บ้านสนามกีฬา บ้านแม่แดดน้อย : บ้านปกาเกอะญอพึ่งตนเอง

Page 1

บทสรุ ปการทํางานเขตที ๒ ชุ มชนบ้ านป่ าเกียะนอกและชุมชนบ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง และชุ มชน บ้ านแม่ แดดน้ อย อ.กัลยาณิวฒ ั นา จ.เชียงใหม่

๔ คน ๓ หมู่บ้าน ๒ อําเภอ เครือข่ ายชุมชนปกาเกอะญอ (คน) บุญ แม่ พอวาและกลุ่มทอผ้ า: เมือปากท้ องสํ าคัญกว่ าวัฒนธรรม “ปกาเกอะญอ แปลว่าคน ในภาษากะเหรี ยง จะเรี ยกผมว่ากะเหรี ยงแบบในภาษาไทย ผมก็เฉยๆ แต่ เรี ยกว่า “ยาง” มันเป็ นคําดูถูกสําหรับผม ไม่ต่างจากเรี ยกคนจีนว่า พวกเจ๊ก เรี ยกม้งว่า แม้ว แต่เดียวนีพอผมลงไป ซื อของในเมืองเขาไม่ได้สนใจว่าผมหรื อใครเป็ นกะเหรี ยง เขาสนแต่วา่ ผมมีเงินและพูดกับเขารู ้เรื องก็พอ” สละ เลิศละอองดาว พ่อหลวงบ้านแม่แดดน้อย บ้านปกาเกอะญอเผ่าสะกอเล็กๆ บนภูเขาสูงสะท้อน ความเปลียนแปลงทางสังคมผ่านวัฒนธรรมการใช้ภาษา ในแง่ความหมายก็อาจมองได้วา่ กลุ่มพีน้องชาติพนั ธุ์ วรรณนามีศกั ดิศรี เท่าเทียมคนพืนราบในยุคสมัยนี ในขณะเดียวกันก็ทาํ ให้คิดต่อต่อได้วา่ ศักดิศรี แห่งความเป็ น ั สูงและคนพืนราบก็ตกเป็ นทาสของสิ งเดียวกันคือ เงินตรา มนุษย์ทงคนบนที คนเมือง คนดอย คนรวย คนจน คนคริ สต์ คนพุทธ คนมุสลิมก็มีปัญหาไม่แตกต่างกันเพราะต่างก็ทุกข์ เหมือนกัน โดยเฉพาะปัญหาพืนฐานอย่างเรื องปากท้อง วันนีจะเอาอะไรกิน มีทีดินแต่ไม่มีกิน ปัญหาชักหน้าไม่ ถึงหลัง มีรายได้นอ้ ยกว่ารายจ่ายจึงพวงหนีสิ นกองโตซึ งล้วนเกียวกับเงิน เช่นเดียวกับแม่พอวา มณี ไพรสณฑ์ ประธานกลุ่มแม่บา้ นทอชุมชนบ้านป่ าเกียะนอก อดีตเจ้าของไร่ สตรอเบอร์ รีแต่ทาํ แล้วเจ๊งขาดทุนแล้วขาดทุนเล่า จนทําให้ตอ้ งเลิก ปัจจุบนั จึงยึดอาชีพรับจ้างทุกชนิดเพือจุนเจือครอบครัวทังสี ชีวิต “โอ้ย...เขาจ้างแค่วนั ละ ๑๓๐ บาท งานหนักมากในสวน ทังปลูกสตรอเบอร์ รีร้อยห้าสิ บต้นได้สิบบาท ถอนหญ้า ตัดไหล เก็บผลสตรอ บางทีพน่ ยา ใส่ปุ๋ยเคมีเมือวาน เช้ามาให้เก็บผลมือทังแสบทังคัน กลินก็ฉุนเหม็น ก็ตอ้ งทน จะชายจะหญิงก็จา้ งไม่เกิน ๒๐๐ บาทต่อวัน” แม่พอวาบ่นอย่างจําใจเพราะมีทางเลือกไม่มากสําหรับคนปากกัดตีนถีบหาเงินเลียงตัวเองรายวัน และ แทบจะเป็ นไปได้สาํ หรับค่าแรง ๓๐๐ บาทต่อวันบนดอยสูง หรื อแม้แต่แรงงานนอกระบบอย่างคนพืนราบก็ดีจะ


มี ๓๐๐ บาทอยูใ่ นมือต่อวัน แต่กแ็ ทบชักหน้าไม่ถึงหลังในเมือข้าวจานเดียวก็ราคาแพงถึง ๔๐ บาท เป็ นวิกฤต ปากท้องทีพีน้องผูใ้ ช้แรงงานและเกษตรกรไทยเผชิญมาทุกยุคทุกสมัย เพราะเมือนําเงินตังตน ชีวิตก็ตอ้ งเหนือย วิงหาเงิน และปิ ดฉากชีวิตลงทีเอาเงินไปด้วยไม่ได้ นันก็เพราะว่าเรายอมให้เงินครอบงําจิตใจ “สวิง (แกนนําฝังตัวขับเคลือนขบวนบุญ) มาชวนแม่มาขายนํายาล้างจาน แชมพู สบู่ของวัด จนเกิด กองทุนกลางขึนมา แล้วก็พากลุ่มทอผ้าปลูกฝ้ าย แล้วทอผ้าส่ งให้กบั วัด ทําไมแม่มาสนใจทํา พูดตรงๆคือ แม่ อยากจะมีรายได้ใช้จ่ายในครอบครัว และก็คิดว่าช่วยอนุรักษ์การปลูกฝ้ าย ปั นฝ้ ายอย่างทีสมัยของยายยังทําอยู่ เดียวนีมีเด็กสาวไม่กีคนทีทอผ้าเป็ น ไปทํางานเรี ยนในเมืองหมด บางคนแต่งงานแล้วก็ยงั ทอไม่เป็ น คนทอเป็ นก็ ทอเก็บไว้ใส่เองเยอะ ไม่เคยเอาผ้าไปขายเพราะ ไม่มีใครมาซือ จึงต้องไปรับจ้างหาเงินมาใช้จ่าย ใช้หนี ให้ลูกตืน มาต้องใช้เงินทุกวัน” โชคดีทีฟ้ ายังเข้าข้างลูกชายวัย ๑๓ ปี ได้ทุนการศึกษาจนจบม.๖ จากทางโบสถ์คริ สตจักร และลูกสาวคน เล็ก ๑๐ ปี ของแม่พอวาเรี ยนฟรี ในโรงเรี ยนของรัฐใกล้บา้ น ถ้าเช่นนันแล้วแม่หาเงินไปทําไม “๕ ปี ก่อนแม่ทาํ ไร่ สตรอเบอร์ รีทีใช้ยาฆ่าแมลงพ่นเคมีลงต้นและผล ไม่รู้วา่ สารเคมีค่อยๆ ซึ มซับลงดิน ช้าๆ ดินเสี ยหมด พอแม่กลับมาปลูกข้าวไร่ อย่างเดิมแต่กไ็ ด้ขา้ วไม่พอกิน กินสี คนไม่พอ ต้องออกไปรับจ้างหา เงินซื อข้าว ของใช้บา้ งและใช้หนีทีกูม้ าใช้จ่ายในครอบครัว เป็ นเหตุให้แม่ตอ้ งถีบตัวออกจากบ้านมารับจ้างทุก อย่าง” ชุ มชนปกาเกอะญอตําบลบ่ อแก้ วจึงมีชีวติ อยู่อย่างลําบากกว่ าแต่ ก่อน... ครังหนึงเมือของชุมชนป่ าเกียะนอกซึงเคยอุดมสมบูรณ์ดว้ ยป่ าไม้ ต้นนําลําธาร มีนาํ มีอาหารจากป่ า และดํารงชีวิตด้วยการปลูกข้าวไร่ ปลูกผัก เลียงสัตว์ หาเห็ด หน่อไม้ ดอกไม้ ใบผักเขียวขึนตามป่ า แชมพูได้จาก มะคําดีควายในป่ า ล้างจานคราบมันด้วยใบไม้ป่า เป็ นไข้ตวั ร้อนปวดเมือยต้มรากไม้เปลือกไม้ดืม ชีวิตจึงล้วน พึงพาจากป่ าและอยูไ่ ด้ดว้ ยตนเอง โลกหมุนไปทุกวัน โลกเปลียน เราปรับตัว...


