Doo Jit First Year

Page 1


ดูจิตปแรก โดย สันตินันท ISBN ๙๗๘-๖๑๑-๙๐๑๘๖-๐-๐

พิมพครั้งที่ ๑ เมษายน ๒๕๕๒ จำนวนพิมพ ๑๐๐,๐๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๕๒ จำนวนพิมพ ๔๐,๐๐๐ เลม ที่ปรึกษา คณะผูจัดทำ ออกแบบปก ออกแบบรูปเลม

: คุณศรันย ไมตรีเวช : ทีมงานนิตยสารธรรมะใกลตัว : คุณกวิน ฉัตรานนท และ คุณอาบทิพย ธีรวงศกิจ : คุณอาบทิพย ธีรวงศกิจ

จัดพิมพโดย สำนักพิมพฮาวฟาร พิมพที่ บริษัท ยูไนเต็ด โปรดักชั่น เพรส จำกัด 285 ม. 13 ซ. เพชรเกษม 93 ถ. เพชรเกษม ต. ออมนอย อ. กระทุมแบน จ. สมุทรสาคร 7413 สงวนลิขสิทธิ์ หามพิมพจำหนาย และหามคัดลอกหรือตัดตอนไปเผยแพรทางสื่อทุกชนิด โดยไมไดรับอนุญาตจากผูเขียน ผูสนใจฟงบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา หรืออานพระธรรมเทศนากัณฑอื่นๆ สามารถดาวนโหลดไดจาก http://www.wimutti.net หนังสือเลมนี้ จัดพิมพดวยเงินบริจาคของผูมีจิตศรัทธา เพื่อเผยแผเปนธรรมทาน หากทานไดรับหนังสือเลมนี้แลว ขอไดโปรดตั้งใจศึกษาและปฏิบัติธรรมจากหนังสือเลมนี้ ใหเกิดประโยชนสูงสุดทั้งแกตนเองและผูอื่น เพื่อใหสมตามเจตนารมณของผูบริจาคทุกๆทานดวยเทอญ


¤Ó¹ÓÊӹѡ¾ÔÁ¾ หากถามคนไทยในปจจุบันวานับถือศาสนาอะไร แมปญญาชน จำนวน หนึ่ง เริ่ม กลา ตอบ วา ‘ไม นับถือ ศาสนา ไหน เลย ไม เห็น ประโยชนของการมีศาสนาเลย’ แตก็เชื่อวาชาวไทยสวนใหญยังคง ปกหลักตอบวาตนนับถือศาสนาพุทธอยู หากสัมภาษณ ‘ชาวพุทธ’ แบบเจาะลึกสักพันคน ถามวารูจัก ศาสนาของตนเองดีแคไหน รูไหมวาพุทธศาสนาสอนอะไร สวนใหญ อาจ ยิ้ม เจื่อนๆ คิด ไมออก ใน ทันที หรือ ถา ทาดี หนอย ก็พูด ตาม สูตรสำเร็จ เชน ‘ทำวันนี้ใหดีที่สุด’ หรือ ‘ปลอยวางตัวกูของกูเสีย อยาไปยึดมั่นถือมั่น’ อันที่จริง คำตอบ ตาม สูตรสำเร็จ ขางตน ไมได ผิด อะไร เพราะ พุทธศาสนาสอนไวเชนนั้นจริงๆ แตหากเจาะรายละเอียดกันวาดีที่สุด ของแตละวันหมายถึงแบบไหน อาการไมยึดมั่นถือมั่นทำใหเกิดขึ้น ไดอยางไร อันนี้ยังตอบกันไปคนละทางสองทาง และหาไดนอยนักที่ ตอบอยางเชื่อมั่นวาตนรูจริง ไมใชตอบตามความรูสึก ศาสนาพุทธไมไดสอนใหพูดตามความรูสึก แตชาวพุทธจำนวน หนึ่งก็มักพูดตามความรูสึก ยกตัวอยางเชนธงชัยของพระพุทธศาสนา คือ มรรคผล นิพพาน ที่ ชาวพุทธ ทุกคน ควร แขง เวลา กับ ความตาย ไปความาใหได ตามทีพระพุ ่ ทธเจาทรงคะยั้นคะยอ แตพอตนทำไมได หรือไมรูรายละเอียดวิธี ก็ใชความรูสึกตัดสินวาหมดยุคของมรรคผล แลว เปนยุคที่ไมมีใครมีปญญาถึงอีกแลว พยายามใหตายก็ไมมีทาง บรรลุแมแตฌาน อยาวาแตจะเอาใหถึงมรรคถึงผลกัน


ความเชื่อเกี่ยวกับการเอามรรคผลนิพพานในชาติหนาเผยแพร อยางกวางขวาง และฝงลึกอยูในเสนทางทำบุญของชาวพุทธมานาน ดังจะเห็นไดวาแมแตพระสวนใหญก็อวยพรญาติโยมดวยถอยคำให ความหวัง เชน ขอใหถึงซึ่งพระนิพพานในอนาคตชาติ แทบไมมีพระ วัดไหนใหความเขาใจเลยวาพระนิพพานเปนสิ่งที่พึงหวังเขาถึงไดใน ชาตินี้ ดวยวิธีที่ถูกตอง ตามที่พระพุทธเจาทรงแสดงไว และยังคงหา หลักฐานไดจากพระไตรปฎก ไมใชหายสาบสูญไปไหนเลย ระหวาง ‘คำอวยพร’ กับ ‘ความเขาใจ’ ชาวพุทธเราเคยชิน กับการรับคำอวยพรมานานเกินไป โดยไมรูเลยวาพระพุทธเจาไม สรรเสริญ การ อวยพร แม ใคร มา ขอ พร จาก ทาน ทาน ก็ ตรัส วา เรา ตถาคตเลิกใหพรนานแลว และทานจะใหก็แตความเขาใจวิธีดำเนิน ชีวิตเพื่อความพนทุกขอันเปนของจริง เปนเหตุเปนผล ไมสักแตเปน ถอยคำ ประโลม ใจ สงเสริม ใหผูคน หลอก ตัวเอง ดวยความเชื่อ ลมๆ แลงๆ สำนักพิมพฮาวฟารเล็งเห็นความสำคัญของพระผูใหความเขาใจ ซึ่งนับวันจะนอยลงทุกขณะ และความภูมิใจของเราก็คงไมมีสิ่งใดยิ่ง ไปกวาการแนะนำใหชาวพุทธรูจักกับพระรูปหนึ่ง ที่เราเชื่อวาทาน รูจริง ใน สิ่ง ที่ พูด และ ทำ จริง ใน สิ่ง ที่สอน พระ รูป นั้น ก็คือ หลวงพอ ปราโมทย ปาโมชฺโช สวนสันติธรรม อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี แม ปจจุบัน นามของ ทาน จะ ปรากฏ ติดปาก ใคร ตอ ใคร ทวา จะ ให ‘รูจัก’ จริงๆคงนอย เพราะการรูจักกับการ ‘เคยไดยินชื่อ’ นั้น แตกตางกันมาก และเราก็เชื่อวาวิธีที่ดีที่สุดที่จะแนะนำใหรูจักทาน


คงไมมีอะไรประเสริฐไปกวาการเผยแพรคำสอนงายๆของทาน ที่คน ทั่วไปยอยไปใชไดทันที หนังสือ ‘ดูจิตปแรก’ เปนการ รวม ขอเขียน เมื่อ ครั้ง หลวงพอ ปราโมทยยังเปนฆราวาส และใชนามปากกาวา ‘สันตินันท’ หรือ ลงชื่อจริงคือ ‘ปราโมทย’ ซึ่งเคยเผยแพรผานเว็บไซตลานธรรมเสวนา (larndham.net) และบทความทางอินเทอรเน็ต โดยเราไดคัดแนว ปฏิบัติที่เรียบงายและลัดสั้น เนนใหเกิดแรงบันดาลใจวาทำไดจริง กับ ทั้งมีวิธชัี ดเจนที่ชีให ้ เห็นวาจะทำเดี๋ยวนี้ไดอยางไร ไมตองรอชาติหนา หรือปตอๆไป การดูจิต เปน สิ่ง ที่ ตอง ทำ ไป ตลอด ชีวิต หรือ จน กวา จะ ประสบ ความสำเร็จทางธรรมขั้นสูงสุด หมดกิเลส หมดทุกขรอนชั่วนิรันดร อยางไรก็ตาม ไมมีใครดูจิตได หากทำผิดหรือเสียกำลังใจตั้งแตป แรกๆ หนังสือ ‘ดูจิตปแรก’ จึงเปนพี่เลี้ยงใหกับกาวแรกของมือใหม ชวยทำเรื่องยากใหเปนเรื่องงาย แตขณะเดียวกันชื่อหนังสือก็คงสอ ในตัวเองวาจะมีปตอๆไปตามมา ซึ่งจะนานกี่เดือนกี่ป ก็ดีกวาตอง เดินทางหลงวนอีกหลายกัปหลายกัลปแนนอน เราเชื่อวาการนำความเขาใจจากพระผูรูมาสูชาวพุทธ ทรงคา เหนือคำอวยพรทั้งโลก เพราะคำอวยพรชวยใหปลื้มไดเดี๋ยวเดียว แต ความเขาใจอาจนำไปสูบรมสุข พนทุกขพนภัยไปจนสิ้นกาลนาน

สำนักพิมพฮาวฟาร กุมภาพันธ ๕๒ หมายเหตุ: หนังสือเลมนีไ้ ดรบั เมตตาอนุญาตจาก หลวงพอปราโมทย ปาโมชฺโช ในการจัดพิมพ ขึ้นเปนธรรมทาน ทั้งนี้ หลวงพอมิไดมีผลประโยชนในการจัดพิมพหนังสือเลมนี้แตอยางใด


ÊÒúÑÞ คำนำสำนักพิมพ

๑. การปฏิ การปฏิบัติธรรมเป รรมเปนเรื่องง งงายหรื ยหรือยาก

๒. แนวทางปฏิบัติธรรมโดยสังเขป

๑๕

๓. การดู การดูจจิ​ิตคืออะไร ปฏิบัติอย อยางไร ปฏิบัติแล แลวมีผลอ ผลอยยางงไร ไร ๒๗ ๔. ปญหา หาของผู ของผูปฏิ ปฏิบัติสวนนมากคื มากคืออะไร

๓๙

๕. ทำไม ทำไมคนส คนสวนนใหญ ใหญจึจึงไมสนใจ สนใจการปฏิ การปฏิบัติธรรม

๔๗

๖. การ การเดิ เดินจงกรม จงกรมและเจริ และเจริญสติตตอน อนนันั่งและนอน และนอน

๕๑

๗. ดูจจิ​ิตอยางไรเป งไรเปนสมถะ อยางไรเป งไรเปนวิปสสนา

๕๕

๘. จิตตั้งมั่นเปนกลาง เปนอยางไร กลางเป

๕๗

๙. ขอ ขอเทคนิ เทคนิคดีๆ ใน ในการทำจิ การทำจิตใหเป เปนกลาง

๖๑

๑๐. วิธีการ เจริญสติทีที่ถูถูกตอง เพื่อใหได ผล ารเจริ ไดมรรค มรรคผล

๖๓

๑๑. พูดคุยกับคนอื คนอื่น มักแบงสติมมาาดูดูตัตัวเอง ไมทัน ๑ เวลา เวลาพู เองไม

๖๗

๑๒. เรา เราควรเรี ควรเรียนธ นธรรมเรื นธรรมเรื่องใดเป งใดเปนหลัก

๖๙

ทำไมแครรู​ู กิเลสก็ ลสก็สสิ​ิ้นได ๑๓. ทำไมแค

๗๗ ๗

๑๔. จิตไไมใใชชขของ องเรา เรา เราไม เราไไมใใชชจจิ​ิต แลวเราอยู เราอยู​ูไไหน หน

๘๑


๑๕. พบคนหลายคนในตั พบคนหลายคนในตัวเรา

๘๕

๑๖. ทางสายกลาง งไรถึถึงจะเป ทางสายกลาง ทำอย ทำอยางไร จะเปนกลาง

๘๗

๑๗. กุศลจิ ลจิตเกิดยาก

๘๙

๑๘. ตามดู ตามดูจจิ​ิตแลวพากยไไปปดวย

๙๓

๑๙. ธรรมะทิ ธรรมะทิ้งทายยเพื เพื่อเตือนสติ

๙๕


“¡ÔàÅÊÁѹËÅÍ¡àÍÒ¹‹Ð¤ÃѺ àÃÒ¨Ö§àË繼Դ໚¹ªÍº àË繡Òû¯ÔºÑμÔ¸ÃÃÁ·Õè໚¹¢Í§ÊºÒ NjÒÅÓºÒ¡àËÅ×Í»ÃÐÁÒ³”


การปฏิบัติธรรม เปนเรื่องงายหรือยาก

ถาม - เคยไดยนิ คนบนกันวาการปฏิบตั เป ิ นเรือ่ งยาก ไมวา การ ทำทาน รักษาศีล บำเพ็ญภาวนา ลวนยากและนาเหนื่อยหนาย ทอแทเสียเหลือเกิน แทที่จริงแลวการปฏิบัติธรรมเปนเรื่องยาก หรือไมครับ พิจารณาจากพระพุทธวจนะก็ไมพบวาทานระบุตายตัววา การปฏิบัติธรรมเปนเรื่องงายหรือยาก ทานเพียงแตกลาววา “คนดีทำดีงาย แตทำชั่วยาก สวนคนชั่วทำชั่วงาย แตทำดียาก” รวมความแลวคงตองสรุปวา การปฏิบัติจะยากหรืองาย ลำบากหรือสบาย มันขึ้นอยูกับเงื่อนไขที่แตกตางกันของแตละบุคคล หมายเหตุ: เนื่องจากเนื้อหาในหนังสือเลมนี้ รวบรวมจากขอเขียนและบทความของ หลวงพอ ปราโมทย ปาโมชฺโช เมื่อครั้งทานยังครองเพศฆราวาส จึงใชสรรพนามแทนตนวา ‘ผม’


๑๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

แตในแงของผมที่พิจารณาดูแลว กลับเห็นวา การปฏิบัติธรรมไมใชเรื่องยากเกินไป แถมมีผลเปนความสบายเสียอีก เราลองมาพิจารณาถึงการปฏิบัติธรรมกันเปนขั้นๆ ไปเลยดีกวา เริ่มจากการทำทาน เชน การใหวัตถุทาน ผมเห็นวาเปนเรื่องงายที่เราจะทำทานในขอบเขตที่ตนจะไมเดือดรอน คือการ “ให” ถาพอใจก็ใหไดแลว แตการจะเปนฝาย “เอา” นั้น ไมใชเรื่องงายเลย แมไดมาแลว การจะดูแลรักษาทรัพยสมบัติ ก็เปนงานทีน่ าปวดหัวอีก เชน ตอนนีจะ ้ นำเงินไปฝากธนาคาร ก็กลัวธนาคารลม แถมดอกเบีย้ ต่ำ จะเปลีย่ นไปเลนหุน ก็กลัวจะตองแปลงสัญชาติไปเกิดในภพแมลงเมา การใหอภัยทาน ก็งายกวาการตามจองลางจองผลาญใคร เพราะไมตองวางแผนอะไร ไมตองลงมือทำอะไร ใหอภัยไดเมื่อไร ก็นอนหลับสบายไดเมื่อนั้น ในขณะที่ถาจะตามจองลางจองผลาญใคร จะตองคิดวางแผน แถมถาดำเนินการไมดี อาจจะเปนฝายถูกเลนงานเสียอีก การใหอภัยจึงงายกวาเปนไหนๆ การถือศีลก็เปนเรื่องงายกวาการทำผิดศีล เชน ถาจะฆา จะตีคนอื่น ก็ตองวางแผน เตรียมอาวุธ ตอนไปตีเขาก็อาจถูกเขาตีตายเสียเองก็ได ทำรายเขาแลวก็ตองหลบซอนจากเงื้อมมือของกฎหมาย


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๑๑

หรืออยางจะไปตกปลาลาสัตว ก็ลำบากกวาการไมทำเปนไหนๆ บางคนตองไปซื้อหาเบ็ดราคาแพงๆ ไปนั่งตากแดดตากลมอยูริมน้ำเพื่อจะตกปลา การไมลักทรัพยก็งายกวาการลักทรัพย การไมผิดลูกผิดเมียเขา ก็งายกวาการทำผิด เพราะเสี่ยงตอการเจ็บตัว เสี่ยงตอการเสียชื่อเสียงเกียรติยศ การพูดความจริง ก็งายกวาการโกหกพกลม อยางนอยที่สุด ก็ไมตองใชความจำเทากับคนพูดโกหก คนไมดื่มเหลาเมายาบา ก็สบายกวาคนดื่มเหลา ไมเสียเงิน ไมเสียเวลา ไมเสียสุขภาพ งายกวากันเปนไหนๆ พอมาถึงการภาวนา หรือการปฏิบัติในขั้นสมถะและวิปสสนา อันนี้ผมก็เห็นวามันสบายกวาการไมปฏิบัติเชนกัน เชน การทำสมถะ ถารูหลักแลวเอาจิตประคองรูเขากับอารมณ อันเดียวโดยตอเนื่อง ไมเห็นจะตองทำอะไรมากมายเลย แครูอารมณอันเดียวเรื่อยๆ ไปอยางสบายเทานั้นเอง หรือจะทำวิปสสนา ก็ทำจิตทำใจของตนเปนเพียงผูสังเกตการณ อะไรจะเกิดขึ้นกับกายกับจิตก็รูเรื่อยๆ ไป โดยไมตองเขาไปของแวะยินดียินรายอะไรเลย แทบจะเรียกวา เปนการไมทำอะไรเลย นอกจากรูท นั อยางเดียวเทานัน้ แบบนี้มันจะยากไดอยางไร ก็นึกไมออกเหมือนกันครับ


