กฎหมายสวัสดิการการรักษาพยาบาล 3 กองทุนสุขภาพ ถอดความการบรรยายจากการประชุมวิชาการ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม หองประชุมแสงสิงแกว กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข ภาคเชา อภิปรายเรื่อง สถานการณระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาลในประเทศไทย ดําเนินรายการโดย พลตรีหญิงพูนศรี เปาวรัตน นายกสมาคทักษสิทธขาราชการ ถอดความโดย นางสุวรรณ สัมฤทธิ์ บรรณารักษชาํ นาญการ สาระสําคัญ
ผูดําเนินรายการไดกลาวเกริ่นนําการอภิปรายถึงปญหาสาธารณสุขของประเทศในปจจุบันอาจกลาวได วายังไมเปนที่พึงพอใจของประชาชน อาจะปนเพราะความสับสนในการมีสิทธิตางๆ และแตละสิทธิเปนอยางไร ดังนั้น วันนี้จึงไดเชิญวิทยากรมาใหความเห็นในเรื่อง ระบบสวัสดิการการรักษาพยาบาล ไดแก 1. แพทยหญิงเชิดชู อริยศรีวัฒนา กรรมการแพทยสภา 2. ดร.อานนท ศักดิ์วรวิชญ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร 3. ศ.นพ.อภิวัฒน มุทิรางกูร คณะแพทยศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. นายรชตะ อุนสุข สํานักมาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดิการ กรมบัญชีกลาง
วิทยากรทั้งหมดจะอภิปรายเกี่ยวกันพันทั้งดานงบประมาณการเงิน การคลัง ผลของการรักษาที่ผาน และผลกระทบที่ประชาชนไดรับ ทั้งใหความเห็นในเชิงสถิติ ผูอภิปรายคนที่ 1 แพทยหญิงเชิดชู อริยศรีวัฒนา นําเสนอดวยไฟลพาวเวอรพอยท
(powerpoint file)
-2-
ระบบประกันสุ ขภาพภาครัฐ พญ.เชิดชู อริยศรีวัฒนา ที�ปรึกษาสํานักกฎหมาย กรมการแพทย์ 24 ก.ค. 58
วิทยาการไดเสนอรากเหงาของปญหาสาธารณสุขเพื่อนําไปสูการแกไข กลาวคือตั้งแตสมัย โบราณประเทศไทยมีการรักษาแบบแพทยแผนไทย ยอกตัวอยางผูหญิงเมื่อตั้งครรภจะคลอดบุตร ตองพัก ฟนหลังคลอดที่เรียกวา การอยูไฟ ตองทนทุกขทรมานจากความรอนจากการอยู เมื่อมีระบบการแพทย แผนปจจุบันจากตะวันตกเขามาในประเทศโดยหมอสอนศาสนา (Missionary) เชน หมอบลัดเลย เมื่อเขา มาครั้งแรกเปนการรักษาดวยการใหเปลา เนื่องจากประชาชนยังไมศรัทธาในการแพทยแผนปจจุบัน ตอมารัชการที่ 5 เสด็จประพาสตางประเทศไดเห็นแบบแผนการแพทยแผนปจจุบันที่มีความกาวหนาและ ทําให ประชาชนมีสุขภาพดี จึงมีความคิดที่จะสรางระบบการแพทยแผนปจจุบันใหกับประชาชน ประกอบกับ ขณะที่เตรียมการนั้น พระราชโอรถพระองคหนึ่งสิ้นพระชนมดวยโรคบิด พระองคจึงเรงใหกอสราง สถานพยาบาลเร็วขึ้น ก็คือโรงพยาบาลศิริราช ขณะนั้นเรียกวาโรงศิริราชพยาบาล และจัดใหมีการเรียน การสอนแพทยศาสตร ในป พ.