เมือรายได้เป็ นตัวเงินเป็ นสิ งจําเป็ นสําหรับชีวิต ทังยังถูกบีบจากนายทุนกว้านซื อทีดิน บ้างถูกกล่าวหาว่า บุกรุ กป่ า ซําร้ายยังทําลายผืนดินของตนเองจะด้วยรู ้หรื อไม่รู้ การรดสารเคมีเร่ งพืชโตให้ทนั ขายกลับทําให้ดิน เสื อมสภาพรวดเร็ ว เพราะพืชก็ถูกสารเคมีเร่ งให้ดูดแร่ ธาตุจากดินขึนจนหมด พืชงามแต่ดินเสื อม วิถีชีวิตคนบน ดอยจึงต้องเร่ งรี บหาเงินตามกระแสสังคมทีบีบรัด ประเพณี วฒั นธรรมจึงจําเป็ นต้องปรับเปลียนตาม “คอเสื อตัววีตามแบบเสื อปกาเกอะญอทัวไปเหมือนกันทังหน้าและหลัง บรรพบุรุษบอกเราว่า ปกา เกอะญอจงทําตนให้เหมือนกันทังต่อหน้าและลับหลัง และให้สงสอนลู ั กหลานเช่นนี” แม่พอวาอธิ บายด้วย ภาษาไทยติดๆขัดๆ ปนภาษามือก็ทาํ ให้เข้าใจได้ไม่ยาก “เสื อสี ดาํ (เชซู) ทีแม่ใส่เปรี ยบเหมือนต้นไม้ใหญ่ทีออกผลและเป็ นร่ มเงาให้ลูกหลานอย่างต้นไม้ตน้ เล็กๆ ทีเติบโตอยูร่ อบเงาไม้ให้อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ข เสื อสี แดง (เชกอ) ทีผูช้ ายใส่ หมายถึงหัวหน้าครอบครัว ออกไปไร่ ไปนาไปป่ าหาอาหารมาให้ครอบครัวต้องใช้ความกล้าหาญและความเป็ นผูน้ าํ ส่วนเสื อสี ขาวยาวกรอมเข่า (เช กวา) หมายถึงความบริ สุทธิดังผ้าขาว เป็ นชุดสําหรับเด็กหญิง” แม่หนี น้าของสวิงบอกเล่าเป็ นภาษาปกาเกอะญอ พลางโชว์เสื อทอมือสี ดาํ ทีสวมใส่ อยู่ ลายปักลูกเดือยสี ขาวเม็ดกลมเรี ยงเป็ นรู ปดอกไม้สลับกับลายดอกไม้สีแดง เล็กๆ ทังหมดเดินเส้นด้วยการปักมือเนียนสวยกว่าเครื องจักรเป็ นไหนๆ แม่หนียังเสริ มอีกว่า ด้วยความเป็ นแม่ที ต้องคอยเลียงดูลูกๆ ทํางานบ้านไปไร่ นาเสื อย้อมธรรมชาติสีดาํ จึงเหมาะกับการใช้งานทุกสถานการณ์แบบไม่ กลัวเปื อน สี เสื อ ลักษณะเสื อ เป็ นเพียงเศษเสี ยวของภูมิปัญญาการสังสอนลูกหลานแบบมุขปาฐะ (เล่าจากปากต่อ ปาก) จากบรรพบุรุษปกาเกอะญอทีน้อยคนจะเข้าถึงคุณค่าความหมายแฝงเหล่านัน ในเมือวัฒนธรรมกับ เศรษฐกิจเรื องปากท้องไปกันไม่ได้ สิ งเหล่านีจึงเริ มเลือนหาย “ไม่มีใครถามหรอกว่าวัฒนธรรมเรามีอะไร ทําไมเสื อต้องสี ดาํ สี แดง ทําไมต้องหมุนเวียนไร่ บางทีเรา ทําทุกวันจนลืมไป เวลาลูกหลานถามก็ตอบไม่ได้ ชีวิตเราก็ออกรับจ้างแต่เช้า ตกเย็นก็ไปซือข้าวกิน ไม่ได้มานัง คิดเรื องพวกนี” แม่พอวาพูดเสี ยงเศร้าแบบไม่โทษใครแต่ในเมือท้องยังไม่อิม วัฒนธรรมทีกินไม่ได้จะสําคัญกว่า คงเป็ นไปได้ยาก มีคาํ บอกกว่าว่าชีวิตคือ วัฒนธรรม เมือวิถีชีวิตเปลียนนันคือ วัฒนธรรมทีเปลียนไปเช่นกัน จะดีไหมหากเรืองปากท้ อง วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไปด้ วยกันได้ ...


