอง องค์ประกอบภายใน แต่เป็นการท�ำ Inverse Space ของ Queen Caroline’s Temple บางส่วนของ องค์ ป ระกอบถอดออกมาได้ และส่ ว นเหล่ า นั้ น ก็ ท�ำหน้าที่เป็นอย่างอื่น เช่น ที่นั่ง นอน พิง เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถตามอ่านของคนอื่นๆ ได้ตาม เว็บสถาปัตยกรรมชัน้ น�ำทัว่ ไป อาจจะหายากสักนิดหนึง่ เพราะในโลก Social ไม่ค่อยมีคนนิยมกดไลค์และกด แชร์สักเท่าไหร่
01 I Summer House ของ Yona Friedman 02 I ผลงานของ Asif Khan 03 I Summer House ของ Kunlé Adeyemi
02
Barkow Leibinger สถาปนิกชาวเยอรมันและอเมริกนั คือ Frank Barko และ Regine Leibinger มีผลงาน มากมาย รวมถึงงานทางวิชาการรวมถึงเดินสาย บรรยายตามสถาบันและมหาลัยชั้นน�ำในยุโรป งาน ของเขามีความน่าสนใจทั้งในส่วนวิชาการและการ สะท้อนย้อนกลับไปในงานจริงของเขารวมถึง การ บรรยายของเขาด้วยเช่นกัน ผลงานทีน่ า่ สนใจของ BL (Barkow Leibinger) ตอนนี้คือ เขาเพิ่งจะชนะการ ประกวดแบบตึกสูงทีก่ ำ� ลังจะกลายเป็นตึกทีส่ งู ทีส่ ดุ ใน กรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนี
เหมือนกันคือแนวทีน่ งั่ โค้งนัน้ มีเพื่อก่อให้เกิดกิจกรรม ที่ต่างกัน ในส่วนสุดท้ายคือหลังคาก็เช่นกัน หลังคา ก็เป็นไม้อัดบิดโค้งยื่นออกเป็นชายคา แต่ที่สังเกตได้ ง่ายที่สุดคือ ในทุกส่วนของทั้งหลังคาหรือผนังของ จะส่วนมีการท�ำงานร่วมกันในบางจังหวะ ในตอนแรก ก็สับสนอยู่พอสมควร แต่กว่าจะมาถึงบ้างอ้อ ก็เมื่อ ตอนแสงแดดฉายเงาของหลังคาลงมาที่ผนัง ถึงจะ เห็นว่าแนวโค้งไปโค้งมาก็ ไม่ได้ โค้งกันตามอารมณ์ แต่ทั้งสามส่วนนั้นมีบางอย่างที่ท�ำงานพร้อมๆ กัน ซึ่งมั่นใจได้ว่าต้องถูกคิดมาดีแล้วอย่างแน่นอน ท�ำให้ ประสบการณ์ ในทั้งสามส่วนนั้น นอกจากมุมมองที่ ต้องขอออกตัวก่อนเลยว่าก่อนที่จะมาดูงานนี้นั้น ได้ แตกต่ า งกั น แล้ ว นั้ น ประสบการณ์ ใ ต้ ช ายคาหรือ เห็น Presentation ที่น่ารักกุ๊กกิ๊กของ Summer แม้ แ ต่ ก ารนั่ ง ในต� ำ แหน่ ง ที่ แ ตกต่ า งกั น ก็ สั ม ผั ส House ของ BL จึงเกิดความสนใจ และได้อา่ นบทความ ประสบการณ์ต่างกันออกไป อธิบายงานนีก้ อ่ นทีจ่ ะมาสัมผัสงานจริงอันนี้ เนือ่ งจาก ถ้าไม่แอบอ่านมาก่อนนั้น ต้องตามความคิดของ ผู้ออกแบบงานนี้ ไม่ทันแน่ๆ หากเดินจาก Serpentine Pavilion ทางทิศเหนือสัก สามร้อยเมตร งานแรกที่จะเห็นคือ Pavilion ท�ำจาก ไม้ ที่มีหลังคาเป็นไม้อัดบางๆ โค้งไปมาโดดเด่นกว่า งานอื่นๆ ในครั้งแรกที่พบเห็น พอเดินเข้าไปอีกนิด นอกจากจะเห็นส่วนหลังคาที่โดดเด่นแล้ว ยังมีที่นั่ง ไม้ที่ ไม่ได้เป็นที่นั่งปกติ แต่เป็นที่นั่งที่โค้งไปมา ไม่ได้ เป็นไปตามแนวโค้งของหลังคาอีกเช่นกัน ในส่วนของ เส้นโค้งเหล่านี้เปรียบเสมือนการเขียนโดยไม่ยกมือ รวมถึงการเขียนแบบฟรีแฮนด์ที่ในสมัยเด็กๆ ที่เราๆ คงเคยได้ท�ำกันในชั่วโมงศิลปะ นอกจากนีต้ วั งานสามารถแบ่งได้งา่ ยๆ เป็น 3 Layers แต่ถ้าอ่านในบทความของ BL นั้นจะมีมากกว่า 3 Layers ขอเริ่มจากผนังที่ท�ำการแบ่งศาลานี้เป็นสาม ด้าน ผนังเป็นผนังไม้ โค้งรูปตัว C โดยแต่ละด้านหัน หน้าออกให้ผู้ ใช้มองไปคนละมุม มุมแรก มองกลับไป ทางที่เราเดินมาจาก Serpentine Gallery มุมที่สอง มองไปที่ สวนอี กด้ านหนึ่ ง มุ ม ที่ สามมองกลั บไปที่ Queen Caroline’s Temple และยังสามารถมองเห็น งานอื่นๆ อีกด้วย ต่อมาคือส่วนของที่นั่งในพื้นที่ทั้ง สามด้ า นที่ นั่ ง ในแต่ ล ะส่ ว นนั้ น ก็ แ ตกต่ า งกั น แต่ ที่
03
daybedsmag.com | 095
ระหว่ า งถ่ า ยรู ป นั้ น สิ่ง ที่ เ ห็ น และไม่ มี ก ารอธิ บ ายใน บทความจากสถาปนิกคือ ‘ผู้ ใช้’ ผู้คนมากมายเกือบ ทุกคนจะต้องมานั่งพักชมวิว หรือเด็กๆ ที่ชอบวิ่งเล่น ไปมารอบๆ หรือเล่นซ่อนแอบในพื้นที่ระหว่างผนังตัว C ทัง้ สามชิ้น บางคนจูงสุนขั มาทักทายกัน เรียกว่าเป็น ความอลหม่านที่สนุกสนานภายใต้หลังคาดัดโค้งไป มาแห่งนี้ บางคนก็นงั่ สนทนาคุยกันอย่างออกรส แม้แต่ คนดู แลของนิ ท รรศการก็ ยังมานั่ งคุ ยกั บแขกผู ้ มา เยือนอย่างเป็นกันเอง ท�ำให้นึกย้อนกลับไปว่า ผู้ ออกแบบเขาจะคิดมาก่อนไว้หรือเปล่านะ? เอ๊ะหรือเขา จะตั้งใจให้เกิดกิจกรรมเหล่านี้ขึ้นแต่แรกแล้ว?