ศ. 2431 นับเปนเวลา 100 กวาปที่ประเทศไทยไดรับเอาการแพทยแผน ปจจุบันเขามาใช แตในชวงแรกๆ ประชาชนยังไมยอมไปใชบริการ ถึงแมจะไปคลอดที่โรงพยาบาลแตก็ยัง รองขอการอยูไฟ จนสมเด็จพระนางเจาศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถไดใชกุศโลบายวา หากผูหญิงคนใดไป คลอดที่โรงพยาบาลและไมอยูไฟจะใหรางวัลเปนเงินคาทําขวัญแกลูกเปนเงิน 4 ตําลึง จึงเห็นไดวาการแพทยของประเทศไทยมาจากการใหเปลา ตอมากระทรวงสาธารณสุขจะ พัฒนางานบริการโดยสรางสุขศาลา สรางเปนโรงพยาบาลจนครบทุกอําเภอ ในระยะแรกๆ เปนในรูปแบบ สวัสดิการที่รัฐจัดใหแกประชาชน คือ เมื่อประชาชนมารับบริการ โรงพยาบาลจะคิดคอบริการจากตนทุน ไมคิดกําไรเพื่อใหโรงพยาบาลมีเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน เมื่อไปคนประวัติศาสตรจะพบวาใน สมัยที่หมอสอนศาสนาเขามาใหการรักษาระยะแรกที่รักษาแบบใหเปลานั้น พบวาในระยะหลังก็คิดคา รักษาเชนเดียวกัน โดยใหเหตุผลวา 1. เพื่อใหประชาชนเห็นคุณคาของการรักษา 2. เพื่อนําเงินไปเปนทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน ทั้ง 2 ประการ การสาธารณสุขไทยจึงไดถือเปนหลักการที่ดําเนินการเรื่อยมา คือ ผูที่ยากจนก็จะไดรับการ ชวยเหลือ เชน มีเงินงบประมาณ สปร. งบประมาณสําหรับเด็ก ผูสูงอายุก็ไดรับการรักษาโดยไมคิดมูลคา ดําเนินงานเรื่อยมาจนมีการจัดตั้งระบบประกันสังคม โดยเริ่มมาจาก กองทุนทดแทน โดยมี
-3พระราชบัญญัติเงินกองทุนทดแทนสําหรับชดเชยใหกับลูกจางที่ไดรับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ และพัฒนามา เปน พระราชบัญญัติประกันสังคม ในป 2533 ซึ่งเปนตนแบบที่ประชาชนตองมีสวนรวมในการดูแลรักษา สุขภาพของตนเองจากการทํางานและไมทํางาน เมื่อกลาวถึงระบบสวัสดิการขาราชการแลว ดูเหมือนวา เปนระบบที่ไดรับสวัสดิการแลว ดูเหมือนวาเปนระบบที่ไดรับสวัสดิการสูงกวาประชาชนกลุมอื่น แต แทจริงแลวขาราชการทุกคนจะถูกหักเงินเดือนสวนหนึ่งเขากรมบัญชีกลาง ถือวาเปนสิ่งหนึ่งที่ขาราชการ เสียสละ อีกประการหนึ่งที่ขาราชการตองเสียสละ คือ เสียสละความเปนสวนตัว ดวยตองทําตามคําสั่ง ของผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงชั้นสูงสุด ซึ่งดูแลวการมีอาชีพราชการถือเปนอาชีพที่มีความเสี่ยงสูง ดังนั้นรัฐบาลจึงพยายามจะจูงใจใหประชาชนเขามารับราชการ ก็คือการจัดสวัสดิการตางๆ เชน คาเลา เรียนบุตร