handicraft camp fabri

Page 1

1


2

สารบัญ เรื่อง

หน้า

โครงการ ค่ายหัตถกรรมผ้า ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ กลุ่มทอผ้า อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท กลุ่มทอผ้า อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท กลุ่มทอผ้า อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุ่มทอผ้า อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ สรุปกิจกรรม ค่ายหัตถกรรมผ้า กิจกรรมที่1 การนาเสนอความคิด กิจกรรมที่2 ต้นแบบที่1 หมอนปักเข็ม ต้นแบบที่2 กระเป๋าใบใหญ่ ต้นแบบที่3 กระเป๋าใบเล็ก ต้นแบบที่4 ตุ๊กตาผ้า ต้นแบบที่5 กระเป๋าสะพาย ต้นแบบที่6 กระเป๋าใส่เหรียญ ต้นแบบที่7 กระเป๋าใส่สิ่งของ กิจกรรมที่3 สรุป ภาคผนวก ผู้เข้าอบรมค่ายหัตถกรรม ประวัติวิทยากร

3 6 7 8 10 11 14 17 21 23 24 25 26 27 28 29 29 31


3

โครงการ ค่ายหัตถกรรมผ้า ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ความสาคัญและที่มาของปัญหา งานหัตถกรรมชุมชนแต่ละท้องถิ่นมีมานาน เป็นวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึง่ งานหัตถกรรมแต่ ละชุมชนความหลากหลายทางด้านรูปแบบ รูปทรงและเทคนิควิธีการผลิต ตามวัสดุในท้องถิ่นและมีเอกลักษณ์ เป็นของตัวเองไม่ว่าจะเป็นงานทอผ้า งานจักสาน งานหล่อโลหะ โดยงานหัตถกรรมชุมชนนั้นเป็นการใช้เวลา ว่างจากการทานาเสียเป็นส่วนใหญ่ ผลิตงานออกขายภายในชุมชนและชุมชนอื่นๆ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เป็นการหารายได้ให้กับครอบครัว และเป็นการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัจจุบันงานหัตถกรรมแต่ละชุมชนมีลักษณะเด่นในทักษะ และความชานาญที่ถ่ายทอดจะมีเอกลักษณ์ มีรูปแบบ ลวดลายดั้งเดิมตามที่ถ่ายทอดมา ทาให้การไม่สามารถตอบสนองกับความต้องการของตลาด ภายในประเทศในปัจจุบันได้ดี ขาดการพัฒนารูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย สีสันและความรู้ในวิทยาการสมัยใหม่ และเป็นการร่วมมือระหว่างนักออกแบบ/นักวิชาการที่มีความรู้ในการออกแบบจากวิทยาการสมัยใหม่/สากล กับช่างหัตถกรรมชุนชนพื้นบ้าน เพื่อให้พัฒนาไปพร้อมๆกันแต่การพัฒนาต้องไม่ทิ้งภูมิปญ ั ญาเดิมเพื่อให้คง เสน่ห์และเอกลักษณ์ของชุมชนต่อไป วัตถุประสงค์ 1.พัฒนาความรู้ทางการออกแบบเบื้องต้น และแนวคิดทางการตลาด 2.ออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่า( Value added) ให้กับผลิตภัณฑ์ ให้ทันสมัย สอดคล้อง กับความต้องการของตลาดภายในประเทศ 3.สร้างผู้ประกอบการให้มีศักยภาพ สามารถบริหารการจัดการได้ด้วยตัวเอง และพัฒนางานได้อย่าง ต่อเนื่อง ขอบเขต 1.ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการบูรณาการด้วยวัสดุท้องถิ่นและวัสดุในตลาด เพื่อนามา ประยุกต์ เพื่อให้ตอบสนองกับความต้องการทางการตลาด 2.ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และจัดทาต้นแบบอย่างน้อย 5 ชิ้นในแต่ละชุมชน 3. นักศึกษาภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ ได้บูรณาการความรู้ภาคทฤษฎีกับภูมิ ปัญญาชาวบ้านใน 5 กลุ่มชุมชน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.เกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ได้จากการบูรณาการประสานเชื่อมโยงระหว่างนักออกแบบและชุมชนซึ่งเป็น ผู้ผลิตสินค้าหัตถกรรม 2.ทาให้กลุ่มชุมชนท้องถิ่นประกอบอาชีพด้านหัตถกรรม เกิดความพึงพอใจในการสร้างสรรค์งาน รูปแบบใหม่ที่ สามารถนาไปใช้ได้จริง ประกอบกับความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม วิธีดาเนินงาน 1 จัดการอบรมให้ความรู้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้มีความเป็นสากล แต่ ยังคงรักษาเอกลักษณ์ท้องถิ่น ตอบสนองความต้องการของตลาด 2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้า จานวนไม่น้อยกว่า 5 ชิ้นงาน หลังจากการระดมความคิด


4

แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ระหว่าง วิทยากร พร้อมผู้ช่วย ซึ่งเป็นผู้ให้แนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้า และ ผู้ผลิตงานทอผ้า ซึ่งเป็นผู้ให้ภูมิปัญญาการการทอผ้า 3. การจัดทาต้นแบบ จานวนไม่น้อยกว่า 5 ชิ้นงาน ตามแนวคิดจาก 2. 4. รายงานสรุปผล ซึ่งประกอบด้วย 4.1 รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์จากข้อ 2. จานวน 2 ชุดพร้อม Soft File 4.2 แบบร่างผลิตภัณฑ์ จากข้อ 3. 4.3 ต้นแบบผลิตภัณฑ์ จากข้อ 3 4.4 รายงานสรุปการทางานในแต่ละขั้นตอน พร้อมรูปถ่าย จานวน 2 ชุดพร้อม Soft File กาหนดการฝึกอบรม วันที่19 สิงหาคม 2554 วันที่ เวลา รายละเอียดหัวข้อ/กิจกรรม วิทยากร 9.00-10.00น. การออกแบบเบื้องต้น ศึกษาการผลิต 10.00-10.15น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.15-12.00น. กิจกรรมการออกแบบ ร่างต้นแบบ อ.เดชา อนันต์อิทธิ และ 12.00-13.00น. รับประทานอาหารกลางวัน อ.บวรรัตน์ คมเวช 13.00-14.00น. จัดทาแบบร่างเป็นต้นแบบ 14.00-14.15น. พักรับประทานอาหารว่าง 14.15-16.00น. นาเสนอต้นแบบ วันที่20 สิงหาคม 2554 วันที่ เวลา 9.00-10.00น. 10.00-10.15น. 10.15-12.00น. 12.00-13.00น. 13.00-14.00น. 14.00-14.15น. 14.15-16.00น.

รายละเอียดหัวข้อ/กิจกรรม ผลิตต้นแบบ พักรับประทานอาหารว่าง ผลิตต้นแบบ รับประทานอาหารกลางวัน ผลิตต้นแบบ พักรับประทานอาหารว่าง ผลิตต้นแบบ

วันที่21 สิงหาคม 2554 วันที่ เวลา 9.00-10.00น. 10.00-10.15น. 10.15-12.00น. 12.00-13.00น.