ในหัวก่อนทีช่ าวคณะจะเดินออกจากสวนแห่งนี้ไปโดย พกรอยยิ้มที่มุมปากกันเบาๆ PS: เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ยอดแชร์บนโลก Social ไม่ได้ เป็นสิ่งบ่งบอกว่างานนั้นจะดีเสมอไป บางทีงานดีๆ เพื่อนๆ พี่ๆ ก็ ไม่แชร์ ต้องแอบมาเจอด้วยตัวเองแล้ว ท�ำได้แค่อมยิ้มขยิบปากมุบมิบก่อนจะไปที่จุดหมาย หลักและงานสุดท้ายของการเดินทางครั้งนี้
สิ่งที่ ได้จาก Summer Houses ทั้ง 4 งานส�ำหรับชาว คณะที่มาร่วมชม คือรอยยิ้มและเสียงหัวเราะที่เกิดขึ้น จากกิ จ กรรมความสนุ ก สนานและความโกลาหล ปนเป และถึงแม้ว่างานทั้ง 4 ชิ้นจะเล็กและบางทีดู เหมือนงานศิลปะ แต่การที่งานเหล่านี้มีเนื้อหาไม่ได้ เยอะมากมาย แต่กลับมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ ใช้ ได้อย่าง ประหลาด จนมากกว่าเนื้อหาที่กล่าวมาขนาดนั้น ถึง แม้ ว ่ า งานบางชิ้น นั้ น บางท่ า นอาจจะไม่ เ รีย ก สถาปั ต ยกรรมได้ ด ้ ว ยซ�้ ำ จนนึ ก ถึ ง ประโยคเด็ ด ประโยคหนึ่ ง ที่ เ คยอ่ า นเจอจากบทสั ม ภาษณ์ สถาปนิกท่านหนึ่งว่า “The difference between art and architecture is that nobody fucks with art” (จากนิตยสาร Mark Magazine) ดังเบาๆ อยู่
04
Serpentine Pavilion and Summer Houses 2016 จัดแสดงตั้งแต่วันที่ 10 มิถุนายน-9 ตุลาคม 2016 เข้าชมได้ทุกวันอังคาร-อาทิตย์ ตั้งแต่เวลา 10.00-18.00 น.
05
096 | daybedsmag.com
04-06 I Summer House ของ Frank Barko และ Regine Leibinger สองสถาปนิก แห่ง Barkow Leibinger 06
daybedsmag.com | 097
INTERVIEW text: ทัดจันทร์ เกตุสิงห์สร้อย, กรกฎ หลอดคำ�
photo: ฉัตรชัย เจริญพุฒ, เปี่ยมพล จันทร์เปี่ยม, ภีร์ณัฐ พานิช, Rastullo Design Studio, Norg Design, Super Donut Studio (SDS)
เป็นที่น่าจับตามองเสมอส�ำหรับ International Furniture Fair Singapore (IFFS) งานแสดงเฟอร์นิเจอร์และของดี ไซน์ ส�ำหรับบ้านประจ�ำปี ณ ประเทศสิงคโปร์ เริ่มตั้งแต่ปี 1981 จนถึงวันนี้เวลาได้ผ่านมานานกว่า 3 ทศวรรษแล้ว IFFS ยังแสดง ให้เห็นถึงความน่าทึ่งของฝีมือดี ไซเนอร์จากฝั่งเอเชียอยู่เสมอ และยังเป็นเวทีที่ ได้รับความสนใจในวงการดี ไซน์ระดับโลกตลอดมา ส�ำหรับ IFFS ของปี 2016 ที่จัดขึ้นในเดือนมีนาคมที่ผ่านมา Daybeds จึงพลาดไม่ ได้ที่จะขอดึงตัวดี ไซเนอร์ ไฟแรงที่มีผลงาน โดดเด่นจนได้รับเลือกเป็น Design Stars ของ IFFS 2016 3 คน (จาก 20 คน) 3 ประเทศ อันได้แก่ ฟิลิปปินส์ ญี่ปุ่น และ เจ้าบ้านสิงคโปร์ เพื่อคุยถึงความคิดเบื้องหลังผลงานที่น�ำมาจัดแสดง รวมถึงกระแสงานดี ไซน์ ในบ้านเกิดของเขา ในระดับ เอเชีย ในระดับเวทีโลกที่พวกเขาได้ก้าวไปสัมผัสมาด้วยตัวของพวกเขาเอง
JOSEPH RASTRULLO ผสมผสานวัสดุที่แตกต่างอย่างลงตัว
Joseph Rastrullo เกิดที่สหรัฐอเมริกา และเติบโตที่ประเทศ ฟิลปิ ปินส์ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีและโทจาก Domus Academy ประเทศอิตาลี ปัจจุบันโจเซฟเป็นเจ้าของสตูดิโอ Rastullo Design Studio สร้างสรรค์เฟอร์นิเจอร์, การ ออกแบบโคมไฟ และสถาปนิก โดยได้รับแรงบันดาลใจมาจาก ความเป็นฟิลปิ ปินส์ โดดเด่นด้วยรายละเอียดของงานคราฟต์ และเอกลักษณ์ของรูปฟอร์มที่มีความเฉพาะตัว
0106 | daybedsmag.com
01
คิ ด ว่ า ตรงนี้ แ หละที่ ท� ำ ให้ ต ลาดเฟอร์ นิ เ จอร์ ข อง ตะวันออกเฉียงใต้กำ� ลังเป็นทีจ่ บั ตามองซึง่ ในส่วนของ ฟิลิปปินส์เอง งานคราฟต์เป็นพื้นฐานของเราอยู่แล้ว แต่ที่เราพยายามท�ำคือความเป็นอาร์ตเพิ่มเข้ามา นอกจากนี้ยังต้องใส่เรื่องราวเข้าไปในงาน อีกทั้งต้อง ไม่ลืมที่จะใส่ความเป็นตัวของผมเองลงไปในทุกๆ การ ออกแบบด้วย ผมเชื่อว่าเราสร้างความสมดุลให้กับงานได้ ทุกวันนี้ DBS: ช่วยเล่าคอนเซ็ปต์ของ Rasstullo Design ผมพยายามจะสร้างความบาลานซ์กันระหว่างงานที่ Studio ให้เราฟังหน่อย เป็น Commercial กับงานที่เป็น Art ไม่ว่าจะเป็นการ ออกแบบเฟอร์นิเจอร์ การออกแบบไฟ หรือแม้แต่งาน ดีไซน์ของ Rasstullo Design Studio ได้แรงบันดาลใจ สถาปนิก เราต้องรักษาคุณภาพ และไม่ลืมที่จะใส่ มาจากธรรมชาติ และวัฒนธรรม มาจากผู้คนที่เรา ซิกเนเจอร์ของแบรนด์และตัวผู้ออกแบบลงไปในงาน เคยพบ สถานที่ที่เราเคยไป รวมถึงสิ่งต่างๆ ในสภาพ ด้วยครับ ซึ่งในปีที่ผ่านมา ผมอาจจะจับงานที่เป็น แวดล้อมทีแ่ ตกต่าง เพราะฉะนัน้ เส้นสายในงานของเรา อาร์ตซะส่วนใหญ่ แต่ในปลายปีนี้ สตูดโิ อของเราจะเปิด จะมีความโค้ง เป็นเส้นสายที่เป็นธรรมชาติมากๆ คุณ อาจจะบอกว่ามันดูเป็นเส้นสายแบบเรขาคณิตก็ ได้ แต่ ถ้าคุณได้สัมผัสงานของเราชัดๆ คุณจะเห็นว่ามันมี ความโค้งมากกว่า และมันก็อ้างอิงอยู่กับความเป็น ธรรมชาติ
