การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการสอบกลางภาคดวยขอสอบออนไลน วิชาวิทยาศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาป(ที่ 1 และมัธยมศึกษาป(ที่ 3 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ป(การศึกษา 2562 เดชมณี เนาวโรจน1 * 1 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ อําเภอคําเขือ่ นแก'ว จังหวัดยโสธร * E-mail : dnavaroj15@gmail.com บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และมัธยมศึกษาปEที่ 3 โรงเรียน สมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ปEการศึกษา 2562 ที่มีตJอการใช'ข'อสอบกลางภาคเรียนออนไลน เพื่อให'นักเรียนเกิด ทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยมีกลุJมเปMาหมาย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และมัธยมศึกษาปEที่ 3 โรงเรียนสมเด็จพระญาณ สังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ จํานวน 78 คน เครื่องมือที่ใช' คือ แบบประเมินประเมินความพึงพอใจที่มีตJอข'อสอบกลางภาคเรียน ออนไลน จากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียน พบวJา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และมัธยมศึกษาปEที่ 3 มีความ พึงพอใจตJอการสอบกลางภาคด'วยข'อสอบออนไลน วิชาวิทยาศาสตร กลุJมสาระการเรียนรู'วิทยาศาสตร โดยรวมอยูJในระดับ มาก มีคJาเฉลี่ย ( X =4.11) ดังนั้นข'อสอบกลางภาคออนไลน สามารถนํามาแทนการใช'ในการสอบด'วยกระดาษได'เปUนอยJางดี และนํามา ปรับใช'ในการทํากิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร และในรายวิชาอื่นจนสJงผลให'นักเรียนเกิดทักษะคนไทย 4.0 หรือทักษะแหJงอนาคตในศตวรรษที่ 21 อยJางแนJนอน คําสําคัญ : ข'อสอบออนไลน , ทักษะศตวรรษที่ 21 บทนํา การศึกษาไทย 4.0 เปUนการศึกษาเพื่อการสร'างนวัตกรรม เปUนการศึกษาเพื่อปวงชน เปUนการศึกษาเพื่อสังคม ที่คนที่ ได'รับการศึกษานั้นต'องหันมาชJวยเหลือสังคมอยJางจริงจัง และกว'างขวาง โดยที่ไมJใชJการศึกษาเพื่อวัตถุประสงคใด วัตถุประสงค หนึ่งดังเชJนที่ผJานมา และการจัดการศึกษาต'องบูรณาการทั้งศาสตร ศิลปX ชีวิต และเทคโนโลยีเข'าด'วยกันอยJางกลมกลืน เพื่อสร'าง คนที่สังคมต'องการได'ในทุกมิติ และมีรูปแบบการจัดการศึกษาที่หลากหลาย สอดคล'องและตอบสนองตJอความต'องการของผู'เรียน โดยครูอาจจะไมJมีความจําเปUนอีกตJอไป หรือถ'าจําเปUนต'องมีต'องเปลี่ยนแปลงบทบาทไปอยJางมาก (ครูกฤติน , 2560) ครูไทย 4.0 จึงเน'นที่การสร'างชุมชนแหJงความสงสัย กระตือรือร'น อยากเรียนอยากรู' และอยากได'คําตอบขึ้นในชั้นเรียน ทําให'บรรยากาศใน ห'องเรียนทุกห'องเปUนห'องเรียนแหJงความสงสัย อยากเรียนอยากรู' อยากหาคําตอบ หรือที่เรียกวJา Community of Inquiry และ นักเรียนได'ลงมือค'นหาคําตอบที่ตนสงสัยและอยากรู'เปUนกลุJม ค'นหาคําตอบผJานกระบวนการเรียนการสอนที่เรียกวJาการเรียนรู'โดย ยึดปaญหาเปUนฐาน (ดิเรก พรสีมา , 2559) การวัดผลและประเมินผล มีความจำเปUนและมีประโยชนตJอผู'เรียนมาก แตJที่ผJานมาการวัดผลประเมินผลในระดับชั้น เรียน สJวนใหญJนักเรียนจะได'คะแนนมาก แตJเมื่อทำการทดสอบระดับชาตินักเรียนได'คะแนนน'อย ทั้งนี้เนื่องจากข'อสอบในระดับชั้น เรียนมักจะไมJครอบคลุมมาตรฐานตัวชี้วัด และมีความงJายกวJาข'อสอบระดับชาติ ซึ่งสอดคล'องกับ บุญชม ศรีสะอาด (2540) จาก