วิทย์ ปกาเกอะญอนอกกรอบ : พึงตนเองทางกาย พึงเครือข่ ายทางใจ “เอาง่ายๆ ผมมีแปลงผัก เลียงหมู เลียงไก่ ปลูก กาแฟในป่ า ปลูกต้นไม้ใหญ่ในป่ าเสริ ม มีบ่อปลาเล็กๆ ชีวิตนีผมก็พอใจแล้ว” “ผมพึงตนเองได้ ก็ค่อยๆ พากลุ่มแม่บา้ นเพียงสิ บ คนทอผ้า หาตลาดขายเป็ นรายได้เสริ ม ส่วนจะอนุรักษ์ผา้ ได้กด็ ี ไม่ได้กไ็ ม่เป็ นไรเพราะทุกอย่างต้องมีการ ปรับเปลียนตามยุคสมัย เหมือนผมทีทําโครงการอนุรักษ์พนั ธุกรรมพืช โดยไปปลูกต้นกล้าในป่ าใหญ่ปลูกไป มากมายก็ไม่รู้จะอนุรักษ์ได้ไหม รู ้แต่วา่ ตอนนีก็ทาํ ไปก่อน ผมคิดว่าดีต่อต้นนําทีใช้ในนาข้าวของผม มันต้องดี ขึนแน่ถา้ ทุกๆทีทียังมีป่า” วิทย์หรื อ สวิง จะหละ หนุ่มปกาเกอะญอนอกกรอบแห่งบ้านป่ าเกียะนอกวัย ๒๗ ตอบอย่างมันใจ หลังจากเข้าร่ วมเป็ นเครื อข่ายโครงการของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มร่ วมสามปี โดยเน้นให้เครื อข่ายชุมชนท้อง อิม ใจอิม (เอม) ด้วยมอตโต้ “เศรษฐกิจ จิตใจ แก้ไขพร้อมกัน” ทีทีมงานยึดเป็ นหัวใจหลักในการทํางาน ซึ งท่าน พระพุทธพจนวราภรณ์ (หลวงปู่ จันทร์ กุสโล) อดีตเจ้าอาวาสวัดเจดียห์ ลวงมอบให้เป็ นแนวทางการพัฒนาชุมชน อย่างยังยืน หลังจากทีโลดโผนจากการทํางานสารพัดอย่างในเมืองทังขับรถ เป็ นไกด์ทวั ร์ เป็ นล่ามเกือบสี ปี ทีชีวิต ของวิทย์ขอ้ งเกียวกับในเมืองทําให้เขาค้นพบว่าไม่มีทีไหนอยูส่ บายเท่าทีบ้านเขา หากแต่ความจําเป็ นทีจะช่วยพ่อ แม่ปลดหนีก้อนโตจากการทําเกษตรเงินกู้ และเพือเป็ นทุนรอนใน การทําสวนเกษตรในฝันและมีเวลาช่วยเหลือสังคมส่ วนรวม ชุมชน ทีเขารัก “ผมมาทํางานเพือส่วนรวมร่ วมกับทางวัด จริ งๆ มาจาก เพราะผมศรัทธา ศรัทธาอะไร ศรัทธาในตัวหลวงพ่อซึงไม่ใช่คนใน พืนทีแต่กลับทําประโยชน์ให้ส่วนรวมมากมาย ก็เลยคิดว่าแล้วเรา คนในชุมชนแท้ๆ จะทําอะไรให้กบั บ้านของเราได้บา้ ง”


นับเป็ นจุดเริ มต้นของชีวิตเด็กหนุ่มทีเต็มไปด้วยความฝัน ความศรัทธาโดยการเลือกทีจะอยูใ่ นชนบททํา เกษตรพอเพียงและทุ่มเททําเพือประโยชน์ส่วนรวมในบ้านเกิดทีเขารัก เหล่านีอาจเป็ นความฝันของใครหลายๆ คน แต่ในความเป็ นจริ งการทําเพือส่ วนรวมมักมีคาํ ถามเสมอว่าจุดสมดุลระหว่างงานส่ วนตนและงานส่วนรวม อยูต่ รงไหน เป็ นคําถามทีวิทย์กาํ ลังค้นหาคําตอบทีไม่สาํ เร็ จรู ป และต้องแลกมาจากประสบการณ์ลงพืนทีจริ ง ทํางานร่ วมกับชุมชนอย่างทุ่มเท และเจียดเวลาให้กบั สวนเกษตรส่วนตัวทีรอคอยให้สามารถเก็บผลผลิตจนเลียง ปากท้อง จุนเจือครอบครัวได้ ไม่ง่ายสําหรับคนรุ่ นใหม่ทีมีไฟและมีใจรักบ้านเกิด อยากพัฒนา อยากเห็นคนใน ชุมชนมองเห็นประโยชน์ส่วนรวมบ้าง แต่ในโลกแห่งความเป็ น จริ งก็ไม่ได้เป็ นอย่างในฝันเสมอไป “ชาวบ้านมากระซิ บเรื องผลประโยชน์ จากปูนซีเมนต์ มาทําฝายต้นนําว่าผมได้ฝายหนึงเท่าไร จากโก่งราคาขีหมูที นํามาทําปุ๋ ยอินทรี ยใ์ ห้กบั วัด คือเขาอาจไม่ตอ้ งการผลประโยชน์ แต่พดู เพราะอะไรก็ไม่รู้นะ แต่ลึกๆ แล้วผมท้อนะ ต้องเป็ นคนใน ชุมชน มาอยูใ่ นชุมชนจะรู ้เอง เจ็บเอง” “ถามว่ารักบ้านเกิดไหม รักนะและอยากเห็นการพัฒนา แต่ ถ้าคนทําเพือส่วนรวมโดนแบบนีมากๆ เป็ นผมเองผมก็เริ มคิดนะ ผม ว่าผมอาจจะไม่พร้อมทําเพือส่วนรวมเต็มร้อย หนีสิ นพ่อแม่ สวนของ ผมก็ยงั ไม่ได้ทาํ รายได้ให้ครอบครัว แต่มองในแง่ดีการทํางานใน ชุมชนสอนผมหลายอย่าง เป็ นบทเรี ยนสําคัญของชีวิต ทําให้เห็นเราว่าเราเป็ นคนคิดผิด ทําผิด ใจร้อน และพอ โครงการมาลงชุมชนการพูดกับการปฏิบตั ิไม่เหมือนกันนะ พูดยังไงก็พดู ได้ แต่พอมาทําจริ งๆ มันทําไม่ได้ จาก อะไรหลายๆ อย่าง” ถึงแม้วา่ วิทย์จะประสบความสําเร็ จในแง่ของการเป็ นผู ้ ประสานงานโครงการขบวนบุญซึ งทําให้เกิด “กองทุนบุญ” ขึนจริ งใน กลุ่มทอผ้าของแม่พอวาและจะนําไปใช้ซืออุปกรณ์ทอผ้าในอนาคต แต่ ชีวิตส่ วนตัวของเขาทีกาํ ลังต่อสูก้ บั ภายในจิตใจระหว่างทางแยกของชีวิตนี


กําลังใจจึงเป็ นสิ งสําคัญ วิทย์จึงตัดสิ นใจไปหาทีปรึ กษาอย่างหลวงพ่อและเพือนศิษย์วดั ทีให้กาํ ลังใจทีจะสูต้ ่อไป เพราะจากประสบการณ์ของผูร้ ่ วมเครื อข่ายวัดกว่ายีสิ บหมู่บา้ นในเขตอําเภอสะเมิงเคยมีหว้ งความคิดนีอยูใ่ นหัว ทังนัน เราก็รู้อยูแ่ ล้วว่าการว่ายนําทวนกระแสต้องเหนือยแค่ไหน โขดหิ นกีโขด ท่อนซุงกีท่อน สัตว์นอ้ ยใหญ่ที ไหลตามนํามาอีกกีตัวทีจะเข้ามาทําร้ายเราได้เสมอ แต่ถา้ เมือใดถูกถาก ถูกถาง ถูกฟันแหลมคมฉี กเนือบ้างก็ ขอให้นึกไว้วา่ ยังมีพวกเราอีกกว่ายีสิ บนําหน้าไปก่อนแล้ว และก็เคยเจอเหตุการณ์ไม่ต่างจากเรา แต่พวกเขา ข้างหน้าก็ไม่เคยคิดจะว่ายนําถอยหลังเมือยังไม่ถึงฝัง...

