บทสรุ ปการทํางานเขตที ๔ ชุ มชนเทศบาลสะเมิงใต้ /โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม อ.สะเมิง จ.เชียงใหม่
สั งคมเมือง : ชีวติ จริงยิงกว่ าละคร ว่ากันว่าสังคมเมืองเป็ นสังคมทีเต็มไปด้วยความหลากหลาย ผูค้ น บ้านเรื อน ร้านรวง รถลา โรงเรี ยน ราชการ หรื อไลฟ์ สไตล์แบบคนเมืองทีความ เป็ นปั จเจกสูง “ภาวะโลกส่ วนตัวสูง” อาจเป็ นนิยามคนในเมืองได้ดี แต่ในเมือ “ภาวะพึงพาตนเอง” ยังไม่เกิด ชุมชนเมืองจึงเป็ นพืนทีการทํางานอีกแห่งหนึงที ท้าทายทีมงานอย่างยิงยวดทีจะนํา “เรื องบุญบุญ” อย่างโครงการขบวนบุญเข้า ไปสอดแทรกในจิตใจของพวกเขาได้อย่างไร และเป็ นโจทย์ชีวิตทีท้าทายของ แกนนําตัวเล็กหัวใจใหญ่ ชีวติ อันโดดเดียวของ ปี -รุ่ งนภา ชมโลก “คุยแล้วเหมือนอยูค่ นละโลก ท้อก็ทอ้ นะ เพราะทําคนเดียว คนในวัยเดียวกันแต่พดู กันคนละเรื อง” น้องปี นักเรี ยนสะเมิงพิทยาคมเผยร่ องแผลในใจหลังจากร่ วมเป็ นเยาวชนในเครื อข่ายของวัดพระบรม ธาตุดอยผาส้มตังแต่เพิงขึนมัธยมหนึง หลังผ่านประสบการณ์ทาํ งานโชกโชน การรับรู ้ปัญหาของเกษตรกร กระดูกสันหลังของชาติทีเสื อมลงทุกวัน ปัญหาการศึกษาทีเธอเข้าไปเกียวข้องในฐานะนักเรี ยนทีไม่ได้เอาแต่ เรี ยนอย่างเดียว และเข้าใจว่าการเรี ยนรู้ธรรมะผ่านกิจกรรมทีวัดพาทําเป็ นอะไรทีได้มากกว่านังฟัง นังสวดมนต์ นังสมาธิ อย่างเดียว ทุกวันนีเธอกลายเป็ นเด็กสาวมัธยมหกทีกําลังเดินมาถึงทางแยกของชีวิต “บางครังเราต้องตามกระแสโลกบ้าง เราคิดได้หมดแต่เราพูดหมดไม่ได้ เก็บไว้บอกคนอืนเมือถึงเวลาที เหมาะสม คนอืนจะว่ายังไงก็ช่างเขา เพราะพวกเรามันเป็ นพวกทวนกระแส” ไม่ตอ้ งเป็ นเกษตรกรอกหักเพราะ หวังเงินแต่ได้หนี ไม่ตอ้ งเป็ นข้าราชการใหญ่โตแต่เพิงสํานึกการหลอกลวงของตนเอง ไม่ตอ้ งรํารวยจากธุรกิจ ส่ วนตัวแต่มาคิดได้เมือภัยธรรมชาติทาํ ลายโรงงาน เด็กมัธยมก็ยงั คิดได้วา่ ทําดีไม่ตอ้ งติดดีคืออะไร ทําดีแต่หวัง คําชืนชม หวังเงินทอง หวังรางวัล หวังลาภยศ ทําดีแล้วอยากให้คนอืนเห็นดีตามนันแหละคือ ติดดี