๑๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

บางคนปฏิบัติธรรมแลวรูสึกลำบากมาก ตองคอยกดขมบังคับจิตใจตนเองจนเครียดไปหมด อันนั้นไมใชวา การปฏิบัติธรรมทำใหยากลำบากหรอกครับ แตการปฏิบัติผิดๆ ตางหาก ที่ทำความลำบากใหเรา คนที่มีลูกออนจะบนวายากลำบากเหลือเกิน เดี๋ยวลูกก็รองกวน อดหลับอดนอน เวลาเด็กเจ็บไข พอแมก็เปนทุกขเปนรอนมากมาย เวลาเด็กจะเรียนหนังสือ ก็ตองวิ่งเตนหาที่เรียนให บางคราว โรงเรียนเขาจับพอแมไปนั่งสอบเขาเรียนดวย จนเด็กเลิกนับถือพอแม เพราะเด็กสอบได แตพอแมสอบตก ทำใหเด็กไมไดรับการคัดเลือกใหเขาโรงเรียนนั้น ตอนลูกยังเล็กก็หวงสารพัด กะวามันโตกวานี้หนอยคงจะสบาย แตแลวก็ไมสบาย เพราะพอเด็กโต พอแมก็มีรายจายมากขึ้น แถมตองหวงใยสารพัด เพราะสังคมของเรามันทารุณโหดรายเหลือเกิน พอลูกเรียบจบ พอแมก็ปวดหัวเรื่องอาชีพการงานของลูกอีก ถัดจากนั้นก็ปวดหัวเรื่องการหาคูของลูก หลังจากนั้น ก็เตรียมตัวรับภาระเรื่องหลานตอไปอีก เลี้ยงลูกแตละคนลำบากแทบตาย ก็ยังเห็นตั้งหนาจะมีลูกกันเปนสวนมาก บางคนตองเสียเงินทองมากมาย เพราะมีลูกยาก แตอยากจะมี


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๑๓

พอบอกวาใหทำใจสบายๆ หายใจเขาก็รู หายใจออกก็รู แคนี้บอกวาทุกขยากเหลือเกิน ทำไมไหวแลว เรื่องของเรื่องก็ไมมีอะไรมากหรอก กิเลสมันหลอกเอานะครับ เราจึงเห็นผิดเปนชอบ เห็นการปฏิบัติธรรมที่เปนของสบาย วาลำบากเหลือประมาณ สวนการไมทำทาน ไมรักษาศีล ไมภาวนา และการคลุกคลีอยูกับโลกที่แสนจะลำบาก กลับรูสึกวาพอทนได ไมลำบากเทาไรเลย ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000162.htm


“àÃÒ»¯ÔºÑμÔà¾×èÍÃÙŒ·Ñ¹¡ÔàÅÊμѳËÒ ·Õè¤ÍÂáμ‹¨Ð¤Ãͺ§Ó¨Ôμ㨠»¯ÔºÑμÔ仨¹¨Ôμ©ÅÒ´ ¾Œ¹¨Ò¡ÍÓ¹Ò¨¢Í§¡ÔàÅÊμѳËÒ”


แนวทางปฏิบัติธรรมโดยสังเขป

ถาม - อยากทราบแนวทางการปฏิบัติธรรมโดยสังเขปคะ เพื่อนรวมทุกขจำนวนมาก ไปศึกษาการปฏิบัติธรรมกับผม และผมไดเห็นปญหาที่ตามมาหลายอยาง เชนบางทานกลัววา พอไมไดอยูใกลผมแลว จะทำไมได หรือทำไมถูก ถาเปนคนกรุงเทพฯก็ยังอุนใจวา จะพบผมไดอีกไมยากนัก แตคนตางประเทศ หรือตางจังหวัด จะกังวลกันมากหนอย จึงอยากไดคูมือสำหรับการปฏิบัติ อยางงายๆ แตเปนระบบ เพื่อความอุนใจวา จะใชเปนแนวทางปฏิบัติตอไปไดเมื่อไมพบผม บางทานฟงแลวยังสับสน ไมเขาใจ หรือไปจำธรรมที่ผมตอบคนอื่น เอาไปปฏิบัติบาง ซึ่งเปนคนละขั้นตอน หรือคนละจริต ผลก็ไมตางจากการเอายารักษาโรคของคนอื่นไปรับประทาน


๑๖

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

จึงอยากเห็นภาพรวมของการปฏิบัติธรรมทั้งหมดที่ผมแนะนำ เพื่อจะคลี่คลายความสับสนตรงนี้ไดบาง ปญหาอีกประการหนึ่งที่ผมทราบก็คือ เพื่อนบางทานถกเถียงกันเรื่องการปฏิบัติธรรม โดยนำคำแนะนำของผมที่ไดยินมาตางกรรม ตางวาระ ไปเปนขออางอิงโตแยงกัน ผมจึงเห็นวา สมควรสรุปใจความยอของการปฏิบัติธรรม ตามที่ผมไดแนะนำหมูเพื่อน เพื่อใหเห็นภาพรวมของการปฏิบัติอยางเปนระบบ ตั้งแตเบื้องตนเปนลำดับไป เพื่อแกปญหาดังที่กลาวมาแลวขางตนนั้น ๑. การสรางความเขาใจขอบเขตของพระพุทธศาสนา เพื่อนที่มีพื้นฐานความเขาใจเกี่ยวกับพระพุทธศาสนามานอย จะไดรับการปูพื้นความเขาใจเสียกอนวา พระพุทธศาสนาไมใชยาแกสารพัดโรคครอบจักรวาล ไมใชเครื่องมืออยางเดียว ในการดำรงชีวิตอยูในสังคม ดังนั้น ไมใชวาเปนนักเรียน ก็เลิกเรียน เพื่อมาศึกษาพระพุทธศาสนา เพราะความรูทางโลก เปนสิ่งจำเปนสำหรับการดำรงชีวิตในทางโลก ผูศึกษาพระพุทธศาสนา จำเปนตองรอบรูในศาสตรสาขาอื่นๆ ดวย


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๑๗

และอยาเขาใจวา พระพุทธศาสนา เปนเรื่องอื่น นอกเหนือจากการเรียนรูเรื่องความทุกข และการปฏิบัติเพื่อความพนทุกข (ทางใจ) เทานั้น พระพุทธศาสนา ไมไดมีไวเพื่อตอบปญหา เกี่ยวกับไสยศาสตร โชคลาง เจากรรมนายเวร ชาติโนนชาติหนา ผีสางเทวดา ฯลฯ ๒. เครื่องมือในการปฏิบัติธรรม ผูที่เขาใจแลววาพระพุทธศาสนาสอนเรื่องทุกขและการดับทุกข ก็จะไดรับการแนะนำใหรูจักเครื่องมือสำหรับการปฏิบัติธรรม ไดแก สติ และ สัมปชัญญะ ผมมักจะพยายามแนะนำใหพวกเรา รูทัน สิ่งที่กำลังปรากฏกับจิต เชน ความลังเลสงสัย ความอยาก ความกังวล ความสุข ความทุกข ฯลฯ เปนการหัดใหมี สติ ซึ่งเปนเครื่องมือรูอารมณที่กำลังปรากฏ และเฝากระตุนเตือนพวกเราใหทำความรูตัว ไมเผลอ ไมวาจะเผลอสงจิตไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย หรือใจ สวนมากก็จะเผลอกันทางตา กับ ทางใจคือหลงเขาไปอยูใ นโลกของความคิด กับเผลอไปเพงจองอารมณ เอาสติจอแนนเขาไปที่อารมณที่กำลังปรากฏ การกระตุนความไมเผลอ และไมเผลอเพง ก็คือการพยายามใหพวกเรามี สัมปชัญญะคือความรูตัวไวเสมอๆ


๑๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

๓. การเจริญสติปฏฐาน เมื่อพวกเรามีเครื่องมือ หรืออาวุธในการปฏิบัติธรรมแลว ขั้นตอนตอไปผมจะแนะนำใหพวกเราเจริญสติปฏฐาน คือมีสติสัมปชัญญะระลึกรู กาย เวทนา จิต และ/หรือ ธรรม ตามความถนัดของแตละบุคคล เชน ใหรูอิริยาบถ รูความเคลื่อนไหวระหวางการเดินจงกรม รูลมหายใจเขาออก เบื้องตนถาจิตยังไมมีกำลัง ก็ใหรูไปอยางสมถะ คือเอาสติจดจอสบายๆ ลงในกายที่ถูกรูนั้น เมื่อจิตมีกำลังขึ้นแลว ก็ใหเห็นวา อิริยาบถ ความเคลื่อนไหวกาย หรือลมหายใจนั้น เปนเพียงสิ่งที่ถูกรู ถูกเห็น ไมใชจิต มีความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตาปรากฏอยูตอหนาตอตานั้นเอง เมื่อทำไดอยางนั้นแลว จิตจะมีกำลังสติสัมปชัญญะมากขึ้นอีก หากนามธรรมใดปรากฏกับจิต ก็สามารถจะรูเทาทันได เชนเกิดความรูสึกสุข รูสึกทุกข เกิดกุศล อกุศล ตางๆ ก็ใหรูทันนามธรรมนั้น ในลักษณะสิ่งที่ถูกรู เชนเดียวกับการรูรูปนั่นเอง อนึ่ง คนไหนมีกำลังรูนามธรรมไดเลย ผมมักแนะใหรูนามธรรมไปเลย หรือผูไมถนัดจะระลึกรูนามธรรม สมัครใจจะรูรูปธรรมอยางเดียว ก็ได


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๑๙

เมื่อจิตรู รูปธรรม หรือนามธรรมอยางตอเนื่องแลว พอมีกำลังสติปญญามากขึ้น ก็จะเห็นวา เมื่อจิตไปรูรูปธรรมหรือนามธรรมตางๆ แลว จิตจะมีความยินดี ยินราย หรือเปนกลางขึ้นมา ผมมักแนะนำหมูเ พือ่ น ใหระลึกรูค วามยินดี ยินราย หรือความเปนกลางนัน้ เมื่อจิตรูความเปนยินดี ยินรายแลว ก็จะเห็นความยินดี ยินรายนั้น เกิดดับเชนเดียวกับรูปธรรมและนามธรรมทั้งปวงนั้นเอง แลวจิตปลอยวางความยินดียินราย เขาไปสูความเปนกลางของจิต ตอนแรกความเปนกลางๆ จะมีสั้นๆ แลวก็มีความยินดี ยินรายเกิดขึ้นอีก ตอมาชำนิชำนาญขึ้น จิตจะเปนกลางมากขึ้นตามลำดับ ก็ใหผูปฏิบัติรูอยูที่ความเปนกลางของจิต เมื่อจิตมีกำลังขึ้น ก็จะสามารถจำแนกขันธละเอียดตอไปจนเขาถึง ใจ ได ในขั้นที่จิตเฝาระลึกรูความเปนกลางนั้น ปญญาชนจะเกิดโรคประจำตัว ๒ ประการเปนสวนมาก คือ (๑) เกิดความเบื่อหนาย แลวเลิกปฏิบัติ หรือ (๒) เกิดความลังเลสงสัย วาจะตองทำอะไรตอไปอีกหรือไม แลวเลิกปฏิบัติโดยการ รู หันมาคิดคนควาหาคำตอบดวยการคิดเอา แทจริงเมื่อจิตเขาไปรูอยูที่ความเปนกลางแลว ก็ใหรูอยูอยางนั้น แลวจิตเขาจะพัฒนาของเขาไปเองเมื่อกำลังของ สติ สมาธิ ปญญา สมบูรณเต็มที่


๒๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

นี้เปนขอสรุปแนวทางการปฏิบัติธรรมโดยสังเขป ที่ขอฝากไวใหกับหมูเพื่อนเพื่อประกอบการพิจารณาปฏิบัติตอไป จากแนวทางอันเดียวกันขางตน เมื่อแตละคนลงมือปฏิบัติธรรมจริงๆ กลับปรากฏปญหาปลีกยอยแตกตางกันเปนจำนวนมาก ปญหาหลักก็มาจาก การเจริญสติสัมปชัญญะ ไมถูกตอง พวกเราจำนวนมากในขณะนี้ ยิ่งปฏิบัติ ยิ่งเกิดความคลาดเคลื่อน ยิ่งขยัน ยิ่งพลาดไปไกล จุดที่พากันพลาดมากในชวงนี้ก็คือ แทนที่จะ รู ตามความเปนจริง พวกเรากลับไป สราง อารมณอันหนึ่งขึ้นมา แลวพากันเขาไปติดอยูในอารมณอันนั้น ความผิดพลาดนั้นเกิดจากบางคนรูสึกวาตนฟุงซานมากไป จึงเห็นวาจำเปนตองฝกสมถกรรมฐานเสียกอน แลวการฝกสมถกรรมฐานนั้น ก็กระทำอยางผิดพลาด คือแทนที่จะกระทำสัมมาสมาธิ กลับไปทำมิจฉาสมาธิอันไมประกอบดวยความรูตัว โดยการเพงเขาไปที่อารมณอันเดียว กลอมจิตใหเคลื่อน เคลิ้ม เขาไปเกาะอารมณอันเดียว แทนที่จะมีสติระลึกรูอารมณอันเดียวไปอยางสบายๆ โดยมีความรูตัวไมเผลอ ไมเพง จิตแคระลึกรูอารมณอันเดียวอยางสบายๆ เปนธรรมเอก


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๒๑

เมื่อทำมิจฉาสมาธิ จิตเคลื่อน ไปเกาะอารมณที่สรางขึ้นมา พอหยุดการทำสมาธิ หันมาดูจิต หรือเจริญสติปฏฐาน ก็เอาจิตที่เกาะติดอารมณนั้นเอง มาใชดูจิต ซึ่งจิตชนิดนี้ ใชเจริญสติปฏฐานไมไดจริง เพราะกระทั่งจิตติดอารมณอยูก็มองไมเห็นความจริงเสียแลว สาเหตุของความผิดพลาดที่เปนกันมากอีกอยางหนึ่งก็คือ แทนที่จะรูอารมณไปตามธรรมดา งายๆ สบายๆ พวกเราจำนวนมากกลัวจะเผลอ กลัวจะหลงมากเกินไป โดยเฉพาะอยางยิ่งในเวลาที่พบกับผม หรือใกลจะพบกับผม จิตจะเกิดการตื่นตัวขึ้น เกิดอาการเกร็ง ระวังตัวแจ ไมผิดอะไรกับนักวิ่ง เวลาเขาเสนสตารท สาเหตุอีกประการหนึ่งก็คือ การปฏิบัติธรรมดวยความอยาก เชนอยากรูธรรมเห็นธรรมเร็วๆ อยากเปนคนเกง เปนดาวเดน อยากไดรับการยอมรับและคำชมเชยจากหมูเพื่อน พออยากมาก ก็ตอง “เรงความเพียร” แตแทนทีจ่ ะเจริญสติสมั ปชัญญะอยางเปนธรรมชาติใหตอ เนือ่ งตลอดเวลา อันเปนความหมายที่ถูกตองของการเรงความเพียร กลับกลายเปนการปฏิบัติดวยความหักหาญ เครงเครียด ดูผิวนอกเหมือนจะดี แตจิตภายในไมมีความสงบสุขใดๆ เลย


๒๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

สาเหตุที่นึกไดในตอนนี้ทั้ง ๓ ประการนี้แหละ ทำใหพวกเราจำนวนมาก หลงไปยึดอารมณอันหนึ่งไว แลวคิดวา สามารถรูจิตรูใจไดอยางแจมชัด ตอนนี้บางคนพอจะแกไขไดบางแลว เมื่อเริ่มรูทัน การที่จิตไปสราง ภพของนักปฏิบัติขึ้นมา แทนที่จะ รู สิ่งที่กำลังปรากฏ ตามความเปนจริง มีเรื่องขำๆ เรื่องหนึ่งคือนองคนหนึ่งจิตติดอารมณภายในอยู ผมก็แนะนำวา ใหดูใหรูวากำลังติดอยู ถารูแลวจะไดกลับออกมาอยูขางนอก และแทนที่จะเพงเขาไปขางใน ใหพยายามรูตัวออกไปยังภายนอก ออกไปสัมผัสสิ่งแวดลอมใหดี จิตที่ติดอยูขางในจะไดหลุดออกมา นองคนนั้นฟงแลวกลุมใจมาก เพราะคิดวาผมสอนใหสงจิตออกนอก ยังดีวาสงสัยแลวถามผมเสียกอน ไมนำไปเลาถวายครูบาอาจารย วาผมสอนใหสงจิตออกนอก มิฉะนั้น ถาทานพบผม ทานคงทุบผมตกกุฏิเลย ความจริงการที่หลงสรางอารมณออกมาอันหนึ่ง แลวตนเองเขาไปติดอยูภายในนั้น ก็เปนการสงจิตออกนอกแลว คือออกไปนอกจาก รู ผมพยายามแกการสงจิตออกไปสรางภพโดยไมรูตัวให ไมไดปรารถนาจะใหหัด สงจิตออกนอก แตอยางใด


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

ปญหาอีกอยางหนึ่งที่พวกเราสวนนอยเปนกัน ไดแกการหลงตามอาการของจิต เชน หลงในนิมิต แสง สี เสียง ตางๆ หรือหลงในการกระตุกของรางกาย ฯลฯ พอเกิดอาการขึ้น บางคนก็ยินดี บางคนก็ยินราย ตองคอยปลอบคอยแนะใหหันมาสังเกตรูความยินดียินรายของจิต จนจิตเขาถึงความเปนกลางเอง แทนการไปเพงใสอาการตางๆ เหลานั้น และมีราคะ โทสะ หรือโมหะ ครอบงำโดยไมรูตัว การปฏิบัตินั้น ถาจะปองกันความผิดพลาด ก็ควรจับหลักใหแมนๆ วา “เราปฏิบัติเพื่อรูทันกิเลสตัณหา ที่คอยแตจะครอบงำจิตใจ ปฏิบัติไปจนจิตฉลาด พนจากอำนาจของกิเลสตัณหา” ไมใชปฏิบัติเพื่อสิ่งอื่น หากปฏิบัติโดยแฝงสิ่งอื่นเขาไป เชนความอยากรู อยากเห็น อยากเปน อยากได อยากเดน อยากดัง อยากหลุดพน โอกาสพลาดก็มีสูง เพราะจิตมักจะสรางบางสิ่งบางอยางขึ้นมา แทนที่จะรูทุกอยางตามความเปนจริง แลวก็ควรสังเกตจิตใจตนเองไวบาง หากรูสึกวา จิตใจเกิดความหนักที่แตกตาง หรือแปลกแยกจากธรรมชาติแวดลอม

๒๓


๒๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ก็แสดงวาจิตไปหลงยึดอะไรเขาใหแลว เพราะโดยธรรมชาติของสิ่งภายในภายนอกนั้น มันไมมีน้ำหนักอะไรเลย ที่มีน้ำหนักขึ้นมา ก็เพราะเราไปแบกไปถือไวเทานั้นเอง ลองสังเกตดูตอนนี้ก็ไดครับ ลองทำใจใหสบายๆ สังเกตไปยังสิ่งแวดลอมภายนอก เชน อาคารบานเรือน โตะเกาอี้ ตนหมากรากไม จะเห็นวา สิ่งภายนอกนั้นโปรง เบา ไมมีน้ำหนัก เพราะเราไมไดเขาไปแบกหามเอาไว สวนจิตใจของเรานั้น มองยอนเขามาจะเห็นวามันหนักมากบางนอยบาง ถายึดมากก็หนักมาก ยึดนอยก็หนักนอย มันยังแปลกแยกออกจากธรรมชาติ ธรรมดา สิ่งที่แปลกแยกนั่นแหละครับ คือสวนเกินที่เราหลงสรางขึ้นมาโดยรูไมเทาทันมายาของกิเลส เมื่อรูแลว ก็สังเกตจิตตนเองตอไปวา มันยินดียินรายตอสิ่งที่แปลกปลอมเขามานั้นหรือไม แลวก็รูเรื่อยไป จนจิตเปนกลางตออารมณทั้งปวง ธรรมชาติภายใน กับธรรมชาติภายนอกก็จะเสมอกัน คือไมมีน้ำหนักใหตองแบกหามตอไป พระศาสดาทรงสอนวา ขันธทั้ง ๕ เปนของหนัก บุคคลแบกของหนักพาไป เขายอมไมพบความสุขเลย


