DIGITAL DIGITAL TV CHANNEL-CONTENT-NEW FACE-MC-ACTRESS-ACTOR-EXTRA-DANCER-PRODUCTION HOUSE-Media-UNIVERSITY
MAGAZINE
WWW.DIGITALTVMAGAZINE.COM
.COM VOL1 No.2 JUNE, 2557/2014
ช่องใหม่ แรงเกิ น ร้ อ ย FREE DOWNLOAD ISSN 2351-0072
ฉบับที่ 2 มีเรื่องมากมายของวงการดิจิตอล ทีวี ที่ยุ่งเหยิง 1. ยังออกอากาศกันไม่ครบทุกช่อง 2. มีการพูดถึง กล่องรับสัญญาณดิจิตอล ทั้งจากผู้ที่เกี่ยวข้อง และประชาชนคนไทยด้วยความเป็นห่วง กสทช. 3. เราได้สัมภาษณ์ ยักษ์หน้าใหม่ ช่องทีวีดิจิตอล HD “ไทยรัฐ ทีวี” 4. Digital Campus ม.กรุงเทพ “แหล่งรวม Creative เมืองไทย” 5. ทีวีหลายช่องยังไม่สามารถออกอากาศได้ จากเหตุการณ์บ้านเมือง 6. เริ่มมีการประเมินจากผู้ที่เกี่ยวข้องแล้วว่า “ทีวีดิจิตอล ช่องไหน จะไปก่อน” 7. New Face น้องมายเด็กจากบุรีรัมย์ที่น่ารักมากขนาด FC ติดตามหลายแสนคน ที่เหลือต้องติดตาม....ในเล่มจ้า....
บกบห.
contents Digitaltv Magazine / Vol.1 - No.2- June 2557
Digital TV Digital Channel Digital Campus
Cover Fashion New Face Top Pretty/MC
Digital Gossip
Magazine Download
www.ookbee.com www.edithouse.tv http://issuu.com/digitaltvmagazine
Editor-in-Chief : Anuchai Chanvra Editorial Head : Ittsawat Pintong Director : Krithsada Yoodee Photographer : O.P. Art director : O.P. Assistant Art di : Sutiphan Assistant editoral : Suwaree and Team Edithouse Co., Ltd.
31/83 Ladprao1 Jompol Jatujak Bangkok 10900 email:edithouse@hotmail.com M.086 325 1213 M.083 838 7585
Story: Anuchai
22 ล้าน ครัวเรือน ที่ต้องซื้อ DVB-T2 จริงหรือ?
าท บ 0 0 ,0 1 X น อ ื เร 22 ล้านครัว ้) ห ใ ร ร ส ด ั .จ ช ท ส ก ่ ี (ส่วนลดท = 22,000 ล้านบาท
หรือดูได้ ทันทีแค่ เปิดทีวี?
4 June, 2557
มาทำ�ความเข้าใจกันเพราะทุกวันนี้ประชาชนชาวไทยสับสนมากว่าอะไรคือทีวี ดิจิตอล? แล้วทำ�ไม มันถึงได้ยุ่งยากในการรับชมมากมายขนาดนี้ ซึ่งจริงๆแล้วไม่ได้มีอะไรซับซ้อนครับแค่ไม่ต้องไป ใส่ใจอะไรมาก เปิดทีวีมาก็ดูได้ตามปกติ ถ้าคุณใช้ 1. ดาวเทียม 2. เคเบิ้ลทีวี 3. ทรูวิชั่น 4. GMMZ 5. Sun Box 6. หรือกล่องอะไรก็ได้ที่คุณมีอยู่ รับชมได้ทันที ฉะนั้นไม่มีความ จำ�เป็นที่จะต้องไปซื้อกล่องใหม่เพราะทุกวันนี้ที่บ้านคุณจะเต็มไปด้วยกล่องแล้วครับ ผมเชื่อว่าเฉ เพาะรีโมทก็หยิบผิด หยิบถูก หากจะมีดิจิตอลทีวีมาอีก 48 ช่องในตอนนี้คนไทยคงจะไม่ต้อง ทำ�อะไรแล้วนอกจากมานัง่ จำ�หลายเลขช่องทีด่ เู หมือนจะจำ�ยากทีส่ ดุ ในโลก อันนีน้ า่ จะเป็นความถูมใิ จ ของคนไทยนะครับเพราะมีความจำ�ดีมาก มีค�ำ ถามว่าทำ�ไม? ตัวเลขช่องถึงยุ่งยาก เยอะแยะไปหมด เอาเป็นว่าเปิดทีวีตามปกติครับ สักพักคุณก็จะชินและจะจำ�ได้ว่า ช่อง 3 ต่อไปนี้จะเรียกว่า ช่อง 3 Family มีหมายเลขช่องถึง 3 หมายเลขคือ ช่อง family เลข 13, ช่อง SD เลข 28, ช่อง HD เลข 33 อย่าให้ผมบอกช่องต่อไปเลยครับ เดี๋ยวจะด่าผมเอา ถ้าจะด่าก็คงต้องด่าผู้ บริหารจัดการนะครับเป็นใครก็ตามทีจ่ ดั สรร จัดการ เรือ่ งนีน้ ะครับ แต่เห็นใจและเข้าใจเขาเถอะครับ เพราะงานนี้ไม่ใช่หมู มาได้ขนาดนี้ก็ถือว่าเก่งกว่าหลายประเทศในโลกนะครับ และหากคุณสามารถมี กล่อง DVB-T2 เพื่อรับชมจริงๆขอบอกว่าภาพและเสียงที่คุณได้นั้นจะถือว่าคมชัดและดีที่สุด ครับ แบบนี้ก็คงต้องตัดสินใจเองนะครับว่าจะเลือกซื้อกันอย่างไร ซึ่งฉบับนี้ทีมงาน Digitaltv Magazine จะนำ�เอาหมายเลขช่องที่ถือว่าสับสนที่สุดงานหนึ่งในดิจิตอลทีวีนะครับ มาให้ได้เป็น ตารางเพื่อสามารถรับชมในแต่ละประเภทของโทรทัศน์ในเมืองไทยกันนะครับ ในฉบับหน้าผมจะมา นำ�เสนอกล่อง DVB-T2 กันนะครับว่าจะมีรุ่นไหนให้เลือกใช้กันบ้าง(ถ้าเขาเสร็จทันนะครับ)
“หากคุณสามารถมีกล่อง DVB-T2 เพื่อรับชมจริงๆขอบอกว่าภาพและเสียงที่คุณได้นั้น จะถือว่าคมชัดและดีที่สุดครับ” 5 June, 2557
ถาม? ความจริงแล้วคนไทยที่ดูทีวีมี
22 ล้านครัวเรือนจริงหรือ? และจะต้อง ซื้อกล่องรับสัญญาณ ดิจิตอลทีวี (DVB-T2) ด้วยหรือ?
ตอบ
ความจริงเรามี 22 ล้านครัวเรือนจริง แต่ความจริงแล้วไม่จำ�เป็นต้องซื้อกล่อง DVB-T2 เลย ก็สามารถดูทีวีดิจิตอลได้
ถาม? ตอบ
แล้วใครที่ต้องซื้อ?
มีไม่เกิน 4-5 ล้านครัวเรือนที่ต้องซื้อกล่อง DVB-2 เพราะยังใช้ระบบเดิมคืออนาล็อกหรือ เสาอากาศแบบเดิมในการดูทีวีอยู่ ถ้านอกนั้นมี ดาวเทียม หรือ เคเบิ้ลทีวีครับ ซึ่งรับดิจิตอล ทีวี ได้ทันทีครับ
6 June, 2557
ถาม? ตอบ
แล้วใครที่ไม่ต้องซื้อ? บ้านไหนดูดาวเทียม บ้านไหนดูเคเบิ้ล บ้านไหนดูแบบบอกรับสมาชิก ก็ดูตามปกติ สังเกตุจะมีช่องเพิ่มมาให้ดูอีก 24 ช่องในปีนี้ โดยที่ไม่ต้องทำ�อะไร เพราะกล่องที่มีอยู่มันจะอัพเดทให้เองอัตโนมัติ
ถาม?
แล้ว กสทช. จะผลักดันให้ไปซื้อกล่องทำ�ไม ต้องที่มีสติ๊กเกอร์ กสทช.ด้วย?