รายละเอียดหัวข้อ/กิจกรรม ผลิตต้นแบบ พักรับประทานอาหารว่าง ผลิตต้นแบบ รับประทานอาหารกลางวัน

วิทยากร

อ.เดชา อนันต์อิทธิ และ อ.บวรรัตน์ คมเวช

วิทยากร อ.เดชา อนันต์อิทธิ และ อ.บวรรัตน์ คมเวช


5

13.00-14.00น. 14.00-14.15น. 14.15-16.00น.

นาเสนองาน ต้นแบบ พักรับประทานอาหารว่าง นาเสนองาน ต้นแบบและสรุป

กาหนดการดาเนินงาน วันที่19-21 สิงหาคม 2554 สถานที่จัดโครงการ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ รายชื่อวิทยากร ที่ปรึกษาโครงงาน 1.ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ 2.ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ งานอบรม 1.อาจารย์เดชา อนันต์อิทธิ อาจารย์พิเศษภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ 2.อาจารย์บวรรัตน์ คมเวช ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มที่เข้าอบรม จานวน(คน) ประโยชน์ที่ได้รับ สมาชิกกลุ่มทอผ้า/แปรรูปผ้า 20 ความรู้ : ความรู้ในภูมิปัญญาท้องถิ่น และการออกแบบ จาก ลพบุรี และ ชัยนาท และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทักษะ : ด้านการผลิตชิ้นงานจากภูมิปัญญาชุมชน นักศึกษา 10 ภาควิชา ประยุกตศิลปศึกษา ผลสาเร็จและความคุ้มค่าของการวิจัยที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ร่วมสมัยจานวนไม่น้อยกว่า 5 รายการ เหมาะสมกับตลาดปัจจุบัน และ เป็นแนวทางที่ชุมชนจะสามารถนาไปใช้พัฒนาต่อยอดต่อไป 2. การใช้วัสดุท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพิ่มผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นให้เกิดคุณค่าด้านจิตใจ ความงาม ฝีมือ รูปแบบและการใช้งานตลอดจนสามารถแข่งขันกับผลิตภัณฑ์ข้างเคียงในตลาดสากล 2. นักศึกษาภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ ม.ศิลปากร ได้ลงปฏิบัติงานจริง โดยนา ความรู้ภาคทฤษฎีนาไปผสมผสานการภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย


6

กลุ่มทอผ้า อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท กลุ่มทอผ้าโบราณ หมู่ที่1 ตาบลเนินขาม อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท การทอผ้าของคนเนินขามสืบทอดวัฒนธรรมภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษชนชาติลาว หลวงพระบาง เวียงจันทร์ เป็นกลุ่มลาวเวียง ที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยสมัยรัฐการที่ 3 ซึ่งวิถีชีวิตดั้งเดิมสมัยปู่ย่าตายาย จะทอผ้าใส่กันเอง มีทั้งผ้ามัดหมี่ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผ้าขาวม้า ผ้าพื้น ผ้ายกดอก และต่อมาได้พัฒนาลวดลายการ ทอให้ทันสมัยตามความต้องการของลูกค้า แต่ยังคงเอกลักษณ์ของเดิมไว้ กลุ่มทอผ้าได้รวมกลุ่มกันขึ้นมาเมื่อปี พ.ศ. 2545 เพื่อทอผ้าไว้ใช้เอง และจาหน่าย ถึงแม้จะไม่สามารถปลูกหม่อนเลี้ยงไหมได้เอง เนื่องจากพื้นที่ไม่ เหมาะ แต่คนเนินขามก็ยังคงรักษาวัฒนาธรรมการทอผ้าไว้ได้อย่างยาวนาน และมีการสืบทอดภูมิปัญญาสู่รุ่น ลูก รุ่นหลาน โดยสั่งซื้อเส้นไหมมาจากจังหวัดชัยภูมิ แต่นามาผ่านกรรมวิธีทุกอย่างด้วยตนเอง ได้แก่การกรอ ด้าย การมัดย้อม การออกแบบลวดลาย และการทอแบบโบราณที่สืบทอดกันมา เป็นการรวมกลุ่มจากคนเชื้อ สายเดียวกัน มีวิถีชีวิตเหมือนกัน จึงเป็นฝีมือแรงงานของคนในชุมชนอย่างแท้จริง ผลงานที่ออกมาจึงสื่อให้เห็น ถึงวัฒนธรรมดั้งเดิม มีเอกลักษณ์เป็นของตนเอง และการถ่ายทอดสู่เยาวชนในชุมชน จึงทาให้มีความผูกพันกัน เหมือนพี่น้องลูกหลาน เพื่อสร้างงานสร้างรายได้ให้ซึ่งกันและกัน ปี พ.ศ. 2553 กลุ่มฯ นาผ้าทอโบราณลายหมี่สาเภา เข้าคัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย ได้ระดับ 5 ดาว จึงทาให้กลุ่มทอผ้า ตาบลเนินขาม มีชื่อเสียง

ผลิตภัณฑ์ เป็นผ้าทอพื้นเมืองลายดั้งเดิม ผ้าซิ่นตีนจกที่มีกระบวนการผลิต การมัดย้อม และการทอแบบโบราณที่ สวยงาม ใช้ลวดลาย สีแบบโบราณ คือ สีเขียว เหลือง แดง และดา ผ้าที่ทอขายในปัจจุบันคือ - ผ้าฝ้ายยกดอก - ผ้าแพรวา - ผ้าซิ่นผ้าไหม - ผ้าไหม (3 ตะกอ)

การย้อมสี ปัจจุบันผ้าทอของกลุ่มย้อมทั้งสีเคมีและสีธรรมชาติ สีธรรมชาติที่กลุ่มย้อมได้แก่ สีแดง จาก มูลครั่ง สีดา จาก มะเกลือ สีเหลือง จาก แก่นขนุน เป็นต้น