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๒๕

คำสอนของพระองคนั้น คำไหนก็เปนคำนั้น ขันธเปนของหนักจริงๆ สำหรับคนที่มีตาที่จะดูออกได ๗ มกราคม ๒๕๔๓ ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/29/37/


“¾¾Ö§ãËŒ¨Ôμ໚¹à¾Õ§¼ÙŒÊѧà¡μ¡Òó àËÁ×͹¤¤¹´ÙÅФà ·ÕèäÁ‹â´´à¢ŒÒä»àÅ‹¹ÅФ¤ÃàÊÊÕÂàͧ”


การดูจิตคืออะไร ปฏิบัติอยางไร ปฏิบัติแลวมีผลอยางไร ถาม - เปนนองใหมเพิ่งเริ่มตนคะ ไมทราบวาการดูจิตคืออะไร ทำอยางไร ดูแลวมีผลอยางไรคะ ความหมายของการดูจิต คำวา การดูจิต เปนคำที่นักปฏิบัติกลุมหนึ่ง บัญญัติขึ้นเพื่อใชสื่อความหมายกันเองภายในกลุม หมายถึงการเจริญ เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน (ทุกบรรพ) จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน (ทุกบรรพ) ่ นฝายนามธรรม) รวมถึง ธัมมานุปสสนาสติปฏ ฐาน (บางอยางทีเป กลาวอยางยอ ก็คือการเจริญวิปสสนาดวยอารมณฝายนามธรรม ไดแกการรูจิตและเจตสิกนั่นเอง


๒๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

วิธีการเจริญวิปสสนา (ดูจิต) การเจริญวิปสสนาทุกประเภท รวมทั้งการดูจิต ไมมีอะไรมาก เพียงแตใหผูปฏิบัติ “รูสภาวธรรมที่กำลังปรากฏตามความเปนจริง ดวยจิตที่เปนกลางเทานั้น” แตจะรูไดถูกตอง ก็ตอง (๑) มีจิตที่มีคุณภาพ และ (๒) มีอารมณกรรมฐานที่ถูกตอง เทานั้น ซึ่งจิตที่มีคุณภาพสำหรับการทำสติปฏฐานหรือวิปสสนา ไดแก จิตทีมี่ สติ (สัมมาสติ) สัมปชัญญะ (สัมมาทิฏฐิ) และสัมมาสมาธิ สวนอารมณกรรมฐานที่ถูกตอง คืออารมณที่มีตัวจริงที่สามารถแสดงไตรลักษณได หรือทีนั่ กปฏิบตั มัิ กจะเรียกวาสภาวะ และนักปริยตั เรีิ ยกวาอารมณปรมัตถ เมื่อจะลงมือปฏิบัติ ก็ให (๑) มีสติเฝารูใหทัน (มีสัมมาสติ) (๒) ถึงอารมณหรือสภาวธรรมทีกำลั ่ งปรากฏ (มีอารมณปรมัตถ) (๓) ดวยจิตที่ตั้งมั่น ไมเผลอสงสายไปที่อื่น และไมเพงจอง บังคับจิต (มีสัมมาสมาธิ) แลว (๔) จิตจะรูสภา  วธรรมทัง้ ปวงตามความเปนจริง (มีสัมปชัญญะ/ สัมมาทิฏฐิ)


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๒๙

การมีสติเฝารูใหทัน หมายถึงสิ่งใดเกิดขึ้น ตั้งอยู หรือดับไป ก็ใหรูเทาทัน เชน ขณะนั้นรูสึกมีความสุข ก็ใหรูวามีความสุข เมื่อความสุขดับไป ก็ใหรูวาความสุขดับไป มีความโกรธก็รูวามีความโกรธ เมื่อความโกรธดับไปก็รูวาความโกรธดับไป เมื่อจิตมีความทะยานอยากอันเปนแรงผลักดัน ใหออกยึดอารมณทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็ใหรูวามีแรงทะยานอยาก เปนตน อารมณหรือสภาวธรรมที่กำลังปรากฏ ตองเปนอารมณของจริง ไมใชของสมมุติ โดยผูปฏิบัติจะตองจำแนกใหออกวา อันใดเปนของจริง หรือปรมัตถธรรม อันใดเปนของสมมุติ หรือบัญญัติธรรม เชน เมื่อจิตมีความสุข ก็ตองมีสติรูตรงเขาไปที่ความรูสึกสุขจริงๆ เมื่อจิตมีความโกรธ ก็ตองรูตรงเขาไปที่สภาวะของความโกรธจริงๆ เมื่อมีความลังเลสงสัย ก็ตองรูตรงเขาไปที่สภาวะของความลังเลสงสัย จริงๆ ฯลฯ และเมือ่ หัดรูม ากเขาจะพบวา นามธรรมจำนวนมากผุดขึน้ ทีอก ่ หรือหทยรูป แตผูปฏิบัติไมตองเที่ยวควานหาหทยรูป หากกิเลสเกิดที่ไหน และดับลงที่ไหน ก็รูที่นั้นก็แลวกันครับ


๓๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ถาเอาสติไปตั้งจอดูผิดที่เกิด ก็จะไมเห็นของจริง เชน เอาสติไปจออยูเหนือสะดือสองนิ้ว จะไมเห็นกิเลสอะไร นอกจากเห็นนิมิต เปนตน และการมีสติรูของจริง ก็ไมใชการคิดถามตนเอง หรือคะเนเอาวา ตอนนี้สุขหรือทุกข โกรธหรือไมโกรธ สงสัยหรือไมสงสัย อยากหรือไมอยาก ตรงจุดนีสำคั ้ ญมากนะครับ ทีจะ ่ ตองรูสภา  วธรรม หรือปรมัตถธรรมใหได เพราะมันคือ พยานหรือแบบเรียน ที่จิตจะไดเรียนรู ถึงความเกิดขึ้น ตั้งอยู และดับไปของมันจริงๆ ไมใชแคคิดๆ เอาวามันเปนอยางนั้นอยางนี้ เมื่อมีสติรูสภาวธรรมหรือปรมัตถธรรมที่กำลังปรากฏแลว ผูปฏิบัติจะตองมีจิตที่รูตัว ตั้งมั่น ไมเผลอไปตามความคิดซึ่งจะเกิดตามหลังการรูสภาวธรรม เชน เมื่อเกิดสภาวะบางอยางขึ้นในจิต อันนี้เปนปรมัตถธรรม ถัดจากนั้นก็จะเกิดสมมุติบัญญัติวา นี้เรียกวาราคะ สมมุตตรง ิ นีห้ ามไมได เพราะจิตเขามีธรรมชาติเปนนักจำและนักคิด ผูปฏิบัติจึงไมตองไปหามหรือปฏิเสธสมมุติบัญญัติ เพียงรูใหทัน อยาไดเผลอหรือหลงเพลินไปตามความคิดนึกปรุงแตงนั้น หรือแมแตการหลงไปคิดนึกเรื่องอื่นๆ ดวย แลวใหเฝารูสภาวะ  (ทีสมมุ ่ ตเรีิ ยกวาราคะนัน้ ) ตอไป ในฐานะผูสั งเกตการณ จึงจะเห็นไตรลักษณของสภาวะอันนั้นได


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๓๑

ในทางกลับกัน ผูปฏิบัติที่ไปรูสภาวะที่กำลังปรากฏ จะตองไมเพงใสสภาวะนั้นดวย เพราะถาเพง จิตจะกระดางและเจริญปญญาไมได แตจิตจะ “จำ และจับ” สภาวะอันนั้นมาเปนอารมณนิ่งๆ แทนการรูสภาวะจริงๆ พึงใหจิตเปนเพียงผูสังเกตการณ เหมือนคนดูละคร ที่ไมโดดเขาไปเลนละครเสียเอง จิตที่ทรงตัวตั้งมั่น นุมนวล ออนโยน ควรแกการงาน โดยไมเผลอและไมเพงนี้แหละ คือสัมมาสมาธิ เปนจิตที่พรอมที่จะเปดทางใหแกการเจริญปญญาอยางแทจริง คือเมื่อจิตมีสติ รูปรมัตถธรรม ดวยความตั้งมั่น ไมเผลอและไมเพง จิตจะไดเรียนรูความจริงของปรมัตถธรรมอันนั้นๆ ๔ ประการ คือ (๑) รูสภาวะของมันที่ปรากฏขึ้น ตั้งอยู และดับไป (รูตัวสภาวะ) (๒) รูวาเมื่อสภาวะอันนั้นเกิดขึ้นแลว มันมีบทบาทและหนาที่อยางไร (รูบทบาทของสภาวะ) (๓) รูวาถามันแสดงบทบาทของมันแลว จะเกิดอะไรขึ้น (รูผลของ สภาวะ) และเมื่อชำนาญมากเขา เห็นสภาวะอันนั้นบอยครั้งเขา ก็จะ (๔) รูวา เพราะสิ่งใดเกิดขึ้นแลว จึงกระตุนใหสภาวะอันนั้นเกิด ตามมา (รูเหตุใกลของสภาวะ) การที่จิตเปนผูสังเกตการณและเรียนรู หรือวิจัยธรรม (ธรรมวิจัย) อันนี้เองคือการเจริญปญญาของจิต หรือสัมปชัญญะ หรือสัมมาทิฏฐิ


๓๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ตัวอยางเชน ในขณะที่มองไปเห็นภาพๆ หนึ่งปรากฏตรงหนา จิตเกิดจำไดหมายรูวา นั่นเปนภาพสาวงาม แลวสภาวธรรมบางอยางก็เกิดขึ้นในจิต (ซึ่งเมื่อบัญญัติทีหลังก็เรียกวา ราคะ) การรูสภาวะที่แปลกปลอมขึ้นในจิตนั่นแหละคือการรูตัวสภาวะของมัน แลวก็รูวามันมีบทบาทหรืออิทธิพลดึงดูด ใหจิตหลงเพลินพอใจไปกับภาพที่เห็นนั้น ผลก็คือ จิตถูกราคะครอบงำ ใหคิด ใหทำ ใหอยาก ไปตามอำนาจบงการของราคะ และเมื่อรูทันราคะมากเขา ก็จะรูวา การเห็นภาพที่สวยงาม เปนเหตุใกลใหเกิดราคะ จึงจำเปนจะตองคอยเฝาระวังสังเกต ขณะทีตาก ่ ระทบรูปใหมากขึน้ เปนตน ในสวนตัวสภาวะของราคะเอง เมื่อผูปฏิบัติมีสติรูอยูนั้น มันจะแสดงความไมเที่ยงใหเห็นทันที คือระดับความเขมของราคะจะไมคงที่ มันตั้งอยูไมนาน เมื่อหมดกำลังเพราะเราไมไดหาเหตุใหมมาเพิ่มใหมัน (ยอนไปมองสาว) มันก็ดับไป แสดงถึงความเปนทุกขของมัน และมันจะเกิดขึ้นก็ตาม ตั้งอยูก็ตาม ดับไปก็ตาม ลวนเปนไปตามเหตุปจจัยกำหนด ไมใชตามที่เราอยากจะใหเปน นอกจากนี้ มันยังเปนเพียงสิ่งที่ถูกรู ไมใชตัวเรา เหลานี้ลวนแสดงความเปนอนัตตาของสภาวะราคะทั้งสิ้น


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๓๓

ผลของการดูจิต และขอสรุป จิตที่อบรมปญญามากเขาๆ ถึงจุดหนึ่งก็จะรูแจงเห็นจริงวา ทุกสิ่งที่เกิดขึ้น ไมวาจิต เจตสิก กระทั่งรูป ลวนแตเกิดขึ้นแลวดับไปทั้งสิ้น ถาจิตเขาไปอยาก เขาไปยึด จิตจะตองเปนทุกข ปญญาเชนนีแหละ ้ จะทำใหจิตคลายความยึดมัน่ ถือมัน่ ในตัวกูของกูลง ความทุกขก็จะเบาบางลงจากจิต เพราะจิตฉลาด ไมไปสายแสหาความทุกขมาใสตัวเอง (แตลำพังคิดๆ เอา ในเรื่องความไมมีตัวกูของกู ยอมไมสามารถดับ ความเห็นและความยึด วาจิตเปนตัวกูของกูได จะทำไดก็แค “กู ไมใชตัวกูของกู” คือจิตยังยึดอยู สวนการที่จะลดละไดจริง ตองเจริญสติปฏฐานจริงๆ เทานั้นครับ) สรุปแลว การดูจิตที่พูดถึงกันนั้น ไมใชการดูจิตจริงๆ เพราะจิตนั้นแหละ คือผูรู ผูดู ผูยึดถืออารมณ แตการดูจิต หมายถึงการเจริญวิปส สนา โดยเริม่ ตนจากการรูนามธรรม  ซึ่งเมื่อชำนิชำนาญแลว ก็จะรูครบสติปฏฐานทั้งสี่นั่นเอง ดังนั้น ถาไมชอบคำวา ดูจิต ซึ่งนักปฏิบัติสวนหนึ่งชอบใชคำนี้เพราะรูเรื่องกันเอง จะใชคำวาการเจริญเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน + การเจริญจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน + การเจริญธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ก็ไดครับ


๓๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

แตการที่นักปฏิบัติบางสวนชอบพูดถึงคำวา “การดูจิต” ก็มีประโยชนอยูเหมือนกัน คือเปนการเนนใหทราบวา จิตใจนัน้ เปนใหญ เปนประธานในธรรมทัง้ ปวง และเปนการกระตุนเตือนใหหมั่นสังเกตพฤติกรรมของจิตเมื่อมันไปรู อารมณเขา เพราะถารูจิตชัด ก็จะรูรูปชัด รูเวทนาชัด รูกิเลสตัณหาชัดไปดวย เนื่องจากจิตจะตั้งมั่น และเปนกลางตออารมณทั้งปวง ในทางกลับกัน ถาจิตไมมีคุณภาพ คือไมมีสัมมาสมาธิ สัมมาสติ และสัมมาทิฏฐิ แมจะพยายามไปรูปรมัตถ ก็ไมสามารถจะรูปรมัตถตัวจริงได นอกจากจะเปนเพียงการ คิดถึงปรมัตถ เทานั้น ถาเขาใจจิตใจตนเองใหกระจางชัดแลว การเจริญสติปฏฐานก็จะทำไดงาย ถาไมเขาใจจิตใจตนเอง ก็อาจจะเกิดความหลงผิดไดหลายอยางในระหวางการปฏิบัติ เชน หลงเพง โดยไมรูวาเพง อันเปนการหลงทำสมถะ แลวคิดวากำลัง ทำวิปสสนาอยู พอเกิดนิมิตตางๆ ก็เลยหลงวาเกิดวิปสสนาญาณ หรือหลงเผลอ ไปตามอารมณ โดยไมรูวากำลังเผลอ หรือหลงยินดียินรายไปตามอารมณ หรือหลงคิดนึกปรุงแตง อันเปนเรื่องสมมุตบัิ ญญัติ แลวคิดวากำลังรูปรมัตถหรือสภาวะทีกำลั ่ งปรากฏ เปนตน


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๓๕

ถาเขาใจจิตตนเองไดดีพอประมาณ ก็จะไมเกิดความหลงผิดเหลานี้ขึ้น ขอดีที่สำคัญอีกประการหนึ่งของการดูจิตก็คือ การดูจิตเปนวิปสสนาชนิดเดียวที่ทำไดทั้ง ๓ โลก คือในกาม (สุคติ) ภูมิ รูปภูมิ (สวนมาก) และอรูปภูมิ แมแตในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ อันเปนภวัคคภูมิหรือสุดยอดภูมิของอรูปภูมิ ก็ตองอาศัยการดูจิตนี้เอง เปนเครื่องเจริญวิปสสนาตอไปไดจนถึงนิพพาน อันที่จริงสิ่งที่เรียกวาการดูจิตนั้น แมจะเริ่มจากการรูนามธรรมก็จริง แตเมื่อลงมือทำไปสักระยะหนึ่ง ก็จะสามารถเจริญสติปฏฐานไดทั้ง ๔ อยาง โดยจิตจะมีสติสัมปชัญญะตอเนื่องอยูในชีวิตประจำวันนี่เอง เพียงกาวเดินกาวเดียว ก็เกิดการเจริญสติปฏ ฐานไดตัง้ หลายอยางแลว คือเมื่อเทากระทบพื้น ก็จะรูรูป ไดแก ธาตุดินคือความแข็งภายในกาย (รูปภายใน) และธาตุดินคือความแข็งของพื้นที่เทาเหยียบลงไป (รูปภายนอก) อันนี้ก็คือการเจริญ กายานุปสสนาสติปฏฐาน แลว และรูถึงความเย็น ความรอนคือธาตุไฟของพื้นที่เทาเหยียบลงไป เปนตน


๓๖

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ขณะที่เหยียบพื้นนั้น ถาสติรูเขาไปที่ความรูสึกอันเกิดจากการที่เทากระทบพื้น เชน ความเจ็บเทา ความสบายเทา ก็คือการเจริญ เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน แลว ขณะที่เหยียบพื้นนั้น ถาพื้นขรุขระ เจ็บเทา ก็สังเกตเห็นความขัดใจ ไมชอบใจ หรือถาเหยียบไปบนพรมนุมๆ สบายๆ เทา ก็สังเกตเห็นความพอใจ อันนี้ก็เปนการเจริญ จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน แลว ขณะที่เหยียบนั้น ถารูตัวทั่วพรอมอยู ก็จะเห็นกายเปนสวนหนึ่ง เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปนแตละสวนๆ หรือรูถึงความทะยานอยากของจิตที่สงหลงเขาไปที่เทา หรือรูอาการสงสายของจิต ตามแรงผลักของตัณหาคือความอยาก แลวหนีไปเที่ยวทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ หรือรูถึงความเปนตัวกูของกูที่เกิดขึ้นในจิต หรือรูถึงนิวรณที่กำลังปรากฏขึ้น แตยังไมพัฒนาไปเปนกิเลสเขามาครอบงำจิต หรือรูชั ดถึงความมีสติ มีสัมปชัญญะ มีความเพียร มีปติ มีความสงบระงับ ฯลฯ สิ่งเหลานี้ลวนแตเปน ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน ทั้งสิ้น