โชว์รมู ซึง่ ทีน่ นั่ เราจะผลิตเฟอร์นเิ จอร์เพื่องานขายเพิ่ม มากขึ้น เพื่อให้ผู้บริโภคจับต้องง่ายขึ้น แต่ยังคงความ เป็นยูนีคในอีกรูปแบบหนึ่ง DBS: ในเดือนหน้า Daybeds จะก้าวเข้าสู่ปีที่ 14 เราอยากให้คุณท�ำของขวัญให้เราสักชิ้น ผมคิดถึงอะไรบางอย่าง แต่ผมไม่ได้หมายถึงโปรดักส์ หรือดีไซน์อะไรเพียงแค่นั้น ซึ่งแน่นอนว่างานวันเกิด ต้องมีการเฉลิมฉลอง ซึ่งสตูดิโอของผม นอกจากจะ ท�ำเฟอร์นเิ จอร์แล้ว ยังมีงานอินทีเรียร์ และงานออกแบบ โคมไฟ ผมอยากจะออกแบบไฟส� ำ หรั บ เทศกาล เฉลิมฉลองครบรอบ 14 ปี Daybeds และดูแลทิศทาง ของไฟทัง้ หมดทีใ่ ช้ ในงานเฉลิมฉลองของพวกคุณ เพื่อ ให้หนังสือของพวกคุณอยูภ่ ายใต้แสงไฟทีส่ วยงาม และ โดดเด่นแบบนี้ตลอดไปครับ 02
DBS: คุณคิดว่าคุณประสบความส�ำเร็จเร็วกว่าคน อื่นไหม? ผมสนใจด้านการออกแบบมาตัง้ แต่เด็กๆ ช่วงระหว่าง ที่เรียนไฮสคูล ผมได้ฝึกอบรมที่สถาบันที่ท�ำงานด้าน การดีไซน์ และได้ฝึกงานกับผู้ที่เป็นนักออกแบบระดับ ต�ำนาน ซึ่งที่นั่นท�ำให้ผมได้เรียนรู้ที่จะใช้วัสดุที่หลาก หลาย พอถึงตอนที่ผมเริ่มท�ำ Rastrullo ผมจึงน�ำ ความรูท้ ผี่ มได้มา มาพัฒนาโปรดักส์ ด้วยการน�ำเอา เส้นใย, เรซิ่น, เหล็ก, ไม้ และพลาสติก มาประกอบเข้า ด้วยกัน ตั้งแต่ปี 2013 ในตลาดฟิลิปปินส์เอง ผม พยายามสร้ า งความเคลื่ อ นไหวให้ เ กิ ด กั บ ตลาด เฟอร์นิเจอร์และการออกแบบอยู่ตลอด แต่ด้วยใน ตลาดมีแบรนด์หลักที่ครองตลาดผู้บริโภคอยู่แล้ว ใน แง่ของการแข่งขันเพื่อให้ ได้ยอดขาย เราอาจจะสูเ้ ขาไม่ ได้มาก แต่ผมพยายามคิดคอนเซ็ปต์ ในแต่ละครั้งที่ ผลิตงานให้ชัดเจน เพื่อสร้างความยูนีคให้กับแบรนด์ DBS: แปลว่ า ความต้ อ งการของผู ้ บ ริโ ภคของ ฟิลิปปินส์แตกต่างกับที่อื่นๆ ตอนนีท้ กุ คนให้ความสนใจในตลาดของเอเชียตะวันออก เฉียงใต้อยูแ่ ล้ว แต่ไม่ใช่ในแง่ของราคาทีถ่ กู แต่เป็นในแง่ ของคุณภาพทีบ่ าลานซ์คไู่ ปกับราคาทีเ่ หมาะสม ซึง่ ผม
01 I ‘Terza’ จากแผ่นอะครีลกิ ธรรมดา ถูกดัดให้โค้งด้วยมือ กลายเป็นโคมไฟดีไซน์เก๋ อีกหนึง่ โปรดักส์ภายใต้งาน ออกแบบของสตูดโิ อ 02 I ‘Raccolta’ เฟอร์นเิ จอร์ที่ได้จากฟางข้าววัสดุทอ้ งถิ่น น�ำมา ถักสานแบบไร้รอยต่อ รูปทรงโค้งมนตามซิกเนเจอร์ของ แบรนด์และตามแรงบันดาลใจที่ได้จากนาข้าวแบบขัน้ บันไดที่ สามารถพบเห็นได้ ในบานาเว ประเทศฟิลปิ ปินส์
daybedsmag.com | 0107
DAISUKE IKEDA เรียบง่ายในทุกดี ไซน์ ตามสไตล์ญี่ปุ่น
Daisuke เกิดและโตทีญ ่ ปี่ นุ่ ก่อนจะย้ายไปอยูล่ อนดอน เพื่อท�ำงานในบริษัทเฟอร์นิเจอร์ Paul Kelley และได้ เข้ า ศึ ก ษาที่ Middlesex University London ด้ า นโปรดั ก ส์ ดี ไ ซน์ หลั ง เรีย นจบได้ เ ข้ า ท� ำ งานที่ Toshiyuki Kita และได้กอ่ ตัง้ สตูดโิ อ Norg Design ขึ้น ในปี 2013 หลังจากนั้น Daisuke ได้เรียนต่อทางด้าน เทคนิคที่ Kyoto University of Arts and Crafts และ ได้สร้างแบรนด์ PORTO ในปี 2015 ตลอดระยะเวลา ที่ท�ำงานทางด้านดีไซน์ คุณ Daisuke คลุกคลีอยู่กับ งานไม้มาโดยตลอด
108 | daybedsmag.com
01
DBS: เล่าถึงโปรเจ็กต์ของคุณให้เราฟังหน่อย
02
01 I Bamboo Plates จานไม้ ไผ่อดั ส�ำหรับใส่ อาหาร 02 I Store Box ชุดกล่องไม้อเนกประสงค์ทสี่ อื่ ถึงความเรียบง่าย แต่มรี ายละเอียด 03 I Unipoli Chair หนึง่ ในเฟอร์นเิ จอร์ทค่ี ณ ุ Daisuke ออกแบบและวางขายใน ต่างประเทศ ซึง่ ในเมืองไทยสามารถ จับจองเป็นเจ้าของได้ที่ DEESAWAT
