ตามรอยพระราชา (บ้านศาลาดิน)

Page 1

วันอังคารที่ ๒๓ ตุลาคม ๒๕๖๑

เยือนวัดของพ่อ เรียนรู้บ้านศาลาดิน คลองขุดแห่งศรัทธา กับศาสตร์พระราชา เพื่อความยั่งยืน ธรรมดี ทวัร์

Dhamdee Tour

ธรรมดี ทวัร์


เยือนวัดของพ่อ เรียนรู้บ้านศาลาดิน คลองขุดแห่งศรัทธา กับศาสตร์พระราชา เพื่อความยั่งยืน ทิ พ ยประกั น ภั ย ร่ ว มกั บ มูลนิธิธรรมดี และธรรมดีทัวร์ ร่วม

เดินทางไปยังหนึ่งใน ๙ เส้นทาง ๘๑ แหล่งเรียนรู้มีชีวิต ตามรอย ศาสตร์พระราชาผู้ยิ่งใหญ่ ร่วมกับ โครงการปลูกต้นกล้ายาตราพุทธภูมิ ในการน�ำกุลบุตรที่ผ่านการบวชเณร ของโครงการ ณ พุทธคยา ประเทศ และสืบสานพระราชปณิธานสถาบัน อินเดีย จ�ำนวน ๓๐ คน มาต่อ พระมหากษัตริย์ พร้อมด้วยคณะ ยอดในการสืบสานพระพุทธศาสนา สื่อมวลชน


ก�ำหนดการเดินทาง ๐๗.๐๐ น. พบกันที่อาคาร วิรตุ มวงศ์ ประธานกรรมการ บริษทั อัมรินทร์พลาซ่า (แยกราชประสงค์) บีบที วี ี นิวมีเดีย จ�ำกัด (๕ นาที) ๐๘.๓๐ น. เดินทางถึงจุด เรียนรู้ที่ ๑ วัดพระราม ๙ พร้อม รับประทานอาหารว่าง

• ดารานักแสดง (๕ นาที)

๐๘.๔๕ น. แสดงสัมโมท นี ย กถาน้ อ มร� ำ ลึ ก ถึ ง พระมหา กรุณาธิคุณ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ โดย พระอาจารย์ ภ า นุ วั ฒ น์ ๐๙.๓๐ น. เยี่ยมชม วัด จิตตทันโต พระวิทยากรวัดพระราม ๙ พระราม ๙ วัดพระราม ๙ กาญจนา กาญจนาภิเษก (๑๕ นาที) ภิเษก เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อ • โครงการ “ตามรอยพระราชา” ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๘ ตามแนว กล่าวโดย ดร.ดนัย จันทร์เจ้าฉาย พระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ ประธานมูลนิธิธรรมดี (๑๐ นาที) พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ • “ทิพยตามรอยพระราชา” ๑๐.๐๐ น. น� ำ คณะออก กล่าวโดย ดร.สมพร สืบถวิลกุล เดินทางไปยังบ้านศาลาดิน อ�ำเภอ กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ บริษทั ทิพย พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ประกันภัย จ�ำกัด (มหาชน) (๑๐ นาที) ๑๑.๐๐ น. รั บ ประทาน • “โครงการปลู ก ต้ น กล้ า อาหารกลางวัน ณ ร้านอาหารแซ่บนัว ยาตราพุทธภูม”ิ กล่าวโดย คุณศรัณย์ ครัวบ้านนา ศาลายา 3


ชาวไร่ ผ ่ า นการเยี่ ย มชมและสู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ บ นรถอี แ ต๋ น อี ก เอกลั ก ษณ์ ห นึ่ ง ของชาวสวนไทย พร้อมชมวิวทุ่งนาแบบ ๓๖๐ องศา ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ ได้ สั ม ผั ส ถึ ง กลิ่ น ไอ ๑๒.๔๕ น. ถึงจุดเรียนรูท้ ี่ ๒ ของทุ่งนาได้อย่างใกล้ชิดและยังได้ ชุมชนบ้านศาลาดิน พร้อมบริการ ลิ้มรสผลไม้สดจากสวนที่มีให้ทาน อย่างหลากหลายตลอดทั้งปี เครื่องดื่ม กิจกรรมท�ำข้าวตู (ป้าแจ๋ว) ๑๓.๐๐ น. รั บ ฟั ง การ บรรยายประวั ติ ค วามเป็ น มาของ ชุมชนบ้านศาลาดิน โดย คุณวันชัย สวัสดิ์แดง ประธานกลุ่มวิสาหกิจ กลุม่ ผูใ้ ช้นำ�้ บ้านศาลาดิน (๓๐ นาที) พร้อมเยี่ยมชมโครงการ และร่วมกิจกรรมต่างๆ ๑๔.๑๕ น. บ้ า นฟั ก ข้ า ว เยี่ ย มชมสวนฟั ก ข้ า วอั น ร่ ม รื่ น ริมคลองมหาสวัสดิ์และลิ้มลองชิม รสผลิตภัณฑ์จากฟักข้าว อาทิ น�้ำ ฟั ก ข้ า ว คุ ก กี้ ฟ ั ก ข้ า ว หมี่ ก รอบ ฟักข้าว ก๋วยเตีย๋ วฟักข้าวสูตรฟักข้าว กิจกรรม ชิมน�้ำฟักข้าว ๑๓.๓๐ น. สวนผลไม้และ ฟังแหล่จากป้า นาข้าว เรียนรู้วิถีชีวิตแบบชาวสวน 4