คาเชาบาน รวมทั้งคารักษาพยาบาล ในชวงเวลาหนึ่งเมื่อขาราชการเขารับการรักษาพยาบาล จากโรงพยาบาลใดๆ ใหนําใบเสร็จรับเงินมาขอเบิกเงินคืนไดตามที่จายจริง ตอมากรมบัญชีกลางไดเสนอ รัฐบาลขอแกไขพระราชบัญญัติและตรากฎหมายใหมเปน พระราชกฤษฎีกาเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการ รักษาพยาบาลขาราชการ พ.ศ. 2553 การเปลี่ยนแปลงในพระราชบัญญัติใหม คือ ใหยกเลิกคาใชจายที่ ผูปวยนอกจายเงินคารักษาพยาบาลตามที่จายจริง โดยกําหนดราคาคาใชจาย (Capitation fee) เรียกวา คาใชจายตามกลุมโรครวม (DRG) และควบคุมการใชยา อวัยวะเทียม เครื่องมือแพทย ตามที่ กระทรวงการคลังกําหนด อีกทั้งไดจางหนวยงานชื่อ สพตร. เปนองคกรลูกของสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข (สวรส.) ใหมีหนาที่ตรวจสอบเวชระเบียนผูปวยในโรงพยาบาลเพื่อดูวาแพทยพิจารณาการใช ยาอยางสมเหตุสมผลจริงหรือไม ซึ่งกรมบัญชีกลางรายงานวา คาใชจายจากการใชยามีจํานวนสูงมาก ระบบสวัสดิการข้ าราชการ พ.ร.ฎ.เงินสวัสดิการเกี�ยวกับรั กษาพยาบาลข้ าราชการ พ.ศ. 2553 ผู้ป่วยนอกตามที�จ่ายจริง ผู้ป่วยในตามราคาค่ าจ่ ายโรคร่ วม พยายามควบคุมการใช้ ยา อวัยวะเทียมและเครื� องมือแพทย์ จ้ างสพตร.(องค์ กรลูกของสวรส.)ตรวจสอบเวชระเบียนผู้ป่วยเพื�อ เรี ยกเงินคืน • ทําไมค่ าใช้ จ่ายของข้ าราชการสูงมาก? เจ็บป่ วย/บาดเจ็บ/พิการ จากการปฏิบัตงิ านในหน้ าที�มากเท่ าไร? • • • • •
ยกเลิกพ.ร.ฎ.เดิมทั�งหมด และแก้ไขใหม่ดงั นี� •
- ให้ ผ้ ูมสี ิทธิมห ี น้ าที�รายงานข้ อมูลเกี�ยวกับตนเองและบุคคลในครอบครัวต่ อ ส่ วนราชการเจ้ าสังกัด พร้ อมทัง� รับรองความถูกต้ องของข้ อมูลตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที�กระทรวงการ คลังกําหนด - ผู้มสี ิทธิ(ข้ าราชการ ลูกจ้ างประจํา และผู้รับบํานาญ) และบุคคลในครอบครัวมีสิทธิเบิกค่ ารักษาฯ ได้ ตามหลักเกณฑ์ ประเภท และอัตราที�กระทรวงการคลังกําหนด ในกรณีดงั นี � 1. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลทางราชการ ทัง� ผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน 2. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยใน (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) 3. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยใน กรณีประสบอุบตั เิ หตุ อุบตั ภ ิ ยั หรื อมีความจําเป็ น รีบด่ วน ซึ�งหากมิได้ รับการรักษาพยาบาลในทันทีทน ั ใดอาจเป็ นอันตรายต่ อชีวติ 4. เข้ ารักษาฯ ในสถานพยาบาลเอกชน ผู้ป่วยนอก เป็ นครัง� คราว เพราะเหตุสถานพยาบาลทางราชการมี ความจําเป็ นต้ องส่ งตัว (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) 5. ค่ าตรวจสุขภาพประจําปี ทัง� มีผ้ ูมสี ิทธิและบุคคลในครอบครัว (หลักเกณฑ์ ยงั ไม่ เสร็จ) - กรณีผ้ ูมสี ิทธิ มีสิทธิจากหน่ วยงานอื�นด้ วย ให้ เลือกว่ าจะใช้ สิทธิไหน ถ้ าเลือกหน่ วยงานอื�นจะไม่ มสี ิทธิ ตาม พ.ร.ฎ. นี � - กรณีบคุ คลในครอบครัวมีสิทธิจากหน่ วยงานอื�น ไม่ มสี ิทธิตาม พ.ร.ฏ. นี � เว้ นแต่ สิทธิท� ไี ด้ รับตํ�ากว่ า ให้ ได้ รับส่ วนที�ขาดอยู่ - กรณีบคุ คลในครอบครัวเป็ นผู้อาศัยสิทธิของผู้อ� น ื มีสิทธิจากหน่ วยงานอื�นในขณะเดียวกัน ให้ มสี ิทธิ ตาม พ.ร.ฎ.นี �
-4แก้ไขจากเบิกได้ตามที�จ่ายจริ งเป็ นตามที� “กําหนด” • พ.ร.ฎ.เงินสวัสดิการเกี�ยวกับการรั กษาพยาบาลข้ าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๓ นี � ได้ แก้ ไขมาตรา ๘ วรรคท้ าย “การจ่ ายเงินเกี�ยวกับการ รั กษาพยาบาล ให้ จ่ายเป็ นค่ ารั กษาพยาบาลโดยให้ เป็ นไปตาม หลักเกณฑ์ ประเภท และอัตราที�กระทรวงการคลังกําหนด • ออกประกาศหลายฉบับ ห้ ามจ่ ายยานอกบัญชียาหลัก ห้ ามไปรั บ การรั กษามากกว่ า 1 โรงพยาบาล “สั�งแพทย์ ”ให้ เลือกยาที�ดท ี � ีสุด เป็ นตัวเลือกสุดท้ าย ฯลฯ • จ้ างTDRI ทําวิจัยเพื�อควบคุมการใช้ ยา
นอกจากนั้นยังไดออกคําสั่งเปนประกาศอีก 3 ฉบับ หามใชยาขอเขาเสื่อม และหามใชยาอีก 9 ชนิด นอกจากนั้นเมื่อเดือนตุลาคม 2556 ไดออกคําสั่งใหโรงพยาบาลใชเฉพาะยาสามัญซึ่งจะเปนวิธีที่ทําให โรงพยาบาลไดกําไรจากคายาประเภทนี้จํานวนสูงขึ้น โดยที่หากใชยาตนแบบจะไดกําไรเพียง 3 เปอรเซ็นต สุดทายจึงพยายามจะรวมกองทุนโดยอางงานวิจัยของ TDRI กลุมขาราชการรวมทั้ง พอ แม และบุตร ที่ไดรับสิทธิสวัสดิการการรักษาพยาบาลที่จะตองใชกฎระเบียบตามปราศฉบับใหมนี้มี จํานวน ถึง 3 ลานคน
กรมบัญชีกลางออกคําสัง� เกี�ยวกับการใช้ยา • ประกาศ 3 ฉบับในเดือนตุลาคม 2554ห้ ามยาข้ อเข่ าเสื�อม และมี โครงการจะห้ ามใช้ ยาอีก 9 ชนิด • ตุลาคม 2556 บีบให้ ใช้ ยาสามัญโดยให้ กาํ ไรมากถึงหลายพัน เปอร์ เซ็นต์ • ยาต้ นแบบให้ กาํ ไรไม่ เกิน 3 % • ประกาศกําหนดราคาเครื� องมือแพทย์ และอวัยวะเทียม • และสุดท้ ายมีความพยายามรวมกองทุนโดยอ้ างงานวิจัยของ TDRI
-5-
ผลจากการประกาศของกรมบัญชีกลาง • • • • • • •