03
ส� ำ หรั บ โปรเจ็ ก ต์ ที่ ญี่ ปุ ่ น ผมมี ส ตู ดิ โ อชื่ อ Norg Design และแบรนด์ Porto ซึง่ ส่งขายทัง้ ในญีป่ นุ่ เองและ ในต่างประเทศด้วย ส่วนในประเทศไทยตอนนี้ผมมี โปรเจ็กต์ที่ท�ำร่วมกับทางเปรมประชา, Moonler จาก เชียงใหม่ และบริษัท ดีสวัสดิ์ฯ ซึ่งงานที่ท�ำให้แต่ละที่ก็ จะมีความแตกต่างกัน ทุกครัง้ ทีท่ ำ� งานผมจะดูพื้นฐาน ของแต่ละแบรนด์ที่ผมเข้าไปดีไซน์ว่าเขาใช้แมตทีเรียล อะไรบ้าง มีคู่แข่งทางการตลาดเป็นอย่างไรเพื่อที่จะ สร้างงานให้ออกมาตามเป้าที่ตั้งไว้ แต่ทั้งนี้ก็ ไม่ลืมที่ จะใส่ความเป็นตัวตนเข้าไปในงานดีไซน์ด้วย DBS: ในฐานะทีค่ ณ ุ เป็นเจ้าของ Norg Design อะไร คือจุดเด่นของงานภายใต้สตูดิโอของคุณ ในภาษาญี่ปุ่น Norg เป็นความหมายของเครื่องมือที่ ใช้เกี่ยวข้าว งานของเราคือท�ำตัวให้เสมือนเราเป็น เครื่องมือนั้น คติประจ�ำใจในการท�ำงานของผม คือ ดีไซน์งานและดูแลโปรดักส์ ไปจนกว่าผูป้ ระกอบการจะ สามารถอยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยที่ ไม่ต้องการผมอีก นั่นคือในฐานะดีไซเนอร์ที่ดี ผมมองว่าความส�ำเร็จ ของดีไซเนอร์ ไม่ใช่แค่ความมีชื่อเสียงเพียงอย่างเดียว แต่อยู่ที่ความส�ำเร็จของผู้ประกอบการด้วย ในหนึ่ง งานดีไซน์ คนอาจจะมองว่าเป็นหน้าที่ของดีไซเนอร์ เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่เลย ดีไซเนอร์ เป็นเพียงองค์ประกอบหนึ่งในงานเท่านั้น DBS: อยากให้พูดถึงความแตกต่างระหว่างงาน ดี ไซน์ของไทย และญี่ปุ่นในสายตาของคุณหน่อย จริง ๆ งานดี ไ ซน์ เ มื อ งไทย แต่ ล ะดี ไ ซเนอร์ ก็ จ ะมี คาแร็ ก เตอร์ ที่ เ ฉพาะตั ว แต่ ใ นเรื่อ งของโปรดั ก ชั่ น ยังมีความอ่อนแอ ทุกคนเอารูปแบบมาเป็นตัวตั้ง จน บางครั้งลืมในเรื่องของฟังก์ชันในการใช้งาน ซึ่งตรงนี้ เองที่คนไทยขาด ถ้าเทียบกับตลาดที่ญี่ปุ่น จริงอยู่ใน ตอนทีเ่ รียน เราจะมีความครีเอตเต็มทีใ่ นการออกแบบ แต่เมือ่ เรียนจบต้องผลิตโปรดักส์เพื่อจะใช้งานจริง ทุก คนจะกลับไปเน้นพื้นฐานของโปรดักชั่น และพัฒนา จากตรงนั้นมากกว่า
DBS: เทรนด์การออกแบบของญี่ปุ่นในปี 2016 เป็น แน่นอนว่างานคราฟต์ ในฝั่งยุโรปจะมีแมตทีเรียลที่ อย่างไร หลากหลายกว่า แต่สว่ นใหญ่จะถูกสร้างด้วยมือเพียง เล็กน้อยควบคู่ไปกับเครื่องจักร แต่ในขณะที่ทางฝั่ง ด้วยความที่ญี่ปุ่นมีข้อจ�ำกัดในเรื่องของทรัพยาการ เอเชียนั้นมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์ถูกผลิตขึ้นจากมือ ทีจ่ ะน�ำมาสร้างโปรดักส์งานไม้คอ่ นข้างมาก อีกทัง้ งบ ของช่าง บางชิ้นเป็นงานแฮนด์เมดทั้งหมด ซึ่งแน่นอน ที่ผู้บริโภคจะใช้ค่อนข้างมีจ�ำกัด เพราะฉะนั้นเวลา ว่างานที่ได้จะไม่เพอร์เฟ็กต์แต่จะมีเทสต์มากกว่า ซึง่ ใน ท�ำงานดีไซน์เราจึงเน้นไปทีค่ วามเรียบง่าย ไม่หวือหวา สายตาของผม ผมมองว่าความเพอร์เฟ็กต์เกินไป ราคาทีจ่ บั ต้องได้ แต่สามารถใช้งานได้จริง ซึง่ แตกต่าง บางทีก็น่าเบื่อ แต่งานที่ท�ำมือ แต่ละชิ้นที่ส�ำเร็จจะ จากงงานดีไซน์ ไม้จากประเทศอื่นๆ กลายเป็นเทรนด์ แตกต่างกัน ซึ่งผมคิดว่ามันเป็นความลิมิเต็ด Simple Modern แต่ก็ยังมีกลุ่มคนดีไซน์อีกประเภทที่ พยายามจะหนีความมินมิ อลทีเ่ คยเป็นซิกเนเจอร์ของ DBS: ในเดือนหน้า Daybeds จะก้าวเข้าสู่ปีที่ 14 คนญีป่ นุ่ ด้วยการซ่อนความแปลกใหม่, สี หรือกลับไป เราอยากให้คุณท�ำของขวัญให้เราสักชิ้น ใช้เทคนิคโบราณอย่างงานคราฟต์ทเี่ คยหายไป น�ำมา ใส่ลงไปในโปรดักส์สมัยใหม่ ซึ่งตรงนี้ก�ำลังเป็นปัญหา ปกติงานของผมจะเน้นเป็นงานเฟอร์นิเจอร์ค่อนข้าง ในงานดี ไ ซน์ ข องญี่ ปุ ่ น เมื่ อ เทคโนโลยี มี ม ากขึ้น เยอะ ถ้าสมมติให้ทำ� อะไรเพื่อเป็นของขวัญแก่ Daybeds กรรมวิธีการผลิต หรืองานฝีมือโบราณก็เริ่มหายไป ผมจะท�ำ Daybeds ขึ้นมา 1 ตัว โดยใช้แมตทีเรียล 14 แต่ทงั้ นีเ้ ทคโนโลยีชว่ ยให้งานสะดวก ง่ายก็จริง แต่ฝมี อื ชนิด ซึง่ ความเป็นจริงในแง่ของโปรดักชัน่ ราคาการผลิต ท�ำให้งานมีคุณค่ามากยิ่งขึ้นเช่นกัน แน่นอนว่าสูง และอาจต้องใช้หลายเทคนิคเพื่อที่จะ ท�ำให้วัสดุที่แตกต่างกันรวมเข้าด้วยกันได้ แต่ส�ำหรับ DBS: ถ้าให้เทียบระหว่างงานคราฟต์ของเอเชีย และ Daybeds นั้น ความพิเศษนี้ผมว่าคุณเหมาะสมแล้ว ฝั่งยุโรป ส�ำหรับคุณคิดว่าอะไรคือความแตกต่าง ครับ ทางการดี ไซน์ daybedsmag.com | 109