กว่าหกปี ทีปี เริ มซึ มซับธรรมะผ่านกิจกรรมทีอาจดูใหญ่เกินตัวแต่ดว้ ยหัวใจดวงโตใบนีทําให้ความคิดที ตกผลึกของเธอในวันนีเป็ นพลังให้กา้ วต่อไปข้างหน้าอย่างมันคง
ค่ ายสร้ างคน คนสร้ างค่ าย “ตอนม.๓ จัดค่ายแรกในชีวติ ตืนเต้นมาก ไม่รู้อะไร เลย คิดเอง เตรี ยมเอง จัดเอง มานอนวัดผาส้มก่อนสองคืน เพือนมาช่วยเยอะมากสามสิ บกว่าคน พอถึงวันเดินทาง ทาง ลําบากมาก ขนาดล้อพันโซ่แล้วยังลืนติดหล่ม กว่าจะมาถึงบ้าน แม่แดดน้อย พอตกกลางคืนก็ได้บทเรี ยนเยอะ หลวงพ่อให้คุย ปั ญหาเองว่าจะปรับปรุ งแก้ไขตรงไหน พิธีกร อาหาร สันทนา การ จัดเวลายังไงจนมาดีขึนทีโรงเรี ยนบ้านสันม่วง” หลังจากจบค่ายเยาวชนสะเมิงพิทย์ ปี สอง “พีสอน น้องคิด สร้างสรรค์ แบ่งปั นปัญญา” ซึ งสร้างความภูมิใจให้ น้องปี หลังจากทีตอนม.๑ และม.๒ ได้รับการบ่มเพาะจากค่าย สุ ขแท้ดว้ ยปัญญาจากเครื อข่ายพุทธิกาทีวัดไปจัดกิจกรรมที โรงเรี ยนสร้างฝาย ทําปุ๋ ย ทํานํายาอเนกประสงค์ จึงคิดอยากจะ จัดค่ายเพือน้องในชนบททีห่างไกลอีกแต่กไ็ ม่มีโอกาส ั มนุม “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” พอขึนมัธยมปลายเธอก็ตงชุ ขึนเพราะด้วยความทีเธอไม่ได้ชอบวิชาการ ไม่ได้ชอบเล่นกีฬา พออาจารย์ให้โอกาสก็มาตังชุมนุมพาน้องไปเทียวสวนเกษตร ผสมผสาน ทําแนวกันไฟ ปลูกป่ า สร้างฝาย อบรมเท่าทันสื อที วัดผาส้ม ค่ายรื อฟื นรากเหง้าวัฒนธรรมปกาเกอะญอสําหรับ น้องๆ ปกาเกอะญอซึ งเป็ นสมาชิกส่วนใหญ่ในชุมนุม
“รู ้สึกดีนะ ไม่ได้คาดคิดไว้วา่ เด็กทีเราไปปันไว้ตอน ไปจัดค่ายตอนม.๓ ทีบ้านแม่แดดและบ้านสันม่วง พอเขารู้วา่ เราเป็ นประธานชุมนุม เขาก็มาเข้าชุมนุมเลย เราจําเด็กไม่ได้แต่ เขาจําเราได้” ผลผลิตเห็นค่ายสร้างคนเริ มออกผลออกหน่อแล้ว ปี ถึงกับยิมกว้างและรู ้สึกดีทีน้องๆ จะเป็ นกําลังในการสร้าง ค่ายเพือสร้างคนต่อจากรุ่ นของเธอ จนมาได้ทาํ โครงการกับวัดอีกทีเมือตอนม.๔ “ธุรกิจ คุณธรรม” มีเยาวชนทีนําทีม ๓ คนคือ ปี เลียงไส้เดือนดิน ป๊ อบ เลียงหมูหลุมถึงทุกวันนี ฟ้ าปันEM Ball เกิดปั ญหาคนน้อย ผลผลิตน้อย นําไปขายไม่ได้ เป็ นการลองผิดลองถูก พอขึนม. ๔ เทอม ๒ ถึง ม.