ตอบ
คนทำ�อยากขาย คนซื้อไม่อยากซื้อ ก็ต้องบังคับกันไปซื้อ รึเปล่า? คิดเอาเองนะ
7 June, 2557
ช่องบริการสาธารณะ 24 ช่อง (อยู่ระหว่างการจัดประมูล) บริการสาธารณะ 12 ชอง HD
1HD
เด็กและเยาวชน
4 HD
5-12
2 HD
ยังไมออกอากาศ
3 HD
บริการสาธารณะ
บริการชุมชน 12 ชอง
37-48 ยังไมออกอากาศ
8 June, 2557
ช่องบริการธุรกิจ 24 ช่อง (เริ่มออกอากาศ เมษายน 2557)
วาไรตี้ SD เด็กและเยาวชน 3 ชอง
15
13 14
7 ชอง 27
23
28
24
29
25
ขาวแ
26
ละสา
ระ 7 ชอง
16 17 18 19
20 21 22
วาไรตี้ HD 7 ชอง 30
34
31
35
32
36
33
9 June, 2557
10 June, 2557
11 June, 2557
12 June, 2557
13 June, 2557
ไทยรัฐทีวีคืออะไร
ไทยรัฐทีวคี งเป็นทางเลือกใหม่ของผูช้ มโทรทัศน์นะครับ ทีช่ อ่ งเราจะมีทงั้ ข่าวสารสาระและความบันเทิงรวมอยู่ ด้วยกัน และเราก็พยายามจะหาสิ่งแปลกๆใหม่ๆ ที่ วงการโทรทัศน์ไทยก็อาจจะยังไม่เคยท�ำหรือ ไม่เคยมี เราก็จะพยายามท�ำ น�ำมาเสนอ ไม่ว่าจะรูปแบบของ รายการข่าวหรือตัววาไรตี้บันเทิงเองอะไรแบบนี้ครับ
สัดส่วนของข่าวและวาไรตี้
เราประมูลมาเป็นวาไรตี้ กสทช. ก�ำหนดสัดส่วนข่าว และสาระแค่ 25% แต่ เ ราตั้ ง ใจจะท� ำ ถึ ง ประมาณ 50% อาจจะบวกลบนิดๆหน่อยๆ เพราะว่า ก่อนเราจะ ท�ำไทยรัฐทีวี เราเตรียมงานกันมา 2 ปีกว่า เริ่มตั้งแต่ การท�ำ Research ,Consumer Research ,Branding Research อะไรต่างๆ มันออกได้มาว่าเวลาคนได้ยิน ชือ่ ของไทยรัฐออกมาก็จะนึกถึงหนังสือพิมพ์ นึกถึงข่าว ก่อน พอนึกถึงข่าว ด้วยความเป็นรากเหง้าของเราเป็น แก่นแท้ของเรา เราทิง้ ข่าวไม่ได้ เพราะอย่างนัน้ เราต้อง คิดว่า เราเข้ามาตรงนี้คนก็ต้องคาดหวังว่าเราต้องท�ำ ข่าวได้ดี เราก็ต้องรักษามาตรฐานตามค�ำว่าไทยรัฐไว้ ก่อน เราก็ทุ่มเทแล้วก็ใส่ใจรายละเอียดงานข่าวด้วย เหมือนกัน
มียกตัวอย่างแนวไหมครับ
คือตอนนี้ก็ประมาณเดือนนึงแล้วนะ ที่ On Air มา คิด ว่าสิ่งที่เราสร้างความแตกต่างมาและเป็นที่พูดถึงกัน ในวงการโทรทัศน์สำ� หรับด้านงานข่าวก็คงจะหนีไม่พน้ งาน Immersive Graphic ที่เราได้น�ำเสนอมาอย่างต่อ เนื่องนะครับ ล่าสุดก็เอารถถังวิ่งทะลุสตูดิโอออกมา (หัวเราะ) ก็คดิ ว่าอันนีเ้ ราเรียกว่าเป็น Trademark อย่าง นึงก็ได้ เป็นโลโก้ของเราอย่างนึง เป็นสัญลักษณ์ของ เราอย่างหนึ่งว่าไทยรัฐทีวีของเราน�ำเสนอในรูปแบบนี้ ด้วย เป็น Highlight เพราะ Immersive Graphic ความ จริงก็หลายๆคนก็มี แต่ผมว่าก็อยูท่ วี่ ธิ กี ารน�ำมาใช้หรือ อะไรต่างๆ ส่วนรูปแบบอื่นๆ รูปแบบรายการข่าวที่เรา ภูมิใจเสนอก็คงจะเป็นข่าวค�่ำของเราที่เราเรียก “ไทย รัฐนิวส์โชว์” นะครับ ความจริงไอเดียของข่าวค�่ำอันนี้ 14 June, 2557
ก็ประชุมกันว่ารูปแบบรายการข่าวค�่ำเราจะเป็นยังไง เพราะเราเอาข่าวค�่ำเราชนละครเลย ก็คุยกันตอนแรก ก็มี Producer , Creative เอารูปแบบรายการมาน�ำ เสนอ ตอนแรกมันก็แบบเบรค 1 ต้องเป็นอย่างนี้ เบรค 2 ต้องเป็นอย่างนี้ ซึ่งมันเป็น Format นะครับ ซึ่งก็ไม่ใช่ ต้องเอามาใหม่ พอกลับมาก็พลิกไปพลิกมา สุดท้ายก็ คุยกันปิ๊งไอเดียขึ้นมา ดูหน้าหนังสือพิมพ์สิ ทุกวันคุณ เอาหน้าหนังสือพิมพ์มาวางเรียงกัน 7 วัน layout มัน ไม่เหมือนกันเลย บางวันพาดหัวมันอยู่มุมขวา บางวัน อยู่ซ้าย พาดหัวอยู่บนสุดท้าย ลงมาบ้าง ตรงกลางบ้าง เราก็เอา Concept หน้า 1 นี่แหละ ยังไงรากเหง้าเราก็ มาจากหนังสือพิมพ์ คือไม่ต้องมีรูปแบบที่ตายตัว ปรับ เปลีย่ นไปแล้วแต่สถานการณ์ เช่น ปกติขา่ วกีฬาจะต้อง อยูท่ า้ ยหรือว่าเบรคหลังๆ กีฬาบันเทิงแบบนี้ แต่ถา้ เป็น ไทยรัฐทีวี ถ้าวันนีก้ ฬี าเป็นข่าวใหญ่ เอากีฬาขึน้ มาก่อน ก็ได้ หรือ วันนี้มันมีเรื่องใหญ่อยู่ เราไม่จ�ำเป็นต้องเอา เรื่องใหญ่เล่าเรื่องแรกก็ได้ เราเก็บไว้เล่าเรื่องกลางๆ หรือตอนหลังก็ได้ ก็เกิดเป็นไอเดียของนิวส์โชว์ขึ้นมา คือ ไม่ต้องมี Format แบบที่มันต้องเป็นบล๊อคบล๊อค เบรค 1 ต้องเป็นการเมือง ต่อด้วยเศรษฐกิจ ต่อด้วย ต่างประเทศ
อะไรที่จะน�ำเสนอคล้ายๆกับนิวส์โชว์บ้าง
คือ ต้องบอกว่ารายการบันเทิงทั้งหมดตอนนี้ เราไม่ได้ ผลิตเอง เรารู้ว่าเราไม่ได้มีประสบการณ์บันเทิงวาไรตี้ มา แต่เราก็จะไป Partner กับบริษัทใหญ่ๆ อย่าง Poly Plus, JSL, Kantana, TV Thunder, ลักษ์ 666 อะไร ต่างๆที่เขามีประสบการณ์ทางด้านบันเทิงมา เราก็มา Partner กับเขา เราก็ใช้ประสบการณ์ที่ Partner เหล่า นี้มีมาช่วยกันพัฒนารายการในบันเทิงตรงนั้น
ก่อนจะเป็นรายการที่เราเห็น เลือกกันยาก ไหมครับ
หนักใช้ได้ครับ เพราะว่าบางทีบริษทั ทีก่ ล่าวมา เขาก็ยงั อาจจะคุน้ เคยกับของเดิมๆ ซึง่ เราอยากจะท�ำอะไรแบบ ใหม่ เราอยากจะสร้างอะไรใหม่ๆ คิดใหม่ แต่สุดท้ายก็ อยู่ที่ทีมของสถานีกับทีมของเฮ้าส์ ต้องนั่งคุยกัน ต้อง
15 June, 2557
“ เราเปิดที่จะรับฟัง อยากที่จะปรับปรุง และท�ำให้ดีขึ้นไปอีก ที่ทุกคนวันนี้บอกว่า มันก็ดีแล้วไทยรัฐทีวี แต่ผมรู้ว่าในใจผม กับน้องๆผมเนีย่ มันต้องไปได้ดกี ว่านีอ้ กี ” -วัชร วัชรพล-
16 June, 2557
Brainstorm ด้วยกัน Develop ด้วยกัน Develop Content ด้วยกัน ซึง่ ผมเชือ่ ว่า Content ในเมืองไทย ยังมีดๆี อีก แต่มันต้องใส่ความคิดกันเข้าไปมากกว่านี้คือ ทาง เฮ้าส์เขาก็ต้องเปิดใจด้วย และก็ยินดีที่จะร่วมพัฒนา ด้วยกัน เพราะว่าก็ตอ้ งนัง่ คุยกันกับทีมงานของผม และ Brainstorm กัน ว่าปรับตรงนี้หน่อยได้ไหม ปรับตรง นั้นได้หรือเปล่า บางคนแรกๆเขาก็อาจจะไม่ยอมปรับ เหมือนกัน แต่กต็ อ้ งคุยกันไปแหละครับ ผมว่าทุกอย่าง คุยกันด้วยเหตุและผลมากกว่า
อาจจะต้องเอากรอบบางอย่างออกไปก่อน เพราะว่ า Producer บ้ า นเรายั ง ไม่ ร อบตั ว เหมือนต่างประเทศ
ใช่ครับ Producer นี่คือใหญ่แล้ว คือต้องไต่เต้าขึ้นไป กว่าจะเป็น Producer บ้านเราเรียกกลับกันหมด Producer บ้านเราอาจจะเป็นแค่ Assistant บ้านเขาหรือ อาจจะยังไม่ถึง หรือเรียกว่าประสานงานอะไรแบบนี้
อย่างนีแ้ สดงว่าทางช่องเองก็ยงั มองว่า ยังต้อง นั่งดูและยังต้องค่อยๆปรับไปเรื่อยๆ
ใช่ครับ ต้องปรับไปเรือ่ ยๆ ผมต้องการ Quality Control ให้ดี พยายามจะรักษามาตรฐานให้ดี ผมจะไม่ค่อย อยากจะปล่อยอะไรแบบอิเหระเขะขะออกไป เพราะ มันจะกระทบต่อภาพลักษณ์ของช่อง
หนึ่ง แล้วความจริงก็เราค่อนข้างเป็นคนรุ่นใหม่กัน เรา เปิดทีจ่ ะรับฟัง อยากทีจ่ ะปรับปรุงและท�ำให้ดขี นึ้ ไปอีก ที่ทุกคนวันนี้บอกว่ามันก็ดีแล้วไทยรัฐทีวี แต่ผมรู้ว่าใน ใจผมกับน้องๆผมเนี่ย มันต้องไปได้ดีกว่านี้อีก ความ จริงเราอยากให้มันดีกว่านี้อีก มันยังไปได้อีก
ทีนี้ถ้าย้อนกลับมาทางบันเทิง มีสัดส่วนอะไร ไหมครับ มีสัดส่วนในใจว่า เราจะเล่น Segment อะไรเป็นหลักเป็นรอง
คือ อย่างที่บอกครับ เราท�ำ Reseach มา เพราะฉะนั้น เราก็จะมี ไบเบิ้ลของเราอยู่อันนึง ที่ค่อนข้างจะเป็น Consumer Research ช่วงเวลาไหนอะไรยังไง Target ไหน เราก็ค่อนข้างยึดตามตรงนั้น ก็มีปรับเปลี่ยนบ้าง ครับ ยืดหยุ่น แต่ว่าเรามีตรงนั้นเป็น Guide line ให้เรา เช่น ช่วงเวลานี้เป็นเวลาแม่บ้าน ช่วงเวลานี้เป็นของ ตรงนั้นตรงนี้ อะไรอย่างนี้ครับ แต่ว่าในช่วงที่เราอาจ จะยืดหยุ่นอาจจะไปชนกับช่วงเวลาละคร แล้วผมเคย ไปคุยกับผู้ใหญ่แล้วก็ Bet เลยนะ ลุยเลยนะ เอาข่าว ขึ้นมาชนละครเนี่ย เอาเลย
