Annual report 2015

Page 1


ที่ปรึกษา บรรณาธิการบริหาร

นางสาวภาวิณี ปุณณกันต์ นายสากล ฐินะกุล นายเสริมยศ สมมั่น นางสาวสาวิตรี ศรีสุข

คณะบรรณาธิการ

นางสาวปรียาพร พรหมพิทักษ์ นางสาวอุดมลักษณ์ ศรีทัศนีย์ นางภาวินี ณ สายบุรี นางสมใจ สิมาฉายา นางทองใบ เวชพันธ์ นายวัฒน์ ทาบึงกาฬ นางสาวนงลักษณ์ ขิรณะ นางธนิษฐา วุฒิสิทธิกร นางสาววรวรรณ นาคบรรพต นางสาวสุปราณี บุญเรืองรุ่งธนา นางสาวชวนพิศ บุญย่อย นายอาวุธ สงกะมิลินท์ นางสาวล�ำพูล กลั่นเชื้อ

พิสูจน์อักษร

นางเบญจวรรณ ตันเจริญทรัพย์ นางสาวอัจฉริยา จิตต์ทวีทรัพย์ นางสาวเรวดี รักษ์ณรงค์ นางสาวสุพิชชา จันดา

ผู้จัดพิมพ์

กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เลขที่ 49 พระราม 6 ซอย 30 ถนนพระรามที่ 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท์ : 0-2278-8400-19 สอบถามข้อมูลสิ่งแวดล้อม : 0-2278-8444 โทรสาร : 0-2298-5606 www.deqp.go.th

จ�ำนวนพิมพ์  :  ปี พ.ศ. 2559 จ�ำนวน 2,000 เล่ม จัดพิมพ์ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด ISBN  :  978-616-316-324-0 เรียบเรียงเนื้อหาและออกแบบรูปเล่ม  :  นางสาวอโนชา พิชัยศิริ ภาพผู้บริหารและบุคลากร  :  นายไพโรจน์ ชลไมตรี



4



หัวใจของการพัฒนาอันดับแรก คือ การพัฒนาพลเมืองในชาติให้มีระเบียบวินัย เพราะเป็นคุณสมบัติส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิต และยังเป็น พื้นฐานของการสร้างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ดี ในช่วงปีที่ผ่านมานอกจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมจะมุ่งส่งเสริมการมีส่วนร่วม และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแล้ว ยังให้ความส�ำคัญกับการบ่มเพาะวินัยของพลเมืองในชาติ ให้มีความตระหนักและรับผิดชอบต่อการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่ การจัดการขยะอย่างยั่งยืน เพื่อสร้างพลเมืองที่มีวินัยและมีบทบาทในการจัดการขยะก่อนที่จะกลายเป็นปัญหาอันหนักหน่วงในอนาคต ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2558 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมได้บูรณาการท�ำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบัน การศึกษา เพื่อปลูกจิตส�ำนึกให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย ตั้งแต่การลด การคัดแยกที่ต้นทาง จนถึงการก�ำจัดขั้นสุดท้าย ตลอดจนลดการใช้ถงุ พลาสติกและหันมาใช้วสั ดุอย่างอืน่ แทน ส่งเสริมการมีสว่ นร่วมด้านการผลิต การบริการและการบริโภคทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ส่งเสริมให้เกิดส�ำนักงานสีเขียว จัดกิจกรรมรณรงค์ เมืองสะอาด คนในชาติมีสุข รวมไปถึงยกระดับท้องถิ่นที่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีสู่การเป็น เมืองต้นแบบ นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถของเครือข่ายและภาคี เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม รวมถึง ปลูกสร้างจิตส�ำนึกด้านสิ่งแวดล้อมผ่านช่องทางสื่อสารต่างๆ เช่น การยกระดับเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หมู่บ้านให้เข้าไปมีส่วนสนับสนุนงานในระดับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พัฒนาช่องทางในการสื่อสารข้อมูลเพื่อส่งเสริมคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและเชื่อมโยงการท�ำงานระหว่างหน่วยงานในระดับพื้นที่กับเครือข่าย การด�ำเนินงานดังกล่าวข้างต้น คือบทสรุปของการท�ำงานร่วมกันระหว่างกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมกับภาคีเครือข่ายต่างๆ ในปี ที่ผ่าน ที่มีเป้าหมายเดียวกัน คือ การหนุนเสริมให้เกิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มุ่งบ่มเพาะวินัยของพลเมืองในชาติ ให้มีความตระหนักและรับผิดชอบในการดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม แม้ว่าจะ เป็นงานที่ต้องใช้เวลาและต้องท�ำอย่างต่อเนื่อง แต่ผลการด�ำเนินงานที่ปรากฏในหนังสือรายงานประจ�ำปี 2558 ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ฉบับนี้ คงเป็นประจักษ์พยานถึงความมุ่งมั่นตั้งใจและความก้าวหน้าในการท�ำงานที่เป็นประโยชน์ต่อบ้านเมืองได้ ไม่น้อย

นางสาวภาวิณี ปุณณกันต์ อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม























$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ $$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ $$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ ฿

$$$$$$$$$$$฿

$$$$$$฿

งบบุคลากร งบดำ�เนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวมทั้งสิ้น

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ ฿

หมวดรายการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 + เพิ่ม / - ลด % เพิ่ม / ลด

125.1002 156.0644 16.7015 0.0000 303.9844 601.8505 135.3162 159.7715 33.3624 0.0000 310.6927 639.1428 +10.2160 +3.7071 +16.6609 0.0000 +6.7083 +37.2923 +8.1663 +2.3754 +99.7569 0.0000 +2.2068 +6.1963


ผลการใช้งบประมาณรายไตรมาส (หน่วย : ล้านบาท) 4 217.1387 1.8591 218.9978

฿

3 146.4563 6.7516 153.2079

$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ $$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ ฿

฿฿฿฿฿฿฿฿

฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ ฿

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$ ฿

605.7804 33.3624 639.1428

ประจำ� ลงทุน รวมทั้งสิ้น

2 133.7159 24.4557 158.1716

฿฿

1 79.0911 0.2407 79.3318

$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$ $$$$$$$$$$$$$$$$$$$ $ ฿

วงเงินงบประมาณ ปี 2558

ประเภทงบประมาณ

รวม 576.4020 33.3071 609.7091







เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558

ผลผลิต ปี 2558

กลยุทธ์ ข้อที่

แผนงาน : ด�ำเนินการตามกรอบข้อตกลงของประชาคมอาเซียน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจถึงผลประโยชน์ และผลกระทบในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน สามารถปรับตัวในการแข่งขัน ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดกระทรวง : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และมีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการจัดการที่เป็นมิตรกับ คน 6,000 9,370 สิ่งแวดล้อม เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คน