การวิเคราะหสภาพปaญหาของการจัดทําข'อสอบแบบเดิม พบวJาข'อสอบไมJได'จัดเก็บในลักษณะของคลังข'อสอบ เปUนการจัดเก็บไว' ตามระยะเวลาที่กําหนดหลังจากนั้นจึงทําลายทิ้งไป ผู'สอนไมJได'วิเคราะหข'อสอบกJอนนําไปใช'เนื่องจากมีขั้นตอนยุJงยากและใช'เวลา มาก ผู'เรียนไมJสามารถหาข'อสอบเกJาของแตJละรายวิชานํามทดลองทํากJอนการสอบ นิตยา นําแก'ว (2555) ดังนั้นครูผู'สอนต'อง สร'างเครื่องมือชJวยในการจัดเก็บข'อสอบและวิเคราะหข'อสอบเพื่อลดความยุJงยากจากกระบวนการวิเคราะหข'อสอบสามารถจัดเก็บ ข'อสอบได'อยJางเปUนระบบ สามารถนําข'อสอบออกมาใช'ไ ด'สะดวกและสามารถจัดการสอบได'ด'วยตัวเองโดยผJานเครือขJาย อินเทอรเน็ต และทราบผลการสอบของผู'เรียนได'ทันที ในขณะที่ผู'เรียนต'องการทดลองทําข'อสอบเกJากJอนการสอบจริง และรู'ผล การสอบได'ทันทีหลังสอบเสร็จสิ้น โดยเฉพาะโรงเรียนขนาดเล็ก ครูมีไมJครบชั้น ครูต'องสอนคนละ 2 – 3 ชั้นเรียน ครูต'อง รับผิดชอบงานหลายด'าน การวัดผลและประเมินผลการเรียนขาดเครื่องมือวัดผลที่ได'มาตรฐาน (คัมภีร สุดแท'. 2553) นักการศึกษาได'นําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช'ประโยชนเพื่อให'การศึกษาสามารถแขJงขันในโลกสากล กJอให'เกิดภูมิปaญญาและการเรียนรู'อันจะนา ไปสูJคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นนั้นถือได'วJาเปUนเรื่องสําคัญในระดับประเทศ สําหรับประเทศ 1
ไทยได'กําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช'ในวงการศึกษาเชJนเดียวกัน เชJน การใช'ดาวเทียม สื่อสาร ใยแก'วนําแสง ซีดีรอม มัลติมีเดีย อินเทอรเน็ตคอมพิวเตอรชJวยสอน การเรียนการสอนผJานเว็บ เปUนต'น ดังนั้นเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารมีสJวนสัมพันธหรือเอื้อประโยชนตJอการศึกษาทั้งในด'านการเรียนการสอน การวิจัย การบริหาร และการ บริการสังคมการวัดผลและประเมินผล ของสุภาณี เส็งศรี (2547) นอกจากนี้การศึกษามีสJวนสําคัญในการพัฒนาศักยภาพของ ผู'เรียน หากกระบวนการในการวัดผลและประเมินผลมีประสิทธิภาพ จักนา มาซึ่งการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สJงผล ให'ผู'เรียนมีประสิทธิภาพด'วยเชJนกัน ดังนั้นในปaจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได'ถูกนํามาใช'เปUนเครื่องมือในการ พัฒนากระบวนการวัดผลและประเมินผลการศึกษา เชJน (1) โปรแกรมคอมพิวเตอรสําหรับการสร'างข'อสอบออนไลนของ สปฐ. ระยอง เขต 1 (2554) (2) โปรแกรมคลังข'อสอบกับระบบวิเคราะหข'อสอบอัตโนมัติบนระบบเครือขJายคอมพิวเตอรของโรงเรียน ทหารสื่อสาร ซึ่งพัฒนาโดยสิบเอก ธานิล มJวงพูล (2549) ในการจัดทําข'อสอบออนไลน ครูไอที (2562). กลJาววJา โปรแกรม Google Forms เปUนสJวนหนึ่งของ Google Docs ที่ผู'ใช'สาสามารถสร'างแบบฟอรมได'ฟรี ด'วยความสามารถในการออกแบบ รวมถึงฟอรมตJาง ๆ สําเร็จรูปให'ผู'เลือกใช'งานได' กูเกิล ฟอรม สามารถสร'างฟอรมของตัวเองได'โดยใช'บัญชี Gmail ในการเชื่อมตJอ ซึ่งเปUน Web Application แบบครบวงจรสามารถสร'างฟอรมและกําหนดคําตอบได'ตามต'องการ พูดงJายคือเมื่อผู'ใช'อื่นทํา แบบสอบถามระบบก็จะคิดคําตอบให'เลย และที่สําคัญไมJต'องติดตั้งโปรแกรมใด ๆ สามารถใช'งานบนเว็บเบราวเซอรได' ดังนั้นผู'วิจัยจึงสนใจศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตJอการสอบด'วยข'อสอบออนไลน ที่พัฒนาโดยใช' Google Forms จัดทําเปUนข'อสอบออนไลน