ทีนี้ พอเป็น Digital TV มันท�ำอะไรได้เยอะ มาก สามารถ Link กับ Network โน่นนี่นั่นได้ มากมาย ไทยรัฐวางแผนกับมุมนี้ไว้อย่างไร บ้าง
ผมว่าคนที่อยู่ในวงการ Digital TV เขาก็มอง จากที่ไทยรัฐวันเปิดตัวเราก็แถลงข่าวเราก็บอกชัดเจน ทางไทยรัฐเยอะ อาจจะเป็นเพราะว่าเปิดตัว อยู่แล้วครับว่า ภายในไตรมาส 4 ปีนี้ เราจะเปิดตัว Connected TV ก็คือ Second Screen ตอนนี้เราก็ แรง มันก็เป็นอีกแรงนึง แรงกดดัน ทีม่ าจากชือ่ ของไทยรัฐ โอ เคบอกว่า Branding ไทยรัฐมันก็ดี มีภาษี และคนก็รจู้ กั กันอยูแ่ ล้วในนามของหนังสือพิมพ์ หรือออนไลน์ แต่วา่ มันก็อกี มุมนึงเป็นแรงกดดัน เพราะทุกคนก็จะคาดหวัง เอ๊ะจะดีรึป่าว ต้องจับตาดู
พยายาม Develop กันอยู่ ก็คิดว่าน่าจะมาทันภายใน ไตรมาส 4 ครับ นั่นก็คือสิ่งที่เราจะท�ำต่อไป
แสดงว่ า ตรงนี้ ทั้ ง หมด ก็ ค งวางแผนไปสู ่ Conected TV เรื่องของ Second Screen
ครับ เพราะความจริงเราเตรียมไว้เยอะเหมือนกัน วัน ก็แสดงว่าในเรื่องของทั้งบันเทิงทั้งข่าวก็ยัง แรกที่เราเปิดตัวช่อง 24 เมษายน ที่เราออนช่องเนี่ย จะเน้นในเรื่องของ Quality Control ทั้งหมด เว็บไซต์ของทีวีเราก็ขึ้นเลย วันนั้นดู Streaming ได้เลย เราไม่ได้รอว่า เราขึ้นพร้อมกัน เพราะเรารู้ว่ามันต้อง พร้อมที่จะปรับ พร้อมที่จะเปลี่ยน ใช่ครับ และเราก็คดิ ว่าเรามีความยืดหยุน่ ด้วยในระดับ มาพร้อมกัน และเดี๋ยวก็จะตามมาด้วยการดูผ่านทาง 17 June, 2557
”
อยากให้ลองดูทุกรายการ ของเรา เพราะรายการของ เรา เราใส่ใจในรายละเอียด ในการผลิต
”
18 June, 2557
Device ทาง App อะไรแบบนี้ครับ แต่ว่าปัญหามัน คือ เวลาคนจับเรตติ้งเนี่ย ดูทางพวกนี้มันไม่เข้าไปรวม บริษัทที่จัดเรตติ้งเขายังไม่เอาไปรวม
พอมี ทุ ก อย่ า งครบ มี แ ผนที่ จ ะเป็ น ที วี ที่ มี กิจกรรมกับผู้ชมไหมครับ
แน่นอนครับ พอเรามี Second Screen เนี่ย เราก็จะ ค่อยๆเริ่มพัฒนาให้มีการ Interactive กับคนดูมากขึ้น เหมือนอย่างที่ Game Show Social ท�ำอยู่แบบนี้อะ ครับ แต่ว่าอันนี้ก็ต้องค่อยๆคิดกันว่าจากนี้จะเป็นยังไง แต่เราคิดว่าถ้าเราท�ำ Second Screen เนีย่ ตัวนีแ้ หละ ที่จะเป็นตัวผลักดันยุค Digitaltv อย่างแท้จริง
นั่นก็แสดงว่าสิ่งที่ท�ำมาทั้งหมดนี่จะกลับไป ตอบโจทย์ในเรือ่ งของธุรกิจนิดนึงว่าเราอยาก จะเป็นผูก้ ำ� งบโฆษณาสักประมาณเท่าไหร่จาก 24 ช่อง ทุกๆฉบับที่สัมภาษณ์ เขาก็ไปเขียนว่าไทยรัฐต้องการ เป็น Top 5 แต่ยังไงก็คงต้องดูอุตสาหกรรมโฆษณาไป อีกนิดนึงครับ ว่าเม็ดเงินมันจะไหลมาที่ Digitaltv เมื่อ ไหร่ เท่าไหร่ ตอนนี้มันก็ยังชุลมุนอยู่ นักวิเคราะห์ก็ยัง ตอบกันได้ไม่ชัดครับ แต่เท่าที่ดูแล้วที่มีข่าวออกมาว่า เดือนแรก เรตติ้งฟรีทีวีหายไป 10% - 15% ประมาณนี้ ก็คิดว่าก็มาได้เร็วนะ ผมว่าเป็นอะไรที่ทุกคนไม่ได้คาด หวังว่าจะไปได้เร็ว แต่ก็ดีครับ ยิ่งเร็วยิ่งดี
19 June, 2557
มีอะไรที่ไทยรัฐทีวี อยากจะให้ ติดตามจากนี้ไป
ก็ อ ยากให้ ล องดู ทุ ก รายการของเรา เพราะรายการของเรา เราใส่ใจในราย ละเอียด ในการผลิต คือผมก็ไม่อยาก จะเจาะจงรายการไหนรายการหนึ่ ง แต่เอาเป็นว่าตอนนี้ช่วงแรกที่เราออก มาเหมือนว่าจะจัดเต็มแล้ว แต่นี่แค่ Phase แรก เดี๋ยวยังมี Phase 2 และ Phase 3 ออกมาอีกครับ
ถ้ามีกลุ่มคนที่เขามีไอเดีย มีความ สามารถในการผลิต อาจจะเป็นคน
รุน่ ใหม่ รุน่ ปัจจุบนั เขามีโอกาสทีจ่ ะร่วม งานกับไทยรัฐทีวีได้ไหมครับ มีครับ เราเปิดโอกาสให้ทกุ คน มีโอกาส มีส่วนร่วมงานกับเรา แต่ขอให้ท�ำการ บ้านมานิดนึง ให้อยู่ใน Concept
“คิดต่างอย่างเข้าใจ”
20 June, 2557
21 June, 2557
“ โจทย์ ข องเรา คื อ เราต้ อ งเป็ น The Real Creative Content Creator ให้ได้ ถ้านึกถึงนิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพ เราคือตัวจริงเสียงจริงใน แง่ของการทำ� Content Creator ”
22 June, 2557
[ ซึ่งถ้าหากว่าเทคโนโลยีที่ล�้ำสมัยจนเกินไป
แต่ผใู้ ช้ไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ได้กไ็ ม่มี ความหมายอะไร ดังนัน้ ค�ำว่า “Creative Technology” คือการทีผ่ ใู้ ช้มคี วามเข้าใจและรูเ้ ท่า ทันในความหลากหลายของสือ่ เทคโนโลยี - ดร.พีรยา หาญพงศ์พนั ธุ์
[
คณบดีคณะนิเทศศาสตร์
นิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพฯ กับดิจติ อลทีวี เนื่ อ งด้ ว ยกระแสชี วิ ต และสั ง คมแบบดิ จิ ต อล (Digital Life and Society) ทีเ่ ข้ามามีอทิ ธิพลต่อ สังคมไทยอย่างมากในช่วงหลายปีทผี่ า่ นมา ท�ำให้ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพเล็งเห็น ถึงความส�ำคัญของการเตรียมความพร้อมให้กบั นักศึกษา จึงได้ด�ำเนินการปรับหลักสูตรเมื่อปี การศึกษา 2555 ทีผ่ า่ นมา โดยทัง้ 7 ภาควิชา ได้ก�ำหนดจุดยืนในการผลิตบัณฑิตเพื่อรองรับ ตลาดดิจทิ ลั ดังนี้ ภาควิชาการประชาสัมพันธ์เน้น ด้าน Strategic PR และ Event Communication ภาควิชาวารสารศาสตร์เน้นด้าน Convergence Journalism ภาควิชาการโฆษณาเน้นด้าน New Edge Advertising ภาควิชาศิลปะการแสดงเน้น ด้าน Creative Entertainment ภาควิชาวิทยุ กระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เน้นด้าน Conceptual Digitalization ภาควิชาภาพยนตร์เน้น ด้าน Professional Digital Film Production และ ภาควิชาการสือ่ สารแบรนด์เน้นด้าน 360º Brand Solution โดยทัง้ 7 ภาควิชาด�ำเนินการภายใต้วสิ ยั ทัศน์ทจี่ ะมุง่ เป็นผูน้ ำ� ด้านนวัตกรรมการเรียนการ สอนนิเทศศาสตร์แบบสร้างสรรค์ 360º (Creative Convergence) ผลิตบัณฑิตที่เป็นนักสรรสร้าง สาระ (Creative Creator) ทีม่ คี ณ ุ ภาพ มีคณ ุ ธรรม และมีความเป็นเลิศอย่างยัง่ ยืน การปรับหลักสูตรดังกล่าวสามารถเชื่อมต่อกับ การรองรับเรื่องทีวีดิจิตอลได้อย่างลงตัว แม้ว่า การด�ำเนินงานเกี่ยวกับทีวีดิจิตอลยังขาดความ ชัดเจนในบางเรื่อง แต่ก็เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ เมือ่ ทางคณะฯ มีการปรับหลักสูตร ทุกภาควิชา ก็ต้องเตรียมความพร้อมในการปรับการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับความเป็นมหาวิทยาลัย
สร้างสรรค์ (Creative University) โดยยึดหลัก การเรียนการสอนแบบสร้างสรรค์ 360° (Creative Convergence) หรือการเรียนแบบข้ามศาสตร์ทงั้ ในระดับข้ามภาควิชาและข้ามคณะวิชา เพือ่ ผลิต บัณฑิตให้มีความรู้รอบด้านและสามารถท�ำงาน ร่วมกับบุคลากรทีม่ คี วามต่างทางวิชาชีพได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ค�ำว่า “Convergence” ในมุมมอง ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ มี 3 มิติ มิตทิ ี่ 1 Creative Content เรามองว่าเรือ่ งคอน เทนต์เป็นเรือ่ งส�ำคัญมาก ยิง่ สือ่ หลายรูปแบบ ณ ขณะนี้และยังมีทีวีดิจิตอลเข้ามาอีก จะท�ำยังไง ให้เด็กนิเทศฯ ผลิตคอนเทนต์ทดี่ ี มีสาระ และมี เรือ่ งราวทีห่ ลากหลาย ทัง้ ยังสามารถตอบโจทย์ผู้ บริโภคได้อย่างลงตัว มิตทิ ี่ 2 Creative Storytelling Approach วิธี การน�ำเสนอหรือการเล่าเรือ่ งทีไ่ ด้ใจ ถูกใจ และ โดนใจผูบ้ ริโภค ด้วยพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคสมัย นีจ้ ะสนใจข้อมูลทีเ่ ข้าใจง่ายและถูกจริตก่อนอืน่ ใด ดังนัน้ นักศึกษาต้องเรียนรูว้ ธิ กี ารเล่าเรือ่ งยากให้ เป็นเรือ่ งง่ายๆ เข้าใจ และเข้าถึงผูบ้ ริโภคทีม่ คี วาม แตกต่างได้เป็นอย่างดีและ มิตสิ ดุ ท้าย คือ Creative Technology นักศึกษา ต้องเรียนรู้จักการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีได้อย่าง สร้างสรรค์ คือ ต้องเหมาะสมกับกาลเทศะหรือ บริบทที่ใช้ และลงตัวกับความต้องการและควม คุน้ ชินของผูบ้ ริโภค ซึง่ ถ้าหากว่าเทคโนโลยีทลี่ ำ�้ สมัยจนเกินไปแต่ผใู้ ช้ไม่สามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ ได้กไ็ ม่มคี วามหมายอะไร ดังนัน้ ค�ำว่า “Creative Technology” คือ การที่ผู้ใช้มีความเข้าใจและรู้ เท่าทันในความหลากหลายของสือ่ เทคโนโลยี รูจ้ กั ข้อดีและข้อเสียของสือ่ แต่ละประเภท และสามารถ 25 June, 2557