7

กลุ่มทอผ้า อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท กลุ่มทอผ้าสะพานหิน หมู่ที่1 ตาบลสะพานหิน อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท การทอผ้าของคนหนองมะโมงสืบทอดวัฒนธรรมภูมิปัญญามาจากบรรพบุรุษชนชาติลาว เป็นกลุ่มเชื้อ สายลาวคั่ง อพยพมาจากเมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว เข้ามาอยู่ในประเทศไทย ในสมัยรัชกาลที่ 3 ภายหลังการปราบกบฎ เจ้าอนุวงศ์ เนื่องจากเดิมชนกลุ่มนี้อาศัยอยู่แถบเทือกเขา "ภูคัง" ในหลวงพระบาง คนทั่วไปจึงเรียกว่า "ลาวภูคัง" ต่อมาเพี้ยนเป็น "ลาวคั่ง" "ลาวขี้ครั่ง" อพยพมาอยู่ที่บ้านหนองดินแดง บ้านโพรงมะเดื่อ อาเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ประมาณ 20 กว่าปี ได้ อพยพต่อมาอยู่ที่เขากระจิว จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ที่เขากระจิวได้ประมาณ 20 ปี คงต้องเผชิญกับภาวะภัยพิบัติ เช่น น้าท่วม ฝน แล้ง โรคระบาด เป็นต้น ทาให้ต้องอพยพโยกย้ายมาอยู่ที่ข้างบึงใหญ่มีจอกเต็มบึง โดย "กองขุนศรี" เป็นผู้นาชาวบ้าน 20 กว่า ครอบครัว มาตั้งบ้านเรือนอยู่เป็นพวกแรก เป็นที่มาของชื่อตาบลกุดจอก ในปัจจุบัน ต่อมามีผู้นาชื่อ "กองขุนยุทวิชัยโย" นา ชาวบ้านอพยพติดตามมาตั้งบ้านเรือนอยู่ในละแวกเดียว กัน เกิดเป็นชุมชนหนาแน่น ต่อมาทาให้เกิดการแยกย้ายไปอยู่ตาบล หนองมะโมง ตาบลวังตะเคียน ตาบลสะพานหิน กิ่งอาเภอหนองมะโมง อาเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท และยังมีกลุม่ ชนเชื้อสาย ลาวคั่งที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยก่อนกลุ่มเชื้อสายลาวคั่ง กิ่งอาเภอหนองมะโมง คือกลุ่มเชื้อสายลาวคั่งที่บ้านหนองพังนาค ตาบลเสือโฮก อาเภอเมืองชัยนาท มี คนลาวคั่งส่วนใหญ่จะใช้ภาษาลาว-ไทย ทานาข้าว ผู้หญิงจะทอผ้า ลักษณะผ้าทอจะเป็นผ้า ยก จก และมัดหมี่ ที่มีลวดลายสวยงาม การเรียกชื่อลายก็จะเป็นไปตามลักษณะการทอ เช่น ลายสิบซิ้ว ลายขออีโง้ง ลาย พญานาค ลายอีป้าลืมผัว ผ้าฝ้ายหมี่โลดและผ้าไหมหมี่โลด (ลายหมี่สาเภา) ซึ่งเป็นฝีมือของชาวไทคั่ง ลวดลายโบราณ ทอ ประณีต ย้อมสีธรรมชาติ มีเทคนิคการแต้มสีหลังการย้อม เพิ่มลวดลายให้สวยงาม และทอผ้าซิ่นต่าง ๆ เช่น ซิ่นดาดาน ซิ่นดอก ซิ่นสิบซิ้ว ซิ่นหมี่ตา ซิ่นหมี่ลวดและซิ่นหมี่โลด

ผลิตภัณฑ์ เป็นผ้าทอพื้นเมืองลายดั้งเดิม ผ้าซิ่นตีนจกที่มีกระบวนการผลิต การมัดย้อม ผ้าที่ทอขายในปัจจุบันคือ - ผ้าฝ้ายยกดอก - ผ้าซิ่นผ้าไหม - ผ้าไหม (3 ตะกอ)

ผ้าซิ่นหมี่โลดต่อตีนจก ลายขอขื่อปีกบ่าง

การย้อมสี ปัจจุบันผ้าทอของกลุ่มย้อมทั้งสีเคมีและสีธรรมชาติ สีธรรมชาติที่กลุ่มย้อมได้แก่ สีแดง จาก มูลครั่ง สีแสด จาก คาแสด สีเขียว จาก เปลือกกระหูด เป็นต้น


8

กลุ่มทอผ้า อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน หมู่ที่10 ตาบลหินปัก อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ผ้าทอมัดหมี่เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรมพื้นบ้านที่บ่งบอกถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม และอารยธรรมของคนใน ท้องถิ่นตาบลหินปัก อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ซึ่งได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันจากบรรพบุรุษชาวไทยพวน ที่อพยพจากแขวงเชียงขวาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาตั้งรกรากในประเทศไทย ที่นาเอาภูมิ ปัญญา ประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น นอกจากการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ที่สืบทอดกัน มา ชาวบ้านยังใช้ผ้าทอมัดหมี่สาหรับการนุ่งห่มในชีวิตประจาวัน ซึ่งการทอผ้ามัดหมี่แสดงออกถึงเอกลักษณ์ เฉพาะท้องถิ่นของชาวไทยพวนบ้านหมี่ ลวดลายและสัญลักษณ์ที่ปรากฏอยู่บนผืนผ้า สะท้อนให้เห็นถึงความ เชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของชาวบ้าน วัฒนธรรมการแต่งกาย และคตินิยม จึงเป็นเสมือนกระจก เงาที่สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรม รสนิยม และความเป็นตัวแทนของท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะของท้องถิ่นตน ผ้าทอมัดหมี่ เป็นการมัดลายที่เส้นพุ่งหรือเส้นยืนด้วยเชือกก่อนนาไปย้อมสี เพื่อให้เกิดสีสันและ ลวดลายตามที่คนทอเป็นผู้กาหนดไว้ คาว่า “ผ้ามัดหมี่” เป็นชื่อที่เรียกกรรมวิธีการทอผ้าอย่างหนึ่ง ที่นาเอา เส้นด้ายมามัดเป็นเปลาะๆ ตามลายแล้วนาไปย้อมสีให้เกิดสีสัน และลวดลายตามที่ต้องการเรียกวิธีการมัดย้อม ซึ่งความงดงามและความเป็นเอกลักษณ์ของผ้ามัดหมี่ คือ รอยสีที่ค่อย ๆ ซึมในเนื้อผ้าที่ติดกับลวดลาย ทาให้ ได้ลวดลายที่แปลกตา เพิ่มความงดงามและความมีเสน่ห์ให้แก่ผ้ามัดหมี่ ในสมัยก่อนจะทอกันในช่วงเวลาที่ ว่างเว้นจากฤดูทานา ผ้าที่นามาทอจะเป็นผ้าซิ่นลายมัดหมี่ ผ้าขาวม้า และเครื่องนุ่งห่ม เพื่อใช้ในครัวเรือน จากการสั่งสมประสบการณ์ที่ได้รับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการทอผ้าจาก บรรพบุรุษและ เรียนรู้จากรุ่นสู่รุ่นนัน้ อีกทั้งได้เล็งเห็นถึงคุณค่าในความงามของผ้าที่ทอและต้องการอนุรักษ์ไว้ซงึ่ ภูมิปัญญา ของชาวไทยพวน จึงได้มีการรวมกลุ่ม ตั้งชื่อกลุ่มว่า “กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน” เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2543 เพื่อเป็นการสร้างงาน สร้างรายได้ให้กับคนในชุมชน/หมู่บ้าน โดยแรกเริ่มมีสมาชิกก่อตั้ง จานวน 30 คน ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งสิ้น 75 คน สมาชิกถือหุ้น ๆ ละ 100 บาท ซึ่งในแต่ละปีจะมีการปันผลทุกวันที่ 27 มีนาคมของทุกปี การบริหารจัดการกลุ่มมีนางวนิดา รักพรม เป็นประธาน ซึ่งกลุ่มสตรีอาสาบ้านพวนได้ตั้งอยู่ บ้านเลขที่ 82 หมู่ที่ 10 ตาบลหินปัก อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ปัจจุบันกลุ่มฯ ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์เพื่อรองรับมาตรฐานต่าง ๆ และสร้างความเป็นเอกลักษณ์ ความโดดเด่นของผลิตภัณฑ์