๑๔.๔๕ น. นาบัว พืน้ ทีป่ ลูก บัวสัตตบงกช สถานที่ที่ดอกบัวถูก เลือกเฟ้นและเก็บเกีย่ วในยามรุง่ สาง เพื่อความเป็นที่สุดในการบูชาพระ ตามความเชือ่ ของชาวพุทธ ท่ามกลาง บรรยากาศศาลากลางน�้ำบนนาบัว ที่ มี ฝู ง ปลาน้ อ ยใหญ่ ก� ำ ลั ง แวกว่ า ย ช่วยสร้างบรรยากาศอันร่มรื่นพร้อม ลมพัดโชยเบาๆ ผสมผสานกับวิว ทิวทัศน์ของนาบัวสัตตบงกช สีชมพู งามเด่น ส่งกลิ่นไอความหอมเย็น ช่วยให้ผ่อนคลายความเครียด

“ข้าวตัง” ทีถ่ กู พัฒนาอย่างไม่หยุดยัง้ เพื่อสร้างสรรค์อัตลักษณ์ที่แตกต่าง อย่างยัง่ ยืนในยุคโลกาภิวฒ ั น์ พร้อม แบ่งปันประสบการณ์การเรียนรู้กับ จุ ด เรี ย นรู ้ วิ ถี ชุ ม ชนที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ ได้ย้อนไปในวันวานกับรูปแบบการ ด�ำเนินวิถีชีวิตริมคลองขุด ภายใต้ การน้อมน�ำเอาแนวคิดหลักปรัชญา เศรษฐกิ จ พอเพี ย งมาประยุ ก ต์ ใ ช้ หล่ อ เลี้ ย งชุ ม ชนบนพื้ น ที่ ท� ำ กิ น พระราชทาน พร้อมชมการบริหาร จัดการน�้ำอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม เก็บดอกบัวในนาบัวและ กิจกรรมสอนพับดอกบัว

กิจกรรม ท�ำข้าวตัง

๑๖.๐๐ น. น�ำคณะออกเดิน ๑๕.๓๐ น. บ้านข้าวตัง การบู ทางกลับกรุงเทพฯ รณาการเพื่อการด�ำเนินชีวิตบนพื้น โปรแกรมข้างต้น ฐานของหลักเศรษฐกิจพอเพียง จน อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม ท�ำให้เกิดภูมิปัญญาไทยอันเลื่องชื่อ 5


วัดพระราม ๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รั ช กาลที่ ๙ มี พ ระราชด� ำ รั ส ให้ ทดลองแก้ไขปัญหาน�้ำเน่าเสียด้วย วิธเี ติมอากาศทีบ่ งึ พระราม ๙ ซึง่ เป็นที่ ดินของทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ จ�ำนวน ๑๓๐ ไร่ เริ่มด�ำเนินการ ตั้ ง แต่ เ ดื อ นมี น าคม พุ ท ธศั ก ราช

๒๕๓๑ โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ ส�ำนักงานคณะกรรมการพิเศษ เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชด� ำ ริ (ส� ำ นั ก งาน กปร.) กรมชลประทาน ส�ำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมด�ำเนินการ 6