๕ ทังปี ก็ได้มาทําโครงการส่งเสริ มเครื อข่าย บ้าน วัด โรงเรี ยน สู่การขับเคลือนคุณธรรมตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงจากการสนับสนุนของศูนย์คุณธรรมหรื อ มินิ บ-ว-ร ปี ก็ได้ทนุ มาผลิตนํายาอเนกประสงค์และเริ มเลียงหมู จากเศษอาหารเพือนําขีหมูมาทําปุ๋ ยหมักอยูท่ ีบ้าน น้องเล็กสุด ในโครงการมินิ บ-ว-ร จึงได้มีโอกาสแลกเปลียนความรู ้ ศึกษา ดูงานทุกเดือนกับเครื อข่ายคนพอเพียงอีกแปดโครงการ ประสบการณ์ทาํ งานระดับเกินเด็กของเธอเป็ นสิ งทีค่อยๆ หล่อ หลอมมุมมองชีวิตให้กว้างกว่าเพือนวัยเดียวกัน “ตอนแรกอายนิดหน่อย เดินถือถังสี ขอเศษอาหารจากร้านอาหารตามสังในเทศบาล แต่พอคุยไปคุยมา เขาก็เข้าใจว่าเราเอาไปให้หมู จากนันแม่กม็ าช่วยเอาถังใส่ลอ้ เข็นใส่รถเครื อง แม่ขบั เราซ้อนขอรับเศษอาหารให้ หมู พอเขาให้เราก็นาํ นํายาล้างจานทีทําเองไปตอบแทนเขา ซึงตามร้านอาหารได้ใช้อยูแ่ ล้ว เราก็มีอาหารให้หมู ไม่ตอ้ งซื อ ได้ขีหมูซึงดูไร้ค่ามาหมักทําปุ๋ ยขายได้อีก”
โครงการนีเองแจ้งเกิดให้กบั น้องปี ไปอีกหลายงาน หลังจากทีครู นาํ เสนอชือน้องปี ส่ งประกวดโครงการ ลูกโลกสี เขียว และโครงการยุวเกษตรกรของเกษตรอําเภอสร้างผลงานให้กบั โรงเรี ยนถึงระดับประเทศ การศึกษาไทยวันนี: ปี แห่ งการ Fake, Make up และผักชีโรยหน้ า ปี ๒๕๕๔ ปี ได้รับเลือกเป็ นประธานกลุ่มยุว เกษตรกรจากโครงการเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรี ยนและที บ้านทีทางวัดพระบรมธาตุดอยผาส้มเข้ามาส่ งเสริ มสนับสนุน เพราะมีกิจกรรมทีเห็นผลเป็ นรู ปธรรมและเป็ นคนทําเอง ทังยัง สามารถบอกเล่าเรื องราว คือมีทกั ษะในการสื อสารให้คนอืน เข้าใจ น้องปี จึงเป็ นนักเรี ยนเนือหอมทีบรรดาคุณครู กอ็ ยากทํา ผลงานเสนอชือ เสนอกลุ่มเพือนของเธอเข้าชิงรางวัลมากมาย “เป็ นกลุ่มหลอกลวง ให้เวลาหนึงเดือนเขาจะมา ประเมิน เฟดมาก เขามาช่วยเมคอัพทุกอย่างขึนมา ผลงานเดิม มีบา้ งแต่กต็ อ้ งทําใหม่ ทําข้อมูลย้อนหลังขึนมาใหม่ ทําฝาย ใหม่ ปั นอีเอ็มบอล มูลไส้เดือนมีอยูแ่ ล้ว ชาสตรอเบอร์รี กระ ดาษาก็มานังทําโชว์ เมดอัพรู ป เมดหมด ไม่มีอะไรเป็ นของ จริ งสักอย่าง ปุ๋ ยหมักและนํายาอเนกประสงค์กไ็ ปดูถึงบ้าน เพราะทําอยูแ่ ล้วร่ วมกับวัด พอประเมินก็ผา่ นอําเภอ ผ่านระดับ จังหวัด ผ่านระดับเขตภาคเหนือ และระดับประเทศ สมาชิกยุว เกษตรกรได้ที ๒ คือน้องปี โรงเรี ยนได้ที ๔ พอเข้าไป ประกวดก็รู้วา่ ก็เมดเหมือนกันทุกโรงเรี ยน” “ทําฝายไว้ตอนม.