เพื่อนําข'อมูลและวิธีการสอบไปปรับใช' และขยายผลในสถานศึกษาและหนJวยงานที่เกี่ยวข'อง ตลอดจนเพื่อเปUนแนวทางสําหรับการพัฒนาหรือออกแบบการเรียนการสอนของครูให'สอดคล'องกับการเรียนรู'ในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเปUนการเรียนรู'อยJางยั่งยืนตJอไป วิธีการวิจัย 1) ประชากร และกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใช'ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 3 โรงเรียนสมเด็จ พระญาณสังวรในพระสังฆราชูปถัมภ ปEการศึกษา 2562 จํานวน 143 คน กลุJมตัวอยJาง คือ นักเรียนที่สมัครใจสอบด'วยข'อสอบ ออนไลน จํานวน 78 คน 2) แบบแผนการวิจัย การศึกษานี้ใช'รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองชั้นต'น (Pre-experiment) ที่มีกลุJมการทดลองกลุJมเดียววัดผลหลังการทดลอง (One-shot case study) 3) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3.1 ข'อสอบออนไลนกลางภาคเรียน ปEการศึกษา 2562 โดยมีกําหนดการสอน ดังตาราง 1 ตาราง 1 ปฏิทินการจัดการเรียนการสอน ตามรายวิชาวิทยาศาสตร วัน/เวลา ชื่อกิจกรรมและรายละเอียดโดยยอ วัตถุประสงคของกิจกรรม ทดสอบกJอนเรียน แตJละหนJวยการเรียน ด'วยข'อสอบออนไลน เพื่อให'นักเรียน พฤษภาคม – กรกฏาคม 1. เข'าใจและรอบรู'ในรายวิชาที่สอน จัดกิจกรรมการเรียนการ 2562 2. เกิดทักษะการคิด วิเคราะห สังเคราะหตาม สอนตามแผนการจัดการ เรียนรู' แบบ 5E ตามตัวชี้วัด ทักษะการเรียนรู'ในศตวรรษที่ 21 3. เกิดคJานิยม อดทน ขยัน มุJงมั่น และซื่อสัตย ของรายวิชาวิทยาศาสตร ให'นักเรียนทําแบบฝyกหัด ออนไลน เมื่อจบแตJละเรื่อง ยJอย ทดสอบหลังเรียน แตJละหนJวยการเรียน ด'วยข'อสอบออนไลน สอบกลางภาค ด'วยข'อสอบออนไลน 2
3.2 แบบประเมินความพึงพอใจที่มีตJอข'อสอบออนไลน ที่ครูจัดทําขึน้ ให'นักเรียนที่สอบผJานข'อสอบออนไลนประเมิน โดยใช'ตามมาตรวัดของลิเคิรท (Likert Scale) 4) การเก็บรวบรวมขอมูลและการวิเคราะหขอมูล การศึกษาครั้งนี้มีการเก็บรวบรวมข'อมูลและการวิเคราะหข'อมูล ตามขั้นตอน ดังนี้ 4.1 นักเรียนประเมินความพึงพอใจที่มีตอขอสอบออนไลน 4.2 นําข'อมูลในข'อ 4.1 มาวิเคราะหความพึงพอใจของนักเรียน 4.3 วิเคราะหหาคJาเฉลี่ยและคJาสJวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช'สมการ 4.3.1 คJาเฉลี่ย (Arithmetic Mean : X ) โดยใช'สูตร ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด. 2543 : 102) X =
เมื่อ
∑x N
แทน ∑ x แทน N แทน X
คะแนนเฉลีย่ ผลรวมของคะแนนทั้งหมด จํานวนคนในกลุJมตัวอยJาง
4.3.2 สJวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) โดยใช'สูตร ดังนี้ (สมนึก ภัททิยธนี. 2546 : 250) S.D = เมื่อ
N ∑ X 2 − (∑ X )
2
N ( N − 1)
S
แทน คJาความเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุJมตัวอยJาง ∑ X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด ∑ X 2 แทน ผลรวมของคะแนนยกกําลังสอง N แทน จํานวนคนทั้งหมดในกลุJมตัวอยJาง 4.4 นําคJาเฉลี่ยและคJาสJวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน แตJละข'อจากการวิเคราะหข'อมูลในข'อ 4.3 มาเขียนนําเสนอในรูปแบบ กราฟเพื่อแสดงข'อมูลเปรียบเทียบ ผลการวิจัย ผลจากการศึกษา ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตJอการสอบด'วยข'อสอบออนไลน โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระ สังฆราชูปถัมภ ปEการศึกษา 2562 จํานวน 78 คน พบวJา นักเรียนมีความพึงพอใจ ดังตาราง 1