KOK YIH MING เมื่องานดี ไซน์ส่งเสียง
หลังจากจบการศึกษาด้าน Interior Design จาก Nayang Academy of Fine Arts (NAFA) ในปี 2001 Kok Yih Ming ดีไซเนอร์หนุ่มชาวสิงคโปร์ ได้เริ่มท�ำงานและฝึกฝน ฝีมอื ในฐานะอินทีเรียร์ดไี ซเนอร์ประจ�ำส�ำนักงานออกแบบ ชือ่ ดังต่างๆ ในประเทศสิงคโปร์ ความสนใจในงานออกแบบ ของเขายังรวมไปถึงงานออกแบบผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ก่อนที่ จะจบการศึกษา งานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ‘Standing Lamp TWO’ ของเขา ก็ ได้ ไปโชว์ ในงานแสดงเฟอร์นเิ จอร์ NAFA Furniture Design Exhibition ประจ�ำปี 2001 เป็น ที่เรียบร้อยแล้ว ควบคู่ไปกับการท�ำงานอินทีเรียร์ดีไซน์ Kok Yih Ming ได้ทำ� งานออกแบบเฟอร์นเิ จอร์ตามความ สนใจของเขาเองมาโดยตลอด จนกระทั่งในปี 2006 Kok Yih Ming ได้ตงั้ ส�ำนักงานออกแบบ Super Donut Studio (SDS) ออกแบบคอลเลกชัน่ ใหม่ของเฟอร์นเิ จอร์ควบคูก่ บั งานอินทีเรียร์ดีไซน์ ในเวทีสากล เพื่อแสดงศักยภาพและ บอกเล่าปรัชญาการท�ำงานออกแบบของเขาเอง มาจนถึง ปัจจุบัน
110 | daybedsmag.com
DBS: คุณท�ำงานเป็นอินทีเรียร์ดี ไซเนอร์มานาน แค่ ไหนแล้ว 10 ปีได้ ผมดูแก่หรือเปล่า (หัวเราะ) DBS: ไม่เลยๆ คุณยังดูเด็กมาก อยากให้เล่าถึง คาแร็กเตอร์ของงานออกแบบของคุณ งานออกแบบของผมได้ รั บ อิ ท ธิ พ ลโดยตรงจาก เรื่องราวในสังคม รวมถึงจากประสบการณ์และความ สนใจที่ ผ ่ า นมาตั้ ง แต่ วั ย เด็ ก จนถึ ง ปั จ จุบั น ของผม ยกตัวอย่างงานในช่วงแรกๆ ตัวตนในงานของผมจะ เป็นเรื่องของการ์ตูนญี่ปุ่น หรือแม้แต่อิทธิพลจาก ภาพยนตร์เรื่องทรานสฟอร์มเมอร์ ต่อมาผมจึงเริ่มที่ จะสนใจเรื่องของวัฒนธรรมของประเทศต่างๆ ในโลก ไม่วา่ จะเป็นญีป่ นุ่ จีน หรือทีอ่ นื่ ๆ แต่เมือ่ เร็วนีๆ้ สิ่งที่ได้ กลายมามีอิทธิพลกับผมอย่างมากเลยคือเรื่องของ ‘World Peace’ เพราะเหตุการณ์ความไม่สงบในโลก หลายเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้นเมื่อไม่นานมานี้ DBS: ถ้าพูดถึงเรื่องของตัวการ์ตนู ภาพยนตร์ หรือ แม้แต่วัฒนธรรมในที่ต่างๆ เราพอจะเข้าใจว่ามันจะ ออกมาเป็นงานออกแบบได้อย่างไร แต่เรื่องของ ‘World Peace’ นีเ่ ราแทบจะนึกไม่ออกเลย อยากให้ ขยายความค�ำว่า ‘World Peace’ ให้มากกว่านี้อีก นิดหนึ่ง ถ้าดูจากผลงานของผม หนึ่งในผลงานที่ผมได้ ไปโชว์ ที่ International Furniture Fair Singapore (IFFS) ที่ สิงคโปร์ล่าสุด คือผมสนใจเรื่องของการน�ำอาวุธเก่า และส่ ว นประกอบต่ า งๆ มาท� ำ เป็ น ชิ้น ส่ ว นของ เฟอร์นิเจอร์ เพราะผมพยายามที่จะแสดงให้เห็นว่า ‘อาวุธ’ ความจริงแล้วก็สามารถน�ำมาสร้างเป็นอะไร บางอย่างที่เป็นมิตร หรือที่สามารถใช้งานได้ โดยคน ทั่วไปแม้แต่คนในครอบครัว จากที่เคยใช้ปลิดชีวิต 01 I ‘ผลงาน ‘Pnut’ แสดงในงาน Milan Saloni Satellite 2009 02 I ผลงาน Consim แสดงในงาน International Furniture Fair Singapore (IFFS) 2016 03-04 I ผลงาน ‘Colt Chair’ แสดงในงาน International Furniture Fair Singapore (IFFS) 2016
01
ท�ำไมคุณไม่ลองวางอาวุธลง แล้วใช้มันสร้างความสุข ความรัก ให้แผ่กระจายไปทั่วโลก นี่คือข้อความที่ผม อยากจะสื่อสารผ่านผลงาน DBS: จุดเปลี่ยนที่ท�ำให้คุณเริ่มสนใจเรื่องที่พดู ถึง อยู่นี้ 02