๑ แต่เอามาส่ งประกวดตอนม.๕ ฝายจริ งๆ อยูบ่ นเขาบนโรงเรี ยนมันพังหมด แต่ก่อนมีฝายนําที ไหลผ่านหน้าโรงเรี ยนตลอดปี ไม่เคยแห้ง ตอนนีแห้งหมด ต้องทําฝายจําลองใหม่หลอกไว้หน้าโรงเรี ยน ไปขอ
กล้าไม้จากหน่วยงานอนุรักษ์ตน้ นํามาวางไว้แล้วบอกว่าเราเพาะเอง เตรี ยมจะปลูก เสร็ จแล้วเอามาส่งลูกโลกสี เขียว ของปตท. จนได้รางวัลเยาวชนคนต้นนําแห่งปี ” แทนทีเธอจะตัวลอยเพราะคําชืนชมรางวัลแต่กลับสะท้อนบทเรี ยนจากมาตรฐานการศึกษาไทย “รู ้สึกเบือ เบือ ประเมินบ่อยๆ เบือ ใช้งบเยอะ เสี ยเวลา ไม่ได้เรี ยน เห็นเพือนทีไม่ให้ความร่ วมมือตาม หน้าทีรับผิดชอบ บางครังเราไปพูดตรงซุม้ โชว์ผลงานไม่ได้ เราก็นาํ ประสบการณ์จริ งไปบอกเพือนเพราะเราทํา จริ งให้เพือนนําเสนอต่อผูใ้ หญ่เป็ น เราเองต้องตามประกบคณะกรรมการประเมิน มีหน้าทีไม่พาไปสถานทีติด ลบของโรงเรี ยน และพูดให้เขาเชือว่าเราทําจริ ง มีการวางแผน นําไปใช้ในชีวิตในจริ ง เราก็เบือ เพือนก็เบือ เป็ นปี แห่งการถูกประเมินจริ งๆ” ทังสมศ. สพฐ. ลูกโลกสี เขียวมาสองครัง และอีกหลายครังกับยุวเกษตรกรของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บางครังใช้เวลาเป็ นเดือน เป็ นสัปดาห์ทีเธอเสี ยเวลาเรี ยน เป็ นเรื องน่าเศร้าของ การศึกษาไทยทีตังมาตรฐานสูงแต่ทาํ จริ งไม่ได้ เอาไปใช้ในชีวิตไม่เป็ น โรงละครในโรงเรี ยนจึงมักต้องดึงม่าน ลงและขึนอยูเ่ สมอๆ เพือเปิ ดต้อนรับแขกทีนิยมความงาม ความสําเร็ จแต่ละเลยความเป็ นจริ ง ถึงแม้วา่ จะผักชีโรยหน้าไม่ได้ทาํ เป็ นจนเป็ นวิถีชีวิตหรื อเอาไปประยุกต์ใช้ได้ แต่ถา้ เธอไม่มีแฟ้ มสะสม ผลงาน ไม่สามารถสื อสารในสิ งทีเธอเคยทํากับมือได้ ไม่สามารถเตรี ยมเพือนๆ ให้ตอบคําถามผูม้ าประเมิน ก็คง ไม่ประสบผลสําเร็ จเหมือนทุกวันนี