ผลิตภัณฑ์ ลักษณะที่โดดเด่นของผ้าทอมัดหมี่ของกลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน เป็นการแสดงภูมิปัญญาเดิมของบรรพ บุรุษ กล่าวคือ ใช้วิธีการผลิตแบบดั้งเดิม ด้วยการทอด้วยมือ อันเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย พวน ผ้าทอมัดหมี่ของกลุ่มสตรีอาสาบ้านพวนจะมีโดดเด่นโดยเน้นลวดลายโบราณ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดแรงบันดาล ใจจากธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ลายตะวันลับฟ้า ลายบัวศรี ลายเหลื่อมสลับลาย ซึ่งเป็นลายโบราณที่ยังคงอนุรักษ์ไว้ อีกทั้งยังเน้นโทนสีที่มีความคลาสสิค และสีธรรมชาติ อีกทั้งมีลักษณะเด่น ดังต่อไปนี้ 1. เนื้อผ้ามีความคงทน 2. สีสันสวยงาม สีไม่ตก สวมใส่สบาย 3. ลวดลายและการทอมีความประณีต เรียบสม่าเสมอทั่วทั้งผืน


9

4. การดูแลรักษาง่ายและสะดวกในการใช้

การย้อมสี ปัจจุบันผ้าทอของกลุ่มย้อมทั้งสีเคมีและสีธรรมชาติ สีธรรมชาติที่กลุ่มย้อมได้แก่ สีแดง จาก มูลครั่ง สีดา จาก มะเกลือ สีเหลือง จาก แก่นขนุน ไม้มะกาย สีส้ม จาก คาแสด สีน้าเงิน จาก คราม น้าตาล จาก ประดู่สดๆ สีเหลือง จาก ดาวเรือง เป็นต้น


10

กลุ่มทอผ้า อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี ศูนย์ศิลปิน OTOP กลุ่มศูนย์พัฒนาปัญญาท้องถิ่น หมู่ที่4 ตาบลโคกเจริญ อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี ผ้าฝ้ายลายหลุยส์ เป็นผ้าที่ออกแบบลวดลายในเชิงสากล แต่กระบวนการผลิตและวัตถุดิบนั้น ยังคงไว้ ซึ่งเอกลักษณ์แบบไทยๆ โดยนานวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่มาผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย จนกลายเป็น ศิลปหัตถกรรมที่วิจิตรงดงามและมีคุณค่าทางการใช้สอยได้ อเนกประสงค์ แนวคิดที่ได้มาในตัวผลิตภัณฑ์ ผ้า มัดหมี่โดยทั่วไปลวดลายจะมีพื้นฐานมาจากลายไทย ซึ่งเกิดแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติอีกทีหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ จึงมีลักษณะคล้ายคลึงกัน ขาดความต่างซึ่งจะทาให้เป็นจุดเด่นในผลิตภัณฑ์นั้นๆ และไม่เป็นที่นิยมของคนรุ่น ใหม่เท่าที่ควร จึงได้คิดค้นลวดลายซึ่งเป็นสากลโดยอาศัยแนวความคิดจากลายเหล็กดัด ประตูอัลลอยด์ งาน จิตรกรรมและประติมากรรมของทางยุโรปและอเมริกากอปรกับได้เห็นภาพของบาท หลวงในสมัยของพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 ซึ่งเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศไทย ในสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ซึ่งนุง่ ผ้ามี ลวดลายและโครงสีที่น่าสนใจ อีกทั้งพยายามร้อยรัดผลงานให้เกี่ยวเนื่องกับจังหวัดลพบุรี เพื่อสร้างเอกลักษณ์ ของผลิตภัณฑ์จึงประดิษฐ์ผ้ามัดหมี่ขึ้นมาโดยใช้ชื่อว่า “ผ้ามัดหมี่ลายหลุยส์” กลุ่มผู้ประกอบการ อาจารย์วินัย ปัจฉิม ศูนย์ศิลปิน OTOP เลขที่ 22 หมู่ที่ 4 ตาบลโคกเจริญ อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี 15250 โทรศัพท์ 089- 2378906

ผลิตภัณฑ์ ผ้าที่ทอออกจากกลุ่มทุกชิ้น เป็นผ้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ผ้า 1 ชุด ต้องมี 4 เมตร น้าหนักไม่ต่า กว่า 5 ขีด ถ้าเป็นผ้า 4 ตะกอสอดดิ้นต้องมีน้าหนักไม่ต่ากว่า 6 ขีด เป็นผ้าที่มีความละเอียด ประณีต สีสัน สวยงาม เนื้อผ้าเรียบ เหนียว ทน เป็นมันเงา ลวดลายทันสมัย ไม่ยืด ไม่หด ที่ริมผ้าทุกชิ้น มีสัญลักษณ์ ว่า “OTOP KHOKCHARORN LOPBURI 000” ตามด้วยรหัสประจาตัวผู้ผลิต จึงเชื่อมั่นได้ว่าผลิตภัณฑ์ ผ้าทอของกลุ่ม ได้มาตรฐานทุกชิ้น

การย้อมสี ปัจจุบันผ้าทอของกลุ่มย้อมทั้งสีเคมีและสีธรรมชาติ สีธรรมชาติที่กลุ่มย้อมได้แก่ สีเขียว จาก หูกวาง สบู่เลือด สีดา จาก มะเกลือ สีเหลือง จาก แก่นคูน เปลือกกระท้อน ต้นขนุน สีน้าตาล จาก คาง เป็นต้น