มันเป็นเพราะผูก้ อ่ การร้าย เรื่องราวการระเบิด สงคราม ในทีต่ า่ งๆ ของโลก ทีเ่ ป็นข่าวทัว่ ไปทีเ่ ห็นได้อนิ เตอร์เน็ต ผมคิดว่ามนุษย์ ไม่ควรจะอยูร่ ว่ มกันแบบนี้ ไม่วา่ เราจะ ผมก็แค่เป็นตัวของตัวเอง เพราะผมรูว้ า่ งานทีผ่ มผลิต ขัดแย้งกันอย่างไร ในเรื่องศาสนาหรืออะไรก็ตาม จริงๆ แล้ว จะไม่ได้ตอบรับกับตลาดส�ำหรับคนส่วนใหญ่ เท่าไรนัก มันไม่ต่างกันนักกับตลอดหลายปีที่ผ่านมา DBS: คุณเอาวัสดุพวกนี้มาจากไหน ทีผ่ มได้เดินทางไปแสดงเฟอร์นเิ จอร์ ในทีอ่ นื่ เช่น ทีม่ ลิ าน ผมใช้เหล็กเก่า ผมพยายามท�ำให้คนหวนนึกถึงช่วง เพราะผมเชื่อว่างานของผม มันจะสามารถสื่อสาร สงครามโลกโดยเฉพาะสงครามโลกครั้งที่ 2 ดึงภาพ ข้อความถึงทุกคน หรือแม้แต่มีส่วนช่วยท�ำให้สังคมดี ของสงครามในช่วงนัน้ กลับมา เพราะเด็กรุน่ ใหม่ทเี่ กิด ขึ้นได้ มันเป็นเรื่องของการส่งสาร ผมเชือ่ ว่าเราไม่ตอ้ ง ในช่วงหลังนี้จะเริ่มไม่รู้จักยุคของสงครามโลกครั้งที่ 2 พยายามมากมายในการ ‘เป็น’ อะไร แค่เป็นตัวเอง ท�ำ แล้ว ผมพยายามจะท�ำให้ทุกคนเห็นภาพของความ ในสิ่งทีค่ ณ ุ คิด และชอบ แค่นนั้ ผมคิดว่าน่าจะเพียงพอ รุนแรงที่เคยเกิดขึ้น DBS: ถ้าเราจะนึกถึงงานออกแบบของสิงคโปร์จะ DBS: ในฐานะที่คุณเป็นเจ้าบ้าน ที่ ได้จัดงานแสดง นึกถึงอะไร งานออกแบบที่ ส� ำ คั ญ ๆ หลายงาน ไม่ ว ่ า จะเป็ น Maison & Objet Asia 2016 หรือ International ผมคิดว่าสิงคโปร์ ไม่มี Character ในงานออกแบบ เรา Furniture Fair Singapore (IFFS) คุณต้องท�ำการ ใช้วิธีหยิบจับมาจากประเทศอื่นๆ แต่ในขณะเดียวกัน บ้านหรือโชว์อะไรเป็นพิเศษในการที่จะท�ำให้งาน รัฐบาลเองก็พยายามที่จะโปรโมตความเป็น ‘สิงคโปร์ ออกแบบของสิงคโปร์เป็นที่รู้จักไหม ดีไซน์’ ด้วยการใช้สิ่งทีเ่ ราเคยเห็นมาในอดีต เรามีการ ใช้ Merlion มาเกี่ยวข้อง แต่ผมคิดว่ามันไม่ใช่ มันไม่ใช่ วัฒนธรรมของเรา มันเป็นแค่สิ่งที่เราเคยท�ำในอดีต ถ้าคุณพูดถึง Character ของสิงคโปร์จริงๆ มันก็คือ การรับและปรับเปลี่ยนมาจากที่อื่น ในตอนนี้มันยัง เป็นการรับและปรับเปลี่ยนมา แต่ก็ ไม่แน่ในอีกไม่กี่ปี คุณอาจจะได้เห็นสิ่งที่เป็น ‘สิงคโปร์’ จริงๆ ก็ ได้ DBS: ในเดือนหน้า Daybeds จะก้าวเข้าสู่ปีที่ 14 เราอยากให้คุณท�ำของขวัญให้เราสักชิ้น 04
Lifeguard Chair บนชายหาด ด้วยมุมมองจากที่สูง ด้วยทัศนียภาพทีก่ ว้างไกล ในฐานะนิตยสาร Daybeds จะมองเห็นโลกได้ ไกล และน�ำข่าวสารมาสู่คนอ่านได้ อย่างยอดเยี่ยมครับ
03
daybedsmag.com | 111
SEVEN WONDER text: อรวิภา พริ้งพวงแก้ว photo: เปี่ยมพล จันทร์เปี่ยม
MEPANYA ALL ABOUT FASHION ART AND LIFESTYLE PANYA JITRMANASAKD ปัญญา จิตรมานะศักดิ์
116 | daybedsmag.com
ด้วยความชืน่ ชอบและหลงใหลในเรื่องแฟชัน่ ศิลปะ และการท่องเทีย่ ว โดยเฉพาะในสไตล์ Minimal Glam จนได้นำ� มาเป็นส่วนหนึง่ ของการใช้ชวี ิตและบทบาทในด้านการท�ำงาน วันนี้ Daybeds มีนดั พูดคุยกับ คุณอู-๋ ปัญญา จิตรมานะศักดิ์ หรือป้าอู๋ ดีไซเนอร์และเจ้าของห้องเสือ้ Panya และเป็น นักสะสมกระเป๋าและงานดีไซน์ทตี่ นเองชืน่ ชอบและของทุกชิ้นล้วนมีความหมายทางความรูส้ กึ ทีห่ ลาย คนเห็นจะต้องดึงดูดความสนใจของใครต่อใคร เพราะแต่ละชิ้นนัน้ น่าสนใจและบอกความเป็นตัวตน ของเจ้าของ รับประกันว่าทุกชิน้ นัน้ ไม่ธรรมดา มีสไตล์ทสี่ วยงามและแตกต่างกันออกไป
01
02
03
02. กระเป๋าห้อยคอ เพราะคุณอูช๋ อบไปท่องเทีย่ วในสถานทีต่ า่ งๆ และถ้ามี เวลาพักร้อนที่ชื่นชอบที่สุดคือทะเลหัวหิน กระเป๋าใบ เล็กที่พกพาสะดวกมีสายห้อยคอที่พกของได้เท่าที่ จ�ำเป็น อาทิ เงินและโทรศัพท์มือถือ เหมาะกับการเดิน ชายหาดต้องเป็นสองใบโปรดนีท้ ตี่ อ้ งพกพาติดตัวไป ด้วยเสมอ นัน่ คือ กระเป๋า Moschino ลาย Spongebob และ กระเป๋า Com De Garcon
03. รองเท้า Vans รองเท้าคูน่ เี้ ป็น Limited ทีเ่ ป็นผลงานร่วมของ Vans และ Marimekko ส่ ว นตั ว ชอบศิ ล ปิ น คนนี้ ง านของ Marimrkko ด้วยเป็นพิเศษ ซึ่งปกติราคางานศิลปิน 01. กระเป๋าผ้า Marimekko ท่านนีจ้ ะค่อนข้างสูงมาก แต่พอได้มาท�ำให้แบรนด์รองเท้า ตัวเราเป็นคนทีส่ ะสมกระเป๋าผ้า มีเยอะมากแต่เพราะช่วงนีเ้ ป็น Summer เราเลยเลือกใบนีม้ า เป็น แบบ Vans ราคาเลยดูสมเหตุสมผลและใส่งา่ ยเข้าได้กบั ของสะสมอีกหนึง่ อย่าง เพราะเอกลักษณ์ของ Marimekko คือความสดใสและมีความน่ารักในแบบ เสือ้ ผ้าทีเ่ ราน�ำมา Mix & Match ท�ำให้เราสนุกและเหมาะ ของซัมเมอร์ ด้วยสีสนั ทีโ่ ดดเด่น เวลาเราพกไปทะเลก็เบาสบาย หรือแม้แต่ไปเมืองนอกหรือทีใ่ หนๆ ส�ำหรับซัมเมอร์ชว่ งนีเ้ พราะเป็นลายดอกออกแนวน่ารัก ก็ ใช้ ได้งา่ ย ใส่ของได้จุกว่าทีเ่ ห็นจึงเหมาะทีจ่ ะใช้ ได้บอ่ ย และเหมาะกับเรา 04. ของเล่นของสะสมจาก Coarse ตอนนี้ตัวเราหลงใหลสะสมของที่เป็นดีไซเนอร์ Toy หรือของเล่นโดยเฉพาะของ Coarse เพราะเราชอบใน งาน Pop Art ดูมลี กู เล่น ท�ำให้เราหันมาเริ่มสะสมของเล่น แบบนี้ นอกจากเราสามารถน�ำมาเป็นของโชว์ของตกแต่ง ได้แล้ว ราคาของแต่ละชิ้นถือเป็นการลงทุนทีด่ อี กี ด้วย เพราะราคาจะสูงขึ้น ตัวแรกเหมือนรูปควาย ชือ่ Kwaii Babble และอีกตัวคือ Snoopy ตัวนี้เราได้มาเป็น ของขวัญจากพี่ตุ๋มกับพี่ซุป รายการซุปเปอร์จิ๋วจาก ญี่ปุ่นอีกชิ้นเลยสร้างความประทับใจให้กับเราอีกชิ้น 05. กระเป๋าใส่ของ Paul Smith ใบนี้จะคล้ายๆ Purse หรือเรียกว่ากระเป๋าใส่เงิน เป็น อีกใบหนึ่งที่รักมากและมีความหมายกับตัวเรามาก เพราะได้มาเป็นของขวัญวันเกิดจากพี่ตมุ๋ กับพี่ซปุ จาก รายการซุปเปอร์จิ๋ว พอเห็นแล้วชอบมากเป็นลาย หมวกกับจักรยาน ที่จริงตัวเราไม่ใช่คนขับจักรยานนะ แต่พี่เขาทั้งสองคนที่ให้เรามาเป็นคนขับจักรยานได้ ให้ เรามาเป็นของขวัญวันเกิด และตอนนีเ้ ป็นกระเป๋าทีเ่ รา พกติดตัวอยู่ตลอดเวลา เพราะขนาดที่ ไม่ใหญ่แต่ใส่ ของได้เยอะสุดๆ 07
04
05
06
06. กระเป๋า Louis Vuitton กระเป๋าใบนี้เป็นพลาสติกใสทั้งใบ ใบนี้มีเรื่องราวมา ยาวนาน เพราะรุน่ นี้ได้ออกมาขายสมัยมัธยมฯ ประมาณ สิบปีทแี่ ล้ว สมัยก่อนได้เห็นพี่มา้ -อรนภา ถือใบนีแ้ ละด้วย ความทีเ่ ป็นของหายากราคาจึงแพงมาก ในวัยนัน้ ไม่มวี นั ทีจ่ ะซือ้ เองได้เลยจนกลายเป็นความฝังใจเรามาตลอดว่า อยากได้กระเป๋าใบนีม้ าก แล้วเมือ่ ปีกอ่ นได้มโี อกาสไปที่ ญีป่ นุ่ ระหว่างทีเ่ ดินช้อปปิง้ อยู่ ได้เห็นกระเป๋าใบนีอ้ ยูใ่ นร้าน ขายของมือสอง รูส้ กึ ดีใจมากเพราะตามหามาเป็นระยะ เวลานานมากตัง้ แต่เด็ก เลยตัดสินใจซือ้ ทันทีในราคาที่ไม่ แพงอีกด้วย 07. เขียงหั่นของ Hand Made เป็นเครื่องครัวทีพ ่ ี่นวลตอง ประสานทอง ท�ำขึ้นมาและ ให้เป็นของขวัญขึ้นร้านใหม่ ซึง่ เข้าเอามาระบายเหมือน ลายถุงตาข่ายมีส้มอยู่ข้างใน มีความหมายที่ดีในตัว ของมันเอง และเป็น Art Piece ที่แตกต่างและโดดเด่น ทีเ่ ราวางตกแต่งไว้ทรี่ า้ นของเราเองเพราะเป็นของขวัญ ที่พี่เขาตั้งใจน�ำมาให้เรา เป็นของอีกชิ้นที่เราให้ความ ส�ำคัญมาก daybedsmag.com | 117
DAY OFF text: ณัฐพงษ์-ธนทัต พงษ์พิบูล
photo: Twin Traveller (https://twintravellerblog.com)
BUDAPEST เมืองหลวงอันงดงามแห่งสาธารณรัฐฮังการี
138 | daybedsmag.com
daybedsmag.com | 139
การเดินทางไปสู่โลกกว้าง ก็เหมือนกับการให้รางวัล ให้แก่ตัวเอง เป็นการเติมไฟให้แก่หนุ่มสาววัยท�ำงาน หรือ จะไปเที่ ย วแบบครอบครั ว ก็ เ ป็ น กิ จ กรรมสาน สัมพันธ์ที่ดีไม่น้อย แต่ การจะได้ ออกไปท่ องเที่ ยว ตามใจหวัง ก็จะติดเรื่องงบประมาณค่าใช้จ่ายในการ เที่ยวแต่ละครั้ง ซึ่งบางครั้งท�ำให้แผนที่เตรียมไว้ล่มไป เสียอย่างนั้น ครั้งนี้ผมเลยพามาเที่ยวประเทศฮังการี ที่มีค่าครองชีพไม่สูงนัก และเป็นอีกประเทศที่ใช้เงินไม่ มากก็สามารถเที่ยวได้อย่างสนุกสนาน ทั้งได้ความรู้ ในด้านประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมเป็นอย่างดี สาธารณรัฐฮังการี (Republic of Hungary) เป็น ประเทศทางแถบยุโรปตะวันออกที่มีประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมที่น่าสนใจเป็นอย่างมาก เพราะเคย เป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งมี ประวัติอย่างยาวนานมาตั้งแต่ในตอนศตวรรษที่ 9 ประเทศฮั ง การีมี ค วามงดงามในทางลั ก ษณะ ภูมิประเทศ จนนักท่องเที่ยวจากหลายมุมโลกอยาก จะเดินทางมาสัมผัส โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากได้มา เที่ ย วชมเมื อ งหลวงอั น งดงามที่ มี ชื่ อ ว่ า เมื อ ง บูดาเปสต์ (Budapest) และนี่คือ 5 สถานที่แนะน�ำ ส�ำหรับนักท่องเที่ยวที่ ไม่ควรพลาด
01
02
03
140 | daybedsmag.com
04
01-02 I Fishermen’s Bastion 03 I Chain Bridge (Szechenyi Lanchid) 04-06 I St. Stephen’s Basilica