เยาวชนขับเคลือนขบวนบุญแบบไม่ ร้ ู ตวั “หนูไม่ชอบขายของ มันไม่เหมือนขายกับข้าวนะ ข้าว กับข้าวก็แค่จ่ายตังค์เสร็จแล้วก็ไป แต่ของนีต้องคอยถาม แนะนําน้องๆ บอกการใช้ ไม่ชอบมันจุกจิก มันไม่ใช่เรา มันไม่ สนใจ เลยไม่อยากทํา” ปี เล่าถึงการขับเคลือนขบวนบุญตามแบบฉบับทีเธอ เข้าใจไปว่าต้องขายสิ นค้าบุญเช่น แชมพู สบู่ นํายาล้างจาน ข้าว แล้วนําเงินเข้ากองบุญกลางของนักเรี ยนสะเมิงพิทยาคม ซึ งเธอว่าจะให้ทาํ แบบขายตรงไม่ชอบ พูดไม่ได้ จึง
ไม่ได้นาํ สิ นค้าเข้าไปเผยแพร่ ในโรงเรี ยน แต่ตลอดระยะเวลาเจ็ดเดือนทีผ่านมาเธอเป็ นกําลังสําคัญในขบวนบุญ สายอืนๆ โดยไม่รู้ตวั พีเลียงนํากลุ่มแม่บา้ นและเยาวชนทําฮอร์ โมนพืช จากขนุนทีบ้านสนามกีฬาและพาทีมงานจัดค่ายเท่าทันสื อ ให้กบั เด็กๆ ในบ้านแม่แดดในเขต ๒ พาน้องๆ มาเรี ยนรู ้การ อยูก่ บั ป่ าและใช้แรงงานขุดแนวกันไฟ อาบนําให้ป่าในสวน นาฟานอุทยานทิพย์ในเขต ๓ พาน้องๆ ในชุมนุมเข้าค่าย รากเหง้าวัฒนธรรมปกาเกอะญอทีบ้านสบลาน และล่าสุด วันเดย์ทริ ปปลูกป่ า ณ ห้วยบง วัดผาส้มในเขต ๑ และยังไม่ รวมกิจกรรมจิปาถะอืนๆ ทีเธอพร้อมจะเดินทางมาเมือยก หูโทรศัพท์ กิจกรรมบุญเหล่านีพอจะบอกอะไรได้ อย่างน้อย การทีเด็กสาวคนหนึงเจียดเวลาส่วนตัวสําหรับงานส่วนรวม เกือบทุกเสาร์อาทิตย์เธอไม่รอช้าทีจะนําน้องๆ และเพือน สมาชิกในชุมนุมมาร่ วมขบวนบุญในเขตงานอืนๆ ทีต้องการ สรรพกําลังวัยใสแน่นอนเธอและเพือนๆ ก็ซึมซับทัง คุณธรรมการเสี ยสละ ทักษะการทํางานทีทีมงานออร์ กา ไนซ์ยงั ต้องยอม งานโรงเรี ยน งานชุมนุม งานบุญของวัด งานเวทีสญ ั จรขบวนบุญและงานในหน้าทีลูกทีดีไม่เคย บกพร่ อง ทุกเช้ากลางวันและช่วงเย็นปี จะช่วยน้าขายอาหาร ทีโรงเรี ยน เธอจึงช่วยแม่ลดรายจ่ายค่าอาหาร ตกเย็นซ้อน รถเครื องแม่ขบั เก็บเศษอาหารตามร้านค้าให้หมู เป็ น กิจกรรมทีปี ยอมรับว่าได้ใช้เวลาอยูก่ บั แม่ คุยแลกเปลียน