ถวายทีด่ นิ จ�ำนวน ๘-๒-๕๔ ไร่ เพือ่ ด�ำเนินการสร้างวัด

โดยมีวตั ปุ ระสงค์ทส่ี ำ� คัญ คือ ท�ำการ ทดสอบการบ�ำบัดน�้ำเน่าเสียที่ไหล มาตามคลองลาดพร้ า วส่ ว นหนึ่ ง ให้มีคุณภาพดีขึ้น โดยวิธีการเติม อากาศลงในน�้ำแล้วปล่อยให้น�้ำตก ตะกอน และปรั บ สภาพน�้ ำ ก่ อ น ระบายลงสู่คลองตามเดิม ในวันที่ ๑๕ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ มีพระราชด�ำริเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ขยายโครงการในพืน้ ทีข่ องทรัพย์สนิ ส่วนพระมหากษัตริย์ และบริเวณข้าง เคียง โดยให้ท�ำการปรับปรุงสภาพ พื้นที่ และพัฒนาชุมชนบริเวณบึง พระราม ๙ ด� ำ เนิ น การจั ด ตั้ ง วั ด เพื่อเป็นพุทธสถานในการประกอบ กิจของสงฆ์ และเป็นศูนย์รวมแห่ง จิตใจของราษฎรในการทีจ่ ะประกอบ กิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน

วั ด พระราม ๙ กาญจนา ภิเษก เริ่มด�ำเนินการก่อสร้างเมื่อ ปี พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๓๘ ตามแนว พระราชด� ำ ริ ใ นพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ ๙ ทรงมีพระ ราชประสงค์ให้เป็นแบบอย่างในการ ก่อสร้างวัดเล็กๆ เพื่อเป็นศูนย์รวม จิตใจของชุมชนที่ตั้งอยู่บริเวณใกล้ เคียง และเพือ่ ใช้เป็นสถานทีป่ ระกอบ กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ตลอด จนกิจกรรมต่างๆ ในการเผยแพร่ ศี ล ธรรม และจริ ย ธรรมเพื่ อ การ พั ฒ นาชุ ม ชน พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลที่ ๙ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเทพรั ต นราชสุ ด าฯ สยาม บรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ ต่ อ มา นางสาวจวงจั น ทร์ ประกอบพิธวี างศิลาฤกษ์ พระอุโบสถ สิ ง หเสนี ซึ่ ง เป็ น เจ้ า ของที่ ดิ น ใน วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก เมื่อ บริ เ วณใกล้ เ คี ย งกั บ โครงการได้ วันที่ ๑ กรกรฎาคม ๒๕๓๙ แสดงความจ� ำ นงที่ จ ะน้ อ มเกล้ า ฯ 7


ชุมชนบ้านศาลาดิน ชุ ม ชนบ้ า นศาลาดิ น หลั ง จากใน พ.ศ ๒๔๐๓ เริ่มมีการขุด คลองมหาสวัสดิ์เสร็จสิ้น พระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ท่าน ทรงมี พ ระราชประสงค์ ใ ห้ ท� ำ การ สร้างศาลาเพื่อสาธารณะประโยชน์ ริมคลองขุดมหาสวัสดิ์ทุกระยะทาง ๔ กิโลเมตร เป็นจ�ำนวนทั้งหมด ๗ 8


ศาลา ส�ำหรับศาลาหลังสุดท้ายตั้ง อยู ่ ใ นพื้ น ที่ ข อง หมู ่ ที่ ๓ ต� ำ บล มหาสวัสดิ์ เรียกกันว่าศาลาดิน ด้วยเหตุ นีจ้ งึ เป็นทีม่ าของชือ่ “บ้านศาลาดิน” แต่ดั้งเดิมมีอาชีพท�ำนาเพียงอย่าง เดี ย วปี ล ะครั้ ง เป็ น สาเหตุ ใ ห้ เกษตรกรยากจน ขาดที่ดินท�ำกิน เป็ น ของตั ว เอง พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว ทรงทราบถึ ง ปั ญ หา

ดังกล่าว จึงได้พระราชทานทีด่ นิ ส่วน พระองค์ให้กับเกษตรกร จ� ำนวน ๑,๐๐๙ ไร่ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๑๘ โดย มี ส� ำ นั ก งานปฏิ รู ป ที่ ดิ น เป็ น ผู ้ ดู แ ล และ จัดรูปที่ดิน ให้เกษตรกรแปลง ละ ๒๐ ไร่ ให้เกษตรกรเข้าท�ำกินได้ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๐ และพระราชทาน การท�ำเกษตรผสมผสาน ชุมชนบ้าน ศาลาดิน จึงมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 9


นาบัว พื้ น ที่ ป ลู ก บั ว สั ต ตบงกช สถานที่ที่ดอกบัวถูกเลือกเฟ้นและ เก็บเกีย่ วในยามรุง่ สางเพือ่ ความเป็น ที่สุดในการบูชาพระ ตามความเชื่อ ของชาวพุทธ ท่ามกลางบรรยากาศ ศาลากลางน�้ำบนนาบัว ที่มีฝูงปลา น้อยใหญ่ก�ำลังแวกว่าย ช่วยสร้าง บรรยากาศอั น ร่ ม รื่ น พร้ อ มลมพั ด โชยเบาๆ ผสมผสานกับวิวทิวทัศน์ ของนาบัวสัตตบงกช สีชมพูงามเด่น ส่งกลิ่นไอความหอมเย็น ช่วยให้ ผ่อนคลายความเครียด 10