3
ตาราง 1 ผลความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตJอการสอบด'วยข'อสอบออนไลน วิชาวิทยาศาสตร กลุJมสาระการเรียนรู' วิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 3 ขอ X S.D. ระดับความพึงพอใจ
1. เข'าถึงข'อสอบออนไลนได'งJาย สะดวกรวดเร็ว 4.23 2. ความเหมาะสมของข'อมูลที่นําเสนอ 4.07 3. ความชัดเจนของข'อความที่แสดงผล 4.22 4. ความเหมาะสมของการใช'สีตัวอักษร พื้นหลัง รูปภาพ 4.05 5. ความพึงพอใจในการแสดงผลการสอบให'นักเรียนทราบทันที 4.26 6. มีระบบการสุJมคําถามและตัวเลือกเพื่อชJวยปMองกันการลอก / การจําข'อสอบ 4.03 ของนักเรียน 7. ชJวยให'นักเรียนได'ฝyกสอบในทุกที่ทุกเวลา 4.01 8. ชJวยให'นักเรียนได'ฝyกสอบในข'อสอบชุดเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง 4.08 9. ชJวยให'นักเรียนใช'เทคโนโลยีให'เกิดประโยชนมากขึ้น 4.32 10. ชJวยให'นักเรียนมีพัฒนาการเรียนที่ดีขึ้น 4.05 11. ชJวยให'นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 3.91 12. นักเรียนสนใจทําข'อสอบออนไลนอีกครั้ง ในการสอบ ครั้งตJอไป 4.03 รวม 4.11
0.71 0.73 0.73 0.78 0.75 0.83
มาก มาก มาก มาก มาก มาก
0.83 0.74 0.75 0.76 0.76 0.83 0.77
มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก
จากตาราง 1 พบวJา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และมัธยมศึกษาปEที่ 3 มีความพึงพอใจตJอการสอบกลางภาคด'วย ข'อสอบออนไลน วิชาวิทยาศาสตร กลุJมสาระการเรียนรู'วิทยาศาสตร โดยรวมอยูJในระดับ มาก มีคJาเฉลี่ย ( X =4.11) เมื่อ พิจารณาเปUนรายข'อพบวJา ความพึงพอใจอยูJในระดับมากที่สุด เรียงลําดับคJาเฉลี่ยจากมากไปหาน'อย สามอันดับแรก ดังนี้ ชJวย ให'นักเรียนใช'เทคโนโลยีให'เกิดประโยชนมากขึ้น ( X = 4.32) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในการแสดงผลการสอบให'นักเรียน ทราบทันที ( X = 4.26) และเข'าถึงข'อสอบออนไลนได'งJาย สะดวกรวดเร็ว( X = 4.23) อภิปรายและสรุปผลการวิจัย ผลจากการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 3 รายวิชาวิทยาศาสตร โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ ปEการศึกษา 2562 จํานวน 78 คน ตามตาราง 1 พบวJา นักเรียนมีความพึง พอใจตJอข'อสอบออนไลน โดยรวมอยูJในระดับ มาก มีคJาเฉลี่ย ( X =4.11) เมื่อพิจารณาเปUนรายข'อพบวJา ความพึงพอใจอยูJใน ระดับมากที่สุด เรียงลําดับคJาเฉลี่ยจากมากไปหาน'อย สามอันดับแรก ดังนี้ ชJวยให'นักเรียนใช'เทคโนโลยีให'เกิดประโยชนมากขึ้น ( X = 4.32) รองลงมาคือ ความพึงพอใจในการแสดงผลการสอบให'นักเรียนทราบทันที ( X = 4.26) และเข'าถึงข'อสอบ ออนไลนได'งJาย สะดวกรวดเร็ว( X = 4.23) แสดงให'เห็นวJา การใช'ข'อสอบกลางออนไลนมีความเหมาะสมกับนักเรียนทั้ง 2 ระดับชั้น ที่สอดคล'องกับนโยบายของโรงเรียนที่สามารถลดการใช'กระดาษลงได' เกิดผลดีมากกวJาผลเสีย และสามารถนําไปขยาย ผลใช'กับระดับอื่น และในรายวิชาอื่นๆ ได'เปUนอยJางดี นอกจากนี้ยังสอดคล'องกับ ครูกฤติน ( 2560) ที่กลJาววJา การศึกษาไทย 4.0 เปUนการศึกษาเพื่อการสร'างนวัตกรรม เปUนการศึกษาเพื่อปวงชน เปUนการศึกษาเพื่อสังคม ที่คนที่ได'รับการศึกษานั้นต'องหันมา ชJวยเหลือสังคมอยJางจริงจัง และกว'างขวาง และ สุภาณี เส็งศรี (2547) กลJาววJา