ละเมิดสิทธิ�ข้าราชการ ละเมิดสิทธิ�ผ้ ูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทําลายมาตรฐานการแพทย์ ทําลายมาตรฐานการค้ ายา ทําลายระบบคุณธรรม แก่ แล้ วถี-ส่ ง ข้ าราชการถูกกรมบัญชีกลางหักเงินเดือนล่ วงหน้ ามาตลอดชีวติ ข้ าราชการขาดอิสระมาตลอดชีวิต (ทําตามนายสั�ง)
สวนประชากรอีกกลุมที่มีรายไดจากการเปนลูกจางแรงงานในภาคธุรกิจเอกชน หรือ ภาครัฐก็ตามจะตองถูกหักเงินรายไดสวนหนึ่งเขาระบบกองทุนประกันสังคม โดยจะไดรับสิทธิประโยชน 8 อยาง สิทธิประโยชนที่สําคัญหนึ่ง คือ รัฐบาลจะนําเงินจํานวน 1.5 เปอรเซ็นต ไปเปนคาใชจายในการ รักษาพยาบาล โดยกําหนดเปนคาใชจายจากการเจ็บปวยทั่วไป ซึ่จะเขารับการรักษาไดเฉพาะโรงพยาบาล ที่ไดลงทะเบียน (จะไปรักษาทุกโรงพยาบาลเหมือนขาราชการไมได) กรณีเจ็บปวยฉุกเฉินสามารถเขา รักษาไดในโรงพยาบาลที่ใกลที่สุด หากตองการยายโรงพยาบาลก็สามาถทําไดตามที่ระเบียบการกําหนดไว สําหรับการจายเงินจะเปนระบบจายแบบเหมาจายรายหัว จํานวน 2,575 บาท และใหรักษาไดไมต่ํากวา บัญชียาหลัก
ระบบประกันสั งคม • • • • • • •
พ.ร.บ.ประกันสังคม พ.ศ. 2533 ผู้มีสิทธิ�ประมาณ 10 ล้ านคน นายจ้ าง ลูกจ้ าง และรั ฐบาลจ่ ายร้ อยละ 1.5 ของค่ าจ้ าง กรณีเจ็บป่ วยทั�วไป เข้ ารั บการรั กษาได้ ท� โี รงพยาบาลที�เลือกไว้ กรณีเจ็บป่ วยฉุกเฉิน เข้ ารั บการรั กษาได้ ท� รี พ.ที�ใกล้ ท� สี ุด ระบบการจ่ ายเงิน เหมาจ่ ายรายหัว 2,575 บาท ใช้ ยาไม่ ต�าํ กว่ าบัญชียาหลัก (ไม่ ดีไปกว่ านี?� )
สําหรับระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ หรือเรียกวา ระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ตามความเห็นของวิทยากรแลวอาจไมตรงความเปนจริง เพราะประชาชนที่มีสิทธิรับสวัสดิการนี้มีเพียง
-648 ลานคน ในขณะที่ประชากรไทยมีถึง 65 ลานคน และเงินงบประมาณที่ใชก็เปนเงินมาจากภาษีอากร ของประชาชนทั้งหมดไดรับการเหมาจายรายหัว จํานวน 2,895 บาท กรณีเปนผูปวนอกรับการจายราย หัว กรณีผูปวยในใหใชราคากลาง นอกจากนั้นคณะกรรมการยังไดแบงการจายเปนกองทุนยอยๆ หลาย กองทุน โดยหักเงินเดือนบุคลากร หากโรงพยาบาลจังหวัดใดที่มีบุคลากรจํานวนมากเพราะเปน โรงพยาบาลใหญบุคลากรก็จะถูกหักเงินจายรายหัวสูง คาเหมาจายรายหัวจะไดเพียง 300 บาท/ป/คน ดังนั้นโรงพยาบาลอาจไดรับเงินไมเทากับรายจาย เทากับวามีรายไดไมเพียงพอที่จะบริการประชาชน นอกจากนั้นยังกําหนดวิธีการรักษาและสูตรสําเร็จในการรักษา หากแพทยไมรักษาตามที่ สปสช. กําหนด หรือผูปวยรายใดขอเลือกการรักษาดวยวิธีอื่นๆ ก็จะไมไดรับสิทธิ์นั้น นอกจากนั้นยังคงมีการเคลือบแคลง สงสัยถึงกรณีที่ผูปวยมีอัตราการตายสูงและตายเร็วกวาการรักษาปกติ