สุ มน : อุดมการณ์ ความฝัน ความจริง ผ้าขาวม้าพันคอ หมวกแก็ป และเสื อแจ็คเกตทหารแขนยาวสี เขียวเป็ น เอกลักษณ์ติดตัวสุมน ปกาเกอะญอหนุ่มวัย ๒๕ นีไปเสี ยแล้ว

กันแดด

กันฝน กันหนาว เป็ นเหตุผลหลักทีเขาเลือก สารพัดประโยชน์เช่นนีไม่ต่างจาก อุดมการณ์ในความฝันทีเป็ นจริ งในวันนีทีเกิดประโยชน์ “มหาศาล” เขาว่า ไม่ใช่แค่ตวั เขา ครอบครัว แต่ชุมชนและโลกก็ได้รับประโยชน์จากความฝัน เล็กๆ ทีเมือเริ มลงมือก็ยงใหญ่ ิ แล้ว ปลูกป่ าในใจคน คือ ความฝันทีเริมเป็ นจริง

บ่อนําใหญ่นอ้ ยจํานวนหลายร้อยบ่อทีถูกขุดขึนมา เพือนําดินไปร่ อนหาแร่ เป็ นทีมาของตําบลบ่อแก้ว ก่อนป้ อน ให้กบั เหมืองแร่ ซีไรท์ทีอยูบ่ นหมู่บา้ นถัดไปไม่เกินหนึงกิโล กว่าห้าสิ บปี ทรายจํานวนมหาศาลทีไหลมาพร้อมกับนํา หลังจากสิ นสุดขันตอนร่ อนหาแร่ ท่วมทีทํากินและทีอยูอ่ าศัย รุ่ นปู่ ย่าแม่พอ่ ของสุมนอพยพบ้านมาหลายครัง เขาเองก็หวัง


ว่าจะสิ นสุดการเดินทางทีรุ่ นของเขา “โทษใครไม่ได้ เรามา เขามา แผ่นดินนีไม่ใช่ของใคร คนใดคนหนึง” สุ มนหรื อธัชชัย เปอะเลอะ เล่าเสี ยงเรี ยบด้วย ภาษาเหนืออันคล่องแคล่วของเขาอย่างเข้าใจปั ญหา โดยไม่ ปล่อยใจให้ทุกข์ไปด้วย “อุดมการณ์ทีเราได้ไปรําเรี ยนจนจบมหาลัยก็น่าจะมา ช่วยชาวบ้านซึงก็คือ ญาติพีน้องเรา เพือนเรา เรามีความรู้ดา้ น วิชาการมา ชาวบ้านเก่งปฏิบตั ิน่าจะช่วยแก้ปัญหาทีพืนทีรอบๆ ทีกลายเป็ นไร่ เชิงเดียว บางทีคนก็ขยายพืนทีเข้าไปในป่ า ยังไม่ รวมไปถึงปัญหาหนีสิ น” ความรักอิสระและติดดินเป็ นอีก คุณสมบัติทียังไม่มีบริ ษทั หางานใดชิงตัวเขาออกจากหมู่บา้ นได้ เขาจึงมุ่งกลับบ้านทําเกษตรพอเพียงการันตีดว้ ยดีกรี ปริ ญญาตรี ส่ งเสริ มการเกษตร ม.แม่โจ้ จึงไม่ตอ้ งกังวลว่าราคาพืชผักจะเป็ น อย่างไร ปลูกหลายอย่างเพือกระจายความเสี ยงเรื องผลผลิตล้น ตลาดและราคาตกตํา “ใช้เวลาและความอดทน” เป็ นสิ งทีสุ มนเน้นถึงหัวใจ ของการทําเกษตรผสมผสาน บรรดา พลับ ท้อ มะม่วง ไม้เติม ไม้พญาเสื อโคร่ ง จึงถูกปลูกขึนในไร่ ของเขาซึ งครังหนึงเป็ นป่ า ไผ่ร้างไฟป่ าไหม้ทุกปี ปี นีเขาดูแลไร่ อย่างดี ตัดหญ้าจนโล่งและ ชักชวนเพือนบ้านแทบทุกบ้านมาร่ วมปลูกไม้ผล ปลูกไม้ยนื ต้น ทดแทนป่ าทีเสี ยไป นอกจากนันยังพากันพัฒนาบ่อนําขนาด ใหญ่โดยปลูกแฝกเป็ นแถวยาวรอบบ่อกันการกัดเซาะ และนํา เงินจากโครงการมาซือพันธุ์ปลามาปล่อยลงบ่อ เพือหวังว่าสัก วันข้างหน้าลูกหลานเขาจะได้มีปลาไว้กิน มีป่าไว้ใช้สาํ หรับ


ชุมชน เมือไม้ผลออกผลก็มีรายได้ไว้เก็บสื บต่อไป “เวลาจะทําอะไรจะไม่มีการบังคับ แล้วแต่สมัครใจ แต่ผมจะประชุมกันก่อน คุยกันว่าจะทํากันยังไง ทํากันดี ไหม ปลูกพืชพันธุ์อะไร ต้องคุยจุดประสงค์ให้ตรงกัน ก่อน” แววผูน้ าํ และฝี มือผูป้ ระสานชาวบ้านฉายตังแต่การ วางแผนก่อนลงมือทํา ซึงก็รับการตอบรับอย่างดีจากเพือน บ้าน “ผมก็ไม่รู้หรอกว่าทีปลูกไปจะมีผลให้เก็บกิน เก็บขายได้เงินมาหรื อไม่กไ็ ม่รู้ ไม่แน่นอน แต่เป็ น ประโยชน์กบั ชุมชนร้อยเปอร์ เซ็นต์คือ ป่ าอุดมสมบูรณ์ขึน มีป่าใช้สอยเป็ นของชุมชน ดินกลับมาอุดมสมบูรณ์ ปลูกอะไรก็ขึน ก็งาม ไม่ตอ้ งใช้สารเคมี แมลงก็นอ้ ย ลดปั ญหาโลกร้อน แต่ขอ้ ดีจริ งๆ ของโครงการของวัด หลักๆคือ ช่วยความสามัคคีในชุมชน พอไม่มีอะไร ต่างคนก็ต่างไป ไม่มีการพัฒนาในชุมชน แต่กิจกรรมปลูก ต้นไม้ ทําปุ๋ ย อบรมต่างๆจะทําให้คนรักสามัคคีเป็ นผลพลอยได้ทีไม่ได้ตงใจ ั แต่สาํ คัญทีสุ ดคือ ได้ใจคน”