11

การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ คือการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ และแนวคิดใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจของ กลุ่มผู้บริโภค โดยต้องคานึงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้คือ 1. การตลาด 2. ศิลปะ 3. การผลิตทางอุตสาหกรรม ความสาคัญของการออกแบบผลิตภัณฑ์ ความสาคัญของการออกแบบผลิตภัณฑ์คือ การแก้ปัญหาซึ่งเป็นส่วนช่วยในการพัฒนารูปแบบต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ หรือสินค้ารอบ ๆ ตัวเรา การแก้ปัญหาย่อมต้องมีรากฐานของความชอบและความพึงพอใจ ตลอดจนความต้องการความอานวยความสะดวกสบายของมนุษย์ จึงถือว่าการออกแบบนั้นประสบความสาเร็จ ได้ รวมทั้งประโยชน์ใช้สอยที่ต้องสอดคล้องกับความสะดวกสบาย ถือเป็นปัจจัยแรกที่นักออกแบบต้องคานึงถึง ประโยชน์ใช้สอยมีผลต่อลักษณะของรูปทรง ขนาด น้าหนัก วัสดุ การใช้งานและวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม ผลประโยชน์ที่ได้รับจากการออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ 1. เพิ่มคุณภาพให้กับผลิตภัณฑ์ 2. เพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาด 3. ลดต้นทุนการผลิต 4. ได้ผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้หรือผู้บริโภค 5. เพิ่มผลกาไร 6. เพิ่มคุณค่าให้กับผลิตภัณฑ์ 7. เพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ของผลิตภัณฑ์และผู้ผลิต หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ต้องคานึงถึงหลักการในการออกแบบดังนี้ 1. ประโยชน์ใช้สอย เพื่อตอบสนองความต้องการ การใช้งานของลูกค้าเป็นอันดับแรก 2. ความปลอดภัย เป็นการเลือกวัสดุ ใช้สีที่ไม่ก่อให้เกิดการแพ้ ระคายเคือง หรือเป็นอันตราย 3. รูปร่าง รูปทรง ความแข็งแรง เป็นการคิดถึงความแข็งแรง เลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับการใช้ งาน ออกแบบขนาดรูปทรง รูปร่างที่สวยงาม วิธีการเย็บ การติด การต่อ ให้แข็งแรง ทนทาน 4. ความสะดวกสบายในการใช้ เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ กลมกลืนกับการใช้งาน ขนาดความ กว้าง ยาวที่เหมาะสม 5. ความสวยงามน่าใช้ เป็นการเลือกใช้จับคู่วัสดุผ้า และจับคู่สีที่สวยงาม จะเริ่มตั้งแต่การทอ จนถึงการแปรรูปผลิตภัณฑ์ 6. ราคา ในการคิดราคาให้คานึงถึงหลักดังนี้ 6.1 คิดจากราคาวัสดุทั้งหมด ที่ใช้ 6.2 คิดค่าแรงของคนที่ทางานชิ้นนั้นทั้งหมด ต่อวัน 6.3 จานวนวันที่ใช้ ในการแปรรูป 6.4 เผื่อเวลาจัดจาหน่าย ประมาณเวลาใช้เวลากี่วันในการจาหน่าย 6.5 มูคค่าผลิตภัณฑ์ เป็นการยกระดับผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมกับราคา 7. การซ่อมแซม ดูแลรักษา ต้องไม่ยุ่งยาก ไม่ซับซ้อนจนเกินไป


12

วิธีการเลือกใช้สี การเลือกใช้สีสามารถนาความรู้ในเชิงจิตวิทยามาผสมผสานกับการใช้สีในเชิงสัญลักษณ์ ดังนี้ ดา ขาว เทา เป็นการใช้สีร่วมกันเพียง 3 สี ทาให้เกิดความรู้สึกจริงจัง หนักแน่น ในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการแสดงถึงความแข็งแกร่ง หรือแสดงถึงผิวสัมผัสของวัสดุอย่างตรงไปตรงมาจะนิยมใช้สีโทนนี้ สีเอกรงค์ เป็นการใช้สีใดสีหนึ่งเพียงสีเดียว แต่เพิ่มระดับความเข้มของสีโดยการเติมสีขาว หรือสี ดา เพื่อให้สีอ่อนหรือเข้มขึ้น ทาให้ได้โครงสีที่เรียบง่าย เบาสบาย ดูคลาสสิก เหมาะกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ เครื่องใช้ในสานักงาน เครื่องตกแต่งอาคาร เครื่องเรือน ฯลฯ สีขั้นที่หนึ่งหรือกลุ่มแม่สี คือการใช้เฉพาะสี 3 สี คือ แดง เหลือง น้าเงิน ทาให้ได้งานออกแบบที่ ตื่นเต้น สนุกสนาน ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการให้เห็นเด่นชัด สดใส เช่น เครื่องเล่นของเด็ก สีขั้นที่สองหรือกลุ่มสีผสม เป็นสีที่เกิดจากการผสมของแม่สี คือ เขียว ส้ม ม่วง งานออกแบบที่ใช้ สีกลุ่มนี้ดูสะดุดตา มีพลัง และทาให้เกิดการเคลื่อนไหว เช่น ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่ม สีตรงข้ามหรือสีคู่ประกอบ เป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงล้อสี ได้แก่ สีเหลืองกับสีม่วง สีเขียวกับสี แดง สีส้มกับสีน้าเงิน งานออกแบบที่ใช้สีกลุ่มนี้จะให้ความรู้สึกตื่นเต้น น่าสนใจ

กลุ่มของสีที่ให้ความรู้สกึ ที่ต่างกัน การแบ่งกลุ่มสีเพื่อสร้างความรู้สึกที่แตกต่างกันของผู้บริโภค ในการรับรู้ย่อมมีผลจากการเลือกใช้ สีแต่ละกลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มสีที่ก่อให้เกิดความรู้สึกตื่นเต้น เร้าใจ ได้แก่ สีแดง สีดา สีเหลือง และสีแสด เหมาะ สาหรับผลิตภัณฑ์ที่เตือนภัยให้ระวังอันตราย 2. กลุ่มสีที่แสดงความเป็นผู้หญิง ได้แก่ สีชมพู สีฟ้า สีเหลืองอ่อน สีเขียวอ่อน เหมาะ สาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์สาหรับผู้หญิง 3. กลุ่มสีที่แสดงความเป็นผู้ชาย ได้แก่ สีดา สีน้าเงิน สีเทา และสีแดง เหมาะสาหรับ ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการเน้นกลุ่มผู้ชาย 4. กลุ่มสีที่แสดงความสด ได้แก่ สีเขียวเหลือง สีเหลือง สีน้าเงิน เน้นความสดของสินค้า เช่น อาหาร เครื่องดื่ม 5. กลุ่มสีที่แสดงถึงสุขภาพ ได้แก่สีเหลือง สีน้าตาล สีเขียว เหมาะสาหรับออกแบบ ผลิตภัณฑ์ที่เน้นด้านสุขภาพ เช่น อาหารเสริม ยา 6. กลุ่มสีที่แสดงออกถึงการสั่นสะเทือน ได้แก่ สีน้าเงิน สีแดง สีเหลือง สีเขียว เหมาะ สาหรับงานออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ต้องการแสดงการเคลื่อนไหว สั่นสะเทือน 7. กลุ่มสีที่แสดงออกถึงความน่าเชื่อถือ ได้แก่ สีเหลือง สีน้าตาล สีดา สีทอง เหมาะสาหรับ งานออกแบบที่ต้องการจูงใจให้ผู้ดูเชื่อถือในตัวสินค้า หรือผลิตภัณฑ์นั้น ๆ เป็นที่น่าสังเกตว่าสีเหลืองปรากฏอยู่ในกลุ่มสีทุก ๆ กลุ่ม ซึ่งสอดคล้องกับจิตวิทยาการใช้สีของมนุษย์ สีก่อให้เกิดความสวยงาม และช่วยดึงดูดความสนใจต่อผู้บริโภค เกิดความสะดุดตาต่อผู้พบ เห็น บ่งบอกถึงความหมายและประโยชน์ใช้สอยของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ การกาหนดความหมายด้วยสีเป็นการใช้ งานที่นอกเหนือจากการใช้สีเพื่อการตกแต่ง แต่เป็นการกาหนดของนักออกแบบและความนิยมของสภาวะ ตลาดในปัจจุบัน