05
1. Fisherman’s Bastion Fisherman’s Bastion เป็นป้อมปราการของชาวประมงในอดีต หัน หน้าออกสู่แม่น�้ำดานูป เนื่องจากสมัยก่อนเมืองแห่งนี้ใช้การสัญจร ทางน�ำ้ เป็นหลัก กิจการประมงในสมัยก่อนค่อนข้างเฟือ่ งฟูเป็นอย่าง มาก ป้อมหลังนีจ้ ะมีลกั ษณะเป็นสีขาว ทุกป้อมจะมีจดุ ชมวิว หากลอง มองลอดช่องออกไป จะเห็นวิวทิวทัศน์แม่น�้ำดานูบ และวิวเมืองฝั่ง เปสต์ ในภาพจะเห็นอาคารรัฐสภา หรือเรียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า Hungarian Parliament Building นั่นเอง บริเวณนี้จะเห็นรูปปัน้ King Istvan ซึง่ เป็นปฐมกษัตริย์ของชาวฮังกาเรียนตั้งอยู่ มีความสง่างามและ โดดเด่นไม่น้อยทีเดียว 2. St. Stephen Basilica St.Stephen Basilica หรือมหาวิหารเซนต์สตีเฟน เป็นโบสถ์ โรมันคาทอลิกที่ตั้งอยู่ใจกลางเมืองสูงโดดเด่นเป็นสง่าในฝั่งเปสต์ เป็นมหาวิหารที่สร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่เซนต์สตีเฟน กษัตริย์ พระองค์แรกแห่งราชอาณาจักรฮังการี สร้างขึ้นในปี 1851 เสร็จ สมบูรณ์เมือ่ ปี 1905 ใช้เวลากว่า 54 ปีในการก่อสร้าง มหาวิหารแห่ง นี้มีความสูงถึง 96 เมตร ถือว่าเป็นอาคารที่มีความสูงที่สุดใน บูดาเปสต์ ภายในมหาวิหารอลังการท่ามกลางบรรยากาศอัน เงียบสงบ การตกแต่งภายในถึงแม้จะดูเรียบง่ายแต่ก็แฝงไว้ด้วย ความงดงามทางสถาปัตยกรรมที่หาดูได้ยาก
06
daybedsmag.com | 141
07
08
3. Great Synagogue in Budapest บู ด าเปสต์ ไม่ ไ ด้ มี แ ค่ โ บสถ์ โ รมั น คาทอลิ ก อย่ า ง St. Stephen’s Basilica ทีเ่ ป็นสถานทีท่ อ่ งเทีย่ วยอด นิยมเท่านั้น แต่ยังมีโบสถ์ยิว ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุโรป อีกด้วย ชือ่ ว่า Great Synagogue ได้สร้างขึ้นระหว่าง ปี 1854-1859 โดยชุมชนชาวยิวที่อาศัยอยู่บริเวณ นั้น มีความจุ 2,964 ที่นั่ง (1,492 ส�ำหรับผู้ชายและ 1,472 ส�ำหรับผู้หญิง) ท�ำให้เป็นโบสถ์ที่ใหญ่ที่สุดใน ยุโรป ทั้งภายนอก และภายในตกแต่งอย่างสวยงาม แน่นอนว่ากว่าจะผ่านเข้าไปชมด้านในได้จะมีเจ้าหน้าที่ คอยคุมทุกจุดแน่นหนาจริงๆ มีสแกนตัว ค้นตัว หลาย ขั้นตอน 4. Hungarian Parliament Building Hungarian Parliament คืออาคารรัฐสภาของฮังการี ที่ได้ชอื่ ว่าสวยทีส่ ดุ ในโลก เป็นอีกหนึง่ สถานทีท่ อ่ งเทีย่ ว ที่ไม่ควรพลาดมาเทีย่ วชม และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของ ฮังการี อาคารรัฐสภาตัง้ โดดเด่นอยูร่ มิ แม่นำ�้ ดานูบบน ฝัง่ เปสต์ เป็นอาคารรัฐสภาทีช่ าวฮังกาเรียนภูมใิ จว่าเป็น อาคารรัฐสภาที่สวยที่สุดในโลก เพราะตัวอาคารมี ความสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบนีโอโกธิคที่ดู คลาสสิกด้วยหลังคาสีแดง อาคารรัฐสภาแห่งนี้เริ่ม สร้างเมือ่ ปีค.ศ.1885 และใช้เวลากว่า 20 ปีกว่าจะเสร็จ สมบูรณ์ โดยรูปแบบแนวคิดอาคารได้รับอิทธิพลมา จากอาคารรัฐสภาแห่งลอนดอน สหราชอาณาจักร ภายในอาคารรัฐสภาประกอบด้วยห้องมากมายถึง 700 ห้อง มีประตูทางเข้า 27 แห่ง บนตัวอาคารประดับ ด้วยยอดสูง 365 ยอด ซึง่ การเดินชมภายในรัฐสภาจะ จัดเป็นกลุม่ ย่อยๆ และมีไกด์คอยพาน�ำชมห้องต่างๆ ซึง่ แต่ละห้องตกแต่งอย่างสวยสดวิจิตรอลังการงดงาม ตระการตาเป็นอย่างยิ่ง
09
10
142 | daybedsmag.com
11
5. Buda Castle หากไม่ได้ขึ้นมาชมวิวยามค�่ำคืนของเมืองปูดาเปสต์ แห่งนี้ก็เท่ากับมาไม่ถึง แนะน�ำสถานที่ท่องเที่ยวที่ สามารถชมวิวยามค�ำ่ คืนได้โดยไม่ตอ้ งเสียเงินเลยสัก บาทก็คงจะไม่พ้น Buda Castle ปราสาทแห่งนี้เปิดให้ เข้าชมทั้งวันทั้งคืนและเป็นจุดชมวิว 180 องศา ที่สวย อลังการมาก สามารถมองเห็นแม่น�้ำดานูปและสีสัน ของเมืองยามค�ำ่ คืนทีส่ วยงาม เห็นสะพานเชน (Chain Bridge) และอาคารรัฐสภา Hungarian Parliament Building อย่างชัดเจนอีกด้วย 07 I Liberty Bridge (Szabadsag Hid) 08-09 I Great Synagogue in Budapest 10 I Hungarian Parliament Building 11-12 I Buda castle (Viewpoint)
12
daybedsmag.com | 143