เห็นอีกมุมของแม่เลียงเดียว “หมูเชือมสัมพันธ์แม่-ลูก” เป็ นผลพลอยได้ทียิงใหญ่ หลังจากพ่อ พีสาวและน้อง ออกจากบ้านไปทํางานและศึกษาต่อในเมือง เธอจึงต้องทํางานหนักเพือลดรายจ่ายครอบครัว เวลาทีเพือนๆ ออก เล่นเป็ นเวลาทีเธอเล่นสนุกกับการตักขีหมูขายเช่นกัน การปั นEM Ball การผลิตนํายาอเนกประสงค์ในบ้านจึง เป็ นผลิตภัณฑ์หารายได้เสริ มให้เธอในขณะทีเพือนๆ ขอเงินจากพ่อแม่ ตลอดหกปี ทีทํางานร่ วมกับทางวัด ศิษย์ ก้นกุฏิอย่างน้องปี เติบโตทางความคิด ก้าวหน้าทางปั ญญา ปี ยอมรับว่าตนเองต้องเข้มแข็งมากขึน พึงพาตนเองได้ และเป็ นทีพึงให้คนอืน อย่างน้อยก็ในสายตาของน้องในชุมนุม “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” “รู ้สึกดีใจทีน้องจําเราได้ เราจําเขาไม่ได้หรอกในค่ายคนมันเยอะ แต่เขาไม่ได้จาํ แต่หน้าทีมงานเท่านัน เขาจํากิจกรรมค่ายทีเราไปจัดให้ เขา จึงมาร่ วมกับเรา เขาเองก็อยากจัดค่ายให้นอ้ งๆ ในโรงเรี ยนเก่าทีเขาจากมา เพือทีจะได้คนรุ่ นใหม่เป็ นกําลังต่อจากเรา” อนาคตบัณฑิตนิเทศศาสตร์ มสธ.คนนีหมดกังวลเรื องกล้าไม้ทีได้ เพาะไว้เมือหกปี ก่อน ถึงวันนีกล้าพันธุ์ในโรงเรี ยนเติบใหญ่จนแตก กิงก้านสาขาและกําลังให้ร่มเงาในใจ เธอเองก็เป็ นอีกกิงหนึงทีกําลังเติบโต แตกใบในสังคมโลกกว้าง ต่อจากนีทีเธอจะก้าวสู่ชีวิตจริ ง การทํางานจริ ง และการเรี ยนนอกรัวมหาวิทยาลัยรอคอยเธออยูข่ า้ งหน้า เมือผลิตภัณฑ์ บุญบุกเมือง ดูเหมือนว่ากิจกรรมบุญในเทศบาลเมืองสะเมิงนีจะ ขับเคลือนยากเพราะนอกจากเมืองจะเป็ นศูนย์กลางทางการ ค้าขายแล้ว ผลิตภัณฑ์ทีมีอยูต่ ามท้องตลาดก็มีมากมายให้ เลือกสรร จึงไม่ง่ายทีจะทําการตลาดในเมือง แต่เมือทีมงาน ลงพืนทีใช้ยทุ ธศาสตร์ “ด้านได้อายอด” เจาะกลุ่มเป้ าหมาย ด้วยวิธีขายตรง เดินเข้าทุกร้าน เล่าให้ฟังถึงแนวคิดและร้าน จะได้อะไร ปรากฏว่ามี ๓ ร้านทีรอคอยโครงการของทาง วัดมานานแล้ว เนืองจากความศรัทธาและความเข้าใจในสิ งทีวัดพาทํา จึงตอบรับเป็ นแหล่งขายสิ นค้าให้ทนั ที
“สบู่เหลวขมิน แม่ใช้เองแล้ว หน้าเกลียงเนียน สิ วฝ้ าไม่มี ไม่คนั ตัว รู ้สึกว่าไม่แพ้ ใช้ดีกว่าทัวไปทังอาบ ทังล้างหน้าได้ดว้ ย แม่ใช้เองก่อนไม่งนบอกต่ ั อแนะนําลูกค้าไม่ได้” แม่นอ้ งร้านอาหารเจ ในเขตเทศบาลสะเมิง ใต้เป็ นหนึงในผูร้ ่ วมส่งต่อขบวนบุญสายนีด้วยบทบาท “ผูข้ าย” เอาบุญ และ “ผูใ้ ช้” ได้บุญแถมยังบอกบุญต่อให้ เพือนบ้านและลูกค้าในร้านได้ใช้ผลิตภัณฑ์บุญ ซึ งเหมาะกับคนในสังคมเมืองทีไม่มีเวลาผลิตของใช้เอง แต่ สามารถช่วยคนบนดอยมีรายได้ มีงานทํา และสบทบทุนช่วยคนต้นนําอนุรักษ์ป่าไม้ ต้นนํา สร้างฝายชะลอนําอีก ต่อหนึง แม่แต๋ วหนึงในแม่คา้ ขายสิ นค้าโอทอปอยูห่ น้าทีว่าการอําเภอสะเมิงทีรับผลิตภัณฑ์บุญไปขาย เป็ นอีก หนึงคนทีรอคอยให้ทางวัดส่งผลิตภัณฑ์มาวางหน้าร้านอย่างเต็มใจ เนืองจากได้พบและได้พดู คุยกับหลวงพ่อ บ่อยครัง หลายครังก็ได้มีโอกาสไปร่ วมงานบุญบนวัดจึงซึมซับสิ งวัดกําลังพาคนปลูกป่ า สร้างฝายรักษาต้นนํา ซึ งแม่กเ็ ห็นว่าดีกว่านําหิ นปูนทรายจํานวนมากหมดไปกับการก่อสร้างวัดวาอารามใหญ่โตเกินพอดี บวกกับแม่ เป็ นแม่คา้ ขายสิ นค้าแปรรู ปทางการเกษตร เช่น สตรอเบอร์รีอบแห้ง นําสตรอเบอร์ รีบรรจุขวด แมคคาเดเมีย อบแห้ง นําผึงป่ าและกล้วยตาก ทําให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนจึงเข้ากับร้านของแม่แต๋ วได้อย่างดี “เข้ามาเต๊อะ” เป็ นชือร้านอาหารตามสังของแม่เล็กซึงอยูห่ น้าโรงพยาบาลสะเมิง เป็ นร้านทีน้องปี มาขอ เศษอาหารให้หมูทุกๆ วัน และเป็ นร้านแรกๆ ทีเริ มใช้นายาอเนกประสงค์ ํ ตรา หายแซบหายสอยล้างจานของสะ เมิง “ใช้ดีค่ะ คราบมันของแกงอ่อมล้างออกได้หมดจดและมันก็ถนอมมือ ใช้นายาทั ํ วไปมันจะกัดมือ ล้าง สะอาด ฟองก็เยอะดี ปริ มาณมากกว่าในราคาทีประหยัด” แม่เล็กยืนยันพลางล้างจานไปด้วยความสบายใจ ร้าน ํ นเยอะจึงต้องใช้นายาในปริ ํ มาณทีมาก น้องปี จึงทํานํายาล้างจานมา เข้ามาเต๊อะเน้นขายอาหารเหนือทีมีนามั ขอบคุณแทนเศษอาหารหมูทาํ ให้แม่ไม่ตอ้ งซื อนํายาและไม่ตอ้ งคอยเก็บเศษขยะอาหารสดทุกวัน ร้านอาหารเจแม่เล็ก ร้านขายสิ นค้าโอทอปสะเมิงของแม่แต๋ ว และร้านอาหารตามสังของแม่เล็กจะเป็ น หน้าร้านให้กบั สิ นค้าขบวนบุญแล้ว ทังสามร้านยังช่วยประชาสัมพันธ์แนวความคิดของการขายผลิตภัณฑ์ทีขาย ในราคาทุนแต่หากมีกาํ ลังช่วยคนต้นนําได้กช็ ่วยจ่ายในราคาทีพอจ่ายได้และไม่เดือดร้อนจนเกินไป คนปลายนําอย่างคนเมืองก็สามารถช่วยคนต้นนําดูแลธรรมชาติได้ทุกวัน...