13

อิทธิพลของสีที่มตี ่อผลิตภัณฑ์ ทางด้านขนาด สีอ่อน ทาให้ผลิตภัณฑ์ดูใหญ่ขึ้น สีเข้ม ทาให้ผลิตภัณฑ์ดูเล็กลง ทางด้านน้าหนัก สีอ่อน ทาให้ผลิตภัณฑ์เบา สีเข้ม ทาให้ผลิตภัณฑ์หนัก ทางด้านความแข็งแรง สีอ่อน ทาให้เกิดความรู้สึกแข็งแรงมาก สีเข้ม ทาให้เกิดความรู้สึกบอบบางกว่า

วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ จากผลิตภัณฑ์ที่กล่าวมาทั้งหมดสรุปแนวคิด ปัญหา และแนวความคิดในการพัฒนาได้ดังนี้ จุดแข็ง - เป็นวัสดุที่หาง่าย ทอขึ้นเองในท้องถิ่น - มีต้นทุนไม่สูง - มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของชุมชนนั้นๆ - เป็นผลผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จุดอ่อน - ขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความต้องการของลูกค้า กลุ่มเป้าหมาย - ยังไม่มีตลาดรองรับสินค้า จึงทาให้การทาธุรกิจมีการเติบโตที่ล่าช้า โอกาส - มีการสนับสนุนในส่วนราชการ - ปัจจุบันมีการรณรงค์การเกิดโลกร้อน ทาให้ลูกค้าหันมาบริโภค สินค้าที่ผลิตจาก ธรรมชาติ สามารถย่อยสลายได้ เป็นสินค้าที่คงทน ใช้งานได้นาน และเกิดประโยชน์ อุปสรรค - การเข้าถึงตลาดสินค้าได้ยาก และมีคู่แข่งมาก - ผู้นาและชาวบ้าน ขาดความรู้ ความเข้าใจ และเทคโนโลยีใหม่ๆที่นามาประยุกต์ใช้ ในการผลิต


14

สรุปกิจกรรม ค่ายหัตถกรรมผ้า วันที่ 19 สิงหาคม 2554

คุณวาสุเทพ ธะประสพ ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาช่างฝีมือ กล่าวเปิดค่ายหัตถกรรมผ้าและชี้แจงจุดประสงค์ โครงการค่ายหัตถกรรมผ้า โดยมีผู้เข้าอบรม ดังนี้ 1. กลุ่มชุมชนจาก อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท 2. กลุ่มชุมชนจาก อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท 3. กลุ่มชุมชนจาก อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี 4. กลุ่มชุมชนจาก อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี 5. นักศึกษาชั้นปีที่2 ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑ์นศิลป์ ม.ศิลปากร

อ.เดชา อนันต์อิทธิ ประธานโครงการและวิทยากร แนะนาโครงการ อ.บวรรัตน์ คมเวช วิทยากร แนะนา กิจกรรมตลอด 3 วันในการเข้าค่ายหัตถกรรมครั้งนี้

แนะนานักศึกษา และแบ่งนักศึกษาไปตามกลุ่มของชุมชน ทั้ง 4 กลุ่ม


15

แนะนากลุ่มที่เข้าอบรมค่ายหัตถกรรม กลุ่มที่1 จากกลุ่มบ้านพวน บ้านหมี่ ลพบุรี และกลุ่มที่2 จากโคกเจริญ ลพบุรี และโชว์ผ้าที่นามา

กลุ่มที่3 จากสะพานหิน อาเภอหนองมะโมง ชัยนาท และกลุ่มที่4 จากเนินขาม ชัยนาท หลังจากทุกกลุ่ม แนะนาตัวเองแล้ว จึงสรุปว่าทุกกลุ่ม เป็นกลุ่มชาติพันธุ์ลาว จากลพบุรีเป็นลาวพวน จากหนองมะโมงเป็นลาว ครั่ง เนินขามเป็นลาวเวียง และนักศึกษาที่ไปร่วมกิจกรรมค่ายมีพื้นเพมาจากทางภาคอีสาน


16

กิจกรรมที่1 นาเสนอความคิด ให้ทุกคนเขียนแบบผลิตภัณฑ์ ที่เคยแปรรูปและอยากจะแปรรูป จุดประสงค์ เพื่อเป็นการศึกษา ดูความคิด ความถนัด และพื้นฐานความสามารถในทางสร้างสรรค์ วิธีปฏิบัติ 1.เขียนรูปแบบด้วยดินสอ และลงสีให้สวยงาม ลงในกระดาษที่กาหนด


17

ผลงานที่ได้ของแต่ละกลุ่ม กลุ่มทอผ้าสะพานหิน (กลุ่มไลท์ พิ้งค์)

คุณมนัสนันท์ อินทพิจิตร์ (อี๊ด)

คุณคมคาย จันทร์ศรี (คมคาย)

คุณลาแพน เดโชชัย (แพน)

คุณสวาท ศรีเมือง (สวาท)


18

กลุ่มศิลปิน โอทอป โคกเจริญ

คุณวันเพ็ญ วิจารชน

คุณเปียทิพย์ พูนอัน

คุณบัวทอง ปัจฉิม

คุณบัวทอง ปัจฉิม


19

กลุ่มบ้านพวน (สาวใหญ่ไฟแรงสูง)

คุณละม่อม พานทอง

คุณสกาว ศรีบุญเรือง

คุณเพ็ญศรี ม่วงศิลป์

คุณสมพร กระต่ายจันทร์


20

กลุ่มทอผ้าโบราณ เนินขาม

คุณไพรินทร์ วงษ์ไทย

คุณดาวเรือง พุ่มจาปา

คุณสมประสงค์ กาฬภักดี

คุณสนิม ปิ่นสุวรรณ

คุณจิราภรณ์ การภักดี


21

สรุปกิจกรรมที่1 ผู้เข้าอบรมได้เตรียมตัว ได้แสดงความคิดโดยการสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นรูปภาพได้ เพื่อให้ผู้อื่น ได้เข้าใจความคิดของแบบที่ต้องการได้เป็นอย่างดี รูปแบบของงานที่ถ่ายทอดออกมายังเป็นรูปแบบที่ผู้เข้า อบรมเคยชิน และคุ้นเคยจึงทาให้รูปแบบยังเดิมๆ ไม่มีอะไรแปลกใหม่เพราะยังมองแต่สิ่งที่อยู่รอบๆตัว