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๓๗

ทีเ่ ลามายืดยาวนี้ เพือ่ นใหมทีไม ่ เคยลงมือเจริญสติสมั ปชัญญะจริงๆ มากอน อาจจะเขาใจยากสักหนอยครับ ดังนั้น ถาอานแลวเกิดความสงสัยมากขึ้น ก็ลองยอนมารูเขาไปที่ ความรูสึกสงสัยในจิต เลยทีเดียว ก็จะทราบไดวา ความสงสัยมันมีสภาวะของมันอยู (ไมใชไปรูเรื่องที่สงสัยนะครับ แตใหรูสภาวะหรือปรมัตถธรรมของความสงสัย) เมื่อรูแลวก็จะเห็นวา เมื่อความสงสัยเกิดขึ้น มันจะยั่วจิตใหคิดหาคำตอบ แลวลืมที่จะรูเขาไปที่สภาวะความสงสัยนั้น เอาแตหลงคิดหาเหตุหาผลฟุงซานไปเลย พอรูทันมากเขาๆ ก็จะเขาใจไดวา ความสงสัยนั้นมันตามหลังความคิดมา เปนการรูเทาทันถึงเหตุใกล หรือสาเหตุที่ยั่วยุใหเกิดความสงสัยนั่นเอง เมื่อรูที่ สภาวะของความสงสัย ก็จะเห็นสภาวะนั้นไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา มันเกิดขึ้นเพราะความคิด พอรูโดยไมคิด มันก็ดับไปเอง หัดรูอยูในจิตใจตนเองอยางนี้ก็ไดครับ แลวตอไปก็จะทำสติปฏฐาน ๔ ไดในที่สุด เพราะจะสามารถจำแนกไดชัดวา อะไรเปนจิต อะไรเปนอารมณ อะไรเปนอารมณของจริง และอะไรเปนเพียงความคิดนึกปรุงแตง หรือสมมุตบัิ ญญัติที่แปลกปลอมเขามา รวมทั้งจำแนกไดดวยวา อันใดเปนรูป อันใดเปนจิต อันใดเปนเจตสิก


๓๘

´Ù ¨¨ÔÔ μ »Õ á á á

ขอย้ำแถมทายอีกนิดหนึ่งนะครับวา การดูจิต ไมใชวิธีการปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุดเสมอไป เพราะในความเปนจริง ไมมีวิธีการปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุดในโลก มีแต “วิธปฏิ ี บตั ทีิ เหมาะสม ่ ทีส่ ดุ ” เฉพาะของแตละบุคคลเทานัน้ ดังนัน้ ถาถนัดจะเจริญสติปฏ ฐาน อยางใดกอน ก็ทำไปเถิดครับ ถาทำถูกแลว ในที่สุดก็จะทำสติปฏฐานหมวดอื่นๆ ไดดวย ๑๙ ตุลาคม ๒๕๔๓ ที่มา http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/001773.htm


ปญหาของผูปฏิบัติสวนมากคืออะไร

ถาม - อยากทราบ าบววาคำถาม คำถามแและปญหาของผูปฏิบัติสวนมาก คืออะไรบางครับ การที่ผมอยูในแวดวงของผูปฏิบัติมานาน ไดพบเห็น รูจัก และคุนเคย กับผูปฏิบัติเปนจำนวนมาก ทำใหผมไดพบวา ผูปฏิบัติมักเกิดความสงสัยในเรื่องตางๆ มากมาย และคำถามของผูปฏิบัติสวนมาก จะวนเวียนอยูในเรื่องดังนี้ กลุมปญหาที่ชวนใหฟุงซาน เชน นิพพาน สวรรค นรก ชาติกอน ชาติหนา กรรมเกา กรรมใหม เทพ พรหม เปรต อสุรกาย ฯลฯ สิ่งเหลานี้มีหรือไมมี หรือความสงสัยหยุมหยิม เชน เชื้อโรคมีจิตหรือไม และนั่งสมาธิแลว จะรูเห็นสิ่งแปลกๆ ไดหรือไม ถารูเห็นแลว จะทำอยางไรดี เปนตน


๔๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

กลุมปญหาที่เกี่ยวกับเงื่อนไขของการปฏิบัติ เชน กอนจะปฏิบัติควรเตรียมตัวอยางไร ตองถือศีลกินเพล หรือควรจะกินอาหารมังสวิรัติหรือไม ควรนอนมากนอยเพียงใด เวลาใด จะตองนุงขาวหมขาวหรือไม จะตองสวดมนตกอนนั่งสมาธิหรือไม ถาสวด ควรสวดบทใดบาง ควรตักบาตรอุทิศสวนกุศลใหเจากรรมนายเวรกอนหรือไม เด็กหรือผูใหญ ผูหญิงหรือผูชาย ผูครองเรือนกับนักบวช ใครปฏิบัติงายกวากัน การปฏิบัติจำเปนตองไปวัดหรือไม จะตองเรียนปริยัติเพียงใด ตองใหจบอภิธรรมปริจเฉทที่ ๙ มหาปฏฐานกอนหรือไม กลุมปญหากับสภาพแวดลอม เชน มีครอบครัวที่สับสนวุนวาย ลูกยุง สามีกวน ภรรยาไมสนใจธรรมะ หรือมีภาระเรื่องการเรียนหรือการงาน ทำใหปฏิบัติไมได กลุมปญหาเกี่ยวกับวิธีเริ่มตนของการปฏิบัติ เชน จะตองนั่งสมาธิกอนเจริญวิปสสนาหรือไม ถาจะทำสมาธิ ควรทำอานาปานสติดี หรือจะบริกรรม พุทโธ ยุบหนอพองหนอ สัมมาอรหัง นะมะพะธะ หรือควรเพงกสิณอะไรบาง


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๔๑

ทั้งนี้ เพราะไมทราบวาวิธีใดจะถูกจริต บางก็ลองวิธีนั้น วิธีนี้เรื่อยๆ ไป ยายวัดเปลี่ยนอาจารยไปเรื่อยๆ หรือสงสัยวา จำเปนตองเดินจงกรมหรือไม หรือจะนั่งอยางเดียวดี ถาจะนั่ง ควรนั่งเวลาไหน ทาไหน วันละกี่ชั่วโมง นั่งเมื่อยแลว ควรทนตอไป หรือควรเปลี่ยนอิริยาบถ เปนตน กลุมปญหาเกี่ยวกับอาการของจิตในขั้นการทำสมถะ ขั้นเริ่มตนก็จะมีปญหา เชน ทำอยางไรจิตก็ไมสงบเลย มีแตความฟุงซานสับสน หรือนั่งแลวเคลิ้มๆ หลับใน เงียบไปทุกครั้ง บางคนปฏิบัติไปสามวัน ก็เริ่มบนวาเบื่อ เพราะไมเห็นความกาวหนาอะไรเลย พอทำความสงบไดแลว ก็ถึงกลุมปญหานิมิตและโลกียญาณ มีทั้งที่นากลัว หรือที่นาภูมิใจ เชน นั่งสมาธิแลวรูสึกเหมือนมีมดหรือแมลงมาไตตอมรางกาย หรือสามารถรูเห็นออกไปภายนอกได มองเห็นนรก เห็นสวรรค เห็นเทวดาและภูตผี บางก็เห็นพระเกศแกวจุฬามณีบนสวรรค บางเห็นเมืองแกวพระนิพพาน ถอดจิตไปเฝาพระพุทธเจาได เห็นตนเองเปนโครงกระดูกเดินไปมาได โครงเดียวบาง หลายโครงบาง เห็นกลางคืนสวางเหมือนกลางวันบาง


๔๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

บางก็มีโลกียญาณ เชน รูวาระจิตผูอื่นได ระลึกชาติได แลวเทีย่ วรูและ  ยึดวาคนนัน้ คนนีเคย ้ พบกันมาในอดีตชาติ รักษาโรคได รูการจุติอุบัติของสัตว แสดงฤทธิ์ได บางคนนั่งไปนิดหนอยก็เกิดความกลัว เชน กลัวจะเห็นภูตผีปศาจ กลัวจิตจะออกจากรางแลวไมกลับเขารางอีก บางคนไดยินเสียงคนเดินไปมา เห็นคนมานั่งใกลๆ รวมแลวสารพัดรูปแบบที่จะเปนไป กลุมปญหาเกี่ยวกับวิธีเจริญวิปสสนา เชน เมื่อทำสมถะไปแลว จะเริ่มทำวิปสสนาตรงไหน ในขณะที่บางคนบอกวาไมตองการทำสมถะ จะขอทำวิปสสนาเลย ถัดจากนั้น ก็เกิดปญหาวา ควรจะทำวิปสสนาอยางไร จะเขาสำนักไหนจึงจะดี เพราะแทบทุกสำนักลวนแตประกาศวา สำนักของตนเปนทางตรงที่สุด สำนักอื่นผิด และตางก็บอกวาตนเจริญสติปฏฐาน กำหนดรูรูปนามขันธ ๕ ปจจุบันอารมณกันทั้งนั้น บางก็มีปญหาวา ควรเจริญสติปฏฐานหมวดใดดี จะตองเริ่มตามลำดับคือ กาย เวทนา จิต ธรรม หรือไม บางคนกลัวจะติดวิปสสนูปกิเลส บางก็สนใจไถถามกับเรื่องญาณ วาตนทำไดถึงญาณชั้นใด บางคนตั้งเปาหมายจะทำใหถึงญาณนั้นญาณนี้ ในเวลาเทานั้นเทานี้


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๔๓

สำหรับผูที ลงมื ่ อทำจริงๆ ก็ยังมีเรือ่ งใหตองถามครูบาอาจารยอยูเสมอ  เชน ควรวางจิตอยางไร ควรกำหนดอยางไร อาการของจิตอยางนี้ จะแกอยางไร อาการของจิตอยางนั้น จะแกอยางไร เชน หัดรูตัวแลวเกิดอึดอัดขึ้นกลางอก เกิดปวดระหวางหัวคิ้วหรือปวดตา เห็นกิเลสเกิดขึ้นในจิตแลวจะทำอยางไรดี ควรจะปลอยมันเอาไวรู หรือควรพยายามละมัน จิตใจมันตื้อๆ ไมผองใส จะแกไขอยางไร ควรนำธรรมะบทนั้นบทนี้มานึกคิดพิจารณาดวยหรือไม เชน ควรเจริญอสุภกรรมฐานเพื่อขมราคะหรือไม หรือจะใหรูราคะไปเรื่อยๆ ไมตองไปแกไขมัน เปนตน ใครที่อยากจะทำ FAQ เกี่ยวกับปญหาธรรมะ ลองใชตัวอยางคำถามที่ผมยกมานี้ เปนตัวตั้งก็ได คำถามสวนมาก มักวนเวียนอยูในเรื่องเหลานี้นั่นเอง จะนอกเหนือไปกวานี้ก็ไมมากนักหรอกครับ คำถามเหลานี้ ผมเคยไดยินผูสงสัยเรียนถามครูบาอาจารยบาง ผมสงสัยเองบาง ซึ่งสวนมากจะพยายามพิจารณาแกไขเอาเอง ยกเวนที่ยากลำบากหรือละเอียดออนมากๆ หรือตองการความมั่นใจเปนพิเศษ จึงจะเรียนถามจากครูบาอาจารย ซึ่งทานจะเมตตาตอบคำถามใหเสมอ


๔๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

เมื่อหายสงสัยในเรื่องนั้นแลว จึงเกิดนึกขึ้นไดวา ที่จริงคำตอบในการแกปญหาที่ครูบาอาจารยใหมาแตละครั้งนั้น แทบจะเปนคำตอบเดียวกัน ทั้งที่คำถามนั้นหลากหลายมาก คำตอบที่ไดยินไดฟงเปนประจำก็คือ อยาเที่ยวรูออกไปนอก ใหรูปจจุบันธรรมในกายและจิตของตน ดวยจิตที่เปนกลาง คำตอบเพียงเทานี้ สามารถแกปญหาการปฏิบัติไดเกือบทั้งหมดแลว กลาวคือ กลุมปญหาที่ชวนใหฟุงซาน ลวนเปนผลพวงของความคิดเทานั้น ยิ่งคิดมากก็ยิ่งสงสัยมาก และยิ่งสงสัยมากก็ยิ่งคิดมาก และยิง่ คิดมาก ก็ยิง่ หางไกลจากการเจริญสติสมั ปชัญญะ ออกไปทุกที ถาหันมารูปจจุบันธรรมอยูภายในกายและจิตของตน จะตองสงสัยทำไมวา นรก สวรรค ชาติกอน ชาติหนา ผีสางเทวดา มี หรือไมมี เพราะพอจิตสงสัย ก็รูเ ทาทันความสงสัยใครรูนั น้ ความสงสัยก็ดับไปเอง เมื่อความสงสัยดับไปแลว จำเปนอะไรที่จะตองหาคำตอบตอไปอีก เมื่อรูปจจุบันธรรมอยูในกายและจิตของตนแลว กลุมปญหาที่เกี่ยวกับเงื่อนไขของการปฏิบัติ และปญหาสภาพแวดลอม ก็หมดความหมาย เพราะการปฏิบัติธรรมไมไดเบียดบังเวลาทำมาหากิน ไมเกี่ยวกับอาหาร เครื่องนุงหม เวลา หรือพิธีกรรมตางๆ


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๔๕

เมื่อรูปจจุบันธรรมอยูในกายและจิตของตนแลว กลุมปญหาเกี่ยวกับวิธีเริ่มตนของการปฏิบัติ ก็หมดความหมาย คำบริกรรม กิริยาทาทาง อะไรตางๆ เหลานี้ ลวนไมใชสาระสำคัญ แตเปนเพียงอุบายเบื้องตน เพือ่ ใหผูปฏิ  บตั สามารถ ิ เขามารูป จจุบนั ธรรมในกายในจิตของตนเทานัน้ เมื่อรูปจจุบันธรรมอยูในกายและจิตของตนแลว กลุม ปญหาเกีย่ วกับอาการของจิตในขัน้ การทำสมถะ ก็หมดความหมาย เพราะอาการทั้งหมด เปนเพียงสภาพธรรมที่ถูกรูเทานั้น พอรูแลว หากยอนมาอานจิตใจตนเองใหแจมแจง อาการของจิตก็หมดความหมายไปในทันที เชน เมื่อปฏิบัติอยู แลวเห็นภาพผีปรากฏขึ้นมา ผูปฏิบัติไมจำเปนตองวิเคราะหวิจัยวาผีจริง หรือผีปลอม เพราะจริงก็เหมือนเท็จ เท็จก็เหมือนจริง คือมันเปนสิ่งที่ถูกรูเหมือนๆ กัน ที่สำคัญคือ ใหยอนเขามาอานจิตตนเองใหดี มันกลัว มันอยากหนี มันสงสัย หรือมันอยากรู ใหรูเทาทันจิตตนเองไว สิ่งที่ปรากฏนั้น ก็ไมมีความหมายมากไปกวาการเห็นรูปธรรมดาๆ รูปหนึ่ง หรือเกิดรูเห็นพระจุฬามณี หรือพระพุทธเจา ก็ใหยอนมาอานจิตของตนเองเชนกัน เพราะรูปนิมิตภายนอกทั้งปวงนั้น ไมใชสาระแกนสารเพื่อการยึดถือแตอยางใด


๔๖

´Ù ¨¨ÔÔ μ »Õ á á á

เมื่อรูปจจุบันธรรมอยูในกายและจิตของตนแลว กลุมปญหาเกี่ยวกับวิธีเจริญวิปสสนา ก็หมดความหมาย จะตองคิดทำไมวาจะตองรูอะไร  ในเมือ่ ทุกสิง่ ทีถู่ กรูก็ มีคาเทากันทัง้ นัน้ หากจิตเขาจะรูสิ่งใดชัด ก็เอาสิ่งที่กำลังรูชัดนั่นแหละมาเปนอารมณ หรือเรื่องญาณนั้นญาณนี้ก็เปนของสมมุติ เราไมไดปฏิบัติเพราะอยากไดญาณ มรรคผลนิพพานก็ไมเห็นจะตองอยากได เพราะหากจิตจะได เขาก็ไดของเขาเอง แตยิ่งเราอยาก ก็ยิ่งไมได สวนวิปสสนูปกิเลสก็เกิดไมได ถาไมหลงลืมตัวขาดสติสัมปชัญญะ นักปฏิบัติที่คิดมาก มีปญหามาก ก็เพราะไมพยายามรูตัว ไมมีสติพิจารณาอยูในกายในจิตของตนเอง เอาแตหลงไปกับสิ่งที่ถูกรู เอาแตพยายามแกอาการของจิต ปฏิบัติไปดวยความอยากรู อยากเห็น อยากเปน อยากได หากผูปฏิบัติพยายามรูตัวอยางตอเนื่องเขาไว และมีสติสอดสองอยูในกายในจิต หรือในวงขันธ ๕ ของตนอยางเปนปจจุบัน ก็แทบไมมีปญหาจะตองถามใครอีกตอไปแลว ๒๓ กันยายน ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000444.htm


ทำไมคนสวนใหญ จึงไมสนใจการปฏิบัติธรรม ถาม - ทำไมคนสวนใหญจึงไมสนใจการปฏิบัติธรรมคะ ผมเคยพิจารณาเรื่องนี้มานานแลววา ทำไมผูคนตั้งมากมายจึงหาที่สนใจการปฏิบัติยากนัก ก็พิจารณาเห็นวา เพราะสวนมากไมรูวาตนกำลังถูกจองจำอยู ไมรูวา ตนกำลังเปนทาสอยู แตคิดวาตนเปนไทแกตัว เหมือนคนที่เกิดมาติดคุก หรือติดเกาะอยูสักแหงหนึ่ง ไมเคยรูจักโลกภายนอก ไมเคยกระทั่งจะจินตนาการถึงโลกภายนอก ก็คือวา โลกมีแคสิ่งที่ตนรูเห็นเทานั้น เขายอมไมมีความคิด หรือความพยายามที่จะหักกรงขัง หรือหาทางออกจากเกาะนั้น คนในโลกสวนมากก็ยอมจำนนอยูกับโลก เพราะไมรูวา ยังมีสิ่งนอกเหนือออกไปอีก


