เอกสารการวิเคราะห์การวิจัยในชั้นเรียน

Page 1

เอกสารประกอบการอบรม การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย โดยใชโปรแกรม MICROSOFT EXCEL 2013

การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ “เขียนบทความวิจัยโครงการเพาะพันธุปญญา สําหรับครู” 3 เมษายน 2559 หองประชุมศรีเมืองใหม ชั้น 3 อาคารสํานักงานอธิการบดี (หลังใหม) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

เรียบเรียงโดย: ดร.สุภาวดี หิรัญพงศสิน ภาควิชาคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี


สารบัญ บทนํา การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013

2 2

ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอ มูล ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลของการวิจัย

2 5 8 15

สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ ขั้นตอนในการสรางกราฟ การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน การลบกราฟ

18 18 21 22 28

การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013

1|Page

18


การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอผลของการวิจัย โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 บทนํา

การวิจัยทางการศึกษา หมายถึง กระบวนการ (Process) ในการแสวงหาความรูที่จะนําไปใชใน การพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา สําหรับกระบวนการดังกลาวนี้เปนกระบวนการวิจัยซึ่งประกอบดวย ขั้ น ตอนพื้ น ฐาน 5 ขั้ น ตอน ได แ ก 1) การกํ า หนดป ญ หา 2) การสร า งสมมติ ฐ าน ศึ ก ษาข อ มู ล และ รายละเอียดที่เกี่ยวกับปญหา 3) การเก็บรวบรวมขอมูล 4) การวิเคราะหขอมูล และ 5) การสรุปผลขอมูล เอกสารประกอบการอบรมนี้ จะกลาวถึงขั้นตอนที่สําคัญขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการวิจัย นั่นคือ การวิเคราะหขอมูล เมื่อผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูลและตรวจสอบความถูกตองของขอมูลแลว จะดําเนินการ กับขอมูลเหลานั้นดวยโปรแกรมสําเร็จรูปที่ใชสําหรับวิเคราะหขอมูลได โปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใช สําหรับการวิเคราะหขอมูลในปจจุบันมีอยูดวยกันหลายโปรแกรม เชน SPSS (Statistical Package for the Social Sciences) SAS (Statistical Analysis System) และ STATA เปนตน อย างไรก็ดีแ ต ล ะโปรแกรมมี จุดเด นที่ แตกตางกัน ผูใ ชส ามารถเลือกใชโปรแกรมเหลานี้ตาม ลั ก ษณะของข อ มู ล หรื อ การใช ง านของผู ใ ช เ อง นอกจากโปรแกรมที่ ไ ด ก ล า วข า งต น แล ว โปรแกรม Microsoft Excel เปนอีกโปรแกรมหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการวิเคราะหขอมูลไดเชนกัน ในที่นี้จะใช Microsoft Excel 2013 เพื่อเปนเครื่องมือในการวิเคราะหขอมูล ดังจะกลาวในหัวขอถัดไป

การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 การวิเคราะหขอมูลหรือคาทางสถิติเบื้องตน ดวยโปรแกรม Microsoft Excel 2013 สามารถ ศึกษารายละเอียดไดในหัวขอตอไปนี้

ขั้นตอนการเตรียมการเพื่อวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเบื้องตนโดยใชโปรแกรม Microsoft Excel 2013 ผูใชจําเปนตองใชเครื่องมือ (Tool) ที่ชื่อวา Data Analysis หากเครื่องที่ผูใชใชในการวิเคราะหขอมูลไมมีเครื่องมือดังกลาว ผูใชตอง ทําการติดตั้งเครื่องมือ Data Analysis นี้กอน โดยมีขั้นตอนการติดตั้งดังตอไปนี้ 1. เปดโปรแกรม Microsoft Excel 2013 2. คลิกที่เมนูไฟล (File) คลิกที่เมนู Options (หรือ เมนูตัวเลือก) จะปรากฏดังรูปที่ 1.

2|Page


รูปที่ 1. แถบเมนู ภายใตเมนู Options 3. คลิ ก ที่ เมนู Add-Ins จะปรากฏดังรูปที่ 2. จากนั้นคลิกเลือกที่ Analysis ToolPak ภายใต หั ว ข อ Inactive Application Add-ins และคลิ ก เลื อ ก Excel Add-ins ภายใต หั ว ข อ Manage ที่สวนดานลางของกรอบโตตอบ

รูปที่ 2. เครื่องมือ Add-ins ตางๆ ของ Microsoft Office ภายใตเมนู Add-Ins 3|Page


4. คลิกปุม Go จะปรากฏดังรูปที่ 3.

รูปที่ 3. เครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak 5. คลิกเลือกเครื่องมือตามรูปที่ 4. จากนั้นคลิกปุม OK

รูปที่ 4. เลือกเครื่องมือ Add-ins ภายใต Analysis ToolPak 6. เมื่อเครื่องมือ Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลวจะปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data) ดังรูปที่ 5.