6,000

9,370

2. แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นสู่เมืองต้นแบบ สิ่งแวดล้อมเมืองยั่งยืนอาเซียน

แห่ง

2

2

ร้อยละ

80

8 85.65

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจกับบริการข้อมูลข่าวสารด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

โครงการ โครงการที่ 1 : สร้างความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมด้านสิ่งแวดล้อมมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

1, 2

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คน

6,000

9,370

2. แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นสู่เมืองต้นแบบ สิ่งแวดล้อมเมืองยั่งยืนอาเซียน

แห่ง

2

2

80

85.65

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจกับบริการข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 : สร้างจิตส�ำนึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมด้านสิ่งแวดล้อมมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คน

6,000

9,370

2. แหล่งเรียนรู้ด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่นสู่เมืองต้นแบบ สิ่งแวดล้อมเมืองยั่งยืนอาเซียน

แห่ง

2

2


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจกับบริการข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558

ผลผลิต ปี 2558

ร้อยละ

80

85.65

กลยุทธ์ ข้อที่

แผนงาน : จัดการสิ่งแวดล้อม เป้าหมายการให้บริการกระทรวง ทุกภาคส่วนสามารถน�ำกลไกไปใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดกระทรวง : จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ มีส่วนร่วม ในการผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

คน

115,800

144,504

เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ มีส่วนร่วมในการผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับพฤติกรรมในการผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

คน

115,800

144,504

ร้อยละ

40

72.10

ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : การมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คน

392,244

585,303

2. จ�ำนวนเครือข่ายพันธมิตรที่มีการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

เครือข่าย

439

452

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีความรู้ความเข้าใจในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

82.51

2. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริม มีการด�ำเนิน กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมร่วมกับภาคีรว่ มพัฒนา

ร้อยละ

65

65

3. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการรับบริการข้อมูล ข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

83.91

4. ร้อยละความส�ำเร็จของเครือข่าย/กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80

5. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายน�ำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ประโยชน์ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

ร้อยละ

70

70


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558

กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 : พัฒนาศักยภาพพลเมืองไทยเพื่อเตรียมความพร้อม ในการปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต ปี 2558

1-6

คน

7,690

8,367

2. จ�ำนวนเครือข่ายได้รับความรู้ความเข้าใจและมีความตระหนัก ในการป้องกันและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลง

เครือข่าย

233

233

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายน�ำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ประโยชน์ ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ร้อยละ

70

70

2. ร้อยละความส�ำเร็จของเครือข่าย/กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80

3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีความตระหนัก 75 75 ในการป้องกันและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ร้อยละ และมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 2 : ส่งเสริมการผลิต การบริการและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ และมีส่วนร่วมในการผลิต 115,800 144,504 คน การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายมีการปรับพฤติกรรมในการผลิต 40 72.10 ร้ อ ยละ การบริการและการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กิจกรรมที่ 3 : เฝ้าระวังและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลไกในการขับเคลื่อน เฝ้าระวัง ป้องกัน และฟื้นฟู 17 17 กลไก ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมพื้นที่สีเขียวของเครือข่าย ทสม. 2. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละความส�ำเร็จของการน�ำกลไกในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ของเครือข่าย ทสม. อย่างมีส่วนร่วม

กลยุทธ์ ข้อที่

คน

10,000

10,957

ร้อยละ

100

100

2, 4, 5

2


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

เป้าหมาย ผลผลิต ปี 2558 ปี 2558 กิจกรรมที่ 4 : สร้างจิตส�ำนึกและส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้ มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

หน่วยนับ

คน

67,654

61,645

เครือข่าย

50

63

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการรับข้อมูลข่าวสาร ด้านสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80.88

2. ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีความรู้ ความเข้าใจในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80

3. ร้อยละความส�ำเร็จของเครือข่าย/กลุ่มเป้าหมาย มีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80

2. จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

กิจกรรมที่ 5 : พัฒนาศักยภาพ และขีดความสามารถของเครือข่ายและภาคี เพื่อการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับความรู้มีส่วนร่วมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. จ�ำนวนเครือข่ายที่มีการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม

3. จ�ำนวนเครื่องมือและกลไกในการบริการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

1, 2

1, 2

คน

1,100

1,515

เครือข่าย

156

156

1

1

กลไก

กลยุทธ์ ข้อที่

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. สัดส่วนจ�ำนวนหมู่บ้านที่มี ทสม. ต่อจ�ำนวนหมู่บ้านทั่วประเทศ

ร้อยละ

70

70

2. ร้อยละของเครือข่ายที่ได้รับการสนับสนุนและส่งเสริมมีการด�ำเนิน กิจกรรมด้านทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับภาคีร่วมพัฒนา

ร้อยละ

65

65

3. ร้อยละของผู้เข้ารับฝึกอบรมที่มีความรู้ความเข้าใจในการบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

85.02

4. ร้อยละความส�ำเร็จของเครือข่าย/กลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

80

5. ร้อยละกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการรับบริการข้อมูล ข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

88.82


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558 กิจกรรมที่ 6 : พัฒนาข้อมูล ระบบสารสนเทศและการให้บริการ

ผลผลิต ปี 2558

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

คน

190,000

358,315

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการรับบริการข้อมูล ข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อม

ร้อยละ

80

82.04

กิจกรรมที่ 7 : การประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่มีส่วนร่วมในการด�ำเนินโครงการหรือ 3,500 คน กิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างร้ายแรง ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่มีความรู้และความเข้าใจในบทบาท หน้าที่ในแนวทางการด�ำเนินงานของ กอสส. ตลอดจนมีความเข้าใจ 75 ร้อยละ ในแนวทางการมีส่วนร่วมต่อการด�ำเนินโครงการหรือกิจกรรม ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง 2. ร้อยละของความส�ำเร็จในการด�ำเนินงานของ คณะกรรมการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ในโครงการหรือกิจกรรม 100 ร้อยละ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ตามมาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 กิจกรรมที่ 8 : บริหารจัดการภาครัฐและการติดตามประเมินผล ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 4 1. จ�ำนวนเรื่องในการบริหารจัดการภาครัฐและติดตามประเมินผล เรื่อง

กลยุทธ์ ข้อที่ 1, 2

2

1,518

75

100 1-6 4

กิจกรรมที่ 9 : พัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนโครงการในการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี 1 1 โครงการ สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม

1, 2


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558

ผลผลิต ปี 2558

กลยุทธ์ ข้อที่

แผนงาน : ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เป้าหมายการให้บริการกระทรวง องค์ความรู้และงานวิจัยสามารถน�ำไปใช้ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัดกระทรวง 1. จ�ำนวนผลงานวิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปใช้ 7 7 เรื อ ่ ง ประโยชน์ได้ เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในการจัดการสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนผลงานวิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้

เรื่อง

7

7

2. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ และนวัตกรรม จากงานวิจัย

คน

1,700

1,985

ร้อยละ

80

84.21

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการน�ำ องค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

ผลผลิต ผลผลิตที่ 1 : การวิจัย พัฒนา และถ่ายทอดเทคโนโลยี ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนผลงานวิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้

เรื่อง

7

7

2. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ และนวัตกรรม จากงานวิจัย

คน

1,700

1,985

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายในการน�ำองค์ความรู้ และนวัตกรรม ไปใช้ประโยชน์

ร้อยละ

80

84.21

กิจกรรมหลัก กิจกรรมที่ 1 : วิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม

1, 3

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนผลงานวิจัย องค์ความรู้และเทคโนโลยีที่สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้

เรื่อง

6

6

2. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้ และนวัตกรรม จากงานวิจัย

คน

1,700

1,985

3. จ�ำนวนรายการวัดของห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาและรับรอง ระบบ

รายการ

17

17


เป้าหมายการให้บริการกระทรวง-เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการ-กิจกรรม

หน่วยนับ

เป้าหมาย ปี 2558

ผลผลิต ปี 2558

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการน�ำ 80 88.41 ร้ อ ยละ องค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ กิจกรรมที่ 2 : พัฒนาองค์ความรู้ กลไกและเครื่องมือบริหารการจัดการสารมลพิษไดออกซินในสิ่งแวดล้อม ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ 1. จ�ำนวนผลงานวิจัยองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สามารถน�ำไปใช้ ประโยชน์ได้

เรื่อง

1

1

2. จ�ำนวนกลุ่มเป้าหมายได้รับการถ่ายทอดความรู้จากงานวิจัย

คน

600

644

3. จ�ำนวนตัวอย่างที่ให้บริการวิเคราะห์

ตัวอย่าง

20

31

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการน�ำ องค์ความรู้และนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์

ร้อยละ

80

80

กลยุทธ์ ข้อที่

1, 3












หลักสูตรส�ำหรับบุคลากรทั่วไป และบุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สัมมนาวิชาการเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพ การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม สัมมนาวิชาการเรือ่ ง เส้นทางสูส่ งั คมคาร์บอนต�ำ่ บนฐานการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว สัมมนาวิชาการเรื่อง EIA : ทางออกของ การแก้ไขความขัดแย้งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน การจัดการมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) รุ่น 1 การจัดการมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) รุ่น 2 การจัดการน�้ำเสียชุมชน การเจรจาไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น เทคนิคการเป็นวิทยากรการจัดการ ขยะมูลฝอยโดยชุมชน เทคนิคการสร้างกระบวนการ มีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมศึกษาสู่การพัฒนาชุมชน พลังของสื่อสร้างสรรค์งานสิ่งแวดล้อม การสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วย การ์ตูนรากหญ้าเพื่อโลกสวย นวัตกรรมทางสังคมด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสิ้น


หลักสูตรส�ำหรับบุคลากรทั่วไป และบุคลากรของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สัมมนาวิชาการเรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพ การบังคับใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อม สัมมนาวิชาการเรือ่ ง เส้นทางสูส่ งั คมคาร์บอนต�ำ่ บนฐานการพัฒนาเศรษฐกิจสีเขียว สัมมนาวิชาการเรื่อง EIA : ทางออกของ การแก้ไขความขัดแย้งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน การจัดการมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) รุ่น 1 การจัดการมูลฝอยโดยชุมชน (CBM) รุ่น 2 การจัดการน�้ำเสียชุมชน การเจรจาไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อมท้องถิ่น เทคนิคการเป็นวิทยากรการจัดการ ขยะมูลฝอยโดยชุมชน เทคนิคการสร้างกระบวนการ มีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารจัดการเหตุฉุกเฉินจากสารเคมี ผู้น�ำการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมศึกษาสู่การพัฒนาชุมชน พลังของสื่อสร้างสรรค์งานสิ่งแวดล้อม การสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมด้วย การ์ตูนรากหญ้าเพื่อโลกสวย นวัตกรรมทางสังคมด้านสิ่งแวดล้อม ค่าเฉลี่ย








สารอินทรียร์ ะเหยทีต่ รวจพบในแหล่งน�ำ้ ใต้ดนิ ในชุมชนโขดหินในปี พ.ศ. 2558 ชนิดของสารอินทรีย์ระเหยที่ตรวจพบเกิน ค่ามาตรฐาน Vinyl Chloride Trichloroethylene (TCE) Carbon Tetrachloride 1,2 Dichloroethane Cis-1,2-Dichloroethylene

ปริมาณสูงสุดที่ตรวจพบ (ไมโครกรัมต่อลิตร) 13 110 82 34 128

มาตรฐานคุณภาพน�้ำใต้ดิน (ไมโครกรัมต่อลิตร) 2 5 5 5 70


ตารางเกณฑ์แนวทางการน�ำน�ำ้ กลับมาใช้ใหม่ในพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม คำ�แนะนำ�ภาคเกษตร ดัชนี หน่วย พืชที่ใช้เป็นอาหาร พืชที่ไม่ได้ใช้เป็น อาหาร พืชที่รับประทานใบหรือหัว พืชทีร่ บั ประทานผลหรือเมล็ด สี ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ ไม่เป็นที่นา่ รังเกียจ กลิ่น ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ ไม่เป็นที่น่ารังเกียจ ไม่เป็นที่นา่ รังเกียจ ค่าความเป็นกรด-ด่าง 6-9 6-9 6-9 ค่าความขุ่น NTU <5 <20 ค่าการนำ�ไฟฟ้า ไมโครซีเมนต์/เซนติเมตร <2,000 <2,000 <2,000 ค่าบีโอดี mg/l <10 <20 <30 ค่าคลอรีนอิสระตกค้าง mg/l 0.7-1.0 ค่าของแข็งแขวนลอย mg/l 0 0 <30 ค่าไนเตรท-ไนโตรเจน mg/l <10 <35 <35 ค่าฟีคอลโคลิฟอร์ม cfu/100 ml ไม่พบ <1,000 <3,000 ไข่พยาธิ จำ�นวน/ลิตร 1 1




เครือขายอาสาสมัครพิทักษทรัพยากรหมูบาน (ทสม.)





หมายเหตุ สินทรัพย์ พย์หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้ระยะสั้น วัสดุคงเหลือ รวมสินทรัพย์หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน ลูกหนี้ระยะยาว ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (สุทธิ) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน (สุทธิ) รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

5 6 7

8 9 10

ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557 และ พ.ศ. 2558 จ�ำนวนเงิน (หน่วย : บาท) อัตราย่อส่วนตามแนวดิ่ง % 2557 2558 2557 2558

14,412,509.47 8,799,671.11 5,968,247.32 29,180,427.90

7,184,112.20 8,393,611.60 4,922,815.90 20,500,539.70

2.92 1.78 1.21 5.92

1.47 1.72 1.01 4.20

82,848.00 82,848.00 461,230,181.46 464,649,512.76 2,672,336.77 2,848,193.95 463,985,366.23 467,580,554.71 493,165,794.13 488,081,094.41

0.02 93.52 0.54 94.08 100.00

0.02 95.20 0.58 95.80 100.00


2557 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้ระยะสั้น ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รวมหนี้สินหมุนเวียน

หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว เงินรับฝากระยะยาว หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน ส่วนทุน/สินทรัพย์สุทธิ ทุน รายได้สูง (ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม รวมสินทรัพย์สุทธิ/ส่วนทุน รวมหนี้สินและสินทรัพย์สิทธิ/ส่วนทุน

2558

2557

2558

11

15,776,313.81

22,852,823.33

3.20

4.68

12

9,090,120.46 24,866,434.27

7,318,467.55 30,171,290.88

1.84 5.04

1.50 6.18

1,000,000.00 1,000,375.42 82,848.00 2,083,223.42 26,949,657.69

1,000,000.00 574,301.86 82,848.00 1,657,149.86 31,828,440.74

0.20 0.20 0.02 0.42 5.46

0.20 0.12 0.02 0.34 6.52

321,942,268.98 144,273,867.46 466,216,136.44 493,165,794.13

321,942,268.98 134,310,384.69 456,252,653.67 488,081,094.41

65.28 29.25 94.54 100.00

65.96 27.52 93.48 100.00

13


3.2 งบแสดงผลการดำ�เนินงานทางการเงิน หมายเหตุ รวมรายได้ รายได้จากการด�ำเนินงาน รายได้จากงบประมาณ รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค รายได้จากแหล่งอื่น รวมรายได้

15 16 17

ค่าใช้จ่ายจากการด�ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายบุคลากร 18 ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ 19 ค่าตอบแทน 20 ค่าใช้สอย 21 ค่าวัสดุ 22 ค่าสาธารณูปโภค 23 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย 24 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค 25 ค่าใช้จ่ายอื่น 26 รวมค่าใช้จ่าย รายได้สูง (ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายก่อนต้นทุนทางการเงิน ต้นทุนทางการเงิน รายได้สูง (ต�่ำ) กว่าค่าใช้จ่าย

ส�ำหรับปีสิ้นสุด วันที่ 30 กันยายน 2557 และ 2558 จ�ำนวนเงิน (หน่วย : บาท) อัตราย่อส่วนตามแนวดิ่ง % 2557 2558 2557 2558 626,664,930.94 707,498,123.88 100.00 100.00

625,675,528.74 705,805,854.24 746,251.54 1,485,403.24 243,150.66 206,866.40 626,664,930.94 707,498,123.88

99.84 0.12 0.04 100.00

99.76 0.21 0.03 100.00

140,476,162.02 152,242,934.12 18,774,349.78 18,989,118.02 19,514,960.20 25,477,621.06 363,012,984.37 432,632,775.23 31,752,205.38 28,622,681.13 14,510,957.02 15,110,600.98 41,079,024.86 44,155,951.11 180,000.00 230,000.00 (990,650.00) 0.00 628,309,993.63 717,461,681.65 (1,645,062.69) (9,963,557.77) 0.00 0.00 (1,645,062.69) (9,963,557.77)

22.42 3.00 3.11 57.93 5.07 2.32 6.56 0.03 (0.16) 100.26 (0.26) 0.00 0.26

21.52 2.68 3.60 61.15 4.05 2.14 6.24 0.03 0.00 101.41 (1.41) 0.00 (1.41)




เงินทดรองราชการ เงินฝากสถาบันการเงิน เงินฝากคลัง รวม เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด

2557 1,000,000.00 6,877,384.28 6,535,125.19 14,412,509.47

(หน่วย : บาท) 2558 1,000,000.00 1,576,352.75 4,607,759.45 7,184,112.20


เงินประกันอื่น เงินฝากคลังอื่นๆ รวม

2557 5,553,286.97 981,838.22 6,535,125.19

(หน่วย : บาท) 2558 4,070,810.37 536,949.08 4,607,759.45

เงินฝากคลังอื่นๆ ที่มีข้อจ�ำกัดในการใช้จ่าย ได้แก่ 1. เงินฝากเพื่อบูรณะทรัพย์สิน จ�ำนวน 607.94 บาท (ปี 2557 จ�ำนวน 24,599.34 บาท) เป็นเงินที่หน่วยงานได้รับในลักษณะ ค่าชดใช้ความเสียหายหรือสิ้นเปลืองแห่งทรัพย์สินและจ�ำเป็นต้องจ่ายเพื่อบูรณะทรัพย์สินหรือจัดให้ได้ทรัพย์สินคืนมา จากเงินบ�ำรุงหรือ เงินสมทบค่าน�้ำและค่าไฟฟ้า ในอัตราร้อยละ 50 ของเงินที่ได้รับไว้ในระหว่างปี ซึ่งสามารถน�ำไปใช้จ่ายได้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 และ 2558 ตามล�ำดับ ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0409.3/ ว 503 ลงวันที่ 19 ธันวาคม 2548 ​2. เงินฝากค่าธรรมเนียมสอบแข่งขัน จ�ำนวน 23,400.00 บาท (ปี 2557 จ�ำนวน 0.00 บาท) เป็นเงินที่หน่วยงานด�ำเนินการ หั กเงินค่าธรรมเนียมการสอบแข่งขันบุคคลเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.3/ว 62 ลงวันที่ 11 สิงหาคม 2549 ​ 3. เงินฝากอื่นๆ จ�ำนวน 512,941.14 บาท (ปี 2557 จ�ำนวน 957,238.88) เป็นเงินที่หน่วยงานได้รับการช่วยเหลือหรือได้รับ เ ป็นเงินหรือสินทรัพย์ระบุวัตถุประสงค์และได้รับอนุญาตให้เก็บไว้เพื่อใช้ในการด�ำเนินงาน ทยอยรับรู้เป็นรายได้ตามสัดส่วนค่าใช้จ่าย ของเงินบริจาคที่ได้รับ

หมายเหตุที่ 6 ลูกหนี้ระยะสั้น

ลูกหนี้เงินยืมในงบประมาณ ลูกหนี้เงินยืมนอกงบประมาณ รายได้ค้างรับ รวมลูกหนี้ระยะสั้น

2557 7,986,890.05 0.00 812,781.06 8,799,671.11

(หน่วย : บาท) 2558 6,970,134.70 0.00 1,423,476.90 8,393,611.60


(หน่วย : บาท)

ลูกหนี้เงินยืม ณ วันสิ้นปี แยกตามอายุหนี้ ดังนี้ ลูกหนี้เงินยืม

ถึงก�ำหนดช�ำระ ยังไม่ถึงก�ำหนดช�ำระและการ เกินก�ำหนดช�ำระและการส่ง และการส่งใช้ใบ ส่งใช้ใบส�ำคัญ ใช้ใบส�ำคัญ ส�ำคัญ

2557 2558

3,438,906.75 4,560,079.00

4,547,983.30 2,410,055.70

7,986,890.05 6,970,134.70

หมายเหตุที่ 7 วัสดุคงเหลือ

วัสดุคงเหลือ หัก ค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าวัสดุ วัสดุคงเหลือ-สุทธิ

0.00 0.00

รวม

2557 5,968,247.32 0.00 5,968,247.32

(หน่วย : บาท) 2558 4,922,815.90 0.00 4,922,815.90

หมายเหตุที่ 8 ลูกหนี้ระยะยาว (หน่วย : บาท)

ลูกหนี้อื่นระยะยาว หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ลูกหนี้ระยะยาว-สุทธิ

2557 82,848.00 0.00 82,848.00

2558 82,848.00 0.00 82,848.00

ลูกหนี้ระยะยาว เป็นลูกหนี้จากการรับสภาพหนี้ตามผลการพิจารณาของคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ต า มค�ำสั่งกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่ ทส 0801/5037 ลงวันที่ 21 ธันวาคม 2549 เรื่อง เรียกให้ช�ำระเงินกรณีขับรถยนต์ โดยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงก่อให้เกิดความเสียหายแก่ส่วนราชการ โดยบันทึกรายการตามมูลหนี้คงค้างช�ำระซึ่งเป็นไปตามหนังสือ กรมบัญชีกลางที่ กค 0423.3/ว427 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2552

หมายเหตุที่ 9 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

อาคารและสิ่งปลูกสร้าง หัก เสื่อมราคาสะสม-อาคารและสิ่งปลูกสร้าง อาคารและสิ่งปลูกสร้าง-สุทธิ ครุภัณฑ์ หัก เสื่อมราคาสะสม-ครุภัณฑ์ ครุภัณฑ์-สุทธิ งานระหว่างก่อสร้าง รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

2557 346,308,510.86 (72,038,604.04) 274,269,906.82 328,313,983.90 (142,309,709.26) 186,004,274.64 956,000.00 461,230,181.46

(หน่วย : บาท) 2558 358,214,201.00 (83,086,229.10) 275,127,971.90 364,139,153.93 (174,617,613.07) 189,521,540.86 0.00 464,649,512.76


หมายเหตุที่ 10 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หัก ค่าตัดจ�ำหน่ายสะสม-โปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวม ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์-สุทธิ

2557 1,763,155.00 10,355,222.95 0.00 204,034.96 1,113,301.94 2,248,446.79 92,152.17 15,776,313.81

(หน่วย : บาท) 2558 2,327,070.00 15,225,645.21 764,781.05 545,038.07 1,114,539.02 2,826,851.43 48,898.55 22,852,823.33

2557 24,599.34 3,512,234.15 5,553,286.97 9,090,120.46

(หน่วย : บาท) 2558 607.94 3,247,049.24 4,070,810.37 7,318,467.55

หมายเหตุที่ 11 เจ้าหนี้ระยะสั้น

เจ้าหนี้การค้า-หน่วยงานภาครัฐ เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก รับสินค้า/ใบส�ำคัญ (GR/IR) เจ้าหนี้อื่น-หน่วยงานรัฐ ค่าสาธารณูปโภคค้างจ่าย ใบส�ำคัญค้างจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่ายอื่น-บุคคลภายนอก รวม เจ้าหนี้ระยะสั้น

2557 28,897,459.96 (26,225,123.19) 2,672,336.77

(หน่วย : บาท) 2558 29,900,459.96 (27,052,266.01) 2,848,193.59

หมายเหตุที่ 12 เงินรับฝากระยะสั้น

เงินรับฝากอื่น เงินประกันผลงาน เงินประกันสัญญา รวม เงินรับฝากระยะสั้น


หมายเหตุที่ 13 เงินรับฝากระยะยาว

โครงการ Environmental Monitoring Pops in east (UNU) โครงการ The joint research Project on Catchment Analysis Phase II โครงการ ฝึกอบรม IATSS FORUM โครงการ สนง.พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ โครงการ เตาเผาขยะชีวมวลไร้ควัน บมจ.ผลิตไฟฟ้าราชบุรี โฮลดิ้ง โครงการ เตาเผาขยะชีวมวลไร้ควัน (สมเด็จพระเทพฯ) โครงการ เมืองต้นแบบ ASEAN โครงการ ปลูกจิตส�ำนึกในการป้องกันและปราบปรามทุจริตฯ ค่าธรรมเนียมการสอบแข่งขัน รับบริจาคสินทรัพย์ (เครื่องพิมพ์บัตรยี่ห้อ Team Nisca) รวม เงินรับฝากระยะยาว

2557 177,768.99 209,615.92 108,149.10 197,171.67 264,533.20 0.00 0.00 0.00 0.00 43,136.54 1,000,375.42

(หน่วย : บาท) 2558 48,059.29 166,835.92 165,287.96 95,321.27 2,542.10 30,628.60 1,066.00 3,200.00 23,400.00 37,960.72 574,301.86

หมายเหตุที่ 14 หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 หน่วยงานกรมมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟ้องคดีรายที่ส�ำคัญจากผู้ฟ้องคดีจากบุคคล ภายนอกและภายใน ได้แก่ 1. คดีหมายเลขด�ำที่ 358/2555 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2555 ผู้ฟ้องที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ฟ้องคณะกรรมการองค์การอิสระด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) กับพวกรวม 4 คน หน่วยงานกรมเป็น ผู้ถูกฟ้องที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ กอสส. ในฐานะ หน่วยงานทางปกครอง และหน่วยงานกรม ในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนจ่ายค่าตอบแทนซึ่งเป็นสิทธิอันพึงได้ของผู้ฟ้องคดี พร้อมทั้ง ดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟ้องคดีเป็นต้นไป จนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่ผู้ฟ้องคดี ซึ่งคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง 2. คดีหมายเลขด�ำที่ 359/2555 ลงวันที่ 9 มีนาคม 2555 ผู้ฟ้องที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ฟ้องคณะกรรมการองค์การอิสระด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) กับพวกรวม 4 คน หน่วยงานกรมเป็น ผู้ถูกฟ้องที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ กอสส.ในฐานะ หน่วยงานทางปกครอง และหน่วยงานกรมในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนจ่ายค่าตอบแทนซึ่งเป็นสิทธิอันพึงได้ของผู้ฟ้องคดี พร้อมทั้ง ดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟ้องคดีเป็นต้นไป จนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่ผู้ฟ้องคดี ซึ่งคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง 3. คดีหมายเลขด�ำที่ 513/2555 ลงวันที่ 4 เมษายน 2555 ผู้ฟ้องที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ฟ้องคณะกรรมการองค์การอิสระด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) กับพวกรวม 4 คน หน่วยงานกรมเป็น ผู้ถูกฟ้องที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ กอสส.ในฐานะ หน่วยงานทางปกครอง และหน่วยงานกรม ในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนจ่ายค่าตอบแทนซึ่งเป็นสิทธิอันพึงได้ของผู้ฟ้องคดี พร้อมทั้ง ดอกเบี้ยนับถัดจากวันฟ้องคดีเป็นต้นไป จนกว่าจะช�ำระเสร็จแก่ผู้ฟ้องคดี ซึ่งคดีอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครอง 4. คดีหมายเลขด�ำที่ 1292/2556 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2556 ผู้ฟ้องที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ฟ้องคณะกรรมการองค์การ อิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) กับพวกรวม 4 คน หน่วยงานกรมเป็น ผู้ถูกฟ้องที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ กอสส. ในฐานะหน่วยงานทางปกครอง และหน่วยงานกรม ในฐานะเป็นหน่วยงานสนับสนุนจ่ายค่าตอบแทน จ่ายค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ อันพึงได้รับตามกฎหมาย ดังนี้


1) ค่าตอบแทนที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ให้แก่ กอสส. ไปแล้ว จ�ำนวน 1 เดือน 13 วัน เป็นเงินจ�ำนวน 35,800.69 บาท     2)  ค่าตอบแทนรายเดือนนับจากวันพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ (วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556) ไปจนกว่าศาลปกครองจะ มีค�ำพิพากษาถึงที่สุด 5. คดีหมายเลขด�ำที่ 1293/2556 ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2556 ผู้ฟ้องที่ 1 กับพวกรวม 4 คน ฟ้องคณะกรรมการองค์การอิสระ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) กับพวกรวม 4 คน หน่วยงานกรมเป็น ผู้ถูกฟ้องที่ 4 ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ กอสส. และ หน่วยงานกรม จ่ายค่าตอบแทน จ่ายค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์อันพึงได้รับตามกฎหมาย ดังนี้     1) ค่าตอบแทนที่ได้ปฏิบัติหน้าที่ให้แก่ กอสส. ไปแล้ว จ�ำนวน 1 เดือน 13 วัน เป็นเงินจ�ำนวน 35,800.69 บาท     2)  ค่าตอบแทนรายเดือนนับจากวันพ้นจากการปฏิบัติหน้าที่ (วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556) ไปจนกว่าศาลปกครองจะมี ค�ำพิพากษาถึงที่สุด 6. คดีหมายเลขด�ำที่ 2067/2557 ลงวันที่ 9 ธันวาคม 2557 โจทก์ฟอ้ งหัวหน้าส่วนราชการของหน่วยงานกรม ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้หน่วยงานกรมคืนเงินเดือนประจ�ำเดือนกันยายน 2557 ที่หักไปจ�ำนวน 1,100.00 บาท ให้แก่โจทก์ผู้ฟ้อง 7. คดีหมายเลขดำ�ที่ พ 143/2558 ลงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2558 โจทก์ฟ้องหน่วยงานกรมจำ�เลยที่ 2 เป็นคดีความแพ่ง ต่อศาลจังหวัดธัญบุรี ฐานะละเมิดเรียกค่าเสียหาย จำ�นวนทุนทรัพย์ 1,320,000.00 บาท 8. คดีหมายเลขด�ำที่ พ 235/2558 ลงวันที่ 3 มีนาคม 2558 ผู้ปกครองของโจทก์ที่ 1 และ โจทก์ที่ 2 ฟ้องหน่วยงานกรม จ�ำเลยที่ 2 เป็นคดีความแพ่งต่อศาลจังหวัดธัญบุรี ฐานะละเมิดเรียกค่าเสียหายจ�ำนวนทุนทรัพย์ 1,440,000.00 บาท อย่างไรก็ตามข้อยุติจากการประเมินผลความเสียหายจากคดีความดังกล่าวยังไม่แน่นอนและไม่อาจคาดการณ์ความชัดเจนของ มูลหนี้ได้ในขณะนี้หน่วยงานกรมจึงไม่ได้บันทึกประมาณการหนี้สูญที่อาจเกิดขึ้นในบัญชี

หมายเหตุที่ 15 รายได้จากงบประมาณ

รายได้จากงบประมาณปีปัจจุบัน รายได้จากงบบุคลากร รายได้จากงบด�ำเนินงาน รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบรายจ่ายอื่น รายได้จากงบกลาง หัก เบิกเกินส่งคืนเงินงบประมาณ รวม รายได้จากงบประมาณปีปัจจุบัน-สุทธิ รายได้จากงบประมาณปีก่อนๆ (เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีเบิกจ่ายปีปัจจุบัน) รายได้จากงบด�ำเนินงาน รายได้จากงบลงทุน รายได้จากงบรายจ่ายอื่น รวม รายได้จากงบประมาณปีก่อนๆ รวม รายได้จากงบประมาณ

2557 123,810,457.59 139,972,179.66 10,993,012.75 208,888,812.19 30,877,758.95 (13,221,429.79) 501,320,791.35

(หน่วย : บาท) 2558 134,992,772.77 152,469,900.25 34,171,046.09 260,525,409.12 30,828,978.36 (9,765,010.52) 603,223,096.07

10,462,303.69 19,617,241.89 94,275,191.81 124,354,737.39 625,675,528.74

10,682,381.96 14,777,748.00 77,122,628.21 102,582,758.17 705,805,854.24


หมายเหตุที่ 16 รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค

0.00 746,251.54 746,251.54

(หน่วย : บาท) 2558 153,850.00 1,331,553.24 1,485,403.24

2557 243,150.66 243,150.66

(หน่วย : บาท) 2558 206,866.40 206,866.40

2557 64,128,535.62 1,475,970.00 988,741.94 7,723,487.26 51,870,454.03 50,486.10 604,880.19 7,913,309.47 502,389.00 1,068,394.83 1,602,592.27 217,200.67 2,061,804.00 136,436.52 131,480.12 140,476,162.02

(หน่วย : บาท) 2558 70,755,540.21 2,045,920.00 991,200.00 8,195,542.81 56,327,850.01 37,284.84 0.00 7,895,401.23 448,015.00 1,180,065.00 1,770,097.46 230,264.18 2,135,030.00 161,000.00 69,723.38 152,242,934.12

2557 รายได้จากการช่วยเหลือเพื่อการด�ำเนินงานจากหน่วยงานภาครัฐ รายได้จากการบริจาค รวม รายได้จากการอุดหนุนและบริจาค

หมายเหตุที่ 17 รายได้อื่น

รายได้เงินนอกงบประมาณ รวม รวมรายได้อื่น

หมายเหตุที่ 18 ค่าใช้จ่ายบุคลากร

เงินเดือน ค่าล่วงเวลา เงินประจ�ำต�ำแหน่ง ค่าจ้าง ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินช่วยค่าครองชีพ เงินรางวัลประจ�ำปี ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร เงินชดเชย กบข. เงินสมทบ กบข. เงินสมทบ กสจ. เงินสมทบกองทุนประกันสังคม ค่าเช่าบ้าน ค่าใช้จ่ายบุคลากรอื่น รวม ค่าใช้จ่ายบุคลากร


หมายเหตุที่ 19 ค่าบำ�เหน็จบำ�นาญ

บ�ำเหน็จปกติ เงินช่วยค่าครองชีพ บ�ำเหน็จ บ�ำเหน็จตกทอด บ�ำเหน็จด�ำรงชีพ ค่ารักษาพยาบาล เงินช่วยการศึกษาบุตร บ�ำเหน็จบ�ำนาญอื่น รวม ค่าบ�ำเหน็จบ�ำนาญ

2557 849,600.00 18,665,360.20 19,514,960.20

(หน่วย : บาท) 2558 974,934.98 24,502,686.08 25,477,621.06

2557 65,850,646.63 19,773,724.00 7,461,292.34 1,138,223.90 93,752,637.52 84,229,443.35 1,376,388.28 15,917,474.20 1,558,656.84 1,850,069.95 69,785,728.38 318,698.98 363,012,984.37

(หน่วย : บาท) 2558 73,822,615.59 17,720,68.16 6,820,956.64 783,116.36 113,776,851.71 98,147,717.05 1,431,154.00 10,256,707.93 3,167,335.40 1,089,488.25 105,136,582.73 392,646.75 432,545,840.57

2557 13,827,871.82 866,458.54

หมายเหตุที่ 20 ค่าตอบแทน

ค่าตอบแทนเฉพาะงาน ค่าตอบแทนอื่น รวม ค่าตอบแทน

0.00 1,000,000.00 3,042,600.22 20,000.00 17,419.20 18,774,349.78

(หน่วย : บาท) 2558 14,109,939.56 1,353,691.68 216,802.00 327,716.20 666,995.80 2,204,538.19 5,805.00 103,629.59 18,989,118.02

หมายเหตุที่ 21 ค่าใช้สอย

ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม ค่าใช้จ่ายเดินทาง ค่าซ่อมแซมและบ�ำรุงรักษา ค่าแก๊สและน�้ำมันเชื้อเพลิง ค่าจ้างเหมาบริการ ค่าจ้างที่ปรึกษา ค่าใช้จ่ายในการประชุม ค่าเช่า ค่าครุภัณฑ์มูลค่าต�่ำกว่าเกณฑ์ ค่าใช้จ่ายผลักส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ค่าประชาสัมพันธ์ ค่าใช้สอยอื่น รวม ค่าใช้สอย


หมายเหตุที่ 22 ค่าวัสดุ

ค่าวัสดุ รวม ค่าวัสดุ

2557 11,188,249.25 29,211,042.19 679,733.42 41,079,024.86

(หน่วย : บาท) 2558 11,047,625.06 32,281,183.23 827,142.82 44,155,951.11

2557 180,000.00 180,000.00

(หน่วย : บาท) 2558 230,000.00 230,000.00

หมายเหตุที่ 24 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำ�หน่าย

อาคารและสิ่งปลูกสร้าง ครุภัณฑ์ สินทรัพย์ไม่มีตัวตน รวม ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ�ำหน่าย

2557 10,120,605.29 621,040.84 1,811,629.40 1,004,952.49 952,729.00 14,510,957.02

(หน่วย : บาท) 2558 10,591,606.20 561,627.24 1,659,144.26 1,239,382.28 1,058,841.00 15,110,600.98

หมายเหตุที่ 23 ค่าสาธารณูปโภค

ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการสื่อสารและโทรคมนาคม ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลขและขนส่ง รวม ค่าสาธารณูปโภค

2557 31,752,205.38 31,752,205.38

(หน่วย : บาท) 2558 28,622,681.13 28,622,681.13

หมายเหตุที่ 25 ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค

ค่าใช้จ่ายอุดหนุน-หน่วยงานภาครัฐ รวม ค่าใช้จ่ายจากการอุดหนุนและบริจาค


หมายเหตุที่ 26 ค่าใช้จ่ายอื่น 2557 16,553.27 (1,007,203.27) (990,650.00)

ก�ำไร/ขาดทุนสุทธิจากการจ�ำหน่ายสินทรัพย์ ค่าใช้จ่ายอื่น รวม ค่าใช้จ่ายอื่น

(หน่วย : บาท) 2558 0.00 0.00 0.00

3.4 รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่าย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รายการ แผนงาน : ด�ำเนินการตามกรอบ ข้อตกลงของประชาคมอาเซียน โครงการที่ 1 : โครงการสร้าง ความรู้ ความเข้าใจและมีส่วนร่วม ด้านสิ่งแวดล้อมมุ่งสู่ประชาคมอาเซียน งบรายจ่ายอื่น แผนงาน : จัดการสิ่งแวดล้อม ผลผลิตที่ 1 : การมีส่วนร่วม ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

งบสุทธิ การส�ำรองเงิน ใบสั่งซื้อ/สัญญา เบิกจ่าย 22,850,000.00 0.00 1,400,000.00 21,363,923.67

22,850,000.00

0.00

1,400,000.00

21,363,923.67

คงเหลือ 86,076.33

86,076.33

488,892,400.00

800,000.00 21,974,990.45 455,951,412.13 10,165,997.42

101,530,200.00 120,622,478.00 15,434,332.00 0.00 251,305,390.00

0.00 0.00 94,308,177.89 0.00 4,049,260.04 116,544,980.27 0.00 62,000.00 15,314,070.99 0.00 0.00 0.00 800,000.00 17,863,730.41 229,784,182.98

แผนงาน : ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 127,400,400.00 ผลผลิตที่ 1 : การวิจัย พัฒนา และ ถ่ายทอดเทคโนโลยี งบบุคลากร 33,786,000.00 งบด�ำเนินงาน 37,497,300.00 งบลงทุน 19,282,000.00 งบอุดหนุน 0.00 งบรายจ่ายอื่น 36,835,100.00 รวม 639,142,800.00

7,222,022.11 28,237.69 58,261.01 0.00 2,857,476.61

0.00 1,926,313.00 132,393,722.01 (6,919,635.01) 0.00 0.00 41,008,039.98 (7,222,039.98) 0.00 1,926,313.00 35,569,776.15 1,210.85 0.00 0.00 19,253,565.60 28,434.40 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 36,562,340.28 272,759.72 800,000.00 25,301,303.45 609,709,057.81 3,332,438.74


รายงานฐานะเงินงบประมาณรายจ่ายจากเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รายการ

แผนงาน : จัดการสิ่งแวดล้อม ปี 2556 งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น

เงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี (สุทธิ) 4,425,000.00 0.00 0.00 4,425,000.00 0.00 0.00

แผนงาน : จัดการสิ่งแวดล้อม ปี 2557 งบบุคลากร งบด�ำเนินงาน งบลงทุน งบอุดหนุน งบรายจ่ายอื่น รวม

111,612,575.67 0.00 10,782,181.96 10,478,131.00 0.00 90,352,262.71 116,037,575.67

เบิกจ่าย

คงเหลือ

4,309,617.00 0.00 0.00 4,309,617.00 0.00 0.00

115,383.00 0.00 0.00 115,383.00 0.00 0.00

98,273,141.17 0.00 10,682,381.96 10,468,131.00 0.00 77,122,628.21 102,582,758.17

13,339,434.50 0.00 99,800.00 10,000.00 0.00 13,229,634.50 13,454,817.50







1) ชุมชนป่าตึงงาม หมู่ที่ 3 อบต. ป่าสัก อ. เมือง จ. ล�ำพูน

รางวัลชมเชย 2) ชุมชนดงไพรวัลย์ หมู่ที่ 3 ทต. หนองแดง อ. แม่จริม จ. น่าน

3) ชุมชนโรงพยาบาลค่ายวิภาวดีรังสิต ทน. สุราษฎร์ธานี อ. เมือง จ. สุราษฎร์ธานี


รางวัลชมเชย 1) บ้านห้วยม้าโก้ง หมู่ที่ 8 อบต. ป่าสัก อ. เมือง จ. ล�ำพูน

2) ชุมชนแพะป่าห้า หมู่ที่ 4 ทม. แม่โจ้ อ. สันทราย จ. เชียงใหม่

รางวัลชมเชย 1) ชุมชนป้อมหก ทน. หาดใหญ่ จ. สงขลา

2) ชุมชนหนองไฮ หมู่ที่ 4 ทต. บ้านแฮด อ. แฮด จ. ขอนแก่น


รางวัลชมเชย 1) โรงเรียนวัดตโปทาราม จ. ชลบุรี

2) โรงเรียนเทศบาลท่าอิฐ จ. อุตรดิตถ์

3) โรงเรียนเทศบาลอุโมงค์ 1 จ. ล�ำพูน

รางวัลชมเชย 1) โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร จ. ร้อยเอ็ด

2) โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ กรุงเทพมหานคร



ค่าเฉลี่ยปริมาณการใช้ทรัพยากรประเภทต่างๆ ปี พ.ศ. 2558 ปริมาณการใช้ต่อเดือน (คน/กิโลกรัม)

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย. 2015

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.








การเกิดไฟป่าในพื้นที่ด�ำเนินโครงการเสริมสร้างเครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังไฟป่า ลดหมอกควันดอยสุเทพ-ปุยและพื้นที่โดยรอบ เปรียบเทียบปี 2557 และปี 2558 (ระหว่างวันที่ 1 ต.ค. 2556 - 30 เม.ย 2557 และวันที่ 1 ต.ค. 2557 - 30 เม.ย. 2558) เครือข่ายในพื้นที่ด�ำเนินการ เครือข่ายสิ่งแวดล้อมม้ง ดอยปุย 1. บ้านดอยปุย ม.11 ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 2. บ้านขุนช่างเคี่ยน ม.4 ต.ช้างเผือก อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 3. บ้านผานกก ม.9 ต.บ้านโป่งแยง อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 4. บ้านแม่สาน้อย ม.4 ต.แม่สา อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่ 5. บ้านแม่สาใหม่ ม.6 ต.โป่งแยง อ.แม่ริม จ. เชียงใหม่

ไร่ 50 -

พื้นที่เกิดสถานการณ์ไฟป่า ปี 2557 ปี 2558 ครั้ง ไร่ 7 13 -

แหล่งที่มาข้อมูล : สถานีควบคุมไฟป่าเชียงใหม่ อ.เมือง จ. เชียงใหม่ ณ วันที่ 23 เมษายน 2558

ครั้ง 3 -







ภาคผนวก คณะผู้บริหารกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 นางสาวภาวิณี ปุณณกันต์ นายสากล ฐินะกุล นายเสริมยศ สมมั่น

อธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม รองอธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

คณะผู้บริหาร หน่วยงานที่ขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และคณะผู้บริหาร ส�ำนัก ศูนย์ กอง สถาบัน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 หน่วยงานที่ขึ้นตรงต่ออธิบดีกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม นายสากล ฐินะกุล นางสาวสาวิตรี ศรีสุข นางสาวนงลักษณ์ ขิรณะ นายณัฐวุฒิ เปลื้องทุกข์

106

รายงานประจำ�ปี 2558 กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

หัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรม ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านส่งเสริมและเผยแพร่ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ผู้อ�ำนวยการกลุ่มตรวจสอบภายใน


ส�ำนักงานเลขานุการกรม นางอนงค์ ชานะมูล นางนิตยา สหนันท์พร นางธนิษฐา วุฒิสิทธิกร นางสาวชวนปลื้ม บุนนาค นายอุดม พิสุทธิ์อาภา นางสมทรง ปรีรอด

เลขานุการกรม ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารทรัพยากรบุคคล ผู้อ�ำนวยการกลุ่มการคลัง ผู้อ�ำนวยการกลุ่มช่วยอ�ำนวยการ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มนิติการ หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป

ศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม นายวีรวัฒน์ ปภุสสโร นายธนาพันธ์ สุกสอาด นายอุบล มุสิกวัตร นายจักรชัย ชุ่มจิตต์ นางปาริชาติ หาญเรืองเดช นางพรสวรรค ภู่มณี

ผู้อ�ำนวยการศูนย์สารสนเทศสิ่งแวดล้อม ผู้อ�ำนวยการกลุ่มระบบคอมพิวเตอร์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบฐานข้อมูล ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริการสารสนเทศ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มบริหารจัดการสารสนเทศสิ่งแวดล้อม หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป

กองส่งเสริมและเผยแพร่ นายบรรพต อมราภิบาล นางภาวินี ณ สายบุรี นางจงรักษ์ ฐินะกุล นายอลงกต ศรีวิจิตรกมล นางกนกรัตน์ ศึกษา

ผู้อ�ำนวยการกองส่งเสริมและเผยแพร่ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มรณรงค์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มสื่อสารสิ่งแวดล้อม ผู้อ�ำนวยการกลุ่มสิ่งแวดล้อมศึกษา ผู้อ�ำนวยการกลุ่มสื่อสิ่งแวดล้อมและกิจการพิเศษ

ภาคผนวก

107







Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.