ระบบหลักประกันสุ ขภาพแห่ งชาติ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่ งชาติพ.ศ. 2545 ประชาชน 48 ล้ านคน งบประมาณแผ่ นดินทัง� หมด เหมาจ่ ายรายหัว 2,895 บาท เหมาจ่ ายรายหัวกรณีผ้ ูป่วยนอก ผู้ป่วยในใช้ ราคากลาง แบ่ งเป็ นกองทุนย่ อยๆหลายกองทุน หักเงินเดือนบุคลากรไม่ เท่ ากัน ทําให้ รพ.ได้ รับเงินไม่ ค้ ุมกับรายจ่ าย • อ้ างว่ ารั กษาทุกโรค(บอกประชาชน)แต่ ความจริงคือ? • กําหนดวิธีการรั กษาและ”สูตรสําเร็จ” ถ้ าไม่ ทาํ ตามไม่ ได้ รับสิทธิ� • อัตราตายสูงกว่ า และตายเร็วกว่ าจริงหรื อไม่ ? • • • •
ผลกระทบต่อมาตรฐานการแพทย์ไทย • • • • • • •
ผู้บริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติทาํ ให้ เกิดปั ญหา คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่ งชาติวนเวียนกันไปมา มีความสัมพันธ์ กับสสส. สวรส. สช. สกว. สวทช. TDRI ใช้ “เม็ดเงิน” กําหนดราคา “ชีวติ และสุขภาพ” ประสานงานกับกรมบัญชีกลางและรัฐบาลในการ “บีบ” ราคาชีวิต ละเลยการสร้ างสุขภาพและป้องกันโรค กําหนดยาเฉพาะเก่ าๆเดิมๆทําให้ แพทย์ ขาดการพัฒนา
-7ผูบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพทําใหเกิดปญหา
ทางเลือกและทางรอด มาตรฐานการแพทย์ ท� ีก้าวทันโลก/โรค โรคใหม่ ๆ ยาใหม่ ๆ ประสิทธิภาพดีๆ คนไทยมีสิทธิใช้ ไหม? พลเมือง งอมืองอเท้ ารอรั บจากงปม.แผ่ นดินและรัฐบาล ธรรมาภิบาลของผู้บริหารกองทุน พลเมืองควรมีส่วนร่ วมรับผิดชอบในการ “หา”ปั จจัยสี�สาํ หรับตน และครอบครัว หรือไม่ ? • ต้ องรับรักษาคนที�ไม่ ใช่ “พลเมือง” หรือไม่ ?
• • • • •
ต่างประเทศทํากันอย่างไร? • • • • • •
Obama Care อังกฤษ ต้ นแบบ 30 บาท Scandinevia ญี�ปุ่น สิงคโปร์ ไต้ หวัน
-8-
การรวม 3 กองทุน • • • • • • •
แก้ ปัญหาจริ งหรื อ? ร่ างพ.ร.บ.เลียนแบบพ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่ งชาติ ที�มาของกรรมการ เป็ นกันจนรากงอก เงินบริ หารมากมายกําหนดอํานาจลงโทษโรงพยาบาล/ผู้ทาํ งาน จะพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการแพทย์ ให้ ดีขน ึ � หรื อไม่ ? รพ.รั ฐทรุ ดโทรม คับแคบ เครื� องมืออุปกรณ์ ล้าสมัย เอกชนกําลังจะถูกบีบเช่ นกัน?