รูปที่ 5. Data Analysis ถูกติดตั้งเรียบรอยแลว โดยปรากฏที่ริบบอนในแถบขอมูล (Data)

4|Page


7. เมื่อคลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อใหผูใชเลือกเครื่องมือ วิเคราะหขอมูลภายใตหัวขอ Analysis Tools ดังแสดงในรูปที่ 6.

รูปที่ 6. กรอบโตตอบเพื่อเลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools)

ตัวอยางการวิเคราะหขอมูล ขอมูล (Data) จากแบบสอบถาม ในการวิเคราะหขอมูลนั้นจําเปนตองมีการเก็บขอมูล ซึ่งอาจเก็บไดจากแบบสอบถามที่สรางขึ้นมา โดยการเก็บรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามตามขนาดของตัวอยางที่เหมาะสม แลวสามารถใชโปรแกรม Microsoft Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลได วิธีดําเนินการ 1. กําหนดหัวขอแบบสอบถาม (ตัวอยางในที่นี้ คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในการนําเสนองาน) 2. ออกแบบแบบสอบถาม โดยใหกําหนดประเด็นที่ตองการประเมินใหสอดคลองกับวัตถุประสงค ของการประเมิน และกลุมเปาหมาย (อาจกําหนดเปนดานหลักๆ แลวจึงกําหนดเปนประเด็น ยอยๆ ภายใตดานนั้นๆ) 3. เก็บขอมูลจากกลุมเปาหมาย โดยใหกลุมเปาหมายตอบแบบสอบถามตามที่ไดออกแบบไว ตาม ความเปนจริง 4. นําขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลมาวิเคราะหเพื่อคาระดับความพึงพอใจ โดยการใชโปรแกรม Excel

5|Page


ตัวอยางแบบสอบถาม

6|Page


การแปรขอมูล เมื่อผูประเมินไดทําการประเมินเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอไปเปนการนําขอมูลประเมินที่ไดมา วิเคราะหเพื่อนําเสนอผลการวิจัย อยางไรก็ดีเพื่อใหงายตอการประมวลผลในขั้นตอนของการวิเคราะห ขอมูล ผูวิจัยจําเปนตองแปรขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามใหเปนตัวเลข แลวจึงกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel การแปรขอมูลในแตละสวนของแบบสอบถาม สามารถทําไดดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข ซึ่งเปนการกําหนดคําอธิบายใหกับคาตัวแปร โดยกําหนดดังนี้ • เพศ ชาย = 1 หญิง = 2 • อายุ ต่ํากวา 21 ป = 1 21-30 ป = 2 31- 40 ป = 3 41- 50 ป = 4 และมากกวา 50 ป = 5 • สถานภาพ อาจารย = 1 นักเรียน/นักศึกษา = 2 เจาหนาที่ = 3 บุคคลภายนอก = 4 และอื่นๆ = 5 • ระดับการศึกษา ประถมศึกษา = 1 มัธยมศึกษา = 2 อนุปริญญาหรือเทียบเทา = 3 ปริญญาตรีหรือเทียบเทา = 4 สูงกวาปริญญาตรี = 5 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ เปนขอมูลที่เปนเชิงคุณภาพ ตองแปลงใหเปนตัวเลข โดยกําหนดให 1=นอยที่สุด 2=นอย 3= ปานกลาง 4=มาก 5=มากที่สุด ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็นอื่นๆ เสนอเปนความเรียง หรือเสนอเรียงตามลําดับความถี่ของขอมูล (ไมตองนําไปกรอกใน Excel) การกรอกขอมูลลงในฐานขอมูล Excel สมมติใหกลุมตัวอยาง/ประชากรที่ตอบแบบสอบถามมีจํานวน 20 คน จะไดแบบสอบถามจํานวน 20 ฉบับ เมื่อบันทึกขอมูลลงใน Excel แลว แสดงไดดังรูปที่ 7.