ปุ๋ ยหมัก ฮอร์ โมนพืช EM BALL ทุกคนพึงพาตนเองได้ หลังจากทีเวทีสญ ั จรแหล่งเรี ยนรู ้เคลือนทีในการอบรมทําปุ๋ ยอินทรี ย ์ ชีวภาพ ฮอร์โมนพืชและสาธิ ตการทําจุลินทรี ยด์ ินระเบิด (EM Ball) เมือเดือน กรกฎาทีผ่านมา สุ มนได้แสดงให้เห็นแล้วว่าชาวชุมชนบ้านสนามกีฬามีความ ตืนตัวมากในการแสวงหาแนวทางการพึงตนเอง หลังจากหลายครอบครัวอก หักขาดทุนหนักจากการปลูกสตรอเบอร์รีแหล่งสําคัญของประเทศ แต่ยงั ต้อง ทําต่อไปเพราะหนีสิ นพะรุ งพะรังพวงท้าย


กลุ่มพ่อบ้านทําปุ๋ ยหมักคอนโดจากขีหมูทีได้รับจากบ้านแม่ แดดน้อยซึงเป็ นเคลือนข่ายขบวนบุญ นําฟางเศษหญ้าสดมาออม รวมกัน ไม่กีอึดใจแรงงานชายกว่าสิ บคนก็เนรมิตกองปุ๋ ยหมักราวสอง พันกิโลจนแล้วเสร็ จ รอย่อยสลายไม่กีเดือนก็เปิ ดใช้ได้ ประหยัด เรี ยบ ง่าย คือแก่นของการพึงพาตัวเอง อีกฝังใกล้ๆ กลุ่มแม่บา้ นและลูกเด็กเล็กแดงแบ่งงานกันทํา อย่างสามัคคี ฟากหนึงสับขนุนทังเปลือก อีกฟากสอยหน่อกล้วยทีแต่ ละคนหิวมาออมรวมกันแต่เช้ามืด บรรดาเยาวชนศิษย์วดั พากันเตรี ยม ถัง ไม้พายตวงนําตาล รองนําสะอาดรอบรรดาแม่บา้ นพร้อม “ใครปวดฉี บ้าง เอาขวดไปรองมาด้วย เราจะมาออมฉี กัน” สิ นเสี ยงวิทยากรทําเอาวงแตกตืน เพราะสูตรปุ๋ ยนําปัสสาวะ ปุ๋ ยไร้ราคาแต่ไม่ไร้คุณค่า และหาได้ทกุ ทีนําปัสสาวะทีทางทีมงาน เตรี ยมมาปริ มาณไม่พอ จึง ต้องขอชาวบ้าน งาน “บริ จาคฉี ” จึงเริ มขึนเพือ เตรี ยมไว้หมักกับขนุนให้ได้ส่วนผสมทีพอเหมาะ ถังดําบรรจุขนุนสุ กสับละเอียดผสมกากนําตาลแล้ว เท ปั สสาวะหลายแกลลอนรวมกัน ไม่ตอ้ งเข้าใกล้กลินโชยก็แตะจมูกไม่ ต้องบอกก็รู้ฉีคนชัวร์ ๆ ราวกับมีเวทมนต์เมือพระอาจารย์สรยุทธ ชยปัญโญค่อยๆ ขยําจุลินทรี ยด์ ินระเบิดให้ละเอียดลงไปในถัง ไม่นาน กลินก็ดบั ไปราวกับไม่มีอะไรเกิดขึน เด็กๆ พากันพิสูจน์กลินหา


หลักฐานจึงพบว่าเจ้าจุลินทรี ยใ์ นลูกบอลกําลังกินนําตาลในขนุนจนกลินหาย กล้วยสุกเคียวไฟจนเป็ นสี แดงรสหวาน รําละเอียด ดิน จอมปลวก นําสะอาด ผสมคลุกเคล้ากันก็ถึงเวลาของเด็กๆ เล่น สนุก ปั นเป็ นก้อนกลมๆ อุน่ ๆ เท่าลูกเปตอง บีบจนนําชุ่มไม่แตก ง่าย แล้วจึงตากแดดไว้หนึงวัน จุลินทรี ยด์ ินระเบิดก็ถือกําเนิดขึน ลูกบอลเหล่านีเองทีช่วยดับกลินนําเน่าเมือครานําท่วมกรุ งเมือ ปลายปี ทีแล้ว จํานวนแสนก้อนไม่เคยพอ เราจึงชักชวนชาวบ้าน ปั น “ลูกบอลกล้วยแดง” เก็บเอาไว้ ได้ขายหรื อไม่ได้ขายก็เก็บไว้ หมักปุ๋ ยนําปั สสาวะใช้เองได้ไม่ตอ้ งซื อ ทริ ปประวัติศาสตร์ ครังแรกของหมู่บา้ นครังนีต้องยก ความเสี ยสละให้สุมนในการรวมคน บวกกับความกระตือรื อร้น ผ่านสายตาทีมุ่งมันของชาวบ้านสนามกีฬาชายหญิงทีมาร่ วมกว่า ห้าสิ บชีวิต บ่งบอกถึงความหวังทีจะพึงตนเองให้ได้ ขบวนบุญที มองเห็นได้ สัมผัสได้เริ มขึนแล้ว ณ บ้านสนามกีฬา