๔๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

เมื่อเกิดมาก็เรียนหนังสือ เรียนจบก็หางานทำ แลวก็มีครอบครัว มีลูกหลาน แลวก็ตายไป ตางคนตางจำเปนตองทำตามอยางคนอื่นๆ เพราะไมรูวา ยังมีสิ่งที่ดีๆ อื่นๆ อีกในชีวิตนี้ อนึ่ง คนสวนมากมีมานะอัตตารุนแรง รูสึกวาตนเองเกง แน ไมมีใครบังคับได เขาไมเคยเฉลียวใจเลยวา ในความจริงแลว เขาตกเปนทาสของตัณหา ถูกตัณหาควบคุมบังคับสัง่ การอยูแทบ  ทัง้ วัน เพียงแตนายทาสคนนี้ฉลาดแสนฉลาด มันปกครองทาสของมันดวยการทำใหทาสหลงผิดวาตนเองเปนไท จนทาสบางคนคิดวาตนเปนเจาโลก ทั้งที่ถูกเขาจูงจมูกอยูตอยๆ ทั้งวัน ผูไดฟงธรรมของพระศาสดา เกิดความรูตัววาตนติดคุกอยู ตนกำลังเปนทาสอยู ก็ยอมหาทางหนีออกจากที่คุมขัง หนีจากนายทาสผูทารุณรายกาจ ที่เลี้ยงทาสไวเพื่อฆาทิ้งตามอำเภอใจเมื่อถึงเวลาหนึ่ง ธรรมที่กลาวมานี้จึงสอดรับกับธรรมที่คุณดังตฤณกลาวไว คือจะทำทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ก็ตองรูตัววาทำเพื่อการปลดแอกตนเอง เพื่อความเปนอิสระ เพื่อความหลุดพน เพื่อความดับสนิทแหงทุกขหรืออนุปาทาปรินิพพาน


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๔๙

ไมใชเพียงแคทำทานตามๆ เขา รักษาศีลตามๆ เขา เจริญภาวนาตามๆ เขา เหมือนที่เรียน ทำงาน มีครอบครัว เลี้ยงลูกหลาน แลวก็ตายตามๆ เขามานับภพนับชาติไมถวนนั่นเอง ๗ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/122/37/


“§§Ò¹¡ÃÃÁ°Ò¹¹à»š¹§Ò¹ÅÐàÍÕ´ »¯¯ºμä»Í ÔºÑμÔä»ÍÍÂÒ§Ê Â‹Ò§Êº ʺÒÂæ ÒÂæ »Ã »Ãг ³Õμ ໹¸Ã ³μ »š¹¸ÃÃÃÁªÒ ÁªÒμ Òμ¸ÃÃÁ´Ò Ô¸ÃÃÁ´Ò Á´´Ò ´Ò Í‹Òä»»¯ÔºÑμÔ´ŒÇÂááç¨Ù§ã¨¢ ã¨¢Í ã㨢ͧ ¨¢Í ¨¢Í§ ¨¢ ¢Í§¡Ô ¢¢Í ¢Í§ ͧ§¡à §¡Ô §¡ §¡àÅÊ ¡ÔààÅ ¡àÅ ¡¡àÅÊ àÅÊ ÅÅÊÊ ¨¹μŒÍ§ÇÒ§ÁÒ´ Ò§Á Ò§ÁÒ §ÁÒ´ §ÁÒ ÁÒ´à ÁÒ´ ´´à» àà»»š»š¹¹¼¼¼Ù¼Œ»¯ Œ»Ù»¯º ¯Ôºμ ¯¯º ÔººÑμÑμ”Ô”


การเดินจงกรม และเจริญสติตอนนั่งและนอน ถาม - อยากใหคุณสันตินันทแนะนำการเดินจงกรมและเจริญ สติตอนนั่งและนอนครับ ผมเดินจงกรมเหมือนกับนั่งสมาธิครับ เพียงแตตอนเดิน จะรูการเคลื่อนไหวของกายกับจิต (แลวแตวา ขณะนั้นสติจะจดจอลงที่ใด) สวนตอนนั่งและนอน จะรูลมหายใจกับจิต จุดสำคัญไมไดอยูที่การยืน เดิน นั่ง นอน แตอยูที่ความตอเนื่องของสติและสัมปชัญญะ ระดับความเร็วของการเดิน เปนอีกเรื่องหนึ่งที่มีปญหามาก บางคนจะพยายามเดินชา-ชามาก-ชาที่สุด กาวหนึ่งกำหนดได ๖-๗ จังหวะ แตบางคนก็เดินเร็วเหมือนตามควาย


๕๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

การเดินเร็วโดยนับจังหวะกาวไปดวย หรือบริกรรมไปดวย อาจจะมีประโยชนบาง ในตอนที่จิตฟุงซาน คือเดินและนับหรือบริกรรมเร็วๆ จิตจะไดไมมีเวลาไปคิดเรื่องอื่น สวนการเดินชา-ชามาก-ชาที่สุดนั้น เขาวากันวาเพื่อใหกำหนดสติทัน แตผมเดินแบบนั้นไมเปน จึงไมเห็นประโยชนของการเดินชาเพื่อใหสติตามทัน กลับเห็นวา เราควรฝกสติสัมปชัญญะใหไว ใหทันการเดินปกติใหได เพื่อจะเจริญสติสัมปชัญญะไดจริงในชีวิตประจำวัน แตอันนี้ เปนเรื่องความถนัดสวนตัวครับ ใครอยากเดินอยางไรก็ไมวากัน ใหมีสติสัมปชัญญะใหตอเนื่องไดจริงๆ ก็แลวกัน ถาสติไวจริงๆ แคเอื้อมมือหยิบแกวน้ำมาดื่มดวยความเร็วปกติ หรือกาวเทาเดินจงกรมดวยความเร็วปกติ ก็จะเห็นรูปเกิดดับตอเนื่องกันถี่ยิบ ไมผิดกับภาพการตูนเลย นับไมทันดวยซ้ำไปวา มันกี่สิบกี่รอยจังหวะกันแน และการไลนับ ก็จะเปนภาระอันใหญหลวง เขาขั้นทรมานจิตทีเดียว เหมือนกับการพยายามนับเม็ดฝนที่ตกลงตอหนาเรา เวลาเดินจงกรมนั้น จุดสำคัญอยูตอนที่จะหยุด หมุนตัว และเริ่มกาวเดินใหม


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๕๓

ยิ่งถาอายุมากแบบผม ขืนเดินพรวดพราดไปสุดทางจงกรม ก็เหวี่ยงเทาหมุนตัวกลับหลังหันทันที ถึงสติจะไมเคลื่อน แตสังขารรางกายเคลื่อนแนนอน ดีไมดีหนามืด ลมคว่ำเอางายๆ ดังนั้นเดินไปสุดทางจงกรมแลวหยุดอยางสบายๆ เสียกอน ทำความรูตัวทั่วพรอม แลวคอยหมุนตัวกลับ จะเห็นรูปกายเกิดดับตอเนื่องกันถี่ยิบในตอนหมุนตัว แลวก็มาหยุดรูรูปยืนสักหนอยหนึ่ง พอตั้งมั่นไมซวนเซแลวจึงคอยเดินตอไป งานกรรมฐานเปนงานละเอียด ปฏิบัติไปอยางสบายๆ ประณีต เปนธรรมชาติธรรมดา อยาไปปฏิบัติดวยแรงจูงใจของกิเลส จนตองวางมาดเปนผูปฏิบัติ แตถากำลังจงใจ กำลังวางมาด กำลังกดขมบังคับกายและจิต ก็ใหคอยรูเทาทันไว เดี๋ยวมันก็เปนธรรมดาเองแหละครับ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๔๓ ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/126/38/


““àÁ× àÁ×Á×èͨÔμÔ ä» àÁ ä»»ÃÙÃÃÙÃŒŒÍÍÒ Ù ÒÒÃÁ ÍÒà ÒÃÁ³ Òà ÃÁÁ³ ³ÍÍÐä ³ ÍÐäà ÍÐ ÐÐäÃäÃà ¡ç¡ããË ãˌˌÃÙÌÌãã¹ Ù ¹°°ÒÒ¹ ҹР¹Ð໚ à»»š»¹¹š ¼Œ¼Ù¼ŒÃÃÙŒ¼Ù¼Œ´Ù´àà©Âæ à» ©©Âæ Âæ Í‹ҋ Ëŧ Í Í‹ Ëŧ ËŠŧà¢à¢Œà¢ŒÒÒä» Œ ä» ä»ÂÖ´´¶× Ö ¶×Í× ÂÔ¹¹´Õ ´¶ ¹´´ÕÂÔ¹¹Ã Ô ÃŒÒÒÂÂä» ä»¡ »¡Ñ¡ºÑ ÍÍÒà ÒÒÃÁ ÃÃÁ³ Á³¹ ¹Ñé¹Ñ ´´ŒÇ””


ดูจิตอยางไรเปนสมถะ อยางไรเปนวิปสสนา ถาม - ดูจิตอยางไรเปนสมถะ อยางไรเปนวิปสสนาครับ การดูจิตที่ผมแนะนำนั้น จะทำใหเปนสมถะก็ได เปนวิปสสนาก็ได คือถาเพงอยูในอารมณอันเดียวก็เปนสมถะ ถาสามารถจำแนกรูปนามออกไดก็เปนวิปสสนา คือจำแนกวา อันนี้รูป อันนี้นาม และนามนั้น ก็จำแนกตอไปไดวา นี้คือนามเจตสิก นี้คือนามจิต ในที่สุดก็จะเห็น จิต เจตสิก รูป แยกออกจากกัน ตางก็ทำหนาที่ของตนไปตามหนาที่ เกิดดับไปตามเหตุปจจัยของตนๆ ลวนแสดงความไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา เหมือนๆ กัน สิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ตองรูสภาวะที่กำลังปรากฏจริงๆ ของรูปและนาม ไมใชแครูชื่อ รูบัญญัติ อันนั้นใชไมไดเลยครับ เชน ความโกรธผุดขึ้นมาก็รูทัน


๕๖

´Ù ¨Ô μ »Õ á á á

มันเกิดขึ้นไดเพราะอะไร อะไรเปนเหตุใกลใหมันเกิด ก็รู มันตั้งอยูแลวแสดงอิทธิฤทธิ์อันเปนหนาที่ของมันอยางไร ก็รู มันดับไป ก็รู ที่วามานี้ จิตเปนคนดูเฉยๆ นะครับ จิตเหมือนคนดูละคร ไมใชคนแสดงละครเสียเอง ตางจากสมถะ ที่จิตโดดลงไปแสดงเอง คือเขาไปเกาะอารมณอันเดียวโดยตอเนื่อง ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000092.htm


จิตตั้งมั่นเปนกลางเปนอยางไร

ถาม - สัมมาสมาธิ จิตตัง้ มัน่ เปนกลางเปนอยางไร แลวเราควร มีความเปนกลางของจิตไวกอนไหมคะ เมื่อจิตไหลไปก็เห็นทัน แบบนี้ใชหรือเปลาคะ หลักการขอแรกของวิปส สนา เปนเรือ่ งของการ “จำแนกรูปนาม” ครับ ซึ่งรูปนามนั้น ถาจำแนกใหละเอียดขึ้น ก็จะประกอบดวย (๑) รูป และ (๒) นาม = เจตสิก กับ จิต ถาจิตไมหลงตามรูป หรือหลงตามเจตสิก ก็ถือวาแยกออกจากกันแลว จิตในขณะนั้น จะรูอารมณ  ไดชัดเจนในภาวะ “สักวารู” ไมวาจะเปนการรูรู ป เชน อิริยาบถของกาย หรือรูนามคือเจตสิก เชน กิเลสตางๆ แตเมื่อใดจิตหลงตามรูป หรือหลงตามเจตสิก จิตจะเกิดความยินดียินราย ไมตั้งมั่น ไมเปนกลาง ไมสักวารู


๕๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ถากลาวกันตามตำราจะเห็นภาพยากครับ แตถามองในแงการปฏิบัติจะไมยากนักที่จะทำความเขาใจ คือถาเราเห็นอารมณเกิดขึ้น เชน เห็นความโกรธเกิดขึ้น โดยจิตไมเคลื่อนหลงไปตามความโกรธ หรือเห็นการเคลื่อนไหวของกาย โดยจิตไมเคลื่อนหลงเขาไปเพงจองกาย อันนี้คือจิตมีความตั้งมั่นเปนสมาธิ และเปนการเดินวิปสสนาแลว แตถาสังเกตใหดี เวลามีอารมณเชนความโกรธเกิดขึ้น เราจะเห็นแรงผลักดันบางอยาง (ตัณหา) เกิดขึ้นกับจิตใจของเราเอง แรงดันนั้น จะผลักดันใหจิตเคลื่อนเขาไปยึดอารมณ เชน พอเกิดความโกรธ จิตรูไมทัน จิตจะเคลื่อนไปตามแรงตัณหา มุงเขาไปหาอารมณที่ไมชอบใจนั้น หรือไปจองใสคนที่ทำใหโกรธ ไมยอนมาสังเกตจิตใจตนเองที่กำลังถูกความโกรธครอบงำ อันนี้เกิดขึ้นเพราะเรารูไมทัน และเพราะจิตไมมีความตั้งมั่นพอ ทานอาจารยแนบ ทานชอบพูดประโยคหนึ่งที่เห็นภาพชัดดีมาก คือทานบอกวา “ใหดูละคร แตอยาไปเลนละครเสียเอง” หมายความวาเมื่อจิตไปรูอารมณอะไร ก็ใหรูในฐานะเปนผูรูผูดูเฉยๆ อยาหลงเขาไปยึดถือยินดียินรายไปกับอารมณนั้นดวย กอนที่จะลงมือทำวิปสสนา ทานจึงสอนใหมีสัมมาสมาธิเสียกอน คือจะตองมีจิตที่ตั้งมั่น เปนกลาง วิธีการมาตรฐานที่สุดก็คือการทำสมถะจนจิตสงบ


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๕๙

เมื่อจิตสงบแลวก็จะสังเกตเห็นชัดวา ความสุข ความสงบ เปนเพียงสิ่งที่ถูกรู จิตเปนผูรูความสงบเทานั้น แตบางคนทำสมถะกอนไมได จะกำหนดรูปนามไปกอนก็ได แตพึงทราบวานัน่ ยังไมใชวิปส สนาจริงๆ เมื่อทำไปชวงหนึ่งจึงคอยสังเกตวา รูปนามเปนสิ่งที่ถูกรู ไมใชจิต อันนั้นจึงเริ่มเปนนามรูปปริจเฉทญาณ หรือเปนการเริ่มตนทำวิปสสนาครับ เมื่อจิตรูตัว ตั้งมั่นอยูแลว หากไมหลงไปเพงจองใสจิต แตปลอยใหจิตรูอารมณที่กำลังปรากฏไปตามธรรมชาติธรรมดา จิตจะเปนผูรูผูดูละครของโลก โดยไมโดดเขาไปแสดงละครเสียเอง แตเมื่อใดจิตไมวิสุทธิ์ คือไมมีสัมมาสมาธิ พอมีอารมณมาลอ จิตก็จะเคลื่อนออกไปยึดเกาะอารมณ สรางภพสรางชาติขึ้นทันที ดังนั้นที่กลาววา เราควรมีความเปนกลางของจิตไวกอนนั้น ถูกตองแลวครับ ยิ่งถารูทันวาจิตหลง จิตเคลื่อน จิตไหล จิตวิ่งตามตัณหา ฯลฯ (แลวแตจะเรียก) อันนั้นดีมากเลยครับ เพราะผูปฏิบัติจำนวนมากนั้น จิตกำลังหลงอยูแทๆ กลับรูสึกวาตน กำลังเจริญสติสัมปชัญญะรูรูปนามอยู ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000160.htm


“ËÁÑ ËÁѹè Êѧà¡μ¨Ô¨¨ÔμÔ ã¨μ¹àͧäÇŒ Áѹà¡Ô à ´¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ¡çÃÙŒ·Ñ¹ Áѹà¡Ô´¤ÇÒÁÂԹÌÒ¡çÃÙŒ·Ñ¹”


ขอเทคนิคดีๆ ในการทำจิตใหเปนกลาง ถาม - ขอเทคนิคดีๆ ในการทำจิ​ิตใหเปนกลางครับ จิตนั้นทีแรกมันก็เปนกลางอยูแลวครับ แตพอมันไปรูอารมณเขา มันเกิดความยินดียินรายขึ้นมา มันจึงเสียความเปนกลางไป ดังนั้น ถาหมั่นสังเกตจิตใจตนเองไว มันเกิดความยินดีก็รูทัน มันเกิดความยินรายก็รูทัน จิตจะกลับมาเปนกลางเองครับ ไมตองไปพยายามทำใหมันเปนกลางหรอกครับ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000089.htm


“¡ÒÃਨÃÔÞÊμÔ໚¹àÃ×èͧ·ÕèäÁ‹ÅÓºÒ¡àËÅ×ÍÇÔÊÑ ËÃ×ÍμŒÍ§·Ø¡¢ ·ÃÁÒ¹ã´æ áμ‹¡çäÁ‹ÊºÒÂẺμÒÁ㨡ÔàÅÊ ÁѹÁÕáμ‹·Ò§ÊÒ¡ÅÒ§ ¤×Í¡ÒÃÃÙŒÊÀÒ¾¸ÃÃÁ·Õè¡ÓÅѧ»ÃÒ¡¯ ´ŒÇ¤ÇÒÁ໚¹¡ÅÒ§àÃ×èÍÂä»à·‹Ò¹Ñé¹”


วิธีการเจริญสติที่ถูกตอง เพื่อใหไดมรรคผล

ถาม – วิธีการเจริญสติที่ถูกตองเพื่อใหไดมรรคผล ตองปฏิบัติ อยางไรคะ พวกเรามักถูกสอนวา การปฏิบัติธรรมเพื่อใหไดมรรคผลนั้น ตองอาศัยการสะสมบารมีมาเนิ่นนาน ถาไมมีบารมี ก็ไมมีทางประสบความสำเร็จได แลวก็พาลทอแทใจ คิดวาทางนี้ยังไกลนัก คอยๆ เดินไปก็แลวกัน เพราะขืนรีบเรงเกินไป จะเหนื่อยตายเสียกลางทาง ในความเปนจริงแลว จุดเริ่มตนของมรรคผลนั้นหายากจริง ถาพระพุทธเจาไมทรงเปดเผยไว เราไมมีทางหาพบไดเลย แตเมื่อหาพบและลงมือทำแลว มรรคผลไมใชสิ่งเหลือวิสัยที่เราจะทำไดโดยเร็ว จุดตั้งตนของมรรคผลอยูที่ไหน ขอเรียนวา อยูที ่ความเขาใจอยางถองแทถึงการเจริญสติ