รูปที่ 7. การกรอกขอมูลจากแบบสอบถามลงในฐานขอมูล Excel 7|Page


ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล จากตัวอยางแบบสอบถามขางตนที่ประกอบดวย 3 สวน ไดแก สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของ ผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ และสวนที่ 3 ขอเสนอแนะและความคิดเห็น อื่นๆ โดยแตละสวนจะมีวัตถุประสงคในการประเมินที่ตางกัน นั่นคือ สวนที่ 1 ประเมินเพื่อใหทราบวากลุมตัวอยาง/ประชากร (ผูตอบแบบสอบถาม) มีขอมูลพื้นฐาน เปนอยางไร แสดงใหเห็นภูมิหลังของผูประเมิน สวนที่ 2 ประเมินเพื่อใหทราบวาระดับความพึงพอใจในการนําเสนอ อยูในระดับใด เชน ดีมาก ดี หรือปานกลาง เปนตน แสดงใหเห็นความเชื่อมั่นของผูประเมินที่มีตอกิจกรรมนั้น สวนที่ 3 ประเมินเพื่อใหทราบวากิจกรรมนั้นสวนเพิ่มเติมใดๆ ที่ไดรับการยอมรับ (ประเด็นที่ไมได มีในแบบสอบถาม) สวนใดตองปรับปรุง หรือสวนใดที่เปนคําแนะนําที่สามารถนําไปพัฒนาตอเพื่อใหเกิด ประโยชนตอกิจกรรมอื่นได ดั ง นั้ น การวิ เ คราะห ข อ มู ล ในแต ล ะส ว นจะแตกต า งกั น เพื่ อ ให ง า ยต อ การวิ เ คราะห ข อ มู ล เครื่องมือ หรือวิธีการวิเคราะหในแตละสวน สามารถทําไดดังนี้ สวนที่ 1 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Histogram ได สวนที่ 2 ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics ได สวนที่ 3 ผูวิจัยสามารถสรุปประเด็นที่เดนชัดแลวนํามาเขียนเปนความเรียงได (อาจไมตองใช โปรแกรม Excel) การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 1 สถานภาพสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม ในสวนนี้ ตัวอยางขอมูลที่ใชในการวิเคราะห คือ เพศ ผูวิจัยสามารถเลือกวิเคราะหขอมูลอื่นๆ เชน อายุ ระดับการศึกษา หรือขอมูลพื้นฐานอื่นในแบบสอบถามเพิ่มเติมไดในภายหลัง โดยใชเครื่องมือ Data Analysis ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Histogram มีดังตอไปนี้ 1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ เลือกเครื่องมือวิเคราะหขอมูล (Analysis Tools) จากนั้นเลือกเทคนิค Histogram ซึ่งใชหา คาความถี่ของขอมูล ดังแสดงในรูปที่ 8.

รูปที่ 8. ทําการเลือกเทคนิค Histogram 8|Page


2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 9.

รูปที่ 9. กรอบโตตอบ Histogram 3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะหที่ Input Range ในที่นี้ใหเลือก ชวงของขอมูล “เพศ” ($B$2:$B$21) และที่ Bin Range (ชวงของประเภทขอมูลทั้งหมด) ให เลื อ กช ว ง $R$5:$S$5 คลิ ก เลื อ กที่ Labels และที่ ก รอบ Output options ให กํ า หนด ตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output Range ($Q$11) คลิกเลือกที่ Cumulative Percentage และคลิกเลือกที่ Chart Output ดังรูปที่ 10. Input Range ของเพศ Bin Range ของเพศ มี 2 ประเภท

รูปที่ 10. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Histogram เพื่อวิเคราะหขอมูล 9|Page


4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 11.

รูปที่ 11. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Histogram จากรูปที่ 11. ที่คอลัมน Bin หมายถึงประเภทของเพศ โดยหมายเลข 1 แทนเพศชาย หมายเลข 2 แทนเพศหญิง (ดูจากแบบสอบถาม) และ More หมายถึงเพศอื่นๆ คอลัมน Frequency คือความถี่หรือ จํานวนคนที่แบงตามเพศ และคอลัมน Cumulative หมายถึงเปอรเซนตหรือรอยละสะสมของจํานวนคน ที่แบงตามเพศ นอกจากนี้กราฟผลลัพธ Histogram จะถูกแสดงตามขอมูลของคอลัมนทั้ง 3 ขางตนดวย ผูวิจัยสามารถเขียนสรุปผลการวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ ผูตอบแบบสอบถาม จํานวน 20 คน เปน ชาย จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 55 และเปนหญิง จํานวน 9 คน คิดเปนรอยละ 45 การวิเคราะหขอมูล : สวนที่ 2 ความพึงพอใจในการนําเสนอ ผูวิจัยสามารถหาคาทางสถิติเชิงพรรณนา ซึ่งใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุมใด กลุมหนึ่งเทานั้น และไมสามารถใชอางอิงไปยังกลุมขอมูลอื่นๆ ได เชน คาเฉลี่ย รอยละ และคาเบี่ยงเบน มาตรฐาน เปนตน ไดโดยใชเทคนิค Descriptive Statistics ขั้นตอนการวิเคราะหขอมูล โดยใชเทคนิค Descriptive Statistics มีดังตอไปนี้ 1. ที่แถบเครื่องมือ DATA คลิกเลือกที่เครื่องมือ Data Analysis จะปรากฏกรอบโตตอบเพื่อ เลื อ กเครื่ อ งมื อ วิ เ คราะห ข อ มู ล (Analysis Tools) จากนั้ น เลื อ กเทคนิ ค Descriptive Statistics ดังแสดงในรูปที่ 12.

รูปที่ 12. ทําการเลือกเทคนิค Descriptive Statistics

10 | P a g e


2. กดปุม OK จะปรากฏกรอบโตตอบดังรูปที่ 13.

