How to use vehicle in flood condition by TOYOTA

Page 1

เทคนิ เทคนิคคการขั การขับบรถลุ รถลุยยน้น้ําําททววมม 1.ประเมินความสูงของระดับน้ํา สังเกตระดับน้าํ จากรถ คันหนาเปนตน

ประมาณ 15 ซม. OK!!

ระดับน้ํา คําแนะนํา : อางอิงระดับน้ํา กับความสูงของอุปกรณตางๆ

2. ขับรถทีค่ วามเร็วต่ําคงที่

ทํทําาอย อยาางไรเมื งไรเมื่อ่อรถจมน้ รถจมน้ําํา 1. หลีกเลี่ยงความเสียหายทีเ่ กิดจากน้ําเพิ่มเติม - หามสตารทเครื่องยนต เนื่องจากน้าํ อาจเขาไปในเครื่องยนต สงผลให เครื่องยนตไดรับความเสียหาย - ตรวจสอบความเสียหายเบื้องตน พรอมทั้งทําเครื่องหมายแสดง ระดับน้าํ ที่นา้ํ ทวมถึง เพื่อใชในการตรวจสอบความเสียหาย - หากพบคราบน้ําทวมสูงถึงหองเครื่องยนต หรือพบวาเครื่องยนต จมน้าํ ใหทาํ การลากรถเขาศูนยบริการใกลเคียงเพื่อตรวจสอบ

2. การลากรถเขาศูนยบริการ

แนะนําใหดาํ เนินการโดยศูนยบริการรถยนตหรือบริษัทเอกชนที่มคี วาม • ขับขี่ทคี่ วามเร็วต่าํ ที่สดุ เทาที่จะเปนไปได และใชความเร็วสม่ําเสมอ เชี่ยวชาญ และควรหลีกเลี่ยงใหลอที่ขบั เคลื่อนสัมผัสพื้นถนนขณะลาก เชน รถ • รักษารอบเครื่องยนตคงที่ไมควรเกิน 1,500 รอบ/นาที โดยเฉพาะอยางยิง่ ขับลอหนาใหยกลอหนาตามรูปดานลาง ในขณะขับรถลุยน้ําทวมสูงกวาทอไอเสีย ขับความเร็วคงที่และใช • หลีกเลี่ยงการหยุดหรือเรงความเร็ว กระทันหัน เกียรต่ํากันนะคะ ยกลอดานหนา ยกลอดานหลัง ยกขึ้น 4 ลอ เพราะทําใหน้ําเขาสูเ ครื่องยนตได

3. ควรใชเกียรต่ํา

เกียรธรรมดา : ควรใชประมาณเกียร 1-2 เกียรอัตโนมัติ : ควรใชเกียร L

สิ่งที่สําคัญที่สุด

ขอใหเขาใจวา : รถที่เคยจมน้ําจะไมสามารถ กลับคืนสูสภาพปกติไดอยางสมบูรณ !

4. ไมเปดแอรเด็ดขาด (โดยเฉพาะรถเกง) ขณะเปดแอรพัดลมระบายความรอนจะทํางาน รอบสูงขึน้ ซึ่งจะทําใหนา้ํ ถูกพัดกระจายทัว่ หอง เครื่องยนตและอาจทําใหพัดลมระบายความรอน ไมทาํ งาน เครื่องยนตรอนจัดได

5. ย้ําเบรก/คลัชต (หลังลุยน้ําทวม) • ย้ําเบรก เพือ่ ไลความชื้นในกลไกลของระบบเบรก • ย้ําคลัตช (ในรถเกียรธรรมดา) เพือ่ ปองกันคลัตซลื่น 6. ไมควรดับเครือ่ งยนตทันที กอนดับเครื่องยนตภายหลังจากขับรถลุยน้ําทวมใหจอดรถทิ้งไว สักครู เพื่อใหน้ําที่อาจอยูในหมอพักไอเสียถูกระบายออกใหหมด รวมทั้งความชื้นตางๆที่อยูภายในหองเครื่องยนต

คําแนะนํา : หากไดยินเสียงดังผิดปกติ หลังจากการขับรถลุยน้ําทวม หรือเครื่องยนตมีอาการสั่นผิดปกติ โปรดติดตอศูนยบริการใกลบาน ทานเพื่อขอคําแนะนํา อยางไรก็ตาม ควรหลีกเลี่ยงการขับขี่รถลุยน้ํา เพื่อปองกันไมใหชิ้นสวนรถยนตไดรับความเสียหาย

รถฉันลุยน้ําทวมไดสูงเทาไร ? ชิ้นสวนไหนจะเสียหายบาง ?