นักการศึกษาได'นําเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารมาใช'ประโยชนเพื่อให'การศึกษาสามารถแขJงขันในโลกสากล กJอให'เกิดภูมปิ aญญาและการเรียนรู'อันจะนา ไปสูJคณ ุ ภาพ ชีวิตที่ดี สรุปได'วJาการนําข'อสอบกลางภาคออนไลน สามารถนํามาแทนการใช'ในการสอบด'วยกระดาษได'เปUนอยJางดี และนํามา ปรับใช'ในการทํากิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาวิทยาศาสตร และในรายวิชาอื่นจนสJงผลให'นักเรียนเกิดทักษะคนไทย 4.0 หรือทักษะแหJงอนาคตในศตวรรษที่ 21 อยJางแนJนอน
4
กิตติกรรมประกาศ การศึกษาความพึงพอใจการสอบด'วยข'อสอบออนไลนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปE ที่ 3 ปEการศึกษา 2562 โรงเรียนสมเด็จพระญาณสังวร ในพระสังฆราชูปถัมภ สําเร็จลุลJวงได'ต'องขอบคุณนายเชษฐา ค'าคลJอง ผู'อํานวยการโรงเรียน นายเชิดชัย สิงหคิบุตร รองผู'อํานวยการโรงเรียนที่สนับสนุนให'มีการศึกษาครั้งนี้ประสบผลสําเร็จ และที่ สําคัญขอบใจนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปEที่ 1 ปEการศึกษา 2562 ทุกคนที่ทุJมเท แรงกายแรงใจ และตั้งใจในการกิจกรรมการเรียนการสอนของครูจนสําเร็จตามวัตถุประสงคทุกประการ เอกสารอางอิง ครูไอที (2562). การสรางแบบทดสอบออนไลนดวย Google Form.สืบค'นเมื่อ วันที่ 30 สิงหาคม 2562. จากชื่อเวบไซต : http://www.krui3.com คัมภีร สุดแท'. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสําหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ กศ.ด. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.ครูกฤติน (2560). การศึกษาไทย 4.0 หรือ Thailand Education 4.0 ? สืบค'นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559.จากชื่อเว็บไซต : http://www.krukittin.info/?p=744 นิตยา นาแก'ว. (2555). “การพัฒนาระบบจัดการคลังขอสอบและการสอบผานอินเทอรเน็ต,” วารสารวิชาการและวิจยั มทร. พระนคร ฉบับพิเศษ. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 5. บุญชม ศรีสะอาด.(2540). การวิจัยทางการวัดและประเมินผล. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน. ดิเรก พรสีมา (2559). คนไทย 4.0. ? สืบค'นเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559. จากชื่อเว็บไซต : http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=46603&Key=news_research สพป.ระยองเขต 1. (2554). คลังขอสอบออนไลน. (Retrieved 2556, ตุลาคม 2). ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ระยองเขต 1. Available from:http://thaischoolict.com/rayong1/mod/forum. ธานิล มJวงพล. (2549). “การพัฒนาโปรแกรมคลังขอสอบและระบบวิเคราะหขอสอบอัตโนมัติบนระบบเคืรอขายคอมพิวเตอร ของโรงเรียนทหารสื่อสาร”. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตแผนกวิชาครุศาสตรอุตสาหกรรม บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล'าพระนครเหนือ. สุภาณี เส็งศรี . (2547). เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารการศึกษา (Information and Communication Technologies for Education). (Retrieved 2556, พ ฤ ศ จิ ก า ย 2) . มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะศึกษาศาสตร ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.Available from: http://www.edu.nu.ac.th/supanees/lesson.
5