รูปที่ 13. กรอบโตตอบ Descriptive Statistics 3. ที่กรอบ Input ใหกําหนดชวงของขอมูลที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือกชวงของขอมูลความ พึงพอใจดานเนื้อหา ($F$1:$J$21) ที่ Grouped By คลิกเลือกที่ Columns และคลิกเลือกที่ Labels in first row และที่กรอบ Output options สามารถเลือกใหผลลัพธไปแสดงตามที่ กําหนดได ไดแก ที่แผนงานเดิมใหกําหนดตําแหนงเซลลที่ตองการใสคาผลลัพธที่ Output Range หรือที่แผนงานใหม (New Worksheet Ply) หรือที่สมุดงานใหม (New Workbook) และคลิกเลือกที่ Summary statistics ดังรูปที่ 14. Input Range ด้านเนื้อหา

11 | P a g e


รูปที่ 14. กําหนดคาตางๆ ในกรอบโตตอบ Descriptive Statistics เพื่อวิเคราะหขอมูล 4. กดปุม OK จะไดผลลัพธดังรูปที่ 15.

รูปที่ 15. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics จากรูปที่ 15. แสดงคาทางสถิติเชิงพรรณนาของกลุมขอมูลดานเนื้อหาทั้ง 5 ขอ โดยที่: Mean: คามัชฌิมเลขคณิต (Arithmetic mean) คือคาเฉลี่ยของขอมูลทั้งหมด Standard Error: แสดงลักษณะการกระจายตัวของขอมูล คือยิ่งใกลคา 0 (ศูนย) แสดงวากลุม ตัวอยางมีการกระจายตัวใกลกับคาเฉลี่ยของประชากร Median: คามัธยฐาน คือคาของขอมูลที่จุดกึ่งกลางของการกระจายของขอมูลที่มีการเรียงลําดับ แลวจากคานอยไปหาคามาก โดย 50% ของขอมูลมีคาสูงกวาคามัธยฐาน และ 50% มีคาต่ํากวา ค า มั ธ ยฐาน และมั ก ใช ใ นกรณี ที่ การกระจายของข อ มู ล มี ลั ก ษณะไม เ ท า กั น ทั้ ง สองข า ง (Asymmetry) หรือมีลักษณะเบไปทางซายหรือทางขวา Mode: คาฐานนิยม คือคาของขอมูลที่มีความถี่ (ซ้ํากัน) มากที่สุดในขอมูลของชุดนั้น ๆ ซึ่งอาจมี มากกวาหนึ่งคา (ผลลัพธจะแสดงคาแรกที่เจอ) หรือไมมีเลยก็ได (ผลลัพธจะแสดง #N/A) Standard Deviation: ส ว นเบี่ ย งเบนมาตรฐาน เป น การวั ด การกระจายของข อ มู ล ว า จะ เบี่ยงเบนไปจากคาเฉลี่ยมากนอยเทาใด Sample Variance: คาความแปรปรวน เพื่ อสะดวกในการคํ านวณและหมดปญหาเกี่ยวกับ เครื่องหมายจึงยกกําลังสองของคาเบี่ยงเบนของคาเฉลี่ย 12 | P a g e


Kurtosis: เปนการวัดลักษณะความโดงของขอมูล การพิจารณาความโดงพิจารณาเครื่องหมาย ดังนี้ Kurtosis = 0 แสดงวาความโดงปกติ Kurtosis = - แสดงวาความโดงต่ํากวาปกติ Kurtosis = + แสดงวามีความโดงสูงกวาปกติ Skewness: เปนการวัดการกระจายของขอมูลในลักษณะทิศทางของขอมูลวามีความเบไปใน ทิศทางใด Range: พิสัย เปนคาความแตกตางระหวางคาสูงสุดและคาต่ําสุด (พิสัย=คาสูงสุด-คาต่ําสุด) ของ ขอมูลชุดหนึ่ง ๆ การวัดการกระจายของขอมูลโดยใชพิสัยนี้ เปนคาที่แสดงการกระจายอยางคราว ๆ ไมใชการวัดที่ละเอียดและเชื่อถือไดมากนัก เพราะเปนคาที่ไดมาจากขอมูลเพียง 2 คาเทานั้น นิยมบอกคา สูงสุดและต่ําสุดแทน เพื่อใหสามารถบอกไดวา การกระจายขอมูลเปนอยางไร มักถูก นําเสนอคูกับคามัธยฐาน Minimum: คาต่ําสุดของขอมูลชุดนั้น Maximum: คาสูงสุดของขอมูลชุดนั้น Sum: ผลรวมของคาทั้งหมดของขอมูลชุดนั้น Count: จํานวนขอมูลทั้งหมด อยางไรก็ดีคาทางสถิติที่นิยมใช 2 คาในการสรุปผลการวิจัยเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจ ไดแก Mean และ Standard Deviation นอกจากการวิเคราะหขอมูลโดย Excel ในสวนที่ 1 ที่ใช เทคนิค Histogram และสวนที่ 2 ที่ใช เทคนิค Descriptive Statistics ผูวิจัยสามารถใชเครื่องมือใน Excel ที่แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบ เครื่องมือ Editing ทางขวามือสุด โดยเลือกใชไอคอน เพื่อหาคา Mean และ Standard Deviation (S.D.) ไดเชนกัน ดังแสดงในรูปที่ 16.