บทวิเคราะห์ การขับเคลือนโครงการในชุ มชน “โซนชุ มชนเทศบาลสะเมิงใต้ /โรงเรียนสะเมิงพิทยาคม” ในเขตเทศบาลสะเมิงใต้เป็ นเขตชุมชนเมืองแหล่งรวมผูค้ นมากหน้าหลายตา เพราะต่างมาแสวงหา โอกาสในเมือง การงาน การศึกษา ความเจริ ญ ถาวรวัตถุ การบริ โภค สื อต่างๆ ความหลากหลายนีเองจึงทําให้ เกิดปัญหาในระยะแรกของการดําเนินการคือ มีกลุ่มเป้ าหมายทีจะขับเคลือนขบวนบุญไม่ชดั เจนจึง เหมือนโซน ชุมชนอืนทีมีคนในชุมชนเป็ นเป้ าหมาย และขาดแกนนําขับเคลือนในพืนทีโซนนี แต่ขณะเดียวกันด้วยบริ บท เมืองก็เอือต่อการขายผลิตภัณฑ์ เพราะคนเมืองส่ วนมากไม่ผลิตสิ นค้าใช้เอง ผลิตกินเอง การขายผลิตภัณฑ์บญ ุ ทีมงานส่ วนกลางจึงใช้เป็ นเครื องมือในการพาคนทําบุญเพือกองทุนอนุรักษ์สิงแวดล้อม โซนนีจึงมีร้านค้าบุญ ๓ ร้านเข้าร่ วมโครงการ ยอดสังรวมกว่าหนึงหมืนบาทและเริ มส่ งเงินเข้ากองทุน ุ กําลังไปได้ดี บุญอีกพันบาทต้นๆ เป็ นเครื องยืนยันส่วนหนึงว่าการขับเคลือนโครงการด้วยการขายผลิตภัณฑ์บญ ในกลุ่มคนเมือง และนอกจากกลุ่มเป้ าหมายยังได้เลือกซือผลิตภัณฑ์แล้ว ยังสามารถเข้าใจแนวคิดของโครงการ จากการบอกเล่าผ่านแม่คา้ และการเปิ ดวีดีทศั น์ของโครงการขบวนบุญและหนึงไร่ คุณธรรมในร้านอาหารให้ ลูกค้าชม เป็ นการเปิ ดเกมส์บุกคนเมืองในเชียงใหม่ครังแรกของโครงการ หลังจากโซนอมลองในเขตงานที ๑ ประสบความสําเร็ จในการบุกตลาดคนเมืองอย่างคนกรุ งเทพฯ มาระยะหนึงแล้ว ทีมงานจึงใช้กระแสนีเรี ยก ความสนใจและตืนตัวของคนเมืองในอําเภอสะเมิงเพือช่วยสนับสนุนคนผลิตสิ นค้าในพืนทีอําเภอเดียวกัน ลด รายจ่ายค่าขนส่ ง สิ นค้าจึงขายได้ในราคาต้นทุน เมือคุณภาพทีดีแต่ราคาถูกกว่ามากในปริ มาณทีเท่ากันผลิตภัณฑ์ ของโรงการขบวนบุญจึงเริ มขายดีและเป็ นทีรู ้จกั ของคนในอําเภอมากขึน สําหรับการขับเคลือนโครงการในโรงเรี ยนนันน้องปี แกนนําผูข้ บั เคลือนขบวนบุญเลือกทีจะใช้ วิธีการพาเด็กและเยาวชนรุ่ นน้องในชุมนุม “คืนชีวิตให้แผ่นดิน” ซึ งตังเพือให้นอ้ งๆ ได้ศึกษาถึงการใช้ชีวิตอยู่ ร่ วมกับธรรมชาติอย่างสมดุล การสร้างภูมิคุม้ กันให้เยาวชนให้เท่าทันเรื องสื อ สังคม วัฒนธรรม และการศึกษาที อยูใ่ นระหว่างการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ ว รวมทังตระหนักถึงหน้าทีของคนทีเกิดมาเป็ นหนีแผ่นดิน จึงต้องทํา ดีตอบแทนคุณแผ่นดิน ตามชือชุมนุม
น้องปี จึงพาน้องๆ เข้าร่ วมค่ายเรี ยนรู้การอยูป่ ่ า การเดินป่ าทําแนวกันไฟ ทําฝาย ปลูกต้นไม้ และยังร่ วม เป็ นทีมงานช่วยจัดเวทีสญ ั จรขบวนบุญในโซนต่างๆ ให้ดาํ เนินไปได้ดว้ ยดี นีคือนิยามการทําบุญทีปี เองก็ไม่รู้วา่ การทีเธอและน้องๆ สละเวลาว่างส่วนตัวในวันเสาร์ อาทิตย์ทาํ กิจกรรมเพือส่วนรวมดังกล่าวเป็ นวิธีการ ขับเคลือนขบวนบุญอย