“ คุณคือตัวจริงของการ create contents ” -กุลเชษฐ์ เล็กประยูรผู้ช่วยคณบดีคณะนิเทศศาสตร์
ผลิตคอนเทนต์ที่สร้างสรรค์เหมาะสมกับ Platform ทีแ่ ตกต่างกันและเป็นประโยชน์ตอ่ ผูร้ บั สาร อย่างแท้จริง การเรียนการสอนในแบบ Creative Convergence จะเป็นการท�ำงานร่วมกันระหว่าง นักวิชาการและนักวิชาชีพ เราจึงได้ร่วมมือกับ พันธมิตรทางธุรกิจโดยเฉพาะที่เป็นศิษย์เก่าใน การพัฒนาหลักสูตรทีต่ อบโจทย์สงั คมยุคดิจติ อล ในปัจจุบันให้ได้มากที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหา การผลิตบัณฑิตที่จบออกไปแล้วยังไม่สามารถ ตอบโจทย์ ต ลาดดิ จิ ต อลที่ เ ปลี่ ย นแปลงอย่ า ง รวดเร็วท�ำให้ผปู้ ระกอบการต้องไปลงทุนใหม่กบั การพัฒนาบุคลากร ดังนัน้ เราจึงเห็นว่าการที่ นักวิชาการและนักวิชาชีพได้เรียนรูท้ จี่ ะตอบโจทย์ ในการผลิตบัณฑิตส�ำหรับศตวรรษที่ 21 ด้วยกัน ตั้งแต่ต้นจึงเป็นเรื่องที่ดี กระบวนการดังกล่าว ถือได้วา่ เป็นการเรียนรูร้ ว่ มกัน ถามว่า “ดีทสี่ ดุ ณ ขณะนีห้ รือยัง?” ก็ตอ้ งบอกว่า “อาจจะยัง” เพราะ ทั้งหมดเป็นเรื่องของ Co-Creative Learning Process นอกจาก การได้รว่ มมือกับศิษย์เก่าในหลากหลาย วงการแล้ว อีกส่วนหนึง่ ทีส่ ำ� คัญคือพันธมิตรในเชิง วิชาการซึง่ ก็คอื คณะวิชาอืน่ ๆ ซึง่ อาจารย์กลุ เชษฐ์ ผูช้ ว่ ยคณบดีคณะนิเทศศาสตร์ได้เริม่ น�ำร่องเมือ่ ปี การศึกษา 2555 โดยสอนร่วมกับคณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี และคณะวิศวกรรมศาสตร์ หลัง จากการน�ำร่องการเรียนข้ามคณะวิชาในครัง้ แรก ท�ำให้เราได้เรียนรูว้ า่ ข้อบกพร่องคืออะไร อุปสรรค์ มีอะไรบ้าง การเรียนการสอนแบบข้ามความเป็น ศาสตร์และศิลป์ของ 3 คณะวิชาถือว่าเป็นเรื่อง ยากมาก ต้องอาศัยผูป้ ระสานงานกลางทีม่ คี วาม เข้าใจมากช่วยปรับสมดุลของการเรียนรู้ และในปี การศึกษา 2556 นีเ้ ราก็ได้นำ� สิง่ ทีเ่ รียนรูใ้ นปีกอ่ น
มาปรับและด�ำเนินการอีกครัง้ จาก 3 คณะวิชา เพิม่ ขึน้ เป็น 6 คณะวิชา ส�ำหรับคณะวิชาทีเ่ พิม่ มาคือ คณะบริหารธุรกิจเพราะคราวทีแ่ ล้วเราขาด business thinking คณะมนุษยศาสตร์และการ จัดการท่องเทีย่ ว เนือ่ งจากว่าเราได้โจทย์เกีย่ วกับ การท่องเทีย่ วของการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย (ททท.) ทีเ่ ป็นสปอนเซอร์ แล้วท�ำอย่างไรทีเ่ ราจะ สามารถเอาเรือ่ งราวของประเทศไทยมาผนวกกับ การเล่าเรือ่ ง ด้วยคอนเทนต์ของนิเทศฯ ประกอบ กับ thinking ของ business และเครือ่ งมือหรือ นวัตกรรมของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แล้วก็มี เศรษฐศาสตร์ทเี่ ข้ามาร่วมสังเกตการณ์ เมือ่ ททท. เข้ามาช่วยเป็นสปอนเซอร์แล้ว ท�ำให้เราสามารถ สร้างกิจกรรมที่นอกจากการเรียนการสอนเพิ่ม ขึน้ มาให้ตอบโจทย์ lifestyle ของผูเ้ รียนยุคใหม่ได้ อีก เช่น กิจกรรมละลายพฤติกรรมผ่าน Creative Camp พร้อมกับการทีท่ า่ นศุกรีย์ สิทธิวนิช รอง ผู้ว่าด้านการสื่อสารการตลาด ททท. เข้ามาให้ โจทย์การสร้างแคมเปญ “หลงรักประเทศไทย” ให้กับนักศึกษาโดยตรง หลังจากนั้นนักศึกษาก็ จะแบ่งกลุม่ ออกเป็น 8 กลุม่ ซึง่ แต่ละกลุม่ จะต้อง ประกอบด้วยนักศึกษาที่มาจากต่างคณะวิชาฯ เมื่อทุกอย่างลงตัวทั้งคณาจารย์และนักศึกษาได้ ด�ำเนินการจัดกิจกรรมแถลงข่าวเปิดตัวโครงการ BU Startup Project ร่วมกัน พอถึงกลางภาค จึงได้ออกไปท�ำกิจกรรม Creative Journey เดิน ทางไปยังจังหวัดทีแ่ ต่ละกลุม่ เลือกโปรโมท เพื่อ ศึกษาข้อมูลเชิงลึกด้วยตัวเอง โดยน�ำข้อมูลทีไ่ ด้ มาออกแบบการวางแผนร่วมกัน กิจกรรมสุดท้าย คือ BU Startup Final Project Showcase น�ำเสนอ นวัตกรรมทีน่ กั ศึกษาได้รว่ มกันคิดขึน้ ซึง่ ประกอบ ด้วย AR-code, Mobile Application, Hologram, 27 June, 2557
[เราคือตัวจริงเสียงจริงเรือ่ ง
นิเทศศาสตร์ เป็นผูส้ ร้างสรรค์ คอนเทนต์อย่างสร้างสรรค์ ]
3D Printer และรายการโทรทัศน์ผา่ น Social TV และ Mobile Application ซึง่ ตลอดกระบวนการ การเรียนการสอนนั้น ทั้งคณบดีและคณาจารย์ จาก 6 คณะวิชา มาผลัดกันท�ำหน้าทีเ่ ป็น Facilitator และ Advisor ให้กบั นักศึกษา จากความส�ำเร็จของ BU Startup Project (Season 1) ส่งผลให้มผี ปู้ ระกอบการทีส่ นใจเข้าร่วม ให้การสนับสนุนและร่วมเป็นผูอ้ อกแบบการเรียน การสอนร่วมกับทางมหาวิทยาลัยกรุงเทพใน Season 2 ซึง่ ก็คอื บริษทั แม็ทชิง่ แม็กซิไมซ์ โซลูชนั่ จ�ำกัด (มหาชน) ถือได้วา่ เป็นการต่อยอด เจตนารมณ์รว่ มกันในการสร้างบุคลากรทีเ่ ป็น The Real Creative Creator ผ่านกระบวนการเรียนรู้ แบบสร้างสรรค์ 360° (Creative Convergence Education) ส�ำหรับตลาดดิจติ อลได้อย่างเป็นรูป ธรรม กระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวบ่มเพาะให้ผู้ เรียนได้ปฏิบตั จิ ริงจากโจทย์จริง การได้เรียนรูจ้ าก ความท้าทายและปัญหาอุปสรรค์ตา่ งๆ ทีเ่ กิดขึน้ จริง ท�ำให้ผู้เรียนมีมุมมองและระบบคิดที่ลุ่มลึก และรอบด้านมากขึน้ การด�ำเนินการทีผ่ า่ นมาถือ เป็นบทเรียนทีม่ คี า่ ส�ำหรับทัง้ คณาจารย์ นักศึกษา ศิษย์เก่า และผูป้ ระกอบการต้องเรียนรูไ้ ปพร้อมๆ กัน แต่นับว่าเป็นจุดเริ่มต้นที่ดี เพราะสัญญาณ ทีเ่ ราเห็น คือตัง้ แต่วนั แรกทีน่ กั ศึกษาเดินเข้ามา จนถึงสัปดาห์สดุ ท้ายของการเรียนรู้ เราเห็นการ เปลี่ยนแปลงที่ดีที่เกิดขึ้น ความคิดเขาเปลี่ยน ทัศนคติเขาดีขนึ้ พฤติกรรมการปรับตัวทีจ่ ะเรียนรู้ ร่วมกันเห็นชัดเจนขึน้ นัน้ คือสิง่ แรกทีเ่ ราคาดหวัง แม้วา่ ผลลัพธ์เชิงนวัตกรรมอาจจจะยังไม่สมบูรณ์ แบบร้อยเปอร์เซนต์ แต่ทสี่ ดุ แล้วเราเห็น thinking เห็น attitude ทีม่ นั เปลีย่ นไป เราเห็นพฤติกรรมที่ เขาเปิดใจทีจ่ ะเรียนรู้ พร้อมทีจ่ ะปรับได้มากขึน้ ซึง่