รูปที่ 16. ผลลัพธที่ไดจากการใชเทคนิค Descriptive Statistics จากรูปที่ 16. คา Mean ใชสูตร AVERAGE(ชวงของขอมูล) และคา S.D. ใชสูตร STDEV.S(ชวง ของขอมูล) ซึ่งทั้ง 2 สูตร สามารถเลือกใชไดจากไอคอน 13 | P a g e


อยางไรก็ดี มีวิธีการวิเคราะหขอมูลอีกแบบหนึ่งที่นิยมใช นั่นคือการแสดงคารอยละของความพึง พอใจในแต ล ะด า น ซึ่ ง วิ ธี นี้ ผู วิ จั ย จะต องกรอกข อ มูล ลงในฐานข อ มู ล Excel โดยการนั บ จํ า นวนคนที่ ประเมินในแตละดาน แตละหัวขอที่ประเมิน จากนั้นจึงนํามาคํานวณเปนคารอยละ ดังแสดงในรูปที่ 17. นับจํานวนคนที่ ประเมินในแต่ละด้าน

คํานวณค่าร้อยละ ในแต่ละด้าน

รูปที่ 17. การวิเคราะหขอมูล โดยใชคารอยละ ขอมูล (Data) จากการทดลอง นอกจากข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากแบบสอบถามแล ว มี ข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการทดลองที่ ผู วิ จั ย สามารถใช โปรแกรม Excel ชวยในการวิเคราะหขอมูลเพื่อสรุปผลการวิจัยได ตัวอยางขอมูลแสดงในรูปที่ 18.

รูปที่ 18. การกรอกขอมูลจากการทดลองลงในฐานขอมูล Excel การวิเคราะหขอมูล สําหรับขอมูลที่ไดจากการทดลองนี้ ผูวิจัยสามารถเลือกใชเครื่องมือไดดังนี้ 1. เครื่องมือ Data Analysis เทคนิค Descriptive Statistics 2. แถบเครื่องมือ HOME ที่กรอบเครื่องมือ Editing 14 | P a g e


การนําเสนอผลของการวิจัย ขั้นตอนตอจากการวิเคราะหขอมูล คือการนําเสนอผลของการวิเคราะหขอมูล หรือผลของการ วิจัยวา ผูวิจัยพบหรือไดขอสรุปใดจากการวิจัย ในสวนนี้จะอธิบายวิธีการนําเสนอผลของการวิจัย ทั้งจาก แบบสอบถามและการทดลอง ผูวิจัยสามารถศึกษาไดจากหัวขอตอไปนี้ ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถามขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัย ไดดังนี้ แบบที่ 1 นําเสนอดวยคาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แสดงดังรูปที่ 19.

รูปที่ 19. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 1 15 | P a g e


จากรูปที่ 19. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 (S.D. = 0.50) โดยความ พึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.45 (S.D. = 0.49) และ 4.42 (S.D. = 0.52) ตามลําดับ แบบที่ 2 นําเสนอดวยคารอยละ แสดงดังรูปที่ 20.

ดานที่ประเมิน เนื้อหา การนําเสนอ

มากที่สุด 60 56

ระดับความพึงพอใจ (รอยละ) ระดับเฉลี่ย มาก ปานกลาง นอย นอยที่สุด 26 13 1 - 4.45 30 14 - 4.42 ระดับเฉลี่ย 4.44 เฉลี่ยรอยละ 88.70

รูปที่ 20. การนําเสนอผลของการวิจัยจากแบบสอบถาม แบบที่ 2 16 | P a g e


จากรูปที่ 20. สามารถเขียนสรุปผลการวิจัยไดวา ความพึงพอใจเฉลี่ยในการนําเสนอผลงาน โดยรวมของผูตอบแบบสอบถามอยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.44 คิดเปนรอยละ 88.70 โดยความพึงพอใจเฉลี่ยทั้งดานเนื้อหาและดานการนําเสนออยูในระดับความพึงพอใจมาก มีคาเทากับ 4.45 และ 4.42 ตามลําดับ ตัวอยางการนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลอง การวิเคราะหขอมูลจากการทดลองขางตน สามารถนําเสนอผลของการวิจัยในรูปแบบกราฟได ดัง แสดงในรูปที่ 21. และรูปที่ 22.