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที่1 หมอนปักเข็ม ให้ทุกคนทาหมอนปักเข็ม จุดประสงค์ เพื่อเป็นการเตรียมตัวในการตัดเย็บ อย่างง่ายๆและถ่ายทอดความคิดสร้างสรรค์ วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 10 เซนติเมตร 2 ชิ้น 2.ทาการเย็บขอบโดยรอบ และเผื่อช่องเอาไว้ใส่ ใยโพลีเอสเตอร์ 3.กลับด้านผ่านช่องที่ใส่เส้นใย แต่งขอบให้เรียบร้อย 4.ใส่เส้นใยโพลีเอสเตอร์ และเย็บปิดช่อง 5.ทาการตกแต่งให้สวยงาม ด้วยวัสดุที่ให้มา

นักศึกษาที่ประจากลุ่มมารับอุปกรณ์

นาผ้าที่ตัดมาเย็บขอบ

เมื่อเย็บขอบเรียบร้อยแล้วจึงกลับข้าง เมื่อใส่เส้นใยโพลีเอสเตอร์


22

ทุกคนตั้งใจอย่างขมักเขม่น คนละ 1 ชิ้น

หลังจากใส่เส้นใย เย็บขอบแล้วจึงทาการตกแต่งชิ้นงาน หมอนปักเข็ม ผลงานบางส่วน หมอนปักเข็ม


23

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที่2 กระเป๋าใบใหญ่ ให้แต่ละกลุ่ม ทากระเป๋าใบใหญ่ 2 ใบ ใช้ผ้าของแต่ละกลุ่ม จุดประสงค์ ตัดเย็บกระเป๋าอเนกประสงค์ ใบใหญ่ กลุ่มเป้าหมายวัยรุ่น วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 100 เซนติเมตร 1 ชิ้น และขนาด 20 x 20 ซม. 1 ชิ้น 2.นาผ้าของกลุ่มมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 100 เซนติเมตร 1 ชิ้น 3.นาผ้าดิบมาพับแบ่งครึ่ง แล้วนาผ้าชิ้นที่2 มาเย็บกึ่งกลางเป็นช่องใส่ของ ให้ด้านเปิดอยู่ทางเดียวกัน 4.นาผ้าดิบที่เย็บเสร็จแล้ว เย็บติดกับผ้าของกลุ่ม ให้เรียบ 5.ใส่ซิบด้านบน 6.เย็บขอบข้าง ให้เรียบร้อย 7.เย็บสายถือด้านบน ตรงกึ่งกลาง

เริ่มตัดเย็บผ้าของกลุ่มติดกับผ้าดิบ ที่เย็บเสร็จแล้ว

ติดซิป สามารถดึงซิบออกเป็น 2 ชิ้น แล้วมาติดคนละข้างได้ แล้วค่อยใส่หัวซิป ทีหลัง


24

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที่3 กระเป๋าใบเล็ก ให้แต่ละกลุ่ม ทากระเป๋าใบเล็ก 2 ใบ จุดประสงค์ ตัดเย็บกระเป๋าใส่ของ กระเป๋าถือ ใบเล็ก กลุ่มเป้าหมายวัยรุ่น คนทางาน วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 30 เซนติเมตร 1 ชิ้น 2.นาผ้าของกลุ่มมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 30 เซนติเมตร 1 ชิ้น 3.ตัดฟองน้าขนาด ประมาณ 30 เซนติเมตร 1 ชิ้น 4.นาผ้าดิบมาเย็บรวมกับผ้าของกลุ่มให้ใช้ฟองน้าอยู่ตรงกลาง มาพับแบ่งครึ่ง ใส่ซิบด้านบน 5.จับจีบที่ก้นกระเป๋า แล้วเย็บขอบข้าง ให้เรียบร้อย และตกแต่งให้สวยงาม

เย็บผ้าดิบ ฟองน้า และผ้าของกลุ่มติดกัน

เย็บซิป ตกแต่งให้สวยงาม


25

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที่4 ตุ๊กตาผ้า ให้แต่ละกลุ่ม นาเศษผ้ามาตัดเย็บเป็นตุ๊กตา ในรูปแบบต่างๆ เพื่อนามาตกแต่งกระเป๋า จุดประสงค์ นาเศษผ้ามาสร้างมูลค่า และใช้เป็นอุปกรณ์ตกแต่ง และเรียนรู้รูปทรงอิสระ วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 10 เซนติเมตร 2 ชิ้น 2.นาผ้าดิบมาร่างแบบ และเย็บตามขอบให้เรียบร้อย เผื่อช่องใส่เส้นใย 3.พลิกกลับด้าน แต่งขอบให้เรียบร้อย ใส่เส้นใย 4.เย็บและตกแต่งให้เรียบร้อย สวยงาม พร้อมติดสายห้อย

ตัดผ้าตามขนาด

ร่างแบบ บนเศษผ้าดิบ มาตัดเย็บตามแบบ

กลับผ้าที่เย็บและเก็บขอบให้สวยงาม ใส่ใยโพลีเอสเตอร์ และตกแต่งให้สวยงาม


26

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที5่ กระเป๋าสะพาย ให้แต่ละกลุ่ม นาผ้ามาตัดเย็บเป็นกระเป๋าสะพาย ทาสายปรับระดับแบบง่ายๆ จุดประสงค์ เพื่อตัดเย็บกระเป๋าสะพายอย่างง่ายๆ วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 50 เซนติเมตร 1 ชิ้น 2.นาผ้าของกลุ่มมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 50 เซนติเมตร 1 ชิ้น 3.นาฟองน้ามาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 50 เซนติเมตร 1 ชิ้น 4.เย็บประกบกันให้ฟองน้าอยู่ตรงกลาง เย็บเก็บขอบด้วยผ้ากุ้น 5.ติดซิป ให้เรียบร้อยเย็บเก็บก้นกระเป๋าให้มีขนาดความหนาที่ต้องการ 6 ติดที่ปรับระดับกับสายผ้าที่ตัดความยาว 1 เมตร 7.นาสายมาติดที่ด้านข้างกระเป๋าสะพายให้เรียบร้อย

เย็บติดตัวกระเป๋า

ติดซิป


27

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที6่ กระเป๋าใส่เหรียญ ให้แต่ละกลุ่ม นาเศษผ้ามาตัดเย็บเป็นกระเป๋าเล็กๆใส่เหรียญ จุดประสงค์ เพื่อนาเศษผ้ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 25 x 25 เซนติเมตร 1 ชิ้น 2.เย็บติดซิป ติดสายถือ 3.เย็บขอบ 1 ด้าน 4.จับขอบให้ซิปอยู่ตรงกลาง 5.เย็บเก็บขอบ แล้วผลิกออกมา