แม่ บวั พอ : แม่ ค้า (นํา) ยาจําเป็ น “กว่าจะได้เงินไปซือปูนทําฝายสักสิ บลูก มีหวัง แม่ตอ้ งขายนํายาเป็ นปี ผ่านไปสองเดือนได้กองทุนยังไม่ ถึงแปดสิ บบาท” แม่บวั พอ ดํารงยศยิง ประชดความ ยากลําบากในการตังกองทุนบุญกลางของหมู่บา้ นแม่แดด น้อย บ้านปกาเกอะญอเล็กๆ บนภูเขาสูงในอําเภอกัลยาณิ วัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ ทีนีไม่มีไฟฟ้ า ไม่มีคลืนโทรศัพท์ และไม่มีถนนลาดยาง แต่ยงั คงความอุดมสมบูรณ์ของป่ า ดิบชืนและผืนป่ าสนทีใหญ่ทีสุดของประเทศไทย “นํายาอเนกประสงค์ขายขวดละสิ บบาท เขาก็ให้ ต้นทุนสิ บบาท แม่จะตังเป็ นสิ บสองให้เข้ากองทุนสอง บาทเลย แม่ไม่เอาค่าแรง ดูสิจะซื อกันไหม ราคาก็ถูกกว่า ปริ มาณก็มากกว่าของในตลาด แต่เขาไม่รู้อย่างเดียวว่าแม่ เอามาขายทีบ้าน” ด้วยความจําเป็ นทีแกนนําฝังตัวไม่รู้จะ เริ มเปิ ดตลาดสิ นค้าช่วยลดรายจ่าย จึงอาศัยบ้านแม่บวั พอ ปกาเกอะญอใจบุญเป็ นทีขายของ และแม่กท็ าํ หน้าที เป็ นแม่คา้ จําเป็ น ขายนํายาเอนกประสงค์ แชมพู สบู่เหลวสมุนไพรไปโดยปริ ยาย “เขารี บซื อ รี บไป ไม่ได้มานังฟังว่าจะเอาเงินไปช่วยสร้างฝาย รักษาป่ า แค่ถูกและเยอะ ก็ซือแล้ว” ลูกค้า ส่ วนใหญ่ของแม่จึงมักเป็ นบรรดาญาติๆ เพือนต่างหมู่บา้ นทีอยูถ่ ดั ไปทีนานๆ จะออกมาซือของทีหนึงแต่คนใน ํ าความสะอาดน้อย เพราะอาหาร หมู่บา้ นเดียวกันมาซื อบ้างแต่ไม่มาก ด้วยวิถีของปกาเกอะญอทีมักใช้นายาทํ ส่ วนใหญ่ไม่เน้นมัน และใช้ผงซักฟอกแทนได้ทงซั ั กผ้า ล้างรถ ขัดห้องนํา บางบ้านไม่มนใจในคุ ั ณภาพ แต่อีก หลายบ้านก็ผลิตใช้เองเป็ นแล้ว สิ งสําคัญทีแกนนําขับเคลือนตีโจทย์ไม่แตกคือ การเข้าไม่ถึงแก่นของโครงการขบวนบุญทีไม่ตอ้ งการ ขายสิ นค้า แต่ตอ้ งการให้หมู่บา้ นลดการพึงพาสิ งของภายนอก อะไรทําได้กท็ าํ ใช้เอง เป็ นผูผ้ ลิตเอง ผูซ้ ือของที คนในหมู่บา้ นผลิต และเมือแกนนําไม่ใช่คนในหมู่บา้ นจึงเป็ นเรื องไม่ง่ายทีจะทําความเข้าใจและดําเนินการ


กว่าสี ปี แล้วทีวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มพยายามหาแกนนําหัว ไวใจสูใ้ นบ้านแม่แดดน้อย เพือเปลียนใจมาทําเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ตอ้ ง เปลียนทังหมดแค่อุดรู รัวของรายจ่ายบางอย่างทีเราพึงตนเองได้ แชมพู สบู่ นํายาทําความสะอาด ปุ๋ ยอินทรี ยข์ ีหมู ขีวัวจึงเป็ นอะไรทีเห็นภาพชัด เพราะใช้ทาํ ความสะอาดทุกวัน ใช้ปุ๋ยใส่นาใส่ไร่ วัตถุดิบก็มาจาก สมุนไพรในป่ าหรื อสวน มูลสัตว์ทีเลียงไว้ เหล่านีคือของจากธรรมชาติที มักถูกมองข้าม ทุกวันนีก็ยงั ไม่มีคนในชุมชนลุกขึนมาทําจริ งจังให้เป็ น ตัวอย่างเพราะ จะด้วยบริ บทของหมู่บา้ นทีเมือเข้าป่ าก็มีกิน ปลูกข้าวก็ เหลือกินตลอดปี เหลือต้มให้กินหมูอีก หรื อค่านิยมของทังพ่อแม่และ วัยรุ่ นยุคใหม่ทีไม่อยากให้ลกู ลําบาก ลูกก็ไม่อยากออกแดดไปทําไร่ ขา้ ว เข้าสวนปลูกผัก เหนือย ร้อน ลําบาก ไม่มีเงิน “บ้านบนดอยบ่มีแสงสี บ่มีทีวี บ่มีนาประปา... ํ ไม่มีโคล่า ํ าปรุ งอย่างดี แต่ แฟนต้า เป๊ ปซี บ่มีเนือสันผัดนํามันหอย...บ่มีนาหอมนํ หมู่เฮานี..มีนาใจ๋ ํ ” แม่บวั พอร้องเพลงตามเสี ยงทีลอยมาตามหอกระจาย เสี ยงของหมู่บา้ นยามเช้า แล้วเน้นคําว่า “มีนาใจ๋ ํ ” เนือเพลงบ้านบนดอย ของจรัล มโนเพ็ชร ศิลปิ นอมตะชาวเหนือ คงเป็ นจริ งในยุคสมัยหนึง แต่ เมือเวลาผ่าน ทังบ้าน ทังคนก็เปลียน ทุกอย่างมีบนดอย เมือเงินถูกให้ค่า ของความสุ ข เมือลูกชาวไร่ ชาวนาไม่อยากทํานาก็อาจไม่ใช่เรื องผิดอะไร แต่โอกาสทีจะอยูร่ อดสบายในเมืองก็อาจไม่ใช่คาํ ตอบ เพราะมันไม่ได้สบาย เหมือนอยูบ่ นดอย ไม่ มเี งิน แต่ มนี ําใจ... พระพา (ธรรม) ทําบุญ


“โน้น! ครับพระอาจารย์ ลูกโตๆ ทังนัน” เจ้ากุศิษย์ขาประจําอาศรมพระธรรมจาริ กบ้านแม่แดด น้อยกําลังตืนเต้นชีลูกมะขามป้ อมกลมโตเขียวใสสุ กเต็มต้น และก็สูงชะลูดราวตึกสามชัน “จะเอาลงมายังไงดีครับ” “เอามีดให้พะติ (แปลว่าลุงในภาษาปกาเกอะญอ) ตัดกิงลงมา” พะติกาํ ลังต้อนวัวทําท่างงๆ ผ่านมาพอดี ไม่เหลือใครทีจะกล้าขึนต้นมะขามป้ อมยักษ์ขนาดสามคนโอบได้ พะติคว้ามีดปี นต้นอย่างคล่องแคล่ว “เอ้ย! กุ ไปเอาผ้ายางมาปูรองรับไว้ เบนซ์จบั ปลายผ้าไว้ พระโอ็ตจับอีกมุมด้วยครับ” พระอาจารย์ศกั ดิ กริ นทร์ ประจําอาศรมแม่แดดน้อยสังพวกอยูข่ า้ งล่างคอยรับลูกมะขามป้ อมมหาศาลที จะตกลงมา สิ นเสี ยงฟันกิงของพะติ ลูกมะขามป้ อมอวบเขียวสดก็ตกลงมาราวห่าฝน เอากระสอบมาเต็มปิ กอัพยังใส่ไม่พอ พวกเรารี บเร่ งกันเก็บมะขามป้ อมเพือไปส่งวัด พระบรมธาตุดอยผาส้มอีก ๒ ลํารถในวันรุ่ งขึน เมือวัดผาส้มฯ นํามะขามป้ อมไปหมัก ยาอายุวฒั นะ ชาวแม่แดดก็ถือโอกาสวันศีลออมมะขามป้ อมคนละสิ บยีสิ บกิโล เพือ นําไปแลกกับบล็อคทํากําแพงวัด เป็ นกิจกรรมบุญทีทําต่อเนืองยาวนานกว่าสามเดือน ทุกวันศีลในฤดูหนาว เป็ นช่วงเดียวกับลูกมะขามป้ อมสดของบ้านแม่แดดออกผลดก จนเก็บแทบไม่ทนั สอนทํานํายาล้างจานมะเฟื อง มะรอท มะขาม หมักปุ๋ ยขีหมู หมักนํา มะขามป้ อม ปลูกผักในวัด พาเยาวชนทําโคมลอยยีเป็ ง พาชาวบ้านออมบุญข้าวใหม่ พาออมมะขามป้ อม พาสร้างห้องนําวัด และสุดท้ายพาสร้างกําแพงวัด เป็ นกิจกรรม “บุญ” ทีพระศักดิกริ นทร์ พระเพียงรู ปเดียวในวัดแม่แดดน้อยและผูน้ าํ ธรรมชาติของ ชุมชนพาทํา ขบวนบุญบ้านแม่แดดน้อยจึงยังอยูใ่ นช่วงเพาะเมล็ด เนืองจากบริ บทชุมชนที ห่างไกลความเจริ ญ ประกอบกับวิถีชีวิตทียังสามารถพึงพิงธรรมชาติได้โดยไม่ตอ้ งใช้เงิน มากมาย ทํา ให้ชาว