นักนิเทศศาสตร์ในยุคดิจติ อลต้องเป็นแบบนี้ การแข่งขั้นที่แท้จริงคือการแข่งขันที่จะบ่มเพาะ ผูเ้ รียนให้รจู้ กั น�ำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ให้เกิด ประโยชน์ แข่งกันผลิตคอนเทนต์ทดี่ ี มีความหมาย และมีคุณค่ากับผู้ใช้ และสังคมไทยอย่างแท้จริง ไม่ใช่การแข่งกันเฉพาะเรื่องที่ว่าเทคโนโลยีใคร ล�ำ้ กว่ากันแต่อย่างเดียว มีเทคโนโลยีแต่ผใู้ ช้ไม่รู้ จักน�ำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กไ็ ม่มคี วาม หมายใดๆ ดังนัน้ “โจทย์ของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จึงก�ำหนดว่า “เราต้อง เป็น The real creative content creator ให้ได้” ถ้านึกถึงนิเทศศาสตร์ ม.กรุงเทพ “เราคือตัวจริง เสียงจริงเรือ่ งนิเทศศาสตร์ เป็นผูส้ ร้างสรรค์คอน เทนต์อย่างสร้างสรรค์” โดยเปิดพืน้ ทีก่ ารร่วมแรง ร่วมใจจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในแบบ Creative Convergence ซึง่ เป็นมิตแิ ห่งการเรียนรูร้ ว่ มกับ คนอืน่ อย่างแท้จริง แคมเปญต่างๆ จ�ำกัดแค่ นศ. ที่ ม.กรุงเทพ หรือเปล่า ไม่จำ� กัดนะ เราเปิดกว้างคะ อาจารย์มองว่าถ้าเรา จะไปแข่งในอาเซียนเราต้องร่วมมือกันแข่งขันสู่ ความเป็นเลิศ ซึ่งเราก็ได้เคยได้มีโอกาสพูดคุย กันมหาวิทยาลัยอืน่ ๆ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ในการร่วมมือกันท�ำกิจกรรมดีๆ แต่ถามว่าในเชิง ปฏิบตั กิ ม็ ปี จั จัยอยูเ่ ยอะ และการทลายปัจจัยก็ตอ้ ง ใช้เวลา ทัง้ เรือ่ งความต่างทางวัฒนธรรมองค์กร ความต่างในด้านการเป็นมหาวิทยาลัยรัฐกับ มหาวิทยาลัยเอกชน แต่อย่างไรก็ตามยิง่ ร่วมมือ กันได้เร็วเท่าไหร่ประเทศชาติกจ็ ะยิง่ ได้ประโยชน์ มากขึน้ เท่านัน้ อาจารย์กลุ เชษฐ์ (เสริม) ทีจ่ ริงแล้วในหลักสูตรทีเ่ ราใช้ในปี 2555 เราต้อง 29 June, 2557
ออกแบบไว้ลว่ งหน้า 2 ปีนะครับเรือ่ งทีวดี จิ ติ อล นี่ จ ริ ง ๆกรมประชาสั ม พั น ธ์ เ ขาเริ่ ม มาตั้ ง นาน แล้ว ผมเองมีโอกาสไปอ่านแผนแม่บทของกรม ประชาสัมพันธ์ ซึง่ ถ้าเป็นไปตามนัน้ ปี 2555 ต้อง switch off ระบบอนาล็อกไปแล้ว แต่ในความจริง ปี 2555 ยังไม่ได้ทำ� อะไรเลย เพราะในเรือ่ งความถี่ ซึง่ เป็นสมบัตขิ องชาติกต็ อ้ งมีกฎหมายอะไรต่างๆ มารองรับ ทีน่ เี่ ราเลยต้องเอาแผนตรงนัน้ มาดูแล้ว เราก็มาดีไซน์หลักสูตรซึง่ ผมก็มองว่าต่อไปมีเดีย ก็คงไม่ได้มแี ค่ในหน้าจอทีวเี พียงอย่างเดียว แล้ว ตอนปี 2553 อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงก็เฟืองฟู เพราะอย่างนีผ้ มก็เลยมองว่าทัง้ บรอดแคสติงและ ดิจติ อลมีเดียมันต้องมาผนวกกัน ฉะนัน้ สาขาวิชา วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ ม.กรุงเทพ จึงไม่ได้เน้นว่าคุณต้องผลิตมีเดียเพือ่ จอโทรทัศน์
30 June, 2557
เพียงอย่างเดียว คือเราสอนให้เด็กรูว้ า่ ในอนาคต เค้าอาจเป็นเจ้าของสถานีทีวีได้โดยที่เค้าไม่ต้อง มีเงินพันล้านไปประมูลคลื่นความถี่ เค้าอาจจะ ลงทุนน้อยมากโดยผ่านมีเดียตัวอื่นแทน ซึ่งถ้า คอนเทนต์เค้าโดนใจคนดูกด็ งั ได้เหมือนกัน มีเทคโนโลยีทเี่ อือ้ อยูแ่ ล้ว อยูท่ วี่ า่ พร้อมทีจ่ ะ คิดหรือเปล่าใช่ไหมครับ ใช่ครับ ในอนาคตเมือ่ อินเตอร์เน็ตเร็วสูงมีความเร็ว เพิม่ ขึน้ ทุกวัน ผมมองว่าเราก็สามารถ broadcast yourself ได้ เพราะเราเองก็สามารถที่จะสร้าง คอนเทนต์และเป็นเจ้าของสถานีได้และคงไม่ได้ ถูกจ�ำกัดแค่ 48 ช่องแต่คงจะมีอกี เป็นร้อยๆช่อง ฉะนัน้ เราถึงสอนเด็กให้มองในลักษณะแบบนีไ้ ม่ใช่ ไปอิงสถานีเพียงอย่างเดียว คุณมีหน้าที่ create contents ซึง่ ก็เป็นไปตามคอนเซปต์ของคณะเลย ว่า “คุณคือตัวจริงของการ create contents” ส่วน เรือ่ ง facility หรืออุปกรณ์อะไรต่างๆนี่ ม.กรุงเทพ เอือ้ ให้อยูแ่ ล้ว ในระหว่างทีเ่ ราจัดท�ำหลักสูตรเราก็ พัฒนาเรือ่ ง facility ไปพร้อมๆกัน เดิมเรามีสตูดโิ อ อยู่ 3 สตูดโิ อซึง่ ตัง้ แต่ 10 ปีทแี่ ล้วนะเราก็เริม่ ดีไซน์ เป็นดิจิตอลแล้วล่ะ ตั้งแต่เป็นระบบเทปมาเป็น ระบบ standard definition แล้วพอถึงเวลาทีเ่ รา จะเปลีย่ นเพราะหลักสูตรมันเปลีย่ นเราก็วางแผน ทีจ่ ะเปลีย่ นไปใช้ high definition แล้วทีน่ ปี่ ที แี่ ล้ว เราก็ได้งบมา 10 กว่าล้าน เราก็เริมปรับได้ 1 สตู ดิโอเป็น high definition ทัง้ หมด ซึง่ ก็ทำ� ให้เด็ก ท�ำงานได้งา่ ยขึน้ และอาศัยความทันสมัยตรงนีไ้ ป สร้างคอนเทนต์ทมี่ คี ณ ุ ภาพต่อไป สมัยก่อนมันก็จะมีปัญหาว่า “เด็กท�ำคอนเทนต์ เสร็จปลายทางอยูท่ ไี่ หนล่ะ?” ก็อยูท่ ลี่ นิ้ ชักอาจารย์ ซึ่งผมว่าไม่ควรเป็นแบบนั้นนะ ควรจะมีช่อง ทางในการเผยแพร่คอนเทนต์เหล่านั่นนะครับ
เราก็เลยจัดตัง้ BU channel ขึน้ มา เพือ่ ทีจ่ ะเป็น ทีป่ ล่อยของเด็ก โดยมีวตั ถุประสงค์ 2 ประการ อย่างแรกคือจะเป็นที่ส�ำหรับปล่อยของให้ นศ. ซึง่ ไม่ได้จำ� กัดเฉพาะคณะนิเทศศาสตร์ คณะอืน่ ก็ สามารถส่งมาตรงนีไ้ ด้ จุดประสงค์ที่ 2 คือเป็นที่ ประชาสัมพันธ์ขา่ วสารภายในมหาวิทยาลัย ส่วน เรื่องการบริหาร BU channel นี่เราให้ศิษย์เก่า ที่เป็นมืออาชีพจริงๆมาท�ำงานกับเรา แล้วเราก็ ป้อนเด็กทีม่ ฝี มี อื ทัง้ ทีเ่ พิง่ จบหรือทีก่ ำ� ลังศึกษาอยู่ เข้าไปเป็นทีมงานและมีการให้เบีย้ เลีย้ ง ผมจึงคัด เด็กทีม่ ฝี มี อื ตัง้ เป็น dream team ของภาคเข้าไป ช่วยในส่วนนี้ เพราะว่ารายการทีเ่ ราผลิต ก็ไม่ได้ ผลิตเฉพาะรายการของนักศึกษานะ เราผลิตคอน เทนต์อนื่ ด้วย แล้วทีนเี่ ราก็ตอ้ งสร้างแรงจูงใจเพือ่ ให้นักศึกษาเค้าอยากเข้ามาท�ำงานกับเรา เช่น บางวิชาก็ให้เอางานทีต่ อ้ งส่ง BU channel มาเป็น คะแนนส่วนหนึง่ ของรายวิชาได้ เพราะเมือ่ เค้ามา ท�ำงานตรงนี้แล้วเค้าไม่เหนื่อยเกินไป สามารถ บริหารทัง้ การเรียนและการท�ำงานที่ BU channel ได้ และยังได้เบีย้ เลีย้ งจากการท�ำงานไปเป็นรายได้ เสริมในระหว่างเรียนด้วย ซึง่ ถือเป็นการสร้างแรง จูงใจอีกทางหนึง่ นอกจากนีเ้ ราก็สร้างช่องทางบน youtube ด้วย โดยเลือกรายการทีไ่ ม่มปี ญ ั หาทาง ด้านลิขสิทธิเ์ ราก็จะเอาลง youtube อย่างมีอเี มล ส่งมาจากต่างจากจังหวัดว่าเค้าชอบรายการของ เรา ท�ำให้เรามีกำ� ลังในการท�ำงานต่อไป ก็ถอื ว่า ได้ดที เี ดียวส�ำหรับตรงนี้ ที่จริงก็น่าจะไปได้ดีนะครับ เพราะเมื่อมี 48 ช่องที่เพิ่มมา แล้วเด็กเหล่านี้พอเค้ากลับไป ภูมลิ ำ� เนาเค้าก็จะสามารถท�ำอะไรได้เยอะ ใช่ แต่ผมมองว่าอีกนานเพราะ กสทช. เค้าก็บอก เอา 24 ช่องให้มนั นิง่ เสียก่อน แล้วอีกทีเหลือล่ะจะ
ท�ำอย่างไร ผมมองว่าคนทีต่ นื่ เต้นเรือ่ งทีวดี จิ ติ อล ในเมืองไทยตอนนีม้ ไี ม่กกี่ ลุม่ ทัง้ กลุม่ นักวิชาการ กลุม่ ผูผ้ ลิต แต่กลุม่ ประชาชนเค้ามีความรูส้ กึ เฉยๆ เพราะว่าจริงๆแล้วการเปลี่ยนผ่านเทคโนโลยีใน เมืองไทยก็มแี ค่ 2 ครัง้ คือจากขาว-ด�ำมาเป็นสี และสีแบบแอนาล็อกก็มาเป็นสีแบบดิจิตอล ซึ่ง ก่อนการหน้านั้นก็มีการปล่อยทีวีดาวเทียมไป เยอะ เราก็รวู้ า่ DVB-S หรือ DVB Satellite ก็เป็น ทีวีดิจิตอลในรูปแบบหนึ่ง แถมยังมีเป็นร้อยๆ ช่อง มีเงินพันกว่าบาทก็ตดิ ได้ ฉะนัน้ บ้านตามต่าง จังหวัดนีเ่ ค้ามีดาวเทียมติดหมดแล้ว ทีนหี่ ลักสูตรทีเ่ ราคิดมานีม่ นั ต้องมีการอนุมตั ิ จากหน่วยงานรัฐไหมครับ จริงๆ แล้วในการเสนอหลักสูตรมีกระบวนการ พิจารณาเป็นขั้นตอนอยู่แล้ว ก่อนที่เราจะส่งไป ยังส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เบื้องต้นคณะวิชาต้องได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการขับเคลื่อนกลยุทธ์องค์กรและการ
31 June, 2557