รูปที่ 21. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 1 จากรูปที่ 21. จะสังเกตไดวา แกน X คือวิธีดําขาว และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดย กราฟแทงแทนลําดับที่ของกอขาวตั้งแต กอที่ 1 ถึง กอที่ 4 โดยมีกราฟเสนแทนคาเฉลี่ยของจํานวนตน ขาวที่แตกกอ

รูปที่ 22. การนําเสนอผลของการวิจัยจากการทดลองดวยกราฟ แบบที่ 2 จากรูปที่ 22. จะสังเกตไดวา แกน X คือลําดับที่ของกอขาวตั้งแตกอที่ 1 ถึง กอที่ 4 และคาเฉลี่ย และแกน Y คือจํานวนตนขาวที่แตกกอ โดยกราฟแทงแทนวิธีดําขาว 3 วิธี ไดแก ดําถี่ นาเคมี ดําหลายตน ดําหาง นาอินทรีย ดําหลายตน และดําหาง นาอินทรีย ดําตนเดียว 17 | P a g e


การสรางกราฟ (Chart) ใน Microsoft Excel 2013 กราฟ เปนอีกวิธีหนึ่งที่ใชแสดงขอมูลที่เปนตัวเลขไดอยางชัดเจน และสือ่ ความหมายไดมากขึ้น โดยเฉพาะขอมูลทีใ่ ชเปรียบเทียบหรือแสดงแนวโนมของคาตางๆ เชน รายรับ-รายจาย เงินเดือน หรือ ขอมูลทางวิทยาศาสตร เปนตน

สิ่งที่ตองพิจารณากอนการสรางกราฟ การสรางกราฟใน Microsoft Excel สิ่งสําคัญที่ตองพิจารณา คือ ขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ ลักษณะขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ และชนิดของกราฟที่ตองการนําเสนอ

ขั้นตอนในการสรางกราฟ 1. เลือกกลุมขอมูลที่จะนํามาสรางกราฟ เมื่อเลือกแลวกลุมขอมูลจะเปนแถบสี (Highlight) ดัง รูปที่ 2.3

รูปที่ 23. การเลือกกลุมขอมูลในการสรางกราฟ 2. ที่แถบเมนูใหเลือกแถบแทรก (INSERT) จากนั้นใหผูใชเลือกคําสั่งสรางกราฟซึ่งทําไดดังนี้ วิธีที่ 1 เลือกคําสั่งสรางกราฟที่แผนภูมิที่แนะนํา (Recommended Charts) ซึ่งจะพบกราฟ แบบตางๆ ทั้งหมด หรือเลือกที่แผนภูมิ (Charts) ซึ่งเปนคําสั่งสรางกราฟที่ใชบอย ดังรูปที่ 24. เลือก แถบ INSERT คําสัง่ สรางกราฟแบบตางๆ

รูปที่ 24. การสรางกราฟดวย Recommended Charts หรือ Charts 18 | P a g e


วิธีที่ 2 ใชเครื่องมือที่เรียกวา Quick Analysis (Ctrl+Q) เมื่อผูใชเลือกกลุมขอมูลที่ตองการแลว จะพบเครื่องหมาย ปรากฏอยูที่มุมขวาดานลาง ใหผูใชเลือก CHARTS เพื่อเลือกรูปแบบ กราฟที่ตองการสราง ดังรูปที่ 25.

รูปที่ 25. การสรางกราฟดวย Quick Analysis 3. เมื่อคลิกเลือกประเภทของกราฟแลว จะปรากฏกราฟบน Work Sheet ในที่นี้เลือกกราฟ ประเภท Clustered Column ดังรูปที่ 26.

รูปที่ 26. กราฟที่ไดจากการเลือกประเภทกราฟ Clustered Column 4. ปรับแตงกราฟตามตองการ ผูใชสามารถทําไดดังนี้ วิธีที่ 1 คลิกที่กราฟแลวที่แถบเครื่องมือ (Tool Bar) จะปรากฏ แถบเครื่องมือแผนภูมิ (CHART TOOLS) ซึ่งประกอบดวย แถบออกแบบ (DESIGN) และแถบรูปแบบ (FORMAT) ดังรูปที่ 27.

19 | P a g e


แถบเครือ่ งมือแผนภูมิ

ไอคอนปรับแตงกราฟ

รูปที่ 27. การปรับแตงกราฟดวยแถบเครื่องมือแผนภูมิ วิธีที่ 2 คลิกที่กราฟแลวทางดานขวาของกราฟจะปรากฏ ไอคอนปรับแตงกราฟ ดังรูปที่ 27. การปรับแตงกราฟดวยไอคอนปรับแตงกราฟ สามารถทําไดดังนี้ • ปรับแตงองคประกอบ (Chart Elements) ของกราฟ เชน หัวเรื่องกราฟ (Chart Title) คําอธิบายสีกราฟ (Legend) เปนตน ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 2.8

รูปที่ 28. การปรับแตงองคประกอบของกราฟ • ปรั บ แต ง กราฟ (Chart Styles) ได แ ก รู ป แบบ (STYLE) และสี (COLOR) ได ที่ เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 2.9