ถึงแมวา จะเปลี่ยนชิ้นสวนที่จมน้าํ ทัง้ หมดแลว ก็อาจเกิดปญหาตางๆ และกลิ่น ตามมาหลังจากการซอม เนือ่ งมาจากไมสามารถไลความเปยกชื้น ออกไปไดอยางสมบูรณ หรือตรวจสอบสวนเปยกชื้นไดใมครบทั้งหมดใน ครั้งแรก ดังนั้น เราจึงขอแนะนําใหใชบริการจากชางผูชํานาญงานของ ศูนยบริการโตโยตามาตรฐานเทานั้น ซึง่ จะมีการรับประกันงานซอมใหนาน ถึง 1 ป หรือ 20,000 กม. แลวแตระยะใดถึงกอน และพิเศษ สําหรับลูกคาที่ ประสบภัยน้าํ ทวม จะไดรับสวนลดคาอะไหลใหถึง 30%* (* ขอสงวนสิทธิ์ในการแจงใหทราบลวงหนา หากมีการเปลี่ยนแปลง)

ตองการสอบถามขอมูลเพิ่มเติม กรุณาติดตอฝายลูกคาสัมพันธ บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด หมายเลขโทรศัพท 0-2386-2000 ตลอด 24 ชม.

หมายเหตุ: ขอมูลในแผนพับนีเ้ ปนเพียงคําแนะนําการใชรถยนตและการปองกันรถยนตใน สภาวะน้ําทวมเทานั้น การที่รถเสียหายจากสภาวะน้ําทวมนั้น มิไดอยูในเงื่อนไขการ รับประกันคุณภาพของโตโยตา

เอกสารแนะนํา า เอกสารแนะนํ การใชรถยนต รถยนตและการป และการปองกั องกันนรถยนต รถยนตในสภาวะน้ ในสภาวะน้ําทําทวมวม การใช ระดับความสูงของอุปกรณตางๆ สําหรับขับขี่ลุยน้ําทวม C

E B

G

C

E D

A

D A

B F G

H F

ชนิด รถยนต รถเกง รถไฮบริด รถกระบะ รถ 4WD ตํา แหนงอุป กรณ

(A) พื้นตัวถังรถยนต (B) พัดลมหมอน้ํา (C) ECU เครื่องยนต (D) ECU ถุงลมนิรภัย (E) ทอประจุอากาศ (F) ปลายทอไอเสีย (G) ทอระบายอากาศทีเ่ กียร (H) ทอระบายอากาศ เฟองทาย(หนา/หลัง)

25 cm.

27 cm.

40 cm.

50 cm.

30 cm.

32 cm.

50 cm.

60 cm.

80 cm.

80 cm.

85 cm.

90 cm.

40 cm.

42 cm.

55 cm.

65 cm.

50 cm.

55 cm.

70 cm.

75 cm.

20 cm.

22 cm.

38 cm.

48 cm.

50 cm.

52 cm.

60 cm.

68 cm.

-

-

(- /46) cm.

(50/48) cm.

• รถเกงทั่วไป ควรหลีกเลี่ยงระดับน้ําที่สูงกวา 25 cm. • รถกระบะทั่วไป ควรหลีกเลี่ยงระดับน้ําที่สูงกวา 40 cm. • รถขับเคลื่อน 4 ลอ (4WD) ควรหลีกเลี่ยงระดับน้ําที่สูงกวา 50 cm. หมายเหตุ : 1. ระยะความสูงนี้อา งอิงจากรถยนตโตโยตา ขนาดยางมาตรฐาน โดยมีคา ±2 cm. 2. การลุยน้ําในระดับนี้อาจทําใหพรมปูพื้นรถเปยกชื้น

ดวยความปรารถนาดี ฝายบริการดานเทคนิค บริษทั โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด


การป การปอองกั งกันนรถของท รถของทาานจากสภาวะน้ นจากสภาวะน้ําําททววมม

ระดับ

D

C

A เหนื อกวา ส วนล างแผงหน าปทม

ระดับน้ํา

ส วนบนของพรม

ส วนบนของเบาะ

ส วนล างแผงหน าปทม

อุปกรณ ที่อาจไดรับ ผลกระทบ

พรมปูพื้นรถ, แผนเก็บเสี ยงต างๆ, ลํา โพง, ระบบเบรก, และระบบส งกําลั ง

ระดับ D เพิ่มเติม : เบาะ, ชุดขั้ วสายไฟในรถ, มอเตอรสตารทเครื่องยนต และ คอมเพรสเซอรระบบ ปรับอากาศ

ระดับ C เพิ่มเติม : ระบบเครื่องเสี ยง, เครื่องปรับอากาศ, ECU ต างๆ, มอเตอรไฟฟา และ อุปกรณสวนใหญในหอง เครื่องยนต