ตลาดให้สอดคล้องกับทิศทางของมหาวิทยาลัย หลังจากนั้น คณะฯ หรือภาควิชาฯก็จะด�ำเนิน การตามกระบวนการจัดการเรื่องหลักสูตรตาม เกณฑ์มาตรฐาน สกอ. โดยมีการประชุมกรรมการ วิ พ ากษ์ แ ละน� ำ หลั ก สู ต รเสนอที่ ป รึ ก ษาคณะ กรรมการวิพากษ์หลักสูตรเพื่อน�ำเสนอต่อคณะ กรรมการวิชาการและสภามหาวิทยาลัย อาจารย์พรี ยา (ต่อ) เด็กที่น่ีก่อนที่จะจบเค้าก็จะเลือกว่าตัวเอง สนใจจะเรียนภาควิชาอะไรต่อใช่ไหมครับ หลักสูตรของเรามี 2 ภาควิชาให้เลือกตั้งแต่ปี 1 คือภาควิชาภาพยนตร์กับภาควิชาศิลปะการ แสดง ส่วน 5 ภาควิชาทีเ่ หลือเลือกตอนปี 2 คะ ภาควิชาอะไรเป็นพระเอกสุด ตอนนีต้ อ้ งบอกว่าเป็นภาควิชาภาพยนตร์ ภาค วิชาวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ และภาค วิชาการโฆษณา แต่ถ้าถามว่าอุตสาหกรรม ณ ขณะนีแ้ ละในอนาคตข้างหน้าอีก 5 ปี วิทยุกระจาย เสียงและวิทยุโทรทัศน์จะเป็นอุตสาหกรรมที่ ต้องการบุคลากรเยอะมาก องค์กรภาคธุรกิจโดย เฉพาะผู้ประกอบการทีวีดิจิตอลเดินถามเราว่า “อาจารย์ผลิตเด็กได้กคี่ นต่อปี” เราก็บอกว่า “โดย ประมาณ 800 คน” เค้าก็บอก “อาจารย์ตอ้ งดับเบิล้ แล้วล่ะ” แล้วจ�ำนวน 1,600 แค่ broadcasting อย่างเดียวถือว่าเยอะนะ ความ ท้าทายก็คือเรามีกระบวนการควบคุมคุณภาพ ควบคูไ่ ปตลอด เราก็มานัง่ คิดกันนะคะว่า creative teaching ทีเ่ ราจะเน้นคือ thinking เพือ่ ให้เด็กเค้า รูจ้ กั ปรับตัวเองแล้วก็ทศั นคติทเี่ ป็นเชิงบวกและก็ เข้าใจความต่าง ซึง่ เป็นเรือ่ งส�ำคัญ เราก็ตอ้ งมาคุย กันว่าคอนเซปต์ creative teaching ของ ม.กรุงเทพจะเป็นแบบไหน แล้วเราต้องสอนเด็ก 32 June, 2557
อย่างไร และตอนนี้เราสอนโดยการรับโปรเจค จริงมา แล้วให้เด็กท�ำแต่ไม่ใช่แค่ 1 วิชานะคะ คือ ต้องเชือ่ มต่อหลายวิชาเพือ่ ลดปริมาณงานแต่เพิม่ คุณภาพให้มากขึน้ ผมว่าสุดท้ายนิเทศฯ และการตลาดต้องควบคู่ กันไม่อย่างนัน้ ท�ำมาแล้วก็อาจขายไม่ได้ ใช่ เพราะเมือ่ มีความฝันแล้วก็ตอ้ งท�ำขายฝันให้ได้ ด้วย ฉะนัน้ การจะผลิตเด็กให้มคี ณ ุ ภาพได้อาจารย์ ว่า process ของการสอนและเรียนรู้ร่วมกันทั้ง วิชาการกับวิชาชีพเป็นสิ่งส�ำคัญ ตัวอย่างเช่น อาจารย์กลุ เชษฐ์มี smart classroom ซึง่ นีก่ เ็ ป็น creative teaching อันหนึง่ ทีท่ ำ� อยู่ อาจารย์กลุ เชษฐ์ (ต่อ) smart classroom เป็นวิธกี ารสอนรูปแบบใหม่นะ ครับ คือจริงๆ เป็นนโยบายมาจากทางผูบ้ ริหารว่า ให้มวี ธิ กี ารเรียนการสอนทีส่ ร้างสรรค์ แล้ว creative teaching คืออะไร ซึง่ สิง่ ทีท่ ำ� ให้เห็นภาพชัดทีส่ ดุ ก็คอื การเอาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยประกอบกับการ เรียนการสอน เราก็เลยสร้างห้องเรียนนีข้ นึ้ มาโดย ภายในห้องนีก้ จ็ ะมี smart TV ซึง่ เป็น interactive TV แล้วก็มี iPad อยู่ 20 ตัว ส่วนรูปแบบห้องก็ไม่ ได้จดั แบบตายตัว เก้าอีห้ รืออะไรต่างๆสามารถจะ เคลื่อนย้ายได้ เราสามารถจัดเก้าอี้ได้ตามหัวข้อ การเรียนของเรา และในการเรียนการสอนก็มกี าร ใช้ e-learning เข้ามาช่วยเพราะเราไม่ได้เน้นการ เรียนการสอนแบบใช้การบรรยายเพียงอย่างเดียว อย่างอันไหนที่ผมคิดว่ามันยากก็จะบรรยายเอง เหมือนเดิม ส่วนอันไหนทีไ่ ม่ยากมากนักเราก็จะดึง ออกมาท�ำเป็นกิจกรรมบ้าง ส่วนอืน่ ๆเด็กจะต้องไป เรียน e-learning ภายหลัง หรือว่าอาจจะมี guest speaker หรือบางอย่างก็อาจจะเป็น workshop ที่ เราท�ำกันภายในห้อง เช่น ผมสอนเรือ่ งการตัดต่อ
ซึง่ สมัยก่อนวิชานีก้ จ็ ะมีทงั้ lab และก็ lecture ส่วน ของ lecture เราก็สอนทฤษฎีเรือ่ งการตัดต่อและมี งานในส่วนของ lab ควบคูไ่ ป แต่พอเป็นการเรียน รูร้ ปู แบบใหม่ ผมก็สอนหลักสัน้ ๆให้แล้วก็ให้ไปดู ผ่าน e-learning และเราก็ลองดึงกิจกรรมบางตัว เช่น เราให้เด็กแบ่งกลุม่ กันไปท�ำโดยให้คลิปไป 1 คลิปแล้วก็ให้เค้าลองท�ำออกมาเป็นคนละอารมณ์ ด้วยคลิปตัวเดียวกันนี้ผ่านพวกโปรแกรมง่ายๆ โดยมีธมี งานอย่างตัดแบบ action ซึง่ ก็จะเป็นแบบ หนึ่ง ตัดแบบหนังรักก็จะเป็นอีกแบบหนึ่ง เมื่อ เอามาเปิดฉายเราก็ได้สอนเค้าไปด้วย อย่างภาพ อย่างนี้ไม่ควรเอามาใช้นะ ภาพแบบนี้เข้ากันได้ หรือเข้ากันไม่ได้ ท�ำให้เด็กเค้าก็จะมีความเข้าใจ มากขึน้ และพอกลับไปนัง่ ดู e-learning อีกมันก็ จะช่วยเติมเต็มความรู้ ไม่ตอ้ งมานัง่ lecture แบบ เดิม หรืออย่างเราสอนเรือ่ ง Mixer เราก็คยุ กับทาง Yamaha เค้าก็ยก Mixer มาให้เราได้ทำ� workshop กัน หรือว่าบางทีเราก็ให้เด็กหาข้อมูลซึง่ เค้าก็จะหา ข้อมูลผ่าน iPad ตามโจทย์ทเี่ ราตัง้ เอาไว้ แล้วเด็กก็ สามารถพรีเซนต์งานตัวเองผ่าน iPad ซึง่ ก็เป็นการ ใช้เทคโนโลยีเข้ามาผสมผสานให้กระบวนการเรียน การสอนน่าสนใจมากขึน้ ตอนนีม้ อี กี โปรเจคหนึง่ ทีเ่ ราท�ำด้วยมุมมองทีว่ า่ พอ เทคโนโลยีเข้ามา ด้วยความเป็นนิเทศฯเราก็ปฏิเสธ เทคโนโลยีไม่ได้ ตอนนีค้ ยุ กับทางวิศวกรรมศาสตร์ ว่าจะท�ำหลักสูตร broadcasting engineering ซึง่ เป็นหลักสูตรทีค่ อ่ นข้างตอบโจทย์กบั ความต้องการ ของตลาด อย่างถ้าพูดถึงสถานีโทรทัศน์ดจิ ติ อลคน ทีร่ เู้ ครือ่ งมือและท�ำงานร่วมกับคนทีท่ ำ� คอนเทนต์ ได้ดว้ ยนีห่ ายาก
อาจารย์คดิ เห็นอย่างไรเกีย่ วกับทีวดี จิ ติ อล 48 ช่อง อย่างที่เราดูวิวัฒนาการของทีวิดิจตอลในต่าง ประเทศเป็นบทเรียน เราจะเห็นว่าเรื่องทีวี ดิจิตอลเป็นเรื่องที่ต้องใช้เวลา การสร้างความ เข้าใจ การก�ำหนดกฎเกณฑ์และกติกาทีช่ ดั เจน จะช่วยท�ำให้ทกุ อย่างด�ำเนินการได้งา่ ยขึน้ แต่ ณ ปัจจุบนั ประเด็นเรือ่ งความไม่ชดั เจนของกฎ กติกา รวมทั้งความไม่นิ่งของข้อมูลและความ เข้าใจของผู้บริโภคต่อข้อมูลต่างๆเกี่ยวกับทีวี ดิจิตอลก็ยังเป็นปัญหาที่ผู้รับผิดชอบต้องร่วม มือกัน อย่างที่อาจารย์ได้ติดตามผลงานของ พ.อ.นที ศุกลรัตน์ รองประธานคณะกรรมการ กิ จ การกระจายเสี ย ง กิ จ การโทรทั ศ น์ และ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ กสทช. และ ประธานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและ กิจการโทรทัศน์ หรือ กสท. เราเล็งเห็นว่าท่าน เป็นคนทีม่ วี สิ ยั ทัศน์และมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเตรียม ความพร้อมของภาครัฐในการรับมือกับความ เปลีย่ นแปลงทีจ่ ะเกิดขึน้ แต่อปุ สรรคและปัจจัย ต่างๆ ที่เราเห็นอาจจะต้องใช้เวลา ซึ่งภายใน ระยะเวลา 2 ปีต่อจากนี้ คือบทพิสูจน์ปรากฎ การณ์ทีวีดิจิตอลเป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ ข้อดี คือการเข้ามาของทีวดี จิ ติ อลอาจจะเป็นการเปิด ตลาดให้มกี ารสูก้ นั อย่างตรงไปตรงมา การสร้าง โอกาสในการแข่งขันทีเ่ ท่าเทียมกันเพือ่ การก้าว ย่างสู่ผลประโยชน์ของสาธารณะอย่างแท้จริง หากการต่อสูด้ งั กล่าวอยูบ่ นความเป็นธรรมและ ความโปร่งใสตรวจสอบได้อย่างทีค่ วรจะเป็น คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ 9/1 หมู่ที่ 5 ถนนพหลโยธิน จังหวัดปทุมธานี 12120 โทร (662) 902-0299 แฟกซ์ (662) 516-6118 www.bu.ac.th 33 June, 2557
นในเฟสบุ็คและตอน นค แส 0 00 0, 34 ว รา าย กม Club มา าวน้อย น่ารักอีกคนที่มี Fan เราจากบุรีรัมย์คุณพ่อ หา มา าย งม อ น้ บ ย ี ะเบ มร ตา ไปอีกคน นี้ทีมงานเราก็เป็น FC น้องมาย านให้เราเห็นมากมายเช่น ลง ผ มี าย งม อ ้ น ย์ ต ทิ อา ก ทุ ม ขับรถมาส่งมาทำ�งานที่ กท ปี -พรีเซนเตอร์ Pretty Doll1 rider Ch5 -เป็นแขกรับเชิญรายการ pink ate (youtube) -แขกรับเชิญรายการ roomm ธวัชและพี่ๆเน็ตไอดอล ธ ์ ร อิ เ ่ ี พ บ ั มก ว ร่ s rie se e th -แสดงซีรี่ย์ Gigle out ม.ย 57 -ถ่ายนิตยสาร Candy เดือนเ ช่อง true 69,79 y or st rl gi ry Ve าร ยก รา ันด้วยนะ..แล้วจะรู้ว่า -แขกรับเชิญ มก ตา ด ติ ไป า ้ เข าก ฝ ง อ ช่ าง .ท องAIS -แขกรับเชิญรายการคนละทางข ี” ที่เราภูมิใจอีกคน... วด แว ่ หม งใ อ ้ “น ะ หล แ ้ นี ละ ..แ าดนี้.... ทำ�ไมถึงน่ารักมี FC มากมายขน