20 | P a g e


รูปที่ 29. การปรับแตงกราฟ • ปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ (Chart Filters) ไดแก คาขอมูล (VALUES) และชื่อ (NAMES) ไดที่เครื่องหมาย ซึ่งอยูทางดานขวาของกราฟ ดังรูปที่ 3.0

รูปที่ 30. การปรับขอมูลที่แสดงในกราฟ

การเปลี่ยนชนิด (รูปแบบ) กราฟ เมื่อสรางกราฟเสร็จแลว ถาผูใ ชตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของกราฟ สามารถทําไดดังนี้ 1. เลือกกราฟที่ตองการเปลี่ยนรูปแบบ 2. ที่แถบเครื่องมือแผนภูมิ เลือก DESIGN และหัวขอ Type เลือกเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ (Change Chart Type) ดังรูปที่ 3.1 ไอคอนเปลีย่ นชนิดแผนภูมิ

21 | P a g e

รูปที่ 31. การเปลี่ยนชนิดกราฟ


3. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดแผนภูมิจะปรากฏขึ้น ใหผูใชเลือกรูปแบบกราฟที่ตองการเปลี่ยน ดังรูปที่ 32.

รูปที่ 32. กรอบโตตอบเปลี่ยนชนิดกราฟ

การสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน สําหรับขอมูลทั่วไป กราฟจะประกอบดวย แกน X และ แกน Y อยางละ 1 แกน ในกรณีที่ขอมูล มีคาที่แตกตางกันมาก หากนํามาสรางกราฟในลักษณะทั่วไปการแสดงผลอาจมองภาพไดยาก ดังนั้นขอมูล ลั ก ษณะนี้ จึ ง ควรนํ า เสนอด ว ยกราฟแบบผสมที่ มี 2 แกน ในที่ นี้ คื อ สร า งกราฟแกน Y เป น 2 แกน (สามารถเพิ่มแกน X เปน 2 แกนได แตตองทําหลังจากเพิ่มแกน Y แกนที่ 2 แลวจึงจะมี Option ปรากฏ ใหเลือก) ตัวอยางขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก แสดงดังรูปที่ 33.

22 | P a g e


แหลงขอมูล : สํานักงานสถิติแหงชาติ

จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชันปี ้ ที่ 1 1,000,000 800,000 600,000 400,000 200,000 -

2549

2550

2551

2552

2553

อาจารย์

นักศึกษา

2554

2555

2556

2557

รูปที่ 33. ตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวนนักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557 จากรูปที่ 33. แสดงตัวอยางขอมูลระหวางจํานวนอาจารยสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและจํานวน นักศึกษาชั้นปที่ 1 ตั้งแตปพุทธศักราช 2549 – 2557 ที่มีคาแตกตางกันมาก เมื่อนํามาสรางกราฟแกน เดียวโดยแกน X แทนป พุท ธศั ก ราช และแกน Y แทนจํานวนอาจารย (กราฟแทงสี ฟา) และจํ านวน นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) จะสังเกตไดวา แทงกราฟของขอมูลจํานวนอาจารยต่ํามากทําใหดูไดยาก แนวทางในการปรับปรุงคือ การทําใหเปนกราฟผสมแบบ 2 แกน ดังรูปที่ 34.

23 | P a g e


จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชันปี ้ ที่ 1 จํานวนนักศึกษา

800,000

40,000

600,000 400,000 200,000 -

20,000

2549

2550

2551

2552

2553

นักศึกษา

2554

2555

2556

2557

จํานวนอาจารย์

60,000

1,000,000

-

อาจารย์

หรือ 60,000

800,000

50,000

จํานวนนักศึกษา

1,000,000

40,000

600,000

30,000

400,000

20,000

200,000 -

จํานวนอาจารย์

จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชันปี ้ ที่ 1

10,000 2549

2550

2551

2552

2553

นักศึกษา

2554

2555

2556

2557

-

อาจารย์

รูปที่ 34. การนําเสนอขอมูลที่มีคาแตกตางกันมาก ดวยกราฟผสมแบบ 2 แกน จากรูปที่ 34. เปนกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) ซึ่งปรับปรุงมาจากกราฟแกนเดียวใน รู ป ที่ 33. จะสั ง เกตได ว า แกน X ทางซ า ยมื อ แทนจํ า นวนนั ก ศึ ก ษา แกน Y ทางซ า ยมื อ แทนจํ า นวน นักศึกษา (กราฟแทงสีสม) และแกน Y ทางขวามือแทนจํานวนอาจารย (กราฟแทง/เสนสีฟา) ซึ่งในขณะนี้ กราฟแทง/เสนสีฟาดูไดงายขึ้น ขั้นตอนในการสรางกราฟผสมแบบ 2 แกน (แกน Y 2 แกน) สามารถทําไดดังนี้ 1. ปอนขอมูลที่ตองการสรางกราฟลงใน Excel 2. เลือกขอมูลที่ตองการแลวคลิกปุม Insert Chart เลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart จากนั้นกดปุม OK จะไดกราฟแกนเดียว (คาแกน X ที่ไดไมถูกตอง) ดังรูปที่ 35.