ทุ กชิ้นส วน

ความเร็วที่ใช

ต่ํา ที่ สุดเท าที่ ทํา ได

หลี กเลี่ ยงการขั บขี่ หากทํา ได

หลี กเลี่ ยงการขั บขี่

ขั บขี่ ไมได

การปองกัน รถ จากน้ําทวม

ตรวจสอบและ พนสเปรย ไล ความชื้นที่ ชุดสายไฟ, ติ ดตั้ งท อระบายอากาศ สํา หรับระบบส งกําลั ง, ถอดพรมปูพื้น/เบาะ ที่ ไมได ใชงานออก

ระดับ D เพิ่มเติม : การต อท อประจุ อากาศเข า ใหสูงขึ้ น

ระดับ C เพิ่มเติม : การถอดขั้ วแบตเตอรี่, อุดท อทางอากาศ และ ชิ้นส วนไฟฟาภายในรถ (เครื่องเสี ยง, ECU)

ระดับ B เพิ่มเติม : พิจ ารณาทํา การหอคลุ มรถ หากทํา ได

การไลความชื้นของชุดสายไฟ

การตอทอประจุอากาศเขา

1. ตรวจสอบชุดยางกันน้ํา ของขั้วสายไฟ ตางๆ หากพบความบกพรองใหทําการแกไข

ตอทออากาศเขาระบบประจุอากาศใหสงู ขึ้นเพื่อปองกันเครื่องยนตเสียหายหนัก

เมืเมื่อ่อจํจําาเปเปนนตตอองจอดรถในพื งจอดรถในพื้น้นทีที่น่น้ํา้ําททววมม ขอปฏิบัติ 1.ตัดระบบไฟฟาในรถยนต บิดสวิตซกุญแจอยูที่ตําแหนง OFF กอนทําการปลดปลดขั้วลบแบตเตอรี่ เพื่อปองกันอุปกรณระบบควบคุม อิเลคทรอนิคสเสียหาย

2.ทําการอุดทอทางอากาศของรถใหหมด

ทอทางระบายอากาศทีต่ องทําการอุด คือ ทอไอดี, ทอไอเสีย และทอระบายไอตางๆ เชน ทอระบายอากาศที่เฟองทาย เปนตน เพื่อปองกันน้าํ เขาไปยังชิ้นสวนที่สาํ คัญของรถยนต และอาจจะเสียหายตามมา ได ตัวอยางการอุดทออากาศทีเ่ รือนลิ้นเรง

2. ไลความชื้นโดยพนสเปรยไลความชื้น บริเวณ ขั้วสายไฟตางๆ เชน กลองควบคุม เครื่องยนต (ECM)

กอนอุด

ติดตั้งทอระบายอากาศระบบสงกําลัง

• สําหรับรถขับเคลื่อนลอหนา

B

ทอระบาย อากาศ

ทํ า การต อ ท อ ระบาย อากาศที่เสื้อ เกียรใหสูงขึ้น เ พื่ อ ป อ ง กั น ไ ม ใ ห น้ํ า สามารถเขาภายในเกียรและ เกิดความเสียหายได

• สําหรับรถกระบะขับเคลื่อน 2 ลอและ 4 ลอ ระดับน้ําที่ปลอดภัยที่สามารถขับขี่ไดโดยไมตองทําการดัดแปลง คือ ไมควรเกินเสื้อเฟองทายดานบน การดัดแปลงเพื่อขับขี่ลุยน้ําไดปลอดภัย ทําการตอทอระบายอากาศ ที่เสื้อเฟองทายใหสงู ขึ้นเพื่อปองกันไมใหน้ําสามารถ ทอระบาย เขาภายในเฟองทายและเกิดความเสียหายได อากาศ

ดานหนารถ หมายเหตุ: สําหรับรถขับเคลื่อน 4 ลอ ควรตอทอระบายอากาศเฟองทายหนาดวย

จุดที่ตองทําการตอใหสงู ขึ้น

ตัวอยางการตอทอ การถอดพรม/เบาะ ถอดพรมพื้นรถยนต และ เบาะ ที่ไมไดใชงานออก เพื่อปองกันการเปยกน้าํ

ถุงพลาสติกครอบ

หลังอุด

3. ถอดและเคลื่อนยายอุปกรณสําคัญไวที่ปลอดภัย หากเปนไปไดควรถอดและเคลื่อนยายอุปกรณที่สามารถเคลื่อนยายได ออกจากรถยนต ไ ปไว ใ นที่ ป ลอดภั ย จากน้ํ า ท ว ม เช น กล อ ง ECU ต า งๆ, แบตเตอรี่, เครื่องเสียง,ระบบนําทาง, วิทยุ, พรม, เบาะ เปนตน เพื่อลดความ เสียหายที่อาจเกิดขึ้น

4. ทําการหอคลุมรถ

หากน้ําทวมสูง ควรพิจารณาทําการหอหุมรถยนตทงั้ คัน ดวยผาใบ หรือผาคลุมที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ เพื่อปองกันน้ําเขารถยนต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.