ส
แนะนำ�ตัวหน่อยค่ะ สวัสดีค่ะ มาย ธนภรณ์ รัตนศศิวิมล ค่ะ หรือที่เพื่อนๆคุ้นเคย “มายฮาเร็ม” นั่นเอง ^0^ ผลงานที่ภูมิใจ ได้เป็นพรีเซนเตอร์คอนแทคเลนส์ของ pretty doll ค่ะ รู้จักดิจิตอลทีวีไหม ได้ยนิ มาบ้างค่ะจากกระแสข่าวโทรทัศน์ บ้าง อินเตอร์เน็ตบ้างค่ะ อยากให้มีรายการแบบไหน รายการ reality ค่ะสนุกดี>< ความฝันในวงการบันเทิง เป็นนักแสดงที่รักของทุกๆคนค่ะ ถ้าไม่ได้ทำ�งานในวงการ ก็จะหาธุรกิจส่วนตัวทำ�ค่ะ ใครเป็นไอดอล พี่อั้ม พัชราภา กับพี่มาริโอ้ค่ะ เพราะ 34 June, 2557
พีๆ่ วางตัวในวงการดี มีบคุ ลิกดีและเป็น ที่รักของหลายๆคนค่ะ ผู้ชายในอุดมคติ ต้องรักและเข้าใจเรา ไม่ทำ�ให้เราเสีย หายค่ะ ถ้าหน้าตาคงต้องลูกครึ่ง ฮ่าๆ แต่เป็นคนดีสำ�คัญสุดเเล้วค่ะ ติดตามน้องมายได้ทางไหนบ้าง ฝากติดตาม www.Facebook.Com/haremmine , instagram @haremmine , socialcam: harem mine ค่ะ ส่วนผลงานตอนนี้ยังไม่มีอะไรมากค่ะ ช่วงนี้เปิดเทอมมายไม่ค่อยได้รับงาน อยากเรียนต่อที่ไหน เรี ย นต่ อ ที่ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย คณะนิเทศศาสตร์ค่ะ อยากบอกอะไรถึงพ่อแม่ หนูจะทำ�ให้ปา๊ กับคุณแม่มคี วามสุขมาก ที่สุดค่ะ รอดูอนาคตของหนูนะค่ะ
35 June, 2557
ึง FC มากๆ จ ี ใ ด ย า ม ม า บอกอะไรถ ะทตี่ ดิ ต ค ะ น ย ล เ ๆ ักครั้ง ก ส า น ั ก ุ ม า ้ น ห ม ขอบคณ บบพร้อ แ น ั ก บ พ ะ จ า ่ ค่ะ หวังว ัยรุ่น ว ง อ ข ก ั ร ,เลอื ก ม อ า ม ส เ จ ใ ี ย ส นิยามคว เ มความ ้ อ ร พ า ม ั ก ม ็ ว ร รกั ทรี่ วดเ นตาย จ ป ไ จ ใ ย ี ส เ คู่ผิดคิด 36 June, 2557
FC เยอะมากไหม ถ้าเอาจำ�นวนตาม 340,000 กว่าๆค่ะ มีโอกาสเจอ FC เจอกับมายได้ทาง เจอ บ่ อ ยๆ คง เป็ น
ม มในเฟสก็จะประมาณ ะ ไหม งเฟสบุ๊คค่ะ แต่ถ้ามีโอกาส นที่ สย าม พา รา กอ น ค่ ะ ที่
ประจำ�เลยละ ตอ นนี้มีกิจกรรมแจก รูป พ ร้ อ ม ล า ย เ ซ ็ น ใ น แ ฟ น เ พ จ ค่ ะ w w w. facebook.com/h aremmine.fc.off icialfanpage
37 June, 2557
็ม ล เ า ฮ ย า ม
FAN CLUB
38 June, 2557
Model: มาย ฮาเร็ม Place: Buzzaba Studio Photographer: O.P. Story: Anuchai
39 June, 2557
ดรี ม ชาลิสา นวลแก้ว
นิสิตพยาบาลจากลำ�ปางเจ๊า
สาวเหนืออีกคนที่เฉี่ยวมาที่สตูดิโอของเราบ่อยๆ รู้จักน้องดรีมมา นานในฐานะพริตตี้ปกติๆ แต่ถูกชะตาเหมือนว่าแววนางแบบฉายมาเข้า ตา เลยจับมาขึ้นปกโดยไม่ลังเล พอถ่ายเสร็จก็รู้ทันทีว่าไม่ผิดจริงๆ น้องดรีมทำ�งานด้วยง่าย ถึงไม่ใช่มอื อาชีพ แต่กไ็ ม่มอี ะไีทตี่ อ้ งเหนือ่ ย แบบมือสมัครเล่นเลย ถ่ายวันนั้นแล้วยังได้มีโอกาสถ่ายงานกันอยู่ เรื่อยๆสิ่งที่เห็นได้ชัดขึ้นคือภาพที่สวยขึ้น figure ที่ดีขึ้นตามลำ�ดับ อีกไม่นานคงจะต้องจับมาลงปกกันอีกสักครัง้ คนวงการดิจติ อลทีวี คงไม่วา่ กันนะ...ก็นอ้ งเขาสวยและเก่งขนาดนี.้ .....ฝากติดตามผลงานและ เรียกใช้น้องดรีมได้ที่ https://www.facebook.com/sweet.oec
40 June, 2557
41 June, 2557
42 June, 2557
43 June, 2557
44 June, 2557
45 June, 2557
“ดรีมชอบดูรา เที่ยวดูแล้วอยา อย่างรายการพ แบบนี้ค 46 June, 2557
ายการท่อง ากไปเที่ยวค่ะ พี่ติ๊ก อะไร ค่ะ” 47 June, 2557
แนะนำ�ตัวกันก่อน
ตอนนี้ดรีมก็มาอยู่ที่กรุงเทพค่ะ มารับงานเป็น พริตตี้ พิธีกร เอ็มซี ค่ะ ระหว่างที่รอที่จะไปสมัครงานเป็นพยาบาลนะค่ะ
อยูแ่ ล้ว ดรีมชอบสัมภาษณ์ดารา สัมภาษณ์ชาวบ้าน อย่างเวลาเจอ เพือ่ นก็จะชอบถามเพือ่ น เช่น วันนีท้ �ำ อะไร ไปไหนมา ไปกับใครมา แบ บนี่น่ะค่ะคือจะชอบถาม ชอบอยากรู้เหมือนเป็น gossip girl น่ะค่ะ อีกอย่างคือชอบการแสดง แต่คุณแม่เค้าไม่ค่อยชอบเพราะไม่อยาก ให้ผชู้ ายมาแตะเนือ้ ต้องตัว คือเราเป็นผูห้ ญิงต้องรักนวลสงวนตัว อะไรแบบนี้ค่ะ ก็ไม่เป็นไรไม่ทำ�ก็ได้ อย่างน้อยก็เป็นพิธีกรบ้าง แสดง เอ็มวีบ้าง อะไรแบบนี้ก็โอเคค่ะ
งานพริตตี้เป็นอย่างไรบ้าง
เคยคิดอยากศัลยกรรมไหม
ชื่อดรีม ชาลิสา นวลแก้ว ค่ะ อายุ 24 ปี จบจากมหาวิทยาลัยแม่ฟ้า หลวง สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์
แล้วไม่ทำ�งานพยาบาลเหรอคะ
งานที่ทำ�ตอนนี้นะคะ บอกได้เลยว่ามีความสุขมากค่ะ ชอบค่ะ เพราะได้ เป็นตัวของตัวเอง ได้เจอคนเยอะแยะมากมาย
ในวันหนึ่งทำ�อะไรบ้าง
ชีวิตประจำ�วันดรีมชอบไปช้อปปิ้งกับเพื่อนค่ะ ดรีมชอบนัดเพื่อนๆ สาวๆมารวมตัวกัน แล้วก็พากันไปช้อปปิ้ง ซื้อเสื้อผ้าสวยๆ เวลาที่ผู้ หญิงได้ซื้อเสื้อผ้าก็จะรู้สึกว่าชีวิตนี้มีความสุขมาก
อยากทำ�อะไรอีกคะ
ดรีมอยากทำ�งานที่เกี่ยวกับวงการบันเทิง เช่น พิธีกร เพราะดรีมถนัด 48 June, 2557
มีคนบอกว่าไม่ศัลยกรรมก็สวยแล้ว (หัวเราะ)
ไม่ชอบอะไรในตัวเรา
ไม่ชอบหน้าผากกับจมูกค่ะ จมูกเวลายิม้ แล้วมันใหญ่ แล้วก็หน้าผากนี่ “ถ้าเป็นภาษาเหนือก็จะบอกว่า หน้าผากเปิบ” คือหน้าผากแบน เวลา ถ่ายรูปมารู้สึกว่าหน้าบานๆ
เหมือนเป็นคนอารมณ์ดี
ดรีม หัวเราะทุกอย่างค่ะ เพราะเป็นคนอารมณ์ดี เห็นอะไรก็หัวเราะได้
หัวเราะได้ตลอด เรื่องที่คนอื่นเค้าไม่หัวเราะ ดรีมก็หัวเราะคือ เป็นคนตลกอยู่แล้ว อย่างเวลาขับรถไปได้ยินเพลงแล้วคิดว่า เพลงมันตลก ก็หัวเราะมาเฉยเลย
แล้วเศร้าที่สุดล่ะ
เศร้าที่สุดหรอค่ะ เวลาทะเลาะกับคุณแม่ สะเทือนใจที่สุดเวลา ทำ�ให้คุณพ่อ-คุณแม่เสียใจ แล้วก็เป็นคนปากไว
คิดอย่างไรกับรายการที่ให้ผู้หญิงมายืนให้ผู้ชายเลือก
ดรีมคิดว่าผูช้ ายเค้าไม่ได้เลือกผูห้ ญิงนะ ผูห้ ญิงต่างหากเลือก ผู้ชายเพราะเค้ามีอยู่คนเดียว แต่หลายๆคนเนี่ยเค้าดูคุณอยู่ แล้วเค้ามีสิทธิเลือกว่าจะไม่รับคุณอะไรแบบนี่คะ ดรีมคิดว่า เป็นผู้หญิงมากกว่าที่เลือก คือหลายๆคนจะคิดว่า ไม่ชอบ เป็นตัวเลือก แต่ถ้าผู้หญิงไปยืน ณ จุดๆนั้นแล้ว ดรีมคิด ว่าผูห้ ญิงคิดว่าตัวเองมีสทิ ธิเ์ ลือกมากกว่า ทำ�ไมต้องให้ผชู้ าย มาเลือกผู้หญิงด้วยล่ะ ผู้หญิงเก่งจะตาย อยู่คนเดียวก็ได้ ทำ�ไมต้องไปให้คนอื่นล่ะ
ชอบดูรายการทีวีอะไร
ดรีมชอบดูรายการท่องเที่ยวดูแล้วอยากไปเที่ยวค่ะ อย่างรายการพี่ติ๊ก อะไรแบบนี้ค่ะ
พิธีกรที่ชอบ
ชอบพี่กาละแมคะ พี่เค้าพูดเก่งค่ะ
ศิลปินที่ชอบ
ชอบพี่แอ๊ดคาราบาวค่ะ
ไม่ชอบผู้ชายแบบไหน
ไม่ชอบผู้ชายขี้อวด ขี้โม้ ไม่ชอบมากๆเลยค่ะ
ใช้อินเตอร์เน็ตไหม
ใช้ตลอดเวลาค่ะ เฟสบุคบ้าง ทำ�งานนิดหน่อย ส่วนใหญ่จะไป เสาะ IG คนอื่น (หัวเราะ)
มีกิจกรรมอะไรตอนเรียน
อยู่มหาวิทยาลัยก็จะรำ� อยู่อย่างนั้นละค่ะ 4-5 ปี อยู่กับศิลปะวัฒนธรรมไทย
ช่วงนี้มีผลงานอะไรบ้าง
นี่เลยมาถ่ายปก Digitaltv Magazine.com ตื่นเต้นมาก
รู้จัก กสทช.ไหม
กสทช. คืออะไรอ่ะ ใบ้หน่อยซี่ (หัวเราะ)
รู้จักทีวีดิจิตอลรึเปล่า
ทีวดี จิ ติ อลหรอคะ เคยดูในอินเตอร์เน็ตมัง้ แต่ทเี่ คยดูโฆษณา ที่ผ่านหูมาก็ มันก็เป็นอะไรที่ชัดกว่าแบบธรรมดา
คิดอย่างไรกับ AEC
AEC เหรอคะ อย่างที่ดรีมเคยดูนายกฯเค้าพูดว่า “เราจะมี สิทธิในการต่อรอง การค้าระหว่างประเทศ” ก็คือว่าทำ�ให้ภาษี น้อยลง ทำ�ให้ของแบรนด์เนมราคาลดลง แต่เราก็ซอื้ ไม่ได้เพราะ เราเป็นคนจน แล้ว AEC มันคือไรคะพี่?