24 | P a g e


กดปุม OK

รูปที่ 35. การเลือกขอมูลที่ตอ งการสรางกราฟ แลวเลือกประเภทกราฟเปน Combo Chart 3. ทําการเปลี่ยนคาที่แกน X ใหถูกตอง (ในที่นี้คือ ป พ.ศ.) โดยคลิกที่กราฟ สังเกตที่แ ถบ เครื่ อ งมื อ ด า นบนจะปรากฏแถบ CHART TOOLS ที่ แ ถบย อ ย DESIGN ให เ ลื อ กไอคอน Select Data ดังรูปที่ 36. จากนั้นจะพบกรอบโตตอบ Select Data Source เพื่อเลือกชวง ขอมูลใหม ดังรูปที่ 37. 25 | P a g e


ไอคอน Select Data

รูปที่ 36. การเลือกขอมูลที่ตอ งการสราง

รูปที่ 37. กรอบโตตอบ Select Data Source 4. ที่กรอบ Horizontal (Category) Axis Labels ใหคลิกปุม Edit จะปรากฏกรอบโตตอบ Axis Labels จากนั้นใหทําการเลือกชวงขอมูลใหมที่ตองการ นั่นคือ คอลัมนป พ.ศ. แลวใหกดปุม OK เพื่อออกจากการแกไข ผลที่ไดคือคาแกน X ที่ถูกตอง ดังรูปที่ 3.8 กรอบโตตอบ Axis Labels

รูปที่ 38. กราฟแกนเดียวที่แสดงคาแกน X เปนป พ.ศ. 5. จากกราฟแกนเดียวที่ได ใหคลิกเลือกแทงกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง (ในที่นี้ใหเลือกกราฟแทงสีฟา) จากนั้นใหคลิกขวาของเมาสจะปรากฏหนาตางเครื่องมือ ให เลือก Format Data Series ดังรูปที่ 3 .9

26 | P a g e


เลือก Format Data

รูปที่ 39. หนาตางเครื่องมือสําหรับแกไข/ปรับปรุงกราฟ 6. หลังจากเลือก Format Data Series จะปรากฏแถบ Format Data Series ทางขวามือ ที่ SERIES OPTIONS เลื อ ก Secondary Axis นั่ น คื อ กํ า หนดให ก ราฟที่ เ ลื อ กอยู (ขณะนี้ คื อ กราฟแทงสีฟา แทนจํานวนอาจารย) ถูกนําไปสรางเปนแกน Y อีกแกนเปน แกน Y แกนที่ สอง (Secondary Axis) นั่นเอง ดังรูปที่ 40.

เลือก Secondary Axis

รูปที่ 40. กําหนดกราฟที่ตองการนําไปสรางเปนแกน Y แกนที่สอง 7. ทําการเปลี่ยนชนิดของกราฟ โดยที่แถบเครื่องมือดานบนใหไปที่แถบ CHART TOOLS ที่ แถบย อ ย DESIGN ให เ ลื อ กไอคอน Change Chart Type จะปรากฏกรอบโต ต อบขึ้ น จากนั้นใหเลือก Chart Type เปน Line ใหกับ Series Name : อาจารย แลวคลิกปุม OK ดังรูปที่ 4.1

27 | P a g e


เลือก Change Chart

ที่ Series Name : อาจารย เลือก Line

รูปที่ 41. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย 8. ปรับแตงชื่อกราฟ ชื่อแกน จะไดกราฟผสมแบบ 2 แกน โดยมีขอมูลจํานวนนักเรียนเปนแกน Y แกนหลักหรือแกนที่ 1 (Primary Axis) และขอมูลจํานวนอาจารยเปนแกน Y แกนรองหรือ แกนที่ 2 (Secondary Axis) ดังรูปที่ 4.2 จํานวนอาจารย์สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ/นักศึกษาชันปี ้ ที่ 1 จํานวนนักศึกษา

800,000

40,000

600,000 400,000 200,000 -

20,000

2549

2550

2551

2552

2553

นักศึกษา

2554

2555

2556

2557

จํานวนอาจารย์

60,000

1,000,000

-

อาจารย์

รูปที่ 42. การเปลี่ยนชนิดของกราฟ Series Name : อาจารย

การลบกราฟ กราฟที่ไมใชแลว ตองการลบออก มีขั้นตอนดังนี้ 1. คลิกกราฟที่ตองการลบ 2. กดปุม Delete ที่คียบอรด 28 | P a g e


หนังสือและแหลงคนควาเพิ่มเติม:

1. กัลยา วานิชยบัญชา. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย EXCEL. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพจุฬาลงกรณ 2556. 2. การวิเคราะหทางสถิติและวิศวกรรมดวย Analysis ToolPak ที่มา: http://office.microsoft.com/th-th/excel-help/HP010090842.aspx

29 | P a g e


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.