ชุมชนยังไม่ตืนตัวมากกับการริ เริ มทําสวนเกษตรพอเพียงใกล้บา้ น แต่เลือกทีจะปลูกผักในทีนารอบๆ หมู่บา้ นซึ ง มีนาไหลตลอดเวลา ํ ต่อจากนีจึงเป็ นความท้าทายอย่างยิงของชาวชุมชนว่า จะสามารถปรับตัวได้มากแค่ไหนกับ กระแสทุนทีถาโถมเข้ามา แต่ในเมือมีธรรมะรดใจ ผ่านกิจกรรมบุญอันหลากหลาย และเห็นทางเลือกของการทํา เกษตรพึงตนเอง เมล็ดอ่อนของบ้านแม่แดดก็คงรอคอยวันผลิใบในไม่ชา้

บทวิเคราะห์ การขับเคลือนโครงการในชุ มชน “โซนกะเหรียงบ่ อแก้ ว-แม่ แดด” บ้ านป่ าเกียะนอก ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ บ้านป่ าเกียะนอกเป็ นบ้านทีประสบความสําเร็ จในแง่การเกิดกองทุนบุญกลางของกลุ่มแม่บา้ นทอผ้า ซึ ง มีแนวโน้มจะเติบโตใหญ่ขึนในวันข้างหน้า แต่อย่างไรก็ตามนอกจากสิ นค้าขบวนบุญอย่างแชมพู สบู่เหลว นํายา อเนกประสงค์ทีนํามาหารายได้เข้ากองทุนแล้ว กลุ่มแม่บา้ นมีความเห็นว่าควรจะนําผ้าทอเข้าเป็ นสิ นค้าขบวน บุญซึ งเป็ นแผนงานในอนาคตในปี หน้าทีจะเพิมสิ นค้าบุญชนิดใหม่ทีชุมชนนันๆ มีความสนใจ มีความถนัด และ มีกาํ ลังจะผลิตได้ สําหรับแกนนําหรื อผูป้ ระสานงานโครงการของวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มทีมีอุดมการณ์ทาํ เพือ ส่ วนรวมสูง ท่ามกลางชุมชนทีเกิดเสี ยงด่าว่า เกิดความเข้าใจผิดหรื อสงสัยในผลประโยชน์แอบแฝง ส่ งผลให้ผู ้ ประสานงานเกิดความรู ้สึกท้อ ผิดหวัง เสี ยความรู ้สึก ซึงต้องอาศัยเครื อข่ายทีมีอุดมการณ์เดียวกันช่วยเสริ ม กําลังใจ หรื อมีวงคุยแลกเปลียนระหว่างเพือนในเครื อข่ายเพือแบ่งปันปัญหา ช่วยหาทางออก ผลัดเปลียน หมุนเวียนดูงาน เครื อข่ายไม่ได้เป็ นแค่คนมาทํางานร่ วมกันแต่อาจเป็ นมากกว่าพีน้องร่ วมสายเลือด เป็ น ครอบครัวเดียวกัน เพราะสามารถคุยได้ทุกเรื องอย่างสบายใจและเป็ นคนทีพร้อมจะรับฟังเสมอ และนีคือ บทเรี ยนสําคัญซึงนอกจากจะสามารถพึงตนเองทางกายคือมีอาหาร อากาศ ทีอยูอ่ าศัยแล้ว ต้องพึงตนเองทางใจ ให้ได้ซึงนอกจากกําลังจากเพือนแล้ว ต้องเรี ยนรู ้ทีจะสร้างกําลังใจให้เกิดกับตนเองให้ได้ บ้ านสนามกีฬา ต.บ่ อแก้ ว อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่ บ้านสนามกีฬาเป็ นบ้านทีเพิงเริ มส่ งเสริ มให้ชาวบ้านพึงพาตนเองในขันพืนฐานก่อน โดยเฉพาะองค์ ความรู ้เรื องปุ๋ ยหมัก ฮอร์โมนพืชและการปรับปรุ งดินซึ งเป็ นสิ งทีชาวชุมชนจํานวนหนึงทราบอยูแ่ ล้วบ้าง และ