๖๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

หากเจริญสติถูกตองแลว พระพุทธเจาทานรับประกันวา จะไดผลโดยเร็ว บางคนก็ ๗ ป บางคนก็ ๗ เดือน บางคนก็ ๗ วัน การปฏิบัติธรรมหรือการเจริญสติ ไมใชการกาวเดินไปทีละขั้น เพราะมันไมมีขั้นอะไรหรอก มีแตวา (๑) เจริญสติถูกตองอยู หรือ (๒) เผลอสติไปแลว มีอยูเทานี้จริงๆ ถาเจริญสติถูกตอง ก็จัดวาเดินอยูในทาง (มรรค) ที่จะกาวไปสูผล คือความพนทุกข เจริญสติทุกวัน ก็คือเขาใกลมรรคผลไปทีละนอย เจริญสติตอเนือ่ งมากทีส่ ดุ ก็คือการออกวิง่ ไปในทางทีไม ่ ไกลเกินไปนัก แตถาเผลอสติ ก็เหมือนเดินออกนอกทาง หรือกลับหลังหันออกจาก ผลที่ตองการ การเจริญสติเปนเรื่องที่ไมลำบากเหลือวิสัยหรือตองทุกขทรมานใดๆ แตก็ไมสบายแบบตามใจกิเลส มันมีแตทางสายกลาง คือการรูสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ดวยความเปนกลางเรื่อยไปเทานั้น อยางไรก็ตาม การรู เปนสิ่งที่ตองพากเพียรเรื่อยไป ดังที่พระพุทธเจาทรงสอนวา “บุคคลลวงทุกขไดเพราะความเพียร” เห็นไหมครับวา ทานสอนธรรมตรงไปตรงมาที่สุดแลว


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๖๕

ดังนั้น ถาเจริญสติถูกวิธีแลว ก็เหลืออยางเดียว คือเพียรทำใหมาก เจริญใหมาก อันเปน “กิจของมรรคสัจจ” ซึ่งพระพุทธเจาก็ทรงสอนไวตรงๆ แบบไมตองตีความ อีกเชนกัน ๒๕ มิถุนายน ๒๕๔๒ ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/115/37/


¤ÓÊ͹à¾×èÍ¡Òû¯ÔºÑμÔ·Ñ駻ǧ¹Ñ¹é ŌǹÁÕËÅÑ¡»¯ÔºÑμÔÍѹà´ÕÂǡѹ ¤×Í “¡ÒÃãËŒàÃÒÁÕÊμÔÃÙŒÊÀÒ¾¸ÃÃÁ·Õè¡ÓÅÅѧ»ÃÃÒ¡¯ μÒ ¤ÇÒÁ໚¹¨ÃÔ§” μÒÁ


เวลาพูดคุยกับคนอื่น มักแบงสติมาดูตัวเองไมทัน ถาม - สังเกตวาเริ่มรูสติมากขึ้น เวลาอยูวางๆ หรือกำลังเดิน ก็มาจับลม จับความรูสึกสุขทุกข จับอิริยาบถตางๆ ตามเรื่อง ตามราว แตยังสังเกตวาเวลาพูดคุยกับคนอื่นนี่ มักแบงสติมา ดูตัวเองพูดไมทัน พอคุยจบ เดินจากมาก็นึกไดวาเมื่อกี้ ไมได กำหนดสติดูเลยครับ การปฏิบัติทางจิต กับการออกกำลังกายก็คลายกันครับ นักมวย หรือนักกีฬานั้น เขาตองฟตซอมรางกายใหแข็งแรง เชน ออกวิ่งตอนเชาๆ การวิ่งของนักมวยนั้น ไมไดเอาประโยชนที่การวิ่ง แตเอาประโยชนที่รางกายแข็งแรงแลว เอาไปใชชกมวย ทางจิตก็เหมือนกันครับ คือเราจะตองฟตซอมดวยการเฝารูเฝ  าดูจิตใจ หรือทำความสงบสลับกับการเจริญวิปสสนาไป เพื่อใหมีสติสัมปชัญญะ มีปญญาวองไว แลวเอาไปใชในชีวิตประจำวันจริงๆ ได


๖๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á á á

เชน เวลาเราทำงาน หรือคุยกับคนอื่น เราเฝารูอยูที่จิตไมได (เหมือนกำลังชกมวย จะตั้งทาวิ่งไมได) แตทันทีที่คุยแลวกิเลสเกิด ตัณหาเกิด จิตจะมีสติรูทันขึ้นมาอยางอัตโนมัติ ดังนั้น การฝกกับการออกสนามจริงจึงไมเหมือนกัน ถากำลังชกมวยอยู มัวคิดถึงทาวิ่ง ก็ถูกชกหมอบสิครับ หมายถึงวา ถากำลังคุยกับคนอื่น แลวยอนมาเฝาอยูที่จิต จนความคิดดับ ก็คุยกับใครไมไดเลย อีกอยางหนึ่ง จิตรูอารมณไดทีละอยางเทานั้นนะครับ ถาพยายามฝนจะรูหลายๆ อยางพรอมกัน จิตจะฟุงซาน ไมมีความเปนหนึ่ง จะทำวิปสสนาก็ไมได สมถะก็ไมได เปนการเพิ่มงาน เพิ่มภาระใหจิตโดยเปลาประโยชนครับ แตถาคุยแลวเกิดความมัน หรือเกิดราคะโทสะอะไรก็แลวแต ใหจิตมันรูทันขึ้นเองเปนอัตโนมัตินะครับ จึงจะเรียกวาพอจะทำไดจริงในชีวิตประจำวันแลว แตจะทำอยางนั้นได เราก็ตองฝกฝนเขมมาสักชวงหนึ่งแลว ๑๑ มิถุนายน ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000025.htm


เราควรเรียนธรรมเรื่องใดเปนหลัก

ถาม - ธรรมะขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจามีมากมาย เหลือเกิน คิดวาคงไมสามารถเรียนไดทั้งหมดที่ทรงสอนไว ถา เปนเชนนี้เราควรเรียนเรื่องใดเปนหลักคะ พระผูมีพระภาคเจาทรงจำแนกแจกธรรมไวกวางขวางมาก ดังที่กลาวกันวามากถึง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ เกินวิสัยที่ผูใดจะเรียนรูใหทั่วถึงได แมเราจะไมสามารถเรียนธรรมทั้งหมดที่ทรงสอนไว แตเราก็สามารถเขาใจทั่วถึงหลักธรรมที่ทรงสอน ดวยการเขาใจอริยสัจจเพียงเรื่องเดียว เนื่องจากทรงสรุปไววา ธรรมทั้งปวงที่ทรงแสดงไว สามารถรวมลงไดในอริยสัจจ เหมือนรอยเทาของสัตวทั้งปวง รวมลงไดในรอยเทาชาง (ในยุคของพระองคไมมีไดโนเสาร)


๗๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

เพราะเพื่อจะใหมนุษยและเทวดาเขาใจอริยสัจจ พระผูมีพระภาคไดทรงจำแนกแจกธรรมไวมากมาย เพื่ออนุโลมตามจริตนิสัย และวาสนาบารมีของเวไนยชนซึ่งแตกตางกัน ถาเราจะสังเกตการสอนของพระองค เราจะพบเนืองๆ วา ทรงสอนแตละคนใหปฏิบตั ธิ รรมเพียงอยางหนึง่ อยางใด ก็เพียงพอที่ผูนั้นจะนำไปปฏิบัติเพื่อความรูแจงแทงตลอดในอริยสัจจได สิ่งที่เรานาจะพิจารณาก็คือ สิ่งใดเปน “ตัวรวม” หรือ “ขอปฏิบัติหลัก” ในธรรมทั้งปวงที่ทรงแสดงไวตางๆ กันนั้น ที่ทำใหผูปฏิบัติเขาใจอริยสัจจอันเดียวกันได ในความเขาใจของผมแลว ตัวรวมนั้นคือ “การเจริญสติที่ถูกตอง” แมพระพุทธองคเอง ก็ทรงเคยสอนใหเจริญสติอบรมจิตของตนเพียงอยางเดียว แทนการปฏิบัติทั้งหมดในพระพุทธศาสนามาแลว คือครั้งนั้น มีพระรูปหนึ่ง ทานอึดอัดกับการปฏิบัติธรรม ซึ่งมีทั้งขอหามและขอกำหนดมากมาย ทานไดเขาไปทูลลาสิกขา (ขอสึก) เพราะรูสึกวาทานทำไมไหว แตเมือ่ พระพุทธเจาทรงถามวา ถาใหปฏิบตั ธิ รรมขอเดียว จะทำไดไหม ทานรับวาถามีเพียงขอเดียว ทานทำได พระพุทธเจาจึงทรงสอนใหทานมีสติรักษาจิตของทานไวอยางเดียว และไมนานทานก็บรรลุพระอรหัตตผล


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๗๑

ทั้งนี้เพราะการเจริญสติ คือหัวใจของการเดินมรรค เปนทางสายเอก สายเดียว ที่จะนำไปสูความรูแจงแทงตลอดอริยสัจจ และนำไปสูความบริสุทธิ์หลุดพนจากเครื่องของทั้งปวง เมื่อเจริญสติอยู ทุกขปรากฏทานก็รู เหตุแหงทุกขทานก็รู ความดับทุกขทานก็รู ศีลของทานก็เกิดขึน้ โดยอัตโนมัติ เพราะจิตไมถูกกิเลสหลอกใหทำชัว่ สมาธิก็เปนอัตโนมัติ เพราะจิตตัง้ มัน่ เนือ่ งจากไมกวัดแกวงตามนิวรณ ปญญาก็เปนอัตโนมัติ เพราะระลึกรูความเกิดดับของสังขารธรรม ทั้งปวงตามความเปนจริง จิตของทานละบาปทั้งปวง ทำกุศลใหถึงพรอม และมีความผองแผว บรรดากุศลธรรมทั้งหลายเจริญขึ้น บรรดาอกุศลธรรมทั้งหลายดับไป การปฏิบตั ธิ รรมนัน้ ถามีสติอบรมจิตของตนไดเพียงอยางเดียวก็พอแลว เพราะเทากับไดปฏิบัติทั่วถึงธรรมที่ทานทรงแสดงแลว ผมขอยกตัวอยางหัวขอธรรมอีกสักเรื่องหนึ่ง ซึ่งถาปฏิบัติแลว ก็มีผลครอบคลุมการปฏิบัติธรรมทั้งปวงเชนกัน ไดแก โอวาทปาฏิโมกข อันไดแก ๑.การไมทำบาปทั้งปวง ๒.การทำกุศลใหถึงพรอม และ ๓.การทำจิตใหผองแผว หากพวกเรายังรูสึกวา การปฏิบัติตามโอวาทปาฏิโมกขมีถึง ๓ ขอ ยังมากเกินไป จะปฏิบัติเพียงหัวขอเดียว ก็ทำได


๗๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ทั้งนี้เพราะเอาเขาจริงแลว การปฏิบัติทั้ง ๓ ขอนั้น ก็หนีไมพนการเจริญสติเรียนรูจิตใจของตนนั่นเอง กลาวคือ ๑. การไมทำบาปทัง้ ปวง ทัง้ ทางกาย วาจา และทางใจ (ความคิดชัว่ ) กอนที่คนเราจะทำบาปทางกายและวาจาได จะตองทำบาปทางใจเสียกอน เพราะใจเปนใหญ ใจเปนหัวหนา กรรมทั้งหลายสำเร็จไดดวยใจ เชน กอนจะไปจี้ปลนใคร ก็ตองคิดจนตกลงใจจี้ปลนเสียกอนที่จะลงมือ กระทำจริง ดังนั้น ถาเราสำรวมระวังที่จะไมทำบาปทั้งปวง เราก็ตองมีสติเฝารูอยูที่ใจของตน มันจะคิดดี คิดชั่ว คิดเรื่อยๆ ไมดีไมชั่ว ก็ผุดขึ้นที่ใจนี่เอง ปฏิบัติอยูเพียงเทานี้ กุศลธรรมก็ถึงพรอมได จิตก็ผองแผวได ๒. การทำกุศลใหถึงพรอม ถากลาวกันอยางตรงไปตรงมาเพื่ออรรถเพื่อธรรม ไมพูดแบบประจบเอาใจกันแลว ผมอยากกลาววา จิตของคนเรานั้น แทบจะไมเคยมีกุศลจิตจริงๆ เลย มีแตอกุศลเปนสวนมาก แมแตในเวลาที่ทำบุญ จิตก็ยังเปนอกุศลอยู ดวยเหตุนี้เอง จึงหาผูที่บรรลุมรรคผลนิพพานไดยากเต็มที กระทั่งพระอริยบุคคลที่ไมใชพระอรหันต ก็ยังมีอกุศลมากนอยตามชั้นตามภูมิของตน


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๗๓

การทำกุศลใหถึงพรอม เปนสิ่งที่ยากอยางยิ่ง เพราะกุศลนั้น ไดแกการที่จิตไมประกอบดวย ราคะ โทสะ และโมหะ การทำจิตใหพนชั่วคราวจากราคะและโทสะ ไมใชของยาก แมไมทำอะไรเลย ราคะและโทสะเมื่อเกิดขึ้นชวงหนึ่ง มันก็จะดับไปตามธรรมดา แตที่ยากที่สุด คือการทำจิตใหพนจากโมหะ เพราะจิตของสัตวทั้งปวงนั้น มีโมหะยืนพื้นอยูแทบทุกขณะ แมในขณะที่ไมมีราคะและโทสะ ก็ยังมีโมหะแฝงอยูเสมอ โมหะคือความหลงของจิต ทำใหไมรูสภาพธรรมตามความเปนจริง ผูที่เคยศึกษาธรรมกับผมนั้น จะทราบวา สิ่งแรกที่ผมสอนคือการทำความรูตัว นั่นคือการทำ “อโมหะ” นั่นเอง เพราะโดยธรรมชาติแลว จิตจะเหมือนน้ำทีไหล ่ รินไปเรือ่ ยๆ ไมหยุดหยอน จิตมันเคลื่อนเขาไปยึดถืออารมณ โดยเราไมเคยรูตัวเลย ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย อันเปนการไหลเขาไปในโลกของวัตถุกาม และทางใจคือไหลเขาไปในโลกของความคิด ตอเมื่อใดสามารถรูเทารูทันจิตตนเอง มันจะเคลื่อนไหวไปทางใดก็รู มันจะตั้งมั่นอยูก็รู มันจะปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสิ่งที่เปนกลางๆ ก็รู มีแตรู รู รู ดวยความเปนกลาง สักแตรูจริงๆ นั่นแหละจิตจึงจะขจัดความหลงออกไปได


๗๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

เมือ่ จิตไมประกอบดวยโมหะ กิเลสใดๆ ก็ครอบงำจิตไมได (ยกเวนอวิชชา) จิตก็ทรงตัว รู ตื่น และเบิกบานอยูอยางนั้น โดยเราไมตองไปทำอะไรมันเลย เพราะจิตนั้นโดยตัวของมันเองผองใสอยูแลว ที่เศราหมองก็เพราะกิเลสมันจรมาหลอกเอาเปนคราวๆ เทานั้นเอง การที่จิตทำกุศลใหถึงพรอม จึงเปนทางละบาปอกุศลทั้งปวง และเปนการทำจิตใหผองแผวดวย ๓. การทำจิตใหผองแผว เมื่อกลาวถึงการไมทำบาปทั้งปวง และการทำกุศลใหถึงพรอมแลว แทบจะไมตองกลาวถึงการทำจิตใหผองแผว แตถาจะกลาวไวหนอยหนึ่งก็นาจะเปนประโยชน เพราะเปนวิธีปฏิบัติธรรมอยางละเอียดอันหนึ่งเหมือนกัน การทำจิตใหผองแผว ไมใชการเพงจิตใหหยุดนิ่ง แตตองใชปญญาพิจารณาใหออกวา อะไรเปนจิต อะไรเปนอารมณ เมื่อแยกออกไดแลว จิตไมถูกอารมณครอบงำ จิตก็จะผองแผวโดยตัวของมันเอง เพราะตัวของมันผองแผวอยูแลว แตเมื่อเราใชความพยายามอยางเต็มที่ ที่จะทำจิตใหผองแผวตลอดไปนั้น เราจะพบวาทั้งจิต ทั้งกิเลส และอารมณทั้งหลายทั้งปวง ไมใชสิ่งที่เที่ยงแท มั่นคง หรือเปนไปตามอำนาจบังคับของเรา ในที่สุดก็จะสามารถปลอยวางทั้งจิตและอารมณได


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๗๕

ตอนผมเด็กๆ คิดวาการทำจิตใหผองแผวเปนผลของ ๒ สิ่งแรก แตความจริงโอวาทปาฏิโมกขทั้ง ๓ ขอ คือคำสั่งสอนเพื่อใหนำไปปฏิบัติเพื่อความหลุดพนทั้งสิ้น ไมไดสอนใหเราทำ ๒ ขอแรก เพื่อเขาถึงและยึดเอาสภาวจิตที่ผองแผว จิตที่มีสติสัมปชัญญะ รูอยู ศึกษาอยูที่จิต เปนจิตที่ไมทำบาปทั้งปวง ทำกุศลใหถึงพรอม และทำจิตใหผองแผว จิตชนิดนี้ เปนจิตที่สามารถรูสภาพธรรมทั้งปวงตามความเปนจริง อันเปนทางสายเดียวที่จะนำไปสูความหลุดพนได ยังมีธรรมอีกมากมาย ทีท่ านทรงสอนดวยคำสอนที่ตางๆ กัน แตถาพิจารณาใหถองแทแลว ก็จะพบวาคำสอนเพื่อการปฏิบัติทั้งปวงนั้น ลวนมีหลักปฏิบัติอันเดียวกัน คือ “การใหเรามีสติรูสภาพธรรมที่กำลังปรากฏตามความเปนจริง” เพราะเมื่อรูตามความเปนจริง จิตก็จะเบื่อหนาย คลายกำหนัด และหลุดพนไปเอง อันเปนเปาหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนา ถามีสติที่ถูกตอง ก็คือการปฏิบัติธรรมทั้งปวงทางพระพุทธศาสนา เมือ่ หลง เผลอ ขาดสติ ก็คือไมไดปฏิบตั ธิ รรมอันใดเลยในทางพระพุทธศาสนา แมขณะนั้นจะกำหนดลมหายใจ หรือบริกรรมพุทโธ อยูก็ ตาม ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/31/37/