ชอบหรืออยากติชมรายการทีวีแบบไหน
ที่ชอบก็จะเป็นแบบเบาๆสมอง แล้วก็สารคดี อะไรแบบนี้ ดู แล้วรู้ว่ามีความรู้ ปกติก็ไม่ค่อยชอบหาความรู้(หัวเราะ)ที่ แบบมันไร้สาระก็แบบรายการอย่างพวกเอานมไปดูผไี รแบบนีไ้ ม่ 49 June, 2557
”
รายการอย่ า งพวกเอานมไปดู ผี ไรแบบนี้ ไ ม่ ค่ อ ยชอบเลยมั น จะ โชว์ อ ะไรนั ก หนาเห็ น แล้ ว ก็ อิ จ ฉา (หัวเราะ)เค้าเอาคนนมใหญ่ๆเข้าไปดู ผี เห็นผีรึเปล่าดรีมก็ไม่รู้ ถ้าดรีม เป็นผีดรีมก็ไม่ดูหรอก คนอะไรเอา นมมาก่อนหน้าเลย
”
ค่อยชอบเลยมันจะโชว์อะไรนักหนา เห็นแล้วก็อิจฉา(หัวเราะ) เค้าเอาคนนมใหญ่ๆ เข้าไปดูผี เห็นผีรึเปล่าดรีมก็ไม่รู้ ถ้าดรีมเป็นผีดรีมก็ไม่ดูหรอก คนอะไรเอานม มาก่อนหน้าเลย
ชอบอะไรในวงการบันเทิง
ดรีมชอบดาราสวยๆหล่อๆ และถ้าเค้าเป็นแฟนกันก็บอกไปซิ ปิดทำ�ไมอ่ะหลอก ดรีมทำ�ไมอ่ะ
อยากฝากผลงานอะไรบ้าง
อย่าลืมนะค่ะ เจอกันได้ที่ Digitaltv Magazine นะค่ะ Model: Dream Place: Buzzaba Studio Photographer: O.P. Stylist: Ammy (Manthana Supaporn) Cloth: Pherus
50 June, 2557
51 June, 2557
ookbe
52 June, 2557
ee AD
53 June, 2557
Model: เบนเทน Place: Buzzaba Studio Photographer: O.P. Story: Anuchai
เบนเทน
ชีวิตที่เรียบง่าย ถึงเวลาก็ทำ�งาน ถึงเวลาก็ประกวดไม่ได้คาดหวังอะไร มากค่ะ..แค่ทำ�ในสิ่งที่ถูก และเป็นงาน แนะน�ำตัวหน่อย ชื่อเบญค่ะเพื่อนๆจะชอบเรียกว่าเบนเท็น ค่ะเป็นคนล�ำปางแต่หลายคนชอบคิดว่า เป็นลูกครึ่งเป็นฝรั่งแต่จริงๆแล้วไม่ใช่จ๊ะ เป็ น คนเหนื อ คนล� ำ ปางเจ๊ า ตอนนี้ เ รี ย น ปริญญาโทอยูท่ มี่ หาวิทยาลัยเชียงใหม่ แล้ว ก็มาท�ำงานที่กรุงเทพ วันจันทร์-ศุกร์ ส่วน วันเสาร์-อาทิตย์ก็กลับไปเรียนค่ะ ท�ำงานแรกได้อย่างไร งานอะไร ตอนแรกก็ยังไม่ได้เป็นพริตตี้หรอกคะ ก็ ประกวดนางงามแล้วพี่เลี้ยงพาไปเห็นเรา เป็นนางงาม น่าตาโอเค หุ่นก็พอใช้ได้ ก็ เลยชักชวนไปท�ำ ส�ำหรับงานแรกของเบญ นะคะ เป็ น งานประกวด ก็ มี ค นชวนไป ประกวดก็เลยได้เริ่มเข้าวงการ เวทีแรกที่ ประกวดก็เป็นเวทีนางสาวสงกรานต์ลำ� ปาง ตั้งแต่ตอนอายุ 16 แล้วคะ
54 June, 2557
สวยไม่เกรงใจ
ชื่นชอบใครในวงการพริตตี้บ้าง ไม่ได้ชนื่ ชอบใครเป็นพิเศษ ก็ไม่ได้รจู้ กั ใคร เป็นการส่วนตัว เพราะเพิ่งเริ่มท�ำได้ไม่ นานน่ะค่ะ อยากท�ำอะไรหลังจากเรียนจบ เรียนจบมาก็อยากเข้าวงการบันเทิง อยาก ออกสื่อ อยากเป็นนางเอก พิธีกร หรือว่า จะเป็นนักข่าวก็ได้ค่ะ อยากเป็นนางแบบ ด้วยค่ะ คิดว่าอะไรท�ำให้เรามีงานพริตตีต้ ลอด หรือท�ำให้เราเป็นที่รู้จัก ก็คงเป็นเพราะว่าเบญเป็นคนทีส่ นุกสนาน ร่าเริงแล้วก็ขยันขันแข็งอีกด้วย ชอบอะไรที่สุดในวงการนี้ ส�ำหรับวงการนี้ที่ชอบก็คือรายได้ดี ฮะๆ ไม่ชอบอะไรที่สุดในวงการนี้ ที่ ไ ม่ ช อบก็ คื อ พวกมิ จ ฉาชี พ ที่ ช อบมา หลอกให้ไปท�ำงานไม่ดี ไปถ่ายหนังโป๊อะไร พวกนี้ อยากให้วงการนีพ้ ฒ ั นาไปในทิศทางใด อยากให้มอี ะไรมาคุม้ ครองไม่ให้มมี จิ ฉาชีพ มาหลอกเราได้ ให้มีความมั่นคงขึ้นแล้วก็ อยากให้มีหน่วยงานอะไรก็ได้ให้มาช่วย ดูแลเรือ่ งอัตราการจ้างงานให้เราไม่ถกู นาย หน้าเอาเปรียบด้วยคะ อยากฝากอะไรถึงคนจ้างเราบ้าง ก็อยากให้มีงานมาเรื่อยๆ มีงานเพิ่มขึ้น แล้วก็อยากให้ค่าจ้างเพิ่มขึ้นอีกนิดก็ยังดี ค่ะ
“อยากเป็นนางเอก พิธีกรหรือว่าจะเป็นนัก ข่าวก็ได้ค่ะ” 55 June, 2557
ภูมิใจอะไรที่สุดจากการท�ำงานพริตตี้ ภู มิ ใ จที่ มี ค นมาติ ด ตามเราเยอะมี ค น ชื่นชมในตัวเรา ติดตามผลงานเรา มา กดไลค์เยอะ มา comment เยอะอะไร อย่างนี้คะ ชอบผู้ชายแบบไหนที่สุด ถ้าเป็นแฟนนะคะ ต้องพูดน้อยๆไว้ก่อน แล้วก็ดูแลดีๆ แล้วถ้าเป็นคนท�ำงานด้วย กัน ก็ตอ้ งแบบดูแลเราดีๆไว้กอ่ นเพราะว่า เราเป็นผู้หญิงนะก็อยากให้ผู้ชายดูแลเรา ดีไว้ก่อน
เกลียดผู้ชายแบบไหนมากที่สุด ไม่ชอบผูช้ ายพูดมาก ขีโ้ ม้ ขีค้ ยุ อวดรวย อะไรแบบนีค้ ะ ไม่เอาค่ะ ไม่ชอบ ใช้อินเตอร์เน็ตมากแค่ไหนใน1วัน ใช้อนิ เตอร์เน็ตแชทกับเพือ่ นโดยเฉพาะกลุม่ พริตตีน้ ะคะ แชทกันทุกวันพริตตี้แชทเก่งมากก็เลยใช้บ่อยมากค่ะ ประมาณ 5 ชั่วโมง//วัน รู้จัก กสทช. รึเปล่า รู้จักสิ ก็เป็นคนจัดสรร 3G ไง (หัวเราะ) บ้านเค้ามี 4G บ้านเรายังไม่มีซักที 3G ก็ช้ากว่าเพื่อน 4G ก็ยังไม่มา ก็เพราะใครล่ะ ก็เพราะ กสทช. อะไรเนี๊ยแหละ รู้จัก Digital TV ไหม หนูรู้แค่ว่าทุกวันนี้มันเป็นอนาล็อกแล้วก�ำลังจะเปลี่ยน เป็นดิจิตอล Social network มีประโยชน์อะไรบ้าง social network ดีตรงทีเ่ ราสามารถติดต่อสือ่ สารหรือว่า ท�ำธุรกิจอะไรแบบนี้ง่ายขึ้น Social network มีโทษอะไรบ้าง ข้อเสียก็อย่างมิจฉาชีพเข้ามาถึงตัวเราง่ายขึน้ โดนหลอก กันเยอะเพราะ social network นี่แหละคะ ยังไงก็ฝากติดตามผลงานด้วยนะเป็นพริตตี้ทั่วไป ค่ะหรือมีประกวดก็เชียร์ด้วยนะคะ ปัญณ์วรัตน์ เลิศธวัฒน์ (เบนเทน) https://www.facebook.com/Nc.benten
57 June, 2557
กท
เรื่อง: บกบห.
สำ�นัก
( The
งานคณ
Natio n
กทค.
ะกรรม
al Te
lecom
สำ�นักงานคณะกรรมการก
( Office of National Teleco
การก
muni
catio n
ิจการ
s Com
โทรคม
missi
on of
นาคม
NBTC
. ส สียง เ ย ป า จ ะ ท ร ก ากิจการก
ััฒน พ ะ ารณะ ล ธ แ า ส ์ ย ั น จ ิ ช ว ย องทุน ื่อประโ ก ร พ เ า ม ก ค ม า ร น โทรคม คณะกร ร า ก จ ิ ก ะ ทัศน์แล ร ท โ ร า ก กิจ
(ส.ค.
สงคราม
สำ�หรับ ด
น์
ทัศ โทร
การ
กิจ งและ
ีย
เส ะจาย
กร
าร ก จ ิ รก
กา
รม ะกร
คณ
ก
. ท ส
)
สำ�นักงานกิจการกระจายเสียง กิจการโท
คำ� ย่อ...น่าจะเป็นคำ�ที่ใช้จำ�ได้ง่ายๆสำ�หรับการทำ�งานแต่ในความเป็นจริง คนไทย ปัจจุบันจำ�ได้แค่ กปปส. นปช. และสุดท้ายขอขอบคุณ คสช.ที่อย่างน้อย ก็ทำ�ให้เราน่าจะเห็นแสงสว่าง ณ ปลายอุโมงค์ บ้างไม่มากก็น้อย 58 June, 2557
กส
ทช.
กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
. ส ทป
์
ัศน ท ร ommunications Commission ) รโท า ก กิจ ารณะ ง ย ี เส น์สาธ ย า จ ระ ระโยช ก ร ิจกา เพื่อป ก า น คม า ฒ ั น พ ละ ทรคม แ ย ั ุนวิจ ิจการโ ท ง กอ และก
ก
ปคบ.
.ต.ย.)
ี่ยวกับ เก ด ิ ผ ม า ว ค ำ� ารกระท ก ม า ร ป บ า ร รป ่งชาติ ห แ จ ว ร ำ� ต น า กองบังคับกา สำ�นักง ค ภ โ ิ ร บ ้ ู ผ ง อ การคุ้มคร
มตัวย่อ
ดิจิตอลทีวี
สทช.
คณ
ะการ
ทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
การต
กตป
ิดตา
มแล
ะประ
.
เมินผ
ลกา
รปฏ
ิบัติง
าน
59 June, 2557