รางพระราชบัญญัติรวม 3 กองทุนที่จะรางขึ้นเปนเพียงการเลียนแบบพระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพ คือ กําหนดคณะกรรมการไวแลวและจะเปนรายชื่อบุคคล ซ้ําๆ กับบุคคลใน คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ นอกจากนั้นเงินที่นํามาบริหารไดกําหนดไวแลวเปน จํานวน สูงถึง 2,000 ลานบาท และกําหนดบทลงโทษบุคลากรทางการแพทยและโรงพยาบาล ทัง้ ความผิด ทางคดีแพงและความผิดทางคดีอาญา ที่สําคัญคือ พระราชบัญญัติดังกลาวไมไดกลาวถึงวาจะพัฒนา คุณภาพมาตรฐานทางการแพทยอยางไร ในขณะที่โรงพยาบาลของรัฐปจจุบันมีความทรุดโทรม คับแคบ เครื่องมืออุปกรณที่ลาสมัย นอกจากนั้นยังไดตั้งคณะกรรมการเพื่อควบคุมยาแพงในโรงพยาบาลเอกชน จากกลุม NGO อีกดวย
คาถาอ้างความเหลื�อมลํ�า
-9โดยการกลาวอางถึงเรื่องความเหลื่อมล้ํา ซึ่งตามหลักสากลทั่วไปในเรื่องของการ รักษาพยาบาลรัฐบาลจะตองชวยเหลือประชากรที่ดอยโอกาส
การปฏิรูประบบสาธารณสุ ข
บทสรุปทุดทายในเรื่องของการปฏิรูประบบสาธารณสุข รัฐบาลจะตองพิจารณาใหมีในเรื่อง ตอไปนี้ 1. นโยบายเปนผูนําที่ถูกตอง 2. นโยบายการเงิน การคลัง 3. นโยบายการดูแลบุคลากรผูปฏิบัติงาน 4. นโยบายการควบคุม
Medical Product เพื่อกาวใหทันกับโลกภายนอก
5. นโยบายการควบคุมงานวิจัย ไมควรควบคุมเฉพาะกลุมเดียว แตตองใหผูอื่นนําผลการวิจัยไป วิเคราะหผลในแนวอื่นๆ ไดดวย 6. นโยบายใหประชาชนเขาถึงบริการไดอยางไร ผลที่จะเกิดจากการปฏิรูประบบสาธารณสุขจากนโยบายขางตน คือ 1. ประชาชนมีสุขภาพดี เพราะปจจุบันระบบประกันสุขภาพทั้งหลายที่ดําเนินการอยูนั้นไมไดวิจัย วาผลลัพทคืออะไร เชน โรงมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีอัตราลดลงหรือไม เหลานี้ระบบ สาธารณสุขตองการผูเชี่ยวชาญดานการวิจัยที่ทําวิจัยหาขอสิ้นสุด แตระบบการรักษาของ สปสช. ปจจุบัน
-10เมื่อมีการวิจัยออกมาครั้งแรกก็กลาวถึงแตเรื่องความเหลื่อมล้ํา จากที่วิเคราะหคือ การรักษาจากกองทุน หนึ่งมีอัตราการตายมากกวาการรักษาจากอีกกองทุนหนึ่ง 2. ใหมีโรงพยาบาลที่ตอบสนองความตองการ (Need) เมื่อเกิดการเจ็บปวยและมีครบถวนทั่ว ประเทศ และใหมีการเพิ่มประสิทธิภาพ มีบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกระทรวงสาธารณสุขจํานวนมากที่ยัง ไมไดรับการบุรรจุเขารับราชการและไดรับเงินเดือนตอบแทนนอยมาก กระทรวงไดหาทางแกไขโดยปรับ ตําแหนงเปนพนักงานราชการ ซึ่งก็หมายถึงลูกจางประเภทหนึ่งแตสิทธิการรักษาพยาบาลตองไปใชใน ระบบประกันสังคม เรี ยกร้องให้บรรจุเป็ นข้าราชการ
การจัดสรรบุคลากร
ขอบคุณที�รับฟังค่ะ