อีกจํานวนเกิดแรงบันดาลใจนํากลับไปทําทันทีได้ กลุ่มพ่อบ้านสนใจในการปรับปรุ งดินทรายให้กลับมาอุดม สมบูรณ์ กลุ่มแม่บา้ นมีความสนใจมากในการทํานํายาอเนกประสงค์ ซึงสิ งเหล่านีแสดงให้เห็นว่าชาวบ้านมี ความตืนตัวในการเรี ยนรู้สูง จึงเป็ นโอกาสในการดําเนินโครงการในระยะต่อไปหลังจากชาวบ้านอุดรอยรัว ค่าใช้จ่ายในครัวเรื อนได้ จนถึงขันผลิตสิ นค้าได้จนเหลือเฟื อทังของกินและของใช้จึงเริ มทีจะนํามาแปรรู ป ขาย ให้กบั เพือนในเครื อข่ายก่อน บ้ านแม่ แดดน้ อย ต.แม่ แดด อ.กัลยาณิวฒ ั นา จ.เชียงใหม่ เมือบ้านแม่แดดน้อยยังอยูร่ ะหว่างการเรี ยนรู ้สูโ้ ลกกว้าง เด็กและเยาวชนเป็ นหนีกูย้ มื เรี ยน การไปค้า แรงงานในเมืองหลวง ชาวบ้านเรี ยกร้องจะมีไฟฟ้ าเข้าหมู่บา้ น (ปัจจุบนั ยังไม่มีไฟฟ้ า) และถนนลาดยางเพือ เดินทางไปโรงพยาบาล ขนส่งสิ นค้าการเกษตรสู่ตลาดในเมืองได้สะดวก บาดแผลในเมืองใหญ่กาํ ลังรอพวกเขา อยู่ แต่จะให้กลับหมู่บา้ นก็ไม่มีงานสร้างรายได้ ลูกหลานเมือเรี ยนจบก็ไม่อยากลําบากทํานาทําไร่ เข้าป่ า เมือไม่มี ผูน้ าํ ทีกล้าพึงพาตนเองทําสวนเกษตรผสมผสานหรื อดําเนินตามรอยพระราชดําริ แล้ว ชีวติ ทีบ้านแม่แดดจึงต้อง ลองผิดลองถูกต่อไป หากมีภมู ิคุม้ กัน “ความโลภ” ก็ดีไป แต่หากไม่มี ในไม่ชา้ บ้านแม่แดดอาจเสี ยทังทรัพย์และ เหือดแห้งทังนําใจ ผูน้ าํ การเปลียนแปลงทีเป็ น “คนใน” หมู่บา้ นเป็ นสิ งสําคัญและจําเป็ นสําหรับบ้านแม่แดดน้อย ซึ งคง ต้องใช้เวลาในการบ่มเพาะคนทีมีอุดมการณ์ในพืนทีนันๆ ทีมงานจึงทําได้เพียงเสนอทางออก แนะนําทางเลือก ในการทําการเกษตรพึงพาตนเอง บวกกับสถานการณ์ของชุมชนหากเจอวิกฤติหนัก เช่น หนีท่วมตัว นําแล้ง ดิน แห้ง ปลูกอะไรไม่ได้ ป่ าไม้หมดไป คนเกิดโรคจากสารเคมียาฆ่าแมลง อาจมองเห็นทางรอดซึงรอคอยพวกเขา อยูแ่ ล้ว สรุ ปภาพรวมทังโซน “กะเหรี ยงบ่อแก้ว - แม่แดด” ภาพรวมของโซนนีหลายชุมชนทีมีบทเรี ยนกับการทําเกษตรเชิงเดียวทีเป็ นหนีสิ นจํานวนมาก การทํา เกษตรเชิงเดียว คือการทําเกษตรแบบทุนนิยม เพือหวังได้ผลผลิตมาก ขายได้กาํ ไรมากๆ ด้วยต้นทุนการผลิตตํา จึงส่ งผลกระทบต่อสิ งแวดล้อม สภาพดิน นําทีปนเปื อนสารเคมี การบุกรุ กพืนทีป่ า ต่อสังคม การใช้เวลาและการ ให้ความสําคัญเรื องความสัมพันธ์ระหว่างคนครอบครัวลดลง เมือได้เงินมาก็นาํ ไปใช้จ่ายให้กบั สิ นค้าภายนอก เงินจึงไหลออกจากชุมชน เมือชักหน้าไม่ถึงหลังจึงต้องกูเ้ งิน แล้วก็เข้าสู่วฏั จักรหาเงินใหม่ไม่มีจบสิ น


จึงเกิดปัญญาชนในพืนทีทีพ่อแม่ส่งลูกหลานไปเรี ยนในเมืองซึง เข้าใจกับสภาพความเป็ นอยูใ่ นเมือง และมีอุดมการณ์นาํ ความรู ้มาเปลียนใจเพือนบ้าน ญาติพีน้องเลือกเดินทางเส้นใหม่ทีไม่ตอ้ งทนทุกข์ แต่ตอ้ ง อาศัยความกล้าพวกเขาจึงเลือกทีจะต่อสูท้ วนกระแสสังคม ลงมือทําสวนเกษตรพอเพียงให้เป็ นตัวอย่าง “ทําให้ เห็น” มันแน่นอนกว่า “พูดให้เชือ” และท่ามกลางความกดดันสูงพวกเขาจึงกําลังอยูร่ ะหว่างการเสริ มสร้าง เครื อข่ายให้เข้มแข็งจนไม่รู้สึกโดดเดียวเกินไป ความอดทนและเวลาจะเป็ นเครื องพิสูจน์นีคือ โซนของการ เริ มต้นเพือรอวันลําต้นแข็งแรงในวันข้างหน้า ชาวชุมชนจํานวนหนึงทีเริ มเห็นด้วยว่าการเกษตรแบบนีคือ ทางออกของปั ญหาจึงอยูร่ ะหว่างการก่อร่ าง สร้างตัวของตนและครอบครัวพึงพาตนเองจาก ๔ พอให้ได้ก่อน (พอกิน พอใช้ พออยู่ พอร่ มเย็น) แล้วจึง แบ่งปันให้เพือนบ้าน แปรรู ป เก็บ ขาย สร้างเครื อข่าย จนกระทังเดินต่อไปสู่เศรษฐกิจพอเพียงขันก้าวหน้าอย่าง มันคง

ปัจจัยเกือหนุนการขับเคลือนขบวนบุญ ๑. ผู้นํา ไม่จาํ เป็ นต้องเป็ นพ่อหลวง นายกอบต. ผูอ้ าํ นวยการโรงเรี ยน แต่เป็ นคนในชุมชนทีกล้าทวน กระแส ทีชาวชุมชนให้ความศรัทธา เพราะมีประสบการณ์เจ็บปวดจากการทําเกษตรเชิงเดียวและพึงพิง ข้าวของเครื องใช้จากภายนอกชุมชนอย่างเดียว ซึงผูน้ าํ มักลงมือทําให้เห็นมากกว่าเสี ยเวลาพูด ชวนให้ เชือเพราะ โดยทัวไปจะทําใจยากทีจะพอใจกับการไม่มีเงินในช่วงแรก คนทีมีความอดทนและปัญญา เท่านันทีจะฝ่ าฟันความรู ้สึกท้อ กดดัน ผิดหวังไปได้ ๒. เครือข่ าย กําลังใจจากเพือนหัวใจเดียวกันเป็ นสิ งทีสําคัญมาก และสามารถแลกเปลียนองค์ความรู ้ต่าง พืนทีในปัญหาเดียวกันได้ ความรู ้สึกโดดเดียวเช่นนีจะไม่เป็ นปั ญหาหากสามารถสร้างกําลังใจได้ดว้ ย ตนเอง ความเพียรพยายามจึงเป็ นคุณธรรมสําคัญ เพราะถ้าเป้ าหมายชัด ถ้าไม่ไปถึงจุดนันก็หนั หลังกลับ ไม่ได้ คือไม่ลม้ เลิกจนกว่าจะบรรลุเป้ าหมาย


๓. บริบทชุ มชน หรื อสภาพสังคมเป็ นเพียงปัจจัยย่อยทีอาจทําให้บนทอนความเชื ั อในการเริ มเดินก้าวแรก พืนทีทีมีบทเรี ยนและประสบการณ์เจ็บปวดกับการดํารงชีวิตตามกระแสทุนนิยม ตามกระแสกิเลส สามารถเป็ นพีเลียงให้กบั พืนทีทียังขาดประสบการณ์ ไม่ปล่อยให้เกิดภาวะ “ไม่เห็นโลงศพไม่หลัง นําตา” เกิดขึนซํารอยเดิม



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.