กิจกรรม เก็บดอกบัวในนาบัว และกิจกรรมสอนพับดอกบัว 11


บ้านฟักข้าว “บ้านฟักข้าว ขนิษฐา” สถานี แห่งนี้เป็นจุดบริการความรู้เกี่ยวกับ การปลู ก ฟั ก ข้ า ว และการแปรรู ป ฟักข้าว จนกลายเป็นอาชีพและจุด ขายใหม่ของชุมชน นอกจากจะได้ เรียนรูว้ ธิ กี ารท�ำน�ำ้ ฟักข้าวแสนอร่อย ยังได้ทราบข้อมูลการแปรรูปฟักข้าว

เป็นผลิตภัณฑ์อื่นๆ อีกด้วย เช่น หมี่กรอบจากฟักข้าว ซอสก๋วยเตี๋ยว เย็นตาโฟจากฟักข้าว เป็นต้น ผู้เข้า ร่วมโครงการยังได้ลองชิมน�้ำฟักข้าว เย็นๆ และน�ำ้ อัญชัญใส่เนื้อมะพร้าว อ่อนจากทางสถานีที่มไี ว้บริการด้วย

12


กิจกรรม ชิมน�้ำฟักข้าว ก๋วยเตี๋ยวที่มีส่วนประกอบจากฟักข้าว 13


สวนกล้วยไม้ กล้วยไม้หลากสีสันภายใน พื้ น เพาะปลู ก แบบธรรมชาติ เ ป็ น อีกหนึ่งแหล่งผลิตกล้วยไม้ส่งออก ที่ ส� ำ คั ญ โดดเด่ น สะดุ ด ตาด้ ว ย กล้วยไม้สีม่วงสด “พันธุ์ทัศนีย์” เอกลักษณ์อันล�้ำค่าหนึ่งเดียวของ ชาวมหาสวัสดิ์ 14


กิจกรรม ถ่ายรูปภายในสวนกล้วยไม้หลายพันธุ์ สามารถเลือกซื้อกลับบ้านได้ 15


บ้านข้าวตัง การบูรณาการเพือ่ การด�ำเนิน ชีวิตบนพื้นฐานของหลักเศรษฐกิจ พอเพียง จนท�ำให้เกิดภูมปิ ญ ั ญาไทย อันเลื่องชื่อ “ข้าวตัง” ที่ถูกพัฒนา อย่ า งไม่ ห ยุ ด ยั้ ง เพื่ อ สร้ า งสรรค์ อั ต ลั ก ษณ์ ที่ แ ตกต่ า งอย่ า งยั่ ง ยื น ในยุคโลกาภิวัฒน์ พร้อมแบ่งปัน ประสบการณ์การเรียนรู้กับจุดเรียน

รู้วิถีชุมชนที่จะท�ำให้คุณได้ย้อนไป ในวันวานกับรูปแบบการด�ำเนินวิถี ชีวิตริมคลองขุด ภายใต้การน้อมน�ำ เอาแนวคิด หลัก ปรัช ญาเศรษฐกิจ พอเพี ย งมาประยุ ก ต์ ใ ช้ ห ล่ อ เลี้ ย ง ชุ ม ชนบนพื้ น ที่ ท� ำ กิ น พระราชทาน พร้อมชมการบริหารจัดการน�ำ้ อย่าง มีประสิทธิภาพ 16


กิจกรรม ท�ำข้าวตัง เลือกซื้อของฝากกลับบ้าน 17


สวนผลไม้และนาข้าว เรียนรู้วิถีชีวิตแบบชาวสวน ชาวไร่ ผ ่ า นการเยี่ ย มชมและสู ด อากาศบริ สุ ท ธิ์ บ นรถอี แ ต๋ น อี ก เอกลั ก ษณ์ ห นึ่ ง ของชาวสวนไทย พร้อมชมวิวทุ่งนาแบบ ๓๖๐ องศา ที่ จ ะท� ำ ให้ คุ ณ ได้ สั ม ผั ส ถึ ง กลิ่ น ไอ ของทุ่งนาได้อย่างใกล้ชิดและยังได้ ลิ้มรสผลไม้สดจากสวนที่มีให้ทาน อย่างหลากหลายตลอดทั้งปี 18


กิจกรรมท�ำข้าวตู (ป้าแจ๋ว) 19


ธรรมดี ทวัร์

Dhamdee Tour


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.