ติดซิป และสายถือ เย็บขอบ 1 ด้าน

จับขอบซิป

ให้ซิปอยู่ตรงกลาง แล้วเย็บขอบ

พลิกด้านในออกมา


28

กิจกรรมที่2 ต้นแบบที7่ กระเป๋าใส่สิ่งของ ให้แต่ละกลุ่ม นาเศษผ้ามาตัดเย็บเป็นกระเป๋าสาบรูดใส่สิ่งของ จุดประสงค์ เพื่อนาเศษผ้ามาสร้างมูลค่าเพิ่ม และสามารถพัฒนาเป็นบรรจุภัณฑ์ใส่ผ้าได้ วิธีปฏิบัติ 1.นาผ้าดิบมาตัดให้ได้ขนาด ประมาณ 20 x 20เซนติเมตร 1 ชิ้น 2.นาผ้าของกลุ่มมาตัดขนาด 30 x 30เซนติเมตร 1 ชิ้น 3.เย็บขอบผ้าของกลุ่มโดยรอบ 4.นาผ้าดิบมาวางทะแยงมุมกับผ้าของกลุ่มและเย็บติดกัน 5. นาเชือกที่รูดมาวางให้ตรงขอบ 5.เย็บขอบผ้าเพื่อให้ช่องล๊อคตัวเชือกใช้เป็นที่รูด 6.จัดทรงและรูดเชือก

เย็บขอบผ้าของกลุ่ม และนาผ้าดิบมาวางทะแยง และเย็บติดกัน

พลิกด้านของผ้า นาเชือกมาวางชิดขอบ จับมุมผ้าพับและเย็บขอบ เป็นช่องให้รูดเชือก


29

ภาคผนวก รายชื่อผู้เข้าอบรมค่ายหัตถกรรม รายชื่อวิทยากร 1. อ.เดชา อนันต์อิทธิ 2. อ.บวรรัตน์ คมเวช

รายชื่อนักศึกษา 1.นางสาววิภาทิพย์ พิมพ์ศักดิ์ 2.นายอิทธิพล สังสุวรรณ์ 3.นางสาววนิดา ดวงจันทร์ 4.นางสาววราศิลป์ กอมะณี 5.นางสาวภาษิตา จันทนะสาโร 6.นางสาวนันทภัทร คงมีชนม์ 7.นายอุทิศ โพธิ์คา

รายชื่อกลุ่มผู้เข้าอบรม ลาดับที่

รายชื่อผู้เข้าอบรม

1

นางไพรินทร์ วงษ์ไพย

2

นางลูกนก ศรีเดช

3

นางดาวเรือง พุ่มจาปา

4

นางสนิม ปั้นสุวรรณ

5

นายสมประสงค์ กาฬภักดี

6

นางจิราภรณ์ การภักดี

7

นางสวาท ศรีเมือง

8

นางคมคาย จันทร์ศรี

9

นางมนัสนันท์ อินทพิจิตร

10

นางลาแพน เดโชชัย

ชื่อกลุ่ม กลุ่มทอผ้าโบราณ เนินขาม ชัยนาท

กลุ่มทอผ้าสะพานหิน หนองมะโมง ชัยนาท


30

11

นางละม่อม พานทอง

12

นางเพ็ญศรี ม่วงศิลป์

13

นางสมพร กระต่ายจันทร์

14

นางสกาว ศรีบุญเรือง

15

นางบัวทอง ปัจฉิม

16

นางเปียทิพย์ พูน้อย

17

นางวันเพ็ญ วิจารชน

ที่อยู่ติดต่อ

กลุ่มทอผ้าบ้านพวน บ้านหมี่ ลพบุรี

กลุ่มศิลปิน OTOP โคกเจริญ ลพบุรี

กลุ่มศิลปิน OTOP หมู4่ ตาบลโคกเจริญ อาเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี ติดต่อ นางบัวทอง ปัจฉิม โทร ๐๘-๙๐๘๒-๘๔๕๘ กลุ่มสตรีอาสาบ้านพวน หมู1่ 0 ตาบลหินปัก อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ติดต่อ นางวนิดา รักพรม โทร 08-9052-1899 กลุ่มทอผ้าโบราณ หมู1่ ตาบลเนินขาม อาเภอเนินขาม จังหวัดชัยนาท ติดต่อ นางอุษา บุญสาพิพัฒน์ โทร ๐๘-1036-4722 กลุ่มทอผ้าสะพานหิน หมู1่ ตาบลสะพานหิน อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท ติดต่อ นางลาแพน เดโชชัย โทร 08-9958-7693


31

ประวัติหัวหน้าโครงการ ชื่อ นายเดชา อนันต์อิทธิ อายุ 40ปี เกิด วันที่ 24 มกราคม 2514 ตาแหน่งปัจจุบัน อาจารย์พิเศษ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วุฒิการศึกษา ศิลปบัณฑิต สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กาลังศึกษาปริญญาโท สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โครงการบริการวิชาการ วิทยากรสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์ โครงการค่ายเยาวชนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ร่วมสมัย จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2552 ผู้ร่วมโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพอลิคาร์บอเนต บริษัท พีทีที ฟีนอล จากัด ปี 2553 ผู้ร่วมโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน : ต้นแบบผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชนพัฒนาอาชีพท่าผา จังหวัดราชบุรี ปี2553 ผู้ร่วมโครงการวิจัย การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยวัสดุธรรมชาติใน ท้องถิ่นจาก ผือ ปี2554 วิทยากร โครงการพัฒนาบุคลากรสานักเลขานุการคณะมัณฑนศิลป์ ปี 2554 คณะกรรมการโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน OTOP โดยเครือข่ายองค์ ความรู้ (Knowledge – Base OTOP) จังหวัดอานาจเจริญ ปี 2554 คณะกรรมการโครงการพัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชน OTOP โดยเครือข่ายองค์ ความรู้ (Knowledge – Base OTOP) จังหวัดชัยนาท ปี 2554 ที่ปรึกษาโครงการพิพิธภัณฑ์ชุมชน อาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ปี 2554 ที่ปรึกษาโครงการชุมชนวัฒนธรรมกุดจอก อาเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนาท ปี 2554 ประสบการณ์ทางาน ปี.2535-2538 เจ้าหน้าที่ออกแบบผลิตภัณฑ์ บ.พรีเมียร์ โปรดักส์ จก. ปี.2538-2541 เจ้าหน้าที่ออกแบบผลิตภัณฑ์ บ.รอยัล ปอร์ซเลน จก. ปี.2541-2545 เจ้าหน้าที่ออกแบบ บ.วนวิทย์แมนูแฟคเจอริ่ง จก.(พัดลม Hatari) ปี.2545-2547 เจ้าหน้าที่ออกแบบผลิตภัณฑ์ บ. มินิซิสเต็ม จก. ปี.2544-ปัจจุบัน อาจารย์พิเศษภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะ มัณฑนศิลป์


32

ชื่อ ตาแหน่งปัจจุบัน

อาจารย์บวรรัตน์ คมเวช อาจารย์ประจา ภาควิชาประยุกตศิลปศึกษา คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร โครงการบริการวิชาการ หัวหน้าโครงการพัฒนาผ้าทอพื้นเมือง และบรรจุภัณฑ์4 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2526 ผู้ร่วมวิจัยโครงงานพัฒนาผ้าพื้นเมือง และสินค้าที่ระลึกหลายโครงการ วิทยากรพิเศษ การใช้สี ในการทอผ้าให้สวยงาม


33


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.