“àÃÒ»¯Ô àÃàÃÒ ÃÒ»¯ Ò»¯Ô »¯ÔºÔºÑÑμμÔÔ¸¸ÃÃÁäÁã »¯Ô ÃÃÁäÁ‹ Ãà ÃÃÁä ÃÃÁ ÃÃÁäÁ ÃÁä ÃÁäÁ㪋 ÁääÁã ÁäÁã ÁÁã㪋ªà‹à¾¾×¾¾ÍÅ Á㪠Á㪋 èÍ× ÅÐ¡Ô ÅÐ¡Ô ÅС ÅРСԡ¡à ¡àÅÊ àÔ ÅÊ Å áμ‹μ‹μμྠáμ à‹ ¾×¾ÍÅ ¾ÍÅÐ èÍÅФÇÒÁàËç ÅÐ ÅФÇÒÁàËç Ф¤ÇÒ ¤ÇÒÁàËçËç˹¼´ ¹¹¼Ô¼Ô¼´´¢Í§¨Ô ¢Í§¨Ô ¢Í§ ¢Í§¨μã¨·ä» Í§¨Ô¨μã¨·Õ ã㨷 㨨·Õ·ä»ËÅ èäÕä»Ëŧ ä»Ëŧàª× »Ëŧàªè »Ëŧàª× »»Ë »ËŧઠËŧàª× Ëŧàª× ŧàª× §àª×પ×èÍ× ÇÔÇÔè§μÒÁ¡Ô μÒÁÁ¡àÅÊ Å áŌŌnj ¾Ò·¡ ááÅÇ¾Ò áÅÇ ¾¾Ò·Ø ÒÒ··¡¢ÁÒãËμÇàͧ” ·Ø·Ø¡¡¢ÁÒã ¢ ÁÒãËμÇàͧ ¢ÁÒãËμÇàͧ ÁÒãËŒ ÒããË ãËŒËμÇàͧ μŒμÑÇàͧ ÑÇàͧ” àÍÍͧ§”


ทำไมแครู กิเลสก็สิ้นได

ถาม - ทำไมแครู กิเลสก็สิ้นไดครับ เรา รู เพื่อเขาใจสภาพธรรมที่กำลังปรากฏตามความเปนจริงเทานั้น คือรูวา สิ่งทั้งหลายที่เกิดมานั้น มันตองดับไปในที่สุด และไมเปนไปตามความอยากของเรา แตเปนไปตามเหตุของมัน เมื่อจิตรูความจริง จิตก็ปลอยวาง ไมเขาไปแทรกแซงสิ่งใด คือพอเห็นอารมณใดเกิดขึ้น ก็รูวา “มันก็เทานั้นเอง” “มันเปนอยางนั้นเอง” เมื่อจิตรูจักปลอยวาง จิตก็ไมทุกข การที่เรารูทันกิเลสที่กำลังปรากฏ แลวกิเลสออนกำลังลงหรือหายไปนั้น ไมใชเพราะเราไปไลกิเลสไปหรอกครับ อยางมีใครสักคนมาดาเรา เราฟงแลวโกรธ


๗๘

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

พอโกรธแลวก็จะยิ่งเพิ่มความสนใจคนที่มาดาเรามากขึ้น ยิ่งสนใจก็ยิ่งคิดยิ่งแคน ความโกรธก็ยิ่งรุนแรงขึ้น แตเมื่อใดเรายอนกลับมาเห็นความโกรธที่กำลังเกิดขึ้น แลวเห็นวามันทำใหจิตใจของเราเปนทุกข จิตใจของเราก็จะไมคลอยตามสิ่งที่กิเลสสอนใหทำ เชน ไมตัดสินใจโดดชกคนที่มาดาเรา และในขณะทีรู่ ท นั กิเลสอยูนั น้ ความสนใจของเราไมไดอยูที คน ่ ทีม่ าดาเรา ไมไดคิดปรุงแตงเพิ่มเติมวาเขาไมดีอยางนั้นอยางนี้ กิเลสก็เหมือนไฟที่ขาดเชื้อ มันก็ออนกำลังแลวดับไปเอง เราปฏิบัติธรรมไมใชเพื่อละกิเลส แตเพื่อละความเห็นผิดของจิตใจที่ไปหลงเชื่อวิ่งตามกิเลส แลวพาทุกขมาใหตัวเอง แตเราก็จำเปนตองรูกิเลส เพราะถารูไมทัน กิเลสมันจะทำพิษเอา คือถามันครอบงำจิตใจได มันจะพาคิดผิด พูดผิด ทำผิด แลวจะนำความทุกขความเดือดรอนมาให การที่เรารูกิเลสนั้น เราไมไดรูเพื่อจะละมัน เพราะตราบใดยังมีเชื้อของกิเลสหลบซอนอยูในจิตใจสวนลึกแลว หากมันมีผัสสะทางตา หู จมูก ลิ้น สัมผัส ใจ กิเลสที่ซอนนอนกนอยูในจิตใจก็จะผุดขึ้นมา เพื่อกระตุน เรงเรา ใหเราหลง ใหเรารัก ใหเราชัง สิ่งตางๆ จิตใจก็เสียความเปนกลางไป


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๗๙

และเราไมตองไปคิดเรื่องตัวผูรูอะไรหรอกครับ ถากิเลสเกิดแลวรูวามีกิเลส และรูทันจิตใจตนเองวา มันยินดี ยินรายตามกิเลสหรือไม มันหลง มันเผลอ มันอยาก มันยึด หรือไม รูเรื่อยๆ ไป ถึงจุดหนึ่งจิตมันจะเขาใจเองวา “ถาจิตหลงตามแรงกระตุนของกิเลส แลวเกิดความอยาก ความยึดขึ้นมาเมื่อใด ความทุกขก็เกิดขึ้นเมื่อนั้น” จิตก็จะฉลาดพอ ที่จะไมหลงกลกิเลสที่มันรูทันแลวอีกตอไป ๗ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000107.htm


“ÁѹäÁ‹ÁÕ¤ÇÒÒÁ໚¹àÃÒÁÒá Òáμ‹áááÅŒŒÇ áμ‹ÍÒÈѤÇÇÒÁ¤¤Ô´ ËÃ×ÍÊѧ¢Òâ âѹ¸ μ‹Ò§ËÒ ËÒ¡ ࢌÒä»á··Ã¡»»¹ ¨¹¨Ôμ¡çËŧ§àª×èÍμÒÁ¤ÇÒÁ¤Ô´ä»Ç ´ä»»Ç‹Ò ¹ÕèáËÅÐФ×ÍμÑÇàÃÒ””


จิตไมใชของเรา เราไมใชจิต แลวเราอยูไหน

ถาม - ถาจิตไมใชของเรา รา เราไม เราไมใใชจิต แลวเราอยูไหนคะ ในรางกายจิตใจเรานี้ ถาสังเกตใหดีจะเห็นวา มีความรูสึกอยูหยอมหนึ่ง ที่มันรูสึกวาคือ “ตัวเรา” “เรา” นั้น เปนผูคิด ผูนึก ผูตัดสิน ผูเสพอารมณตางๆ สิ่งนี้แหละครับ ที่บัญญัติกันวา “จิต” มันคือคนที่พูดแจวๆ ตลอดเวลา คอยตัดสินวาอันนั้นดี อันนี้ไมดี เวลามันไปรูอะไรเขา มันก็เกิดความชอบและความชังขึ้นมา ลองทำใจสบายๆ แลวทำสติระลึกรูเขาไปที่ความรูสึกวาเปนตัวเรา ดูสิครับ ปุถุชนกับพระโสดาบันนั้น ความรูสึกตรงนี้จะตางกันมาก เพราะปุถุชนถาดูเขาไปที่ความรูสึกนี้ จะรูสึกชัดเจนเลยวา มันเปน “เรา” แตพระอริยบุคคลตั้งแตพระโสดาบันขึ้นไป


๘๒

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

เวลามองดูความรูสึกอันนี้ จะเห็นเพียงวา มันเปนเพียงธรรมชาติรู ไมมีความเห็นสักนิดเดียววามันคือตัวเรา แตพระอริยบุคคลที่ไมใชพระอรหันตนั้น ในเวลาเผลอ ก็ยังยึดความรูสึกอันนี้วาเปน “เรา” เรียกวาบริสทุ ธิเพี ์ ยงความเห็นเทานัน้ เอาเขาจริงยังยึดมัน่ ถือมัน่ จิตอยู พูดใหมีศัพทแสงสักหนอยก็กลาวไดวา ความรูสึกวาเปน “เรา” นั้น มันคือจิตที่ประกอบดวยสักกายทิฏฐิ สวนความยึดจิตเปนตัวเราคือ อัตตวาทุปาทาน เปนคนละอยางกัน ลำพังจิตที่เปนเพียงผูรูอารมณลวนๆ นั้น มันไมมีความเปนเรามาแตแรกแลว แตอาศัยความคิด หรือสังขารขันธตางหาก เขาไปแทรกปน จนจิตก็หลงเชื่อตามความคิดไปวา นี่แหละคือตัวเรา ผมเคยภาวนาจนจิตดับ ขณะแรกตอนที่จิตกลับมารับรูอารมณนั้น จิตมันอุทานขึ้นมาดวยความอัศจรรยใจวา “เอะ จิตไมใชเรานี่” (จิตเปนสภาพธรรมอยางหนึ่ง ไมมีรูปราง แสงสี ตัวตนใดๆ สักนิดเดียวนะครับ ไมมีจุดมีดวงใดๆ ทั้งสิ้น) จิตมันอุทานไดเอง มันแสดงธรรมไดเอง ผมก็ตั้งคำถามขึ้นในใจวา “ถาอยางนั้น ความเปนเราเกิดมาจากไหนละ?” จิตก็ตอบวา “เพราะ (หลงตาม) ความคิดนึกปรุงแตง จิตจึงเปนเรา” กำลังจะถามมันตอไป ก็เกิดสิ่งหนึ่งขึ้นมาจากความวางเปลา คือแสงสวางปรากฏขึ้น ซึ่งในธรรมจักรทานเรียกวา อาโลโกอุทปาทิ


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๘๓

ถัดจากนั้น จิตก็ราเริงเบิกบานในธรรม เพราะมันรูแลววา อวิชชา ตัณหา อุปาทาน หลอกมันไดอีกไมนานหรอก (ตรงนี้หลวงปูดูลยทานเรียกวา จิตยิ้ม คือมันเบิกบานยิ้มเยาะกิเลส และผมคิดวาที่พระพุทธเจาทานอุทานทักตัณหา ก็คือภาวะอันนี้เอง เพียงแตสภาวะของทานนั้น ทานสิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรยแลว) ถัดจากนั้น จิตก็ทบทวนทุกอยางที่เกิดขึ้น แลวเห็นวา ความเห็นผิดวาจิตเปนเรานั้น ขาดไมเหลือแลว แตความยึดมั่นวาจิตเปนเรายังเหลืออยู เพราะยึดวาจิตเปนเรานี้เอง ผูปฏิบัติจึงมีความพากเพียรเจริญสติปฏฐานเพื่อออกจากทุกข ถาจิตไมเปนเรา จิตจะจมทุกขจนตายไป มันก็เรื่องของจิตสิครับ แตเมื่อใดจิตเขาถึงภาวะที่ปลอยวางความยึดจิตชั่วขณะ จิตเองกลับวางขันธ ๕ (โดยยนยอคือกายใจนี้) แมขันธจะเปนทุกข จิตก็ไมเอาดวย เพราะกระทั่งจิต ยังไมยึดจิตเอง จิตจะไปยึดขันธมาทำไมกันอีก มันจึงเกิดภาวะวาง อิสระ หมดงานทีจะ ่ ตองทำ และมีความบรมสุขจริงๆ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000016.htm


“à¾Õ§áμ‹àÁ×èÍÁÕÊμÔÊÑÁ»ªÑÞÞÐ ÃÙŒ¤ÇÒÁ¤Ô´áÅŒÇ ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ð¤‹ÍÂææ à§ÕºàÊÕ§ŧμÒÁÅӴѺ â´ÂÂäÁ‹μŒÍ§ä»ºÑ§¤ÑºÁÑѹ”


พบคนหลายคนในตัวเรา อบคุยกับตัวเองมานาน เผลอเปนไมได จะตอง ถาม – ผมมีนิสยั ชอบ คุยหรือระลึกเรือ่ งตางๆ กับตนเอง บางทีนัง่ อมยิม้ เพลินเลยครับ ทีนเวลา ้ี ปฏิบตั ธิ รรมใหสังเกตจิต หรือเวทนา ผมจะเอาจิตอีกดวง ทีชอบ ่ คุยดวยเปนตัวสังเกต หรือผูรู  ผูสั งเกต ไดหรือไมครับ เวลาเรามีสติสัมปชัญญะแลวใชสติระลึกรูนามธรรมในจิตนั้น ถาดูไดละเอียด จะพบคนหลายคนในตัวเรา คนหนึ่งรูสึกสุข ทุกข เฉยๆ คนหนึ่งเปนคนคุยความจำตางๆ ขึ้นมา คนหนึ่งเปนคนคิด คิดตลอดเวลา แลวพูดแจวๆ ไมเลิก คนหนึ่งเปนคนรู อะไรผุดขึ้นก็มีหนาที่รูอยางเดียว ที่ดูแลวมันกลายเปนหลายคนนั้น ไมแปลกหรอกครับ คือนามทั้งหลายมันถูกจำแนกออก เปนเวทนา (ความรูสึกสุขทุกข) สัญญา (ความจำไดหมายรู)


๘๖

´Ù ¨¨ÔÔ μ »Õ á á á

สังขาร (เจตนาดีราย ความชอบความชัง) และวิญญาณ (การรับรูทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ) เดิมสิ่งเหลานี้รวมหัวจมทายกัน คอยกอปญหาใหเรา คือมันรวมกันเขามาเปนความรูสึกวา เรา เรา เรา เวลาปฏิบัติแลว จะมีกี่ตัวก็ชางมันเถอะครับ ใหมีตัวหนึ่งเปนคนดู อีกตัวหรือหลายตัวก็แสดงหนาที่ของมันไป อยางนี้ก็ใชไดแลวครับ นักปฏิบัติจำนวนมาก ตองการดับความคิด ตัวความคิดหรือสังขารขันธนั้น เปนสวนของทุกข ทานใหเรารู ไมใชไปละมัน เพียงแตเมื่อมีสติสัมปชัญญะ รูความคิดแลว ความคิดจะคอยๆ เงียบเสียงลงตามลำดับ โดยไมตองไปบังคับมัน มันจะพูดก็ชางมัน มันจะเงียบก็ชางมัน รูมันเรื่อยๆ อยาเผลอก็พอแลวครับ เราไมไดปฏิบัติเพื่อดับสังขารขันธ หรือเวทนาและสัญญาขันธ แตปฏิบัติเพื่อจะรูทันความเกิดดับของมัน ดวยจิตที่เปนกลาง ถาคิดจะดับมัน จิตจะเกิดความรำคาญใจขึน้ มาเล็กๆ แบบไมรูต วั ครับ เรียกวากิเลสเกิดขึ้น แตเรารูไมทัน จิตจึงไปปฏิเสธสภาพธรรมที่กำลังปรากฏอยู ๙ มิถุนายน ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000006.htm


ทางสายกลาง ทำอยางไรถึงจะเปนกลาง ถาม - ทางสายกลาง ทำอยางไรถึงจะเปนกลางไดคะ ทางสายกลางหรือความไมสุดโตงในการปฏิบัตินั้น ตองพิจารณาเอาที่จิตใจตนเองครับ เพราะการปฏิบัติที่เปนกลางของแตละคนไมเทากัน วิธีพิจารณางายๆ ที่พระปาทานใชกันก็คือ การสังเกตตนเองวา นอนแคไหนจึงจะพอ คือไมงวงเหงาเพราะพักนอยไป ไมซึมเซาเพราะนอนมากไป กินแคไหนจึงจะทำความเพียรสบาย อยูในอิริยาบถใด มากนอยเพียงใด การปฏิบัติทางจิตจึงคลองแคลว แม “กลาง” ที่เปนพฤติกรรมของแตละคนจะไมเทากัน แตความเปนกลางทางจิตนั้น เทากันทุกคน เชน เปนกลางคือ เปนปจจุบัน ไมเอนเอียงไปขางอดีต หรืออนาคต เปนกลางตออารมณที่จิตไปรูเขา ไมหลงยินดียินราย และเปนภาวะที่เหนือดี เหนือชั่ว


๘๘

´Ù ¨¨ÔÔ μ »Õ á á á

เหนือความปรุงแตงทั้งฝายบวกและฝายลบ คือถาพบวาจิตมีกิเลสแลวเกลียด ก็สุดโตงไปขางหนึ่ง ถาจิตหลงเชื่อ วิ่งตามกิเลส ก็สุดโตงไปอีกขางหนึ่ง รวมความแลวก็คือ จิตไมมีความสุดโตงในทุกๆ ดาน ระหวางธรรมที่เปนคูทั้งหลาย สำหรับผูปฏิบัติในขั้นที่ละเอียดเขาไปนั้น นอกจาก รู แลว ก็ไมใชความเปนกลาง เพราะในภาวะ รู นั้น ศีลก็เปนศีลอัตโนมัติ สมาธิและปญญาก็ประชุมลงที่เดียวกันเปนอัตโนมัติ ไมไหลไปสูอดีตและอนาคต เปนกลาง ปราศจากความยินดียินราย สรุปแลว ทางสายกลางที่เปนพฤติกรรมของแตละบุคคล เปนเรื่องที่ตองสังเกตเอาเอง วาทำอยางใด อกุศลจะลดลง กุศลจะเจริญขึ้น สวน “กลาง” ของจิตนั้น เหมือนกันทุกคน คือ รู ที่ไม ปลอยจิต ใหเพลิดเพลินยินดีไปกับอารมณ หรือเพงอารมณ เพื่อ บังคับจิต ใหแนบกับอารมณอันเดียว ที่กลาวนี้ ผมกลาวในเชิงของการปฏิบัติ เพราะในเชิงปริยัตินั้น พวกเราก็คงทราบๆ กันดีอยูแลวทุกคน ๑๘ กันยายน ๒๕๔๒ ที่มา http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000422.htm


กุศลจิตเกิดยาก

ถาม - วันนี้ผมไดสังเกตจิตใจตัวเอง แลวพบวาในแตละวันนั้น กุศลจิต คือจิตอันไมถูกราคะ โทสะ โมหะครอบงำนั้นไมไดเกิด กันงายๆ เลยครับ เมื่อกุศลจิตเกิดยาก จึงทำใหคนที่ไปเกิดใน สุคติภูมิมีนอย ใชไหมครับ คุณเปนผูมีความละเอียดรอบคอบในการสังเกตจิตตนเอง สวนมากชาวโลกเขาคิดวา เขามีความรูตัว เพราะถาไมรูตัวก็คงอานหนังสือไมรูเรื่อง หรือขับรถไมได และนอยคนนักที่จะรูวา จิตของตนถูกกิเลสครอบงำ ในความเปนจริงแลว โอกาสที่เราจะมีกุศลจิตจริงๆ นั้น ยากมาก เพราะถึงไมมีราคะและโทสะ ก็ยังมี โมหะ ยืนพื้นอยูเสมอ อันไดแก ความหลง ความไมรูเทาทันจิตใจตนเอง


๙๐

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

แมในเวลาที่กำลังทำบุญ ก็ยังทำกันดวยกิเลสเปนสวนมาก คือเมื่อทำ “ทาน” เชน จะบริจาคเงินสรางเจดีย ก็ทำดวยความโลภ เชน หวังความร่ำรวย หรืออยากหายเจ็บไข หรือ อยากไดเกียรติยศ จะรักษา “ศีล” ก็รักษาแบบทรมานตนเองบาง รักษาเอาความภูมิใจบาง รักษาโดยเชื่อเอาวา จะทำใหรูธรรมบาง แมจะนั่ง “สมาธิ” ก็นั่งจมแชราคะและโมหะ หรือแมจะเจริญ “ปญญาวิปสสนา” ก็ยังหลงสงจิตไปเพงจองอารมณบาง เคลื่อนหลงตามอารมณบาง คนเราไมรูวากิเลสนั้นมีผลเผ็ดรอนเพียงใด โดยเฉพาะโมหะนั้น เปนภัยมืดจริงๆ เรามักจะเห็นวา โทสะ และราคะหยาบๆ มีโทษมาก เชน มีโทสะแลวไปฆาเขาตาย หรือมีราคะแลวไปขมขืนเขา แตนอยคนที่จะทราบวา โมหะนั้นเปนภัยที่นากลัวมาก เวลาผมเห็นคนนั่งเหมอลอย หลงไปเรื่อยๆ ในความคิดของตนเอง หรือลุมหลงเมามัน ไมรูตัว ไปกับ “ความสุข” แบบลมๆ แลงๆ เห็นแลวสงสารมากครับ ใครที่สังเกตจิตได ลองดูสัตวตางๆ เชน สุนัข เปนตน มันมีภาวะจิตแบบเดียวกันนั้นเอง


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๙๑

คนเราสั่งสมสิ่งใดไว ก็ไดสิ่งนั้น สังสารวัฏจึงเปนเรื่องที่นากลัวมากสำหรับผูที่รูทัน ทวา มันเปนอันตราย แตไมนากลัว สำหรับผูที่กำลังหลงอยู ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000277.htm


“ÃÙŒ ¤×Í¡ÒÃà¨ÃÔÞÊμÔÊÑÁ»ªÑÞÞР໚¹ÊÔè§à´ÕÂÇ·Õè¼ÁàËç¹Ç‹ÒÊӤѤÑÞ·ÕèÊÕ Ø´ ·ÕèÁ¹ØÉ ¼ÙŒË¹Ö觤Çû¯ÔºμÔÑμÔãˌ䴌 ä´”


ตามดูจิตแลวพากยไปดวย

ถาม - กำลังเริ่มฝกดูจิตอยูครับ เมื่อจิตถูกกระทบจนเกิดภาวะ ตางๆ ก็เฝาสังเกต และวินิจฉัย คอยพากยบอกกับจิตตัวเองวา อันนี้เปนราคะ อันนี้เปนโทสะ อันนี้เปนฟุงซาน อยากทราบวา การตามรูตาม  ดูจิตแลวพากยไปดวยแบบนี้ ถูกตองหรือเปลาครับ ที่จริงในเบื้องตนที่หัดนั้น จิตมันอดพากยไมไดหรอกครับ แมไมจงใจจะคิดจะพากย มันก็อดวินิจฉัยไมไดวา “สิ่งนี้ชื่อนี้ เมื่อรูสิ่งนี้แลว ควรทำอยางนี้ๆ” เพียงแตเราควรทราบไววา ความรูที่เกิดจากการพากยและการสรุปประเด็น ไมใชจุดมุงหมายที่เราปฏิบัติ เพราะสิ่งที่ไดคือ “องคความรู” ซึ่งเมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะกลายเปนสัญญา คอยรบกวนการปฏิบัติในขั้นละเอียด


๙๔

´Ù ¨Ô μ »Õ á á á

เมื่อปฏิบัติชำนิชำนาญไป เราจะเห็นเพียงสภาวะที่เกิดแลวก็ดับ จิตไมสนใจพากย เพราะการพากยนั้นก็เปนการทำงานของจิต เปนภาระ เปนทุกข ยืดยาวออกไปอีก ถึงจุดที่รูสักวารูสภาวธรรมที่กำลังปรากฏนั้น บางคราวเราจะเกิดความลังเลใจขึ้นมา เพราะเกรงวาจะสรุปความรูไมได หรือกลัววาจิตจะไมมีองคความรูนั่นเอง อันนี้เปนธรรมชาติของปญญาชนทั้งหลาย ผมเองบางทีก็เปนอยางนั้น ที่จริงเราปฏิบัติไมใชเพื่อเอาความรู แตปฏิบัติเพื่อความพนทุกขของจิต โดย จิต มีปญญา ไมไปยึดอารมณที่กำลังปรากฏ ไมใชโดย เรา มีความรู ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ที่มา http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000129.htm


ธรรมะทิ้งทายเพื่อเตือนสติ

ถาม - อยากขอธรรมะทิ้งทายเพื่อเตือนสติพวกเรากอนทาน จะออกบวช พระพุ ท ธเจ า ทรง แสดง ธั ม มจั ก กั ป ปวั ต ตนสู ต ร อั น เป น ปฐมเทศนา โดยทรงชี้ถึง ที่สุดสองอยางอันบรรพชิตไมควรเสพ คือ การ ประกอบ ตน ให พัวพัน ดวย กามสุข ใน กาม ทั้งหลาย เปน ธรรม อันเลว เปนของชาวบาน เปนของปุถุชน ไมใชของพระอริยะ ไม ประกอบดวยประโยชน และการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแกตน เปนความลำบาก ไมใชของพระอริยะ ไมประกอบดวยประโยชน แลวทรงสรุปชี้ชัดลงถึงขอปฏิบัติเรื่องแรกที่ทรงสอน อันเปนการ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาลงไวในโลก คือ “ปฏิปทาสายกลาง ไมเขา ไปใกลที่สุดสองอยางนั้น นั่นตถาคตไดตรัสรูแลวดวยปญญาอันยิ่ง ทำดวงตาใหเกิด ทำญาณใหเกิด ยอมเปนไปเพื่อความสงบ เพื่อ ความรูยิ่ง เพื่อความตรัสรู เพื่อนิพพาน


๙๖

´Ù ¨Ô μ »Õ á Ã ¡

ปฏิปทาสายกลางนั้น ไดแก อริยมรรค มีองค ๘ คือปญญาอัน เห็นชอบ ความดำริชอบ เจรจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีวิตชอบ พยายามชอบ ระลึกชอบ ตั้งจิตชอบ” ตลอดพระชนมชีพของพระองค ทรงสอนแนวทางปฏิบัติอยูใน กรอบของปฐมเทศนานี้เอง ตราบจนถึงวาระสุดทายแหงพระชนมชีพ ซึ่งทรงประทานปจฉิมโอวาทวา “ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เราขอเตือน พวกเธอวา สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมไปเปนธรรมดา พวกเธอ จงยังความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด ฯ” ผูไมประมาท ก็คือผูที ดำเนิ ่ นอยูในทางสายกลางนี้เอง นับเปน คำเตือนดวยพระมหากรุณาอยางแทจริง เพราะเมื่อทรงชี้ทางไวแลว ก็ยังพร่ำสอนใหสาวกพากเพียร เดินไปตามทางอยางไมเนิ่นชาเพราะ ความประมาท พวก เรา ควร สำรวจ ตน เอง วา เขา ขาย เปน ผู ประมาท หรือไม วิธีดูที่งายที่สุดก็คือ ใหหมั่นตรวจสอบวา เราไดพยายามเจริญสติ สัมปชัญญะอยูในปจจุบันหรือเปลา หรือเราผัดผอนเอาไวคอยเจริญ สติสัมปชัญญะทีหลัง เพราะยังมีเรื่องอื่นสนุกสนานที่จะตองสนใจกอน เพราะเห็นวา ยังเปนหนุมเปนสาว ยังมีเวลาที่จะปฏิบัติไดอีกถมเถไป เพราะเห็นวา เขาใจแนวทางแลว เอาไวสบายใจแลว จึงคอยปฏิบัติ เพราะ ... ฯลฯ


ÊÑ ¹ μÔ ¹Ñ ¹ ·

๙๗

พระ ศาสดา ท า น ทรง สอน ทิ้ง ท า ย ด ว ย เรื่อ ง ความ ไม ป ระมาท ผมจึงตองอัญเชิญเรื่องความไมประมาท มาเปนธรรมทิ้งทายใหกับ พวกเรา เพราะไมมีธรรมอันใด สมควรเปนของฝากสงทายมากกวานี้ อีกแลว เมื่อผมไมอยูแลว วันใดที่นึกถึงผม ขอใหนึกถึง รู คือนึกถึงการ เจริญสติสัมปชัญญะ ซึ่งเปนสิ่งเดียวที่ผมเห็นวาสำคัญที่สุด ทีมนุ ่ ษย ผูหนึ่งควรปฏิบัติใหได เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด จากการไดเปน มนุษยในยุคที่พระศาสนายังรุงเรืองอยู ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๓ ที่มา http://www.bangkokmap.com/pm/content/view/228/41/


รกยผยนยทร รจรคยปร ร ยนร ร ยนฮผร ยธร ร ร

"0& 1 & 2

$ 8

'

% &(

) "" ( * , '

& -$ '

& % &( $ % .

"0& 1 9 1

-

( !)

$ &

1 " 6 7 7 % % $

! "#$ " %

& $

" # $ %&' * (+

%&' * * * % )

'

& %

/

) " !

4% " %&5

*

% ' *

) '

% ;<=>

% 3

& $

%" : &


¢ŒÍàʹÍá¹Ð ๑. ทาง สวนสันติธรรม มีกิจ ของสงฆ ที่จะตอง กระทำ จึง ขอ ความกรุณา ใหมาในชวงเวลา ๐๗.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. เทานั้น (หมายถึงพระอาคันตุกะ ท่ี ไม ไ ด นั ด หมาย และ ญาติ โยม ทุ ก ท า น ที่ ไ ม มี หน า ที่ ด า น ภารกิ จ กั บ ทางสวนฯ) ๒. สามารถสอบถามกำหนดวันเปด-ปดสวนฯ ไดที่โทรศัพทหมายเลข ๐๘๑ ๕๕๗ ๙๘๗๘ หรือดูไดที่ http://www.wimutti.net/ ทั้งนี้ไมควร สอบถามกอนวันเดินทางนานเกินไปเพราะพระอาจารยอาจมีกิจฉุกเฉิน ไดเสมอ ๓. โปรด งดการ รอ ตักบาตร หนา ประตู สวนสันติธรรม หาก มี ความ ประสงค จะรวม ถวายภัตตาหาร ควร ไป ถึง กอน เวลา เพื่อ เตรียม จัด ภัตตาหารใหทัน กอนเวลา ๘.๐๐ น. ๔. ควรไปเพื่อศึกษาการเจริญภาวนาตามหลักสติปฏฐาน ๔ หรือตาม หลักการดูจิตเปนสำคัญ ๕. ขอให  รั ก ษา เวลา ใน การอยู ฟ ง ธรรมตามเวลาที่ ก ำหนดไว เ ท า นั้ น (ขอ ๑) ๖. โปรดระวัง เรื่องการ รบกวน ระหวาง การแสดงธรรม และ อยา ทำการ บันทึกภาพในขณะแสดงธรรม


ÃÐàºÕº¢Í§ÊǹÊѹμÔ¸ÃÃÁ เพื่ อ ให การ ดำเนิ น กิ จ กรรม ของ สวนสั น ติ ธ รรม เป น ไป ด ว ย ความเรียบรอย คณะกรรมการสวนสันติธรรมไดกำหนดระเบียบปฏิบตั ิ สำหรับกิจกรรมตางๆ ดังนี้ ๑. การรับ พระภิกษุ สามเณร เขาพัก เปน การ ชั่วคราว เพื่อ ศึกษา ปฏิบตั ธิ รรม ใหพระภิกษแุ ละสามเณรทีได ่ รบั อนุญาตจากพระอาจารย เขาพัก เพือ่ ศึกษาปฏิบตั ธิ รรมในสวนสันติธรรมไดครัง้ ละไมเกิน ๗ วัน และ ระหวาง ที่พำนัก ใน สวนสันติธรรม จะ ตอง สำรวม อินทรีย สำรวม ใน พระปาฏิโมกข เรงความเพียร ไมคลุกคลีกับพระภิกษุสามเณรหรือ บุคคลอื่นๆ งดการโทรศัพท งดการสูบบุหรี่และสิ่งเสพยติดทุกชนิด รักษาเสนาสนะ รักษาขอวัตรของสวนสันติธรรม และเขาศึกษาธรรม กับพระอาจารยตามเวลาทีก่ ำหนดให เนื่องจากขณะนี้ยังไมมีกุฏิวางสำหรับพระภิกษุสามเณร จึงขอ งดเวนสำหรับขอนีไว ้ กอ นจนกวาจะพรอม ๒. การรับ อุบาสก อุบาสิกา เขาพัก เปนการ ชั่วคราว เพื่อ ศึกษา ปฏิบตั ธิ รรม ใหอุบาสก อุบาสิกา ที่ไดรับ อนุญาต จาก พระอาจารย เขาพัก เพือ่ ศึกษาปฏิบตั ธิ รรมในสวนสันติธรรมไดครัง้ ละไมเกิน ๕ วัน โดย แบงออกเปนสัปดาหละ ๒ รอบคือระหวางวันจันทรถึงวันศุกร และ


ระหวางวันศุกรถึงวันอาทิตย ขณะที่พำนักในสวนสันติธรรมจะตอง สำรวมอินทรีย รักษาศีล ๕ หรือศีล ๘ เรงความเพียร ไมรบกวน การปฏิบตั ธิ รรมของบุคคลอืน่ งดการโทรศัพทโดยพร่ำเพรือ่ งดการ สูบบุหรี่และสิ่งเสพยติด ทุกชนิด งดการทำอาหาร รักษาเสนาสนะ รักษาขอวัตรของสวนสันติธรรม และเขาศึกษาธรรมกับพระอาจารย ตามเวลาทีก่ ำหนดให แจงใหทุกทานทราบวา ทางสวนสันติธรรมใหเขาไปใชสถานที่ เพื่อการปฏิบัติภาวนาตามที่ทานเคยปฏิบัติมาเทานั้น ไมใชเปนการ เขาคอรสอบรมแตอยางใด พระอาจารยไมไดชีแ้ นะเปนการพิเศษหรือ เปลี่ยนแปลงแนวทางแกผูเขามาปฏิบัติ เพียงแตจะคอยสอบถามถึง การ ปฏิบัติ และ ความเปนอยูในสวนสันติธรรม ทุกเชา ที่ศาลา รวมกับ โยมอืน่ ๆ ทีม่ าปกติเทานัน้ และผูที จ่ ะเขามาขอใชสถานทีต่ องมีความ คุน เคยกับสวนสันติธรรมแลวระยะหนึง่ เสียกอน ๓. การเขาฟงธรรม ณ ธรรมศาลา สวนสันติธรรมเปดตอนรับสาธุชนเขาฟงธรรม ณ ธรรมศาลา ตัง้ แตเวลา ๐๗.๐๐ – ๑๐.๐๐ น. ในวันทีพระอาจารย ่ อยูแสดง  ธรรม ทั้งนี้ไมควรสอบถามกอนวันเดินทางนานเกินไป เพราะพระอาจารย อาจมีกิจฉุกเฉินไดเสมอ ผูที่จะเขาไปฟงธรรม ณ สวนสันติธรรมและประสงคจะถวาย ภัตตาหารแดพระสงฆ โปรดงดการดักตักบาตร แตควรนำอาหาร บรรจุภาชนะของตนเองไปถวายแดผูมีหนาที่รับประเคนอาหาร ณ


ธรรม ศาลา ก อ น เวลา ๐๘.๐๐ น. และ รั บ ภาชนะ กลั บ หลั ง เวลา รับประทาน อาหาร ของ ญาติ โยม ทั้งนี้ เพื่อ ชวยกัน ลด ขยะโฟม และ พลาสติกเปนการชวยกันรักษาสภาพแวดลอม อยางไรก็ตามในกรณี จำเปน ก็ อาจ ใช ภาชนะ ของ สวนสันติธรรม ได โดย การ จัด อาหาร ใส ภาชนะของสวนสันติธรรมแลวนำไปมอบกับผูม หี นาทีด่ ว ยตนเอง โปรด งด การ กระทำ ที่ อาจ รบกวน สมาธิ ในการ ฟ ง ธรรม ของ ผูอ่นื เชนการพาเด็กเล็กที่ไมอาจดูแลใหอยูในความสงบไดไปที่สวน สันติธรรม การนำ สัตวเลี้ยง ไป ที่ สวน สันติธรรม การ ให อาหาร แก สุนขั และแมว และการพูดคุยเสียงดัง เปนตน นอกจากนีควร ้ ปดเสียง โทรศัพทมือถือในขณะทีฟ่ งธรรมดวย ๔. การขอรับหนังสือและสือ่ ธรรมะ สวน สันติธรรม ได พยายาม จัดพิมพ หนังสือ และ ผลิต สื่อ เผยแผ ธรรม เพือ่ แจกจายใหทานผูส นใจโดยไมคดิ มูลคา แตดวยความจำกัด ในดานกองทุนและบุคลากร ขอใหทานผูสนใจไปขอรับหนังสือและ สือ่ ธรรมะดวยตนเองทานละ ๑ ชุด ไดทสวน ่ี สันติธรรมระหวางเวลา ๐๗.๐๐ - ๑๐.๐๐ น. โดยงดการขอหนังสือหรือสือ่ ธรรมะไปแจกจาย ตอใหผอู น่ื หากตองการหนังสือหรือสือ่ ธรรมะจำนวนมากเพือ่ แจกเปน ธรรมทาน โปรดติดตอสัง่ พิมพหรือสัง่ ผลิตสือ่ ไดจากสำนักพิมพหรือผู รับผิดชอบในการผลิตสือ่ ไดโดยตรง


๕. อืน่ ๆ o พระอาจารยงดตอบปญหาธรรมทางจดหมายและโทรศัพท เนือ่ งจากมีภารกิจมากในแตละวัน o ขอความกรุณา อยาทำการบันทึกภาพในขณะแสดงธรรม o มีรถตู เดินทาง มาที่ สวนสันติรรม ทุกเสาร-อาทิตย ติดตอ สอบถามรายละเอียดไดทโ่ี ทร ๐๒ ๒๗๙ ๗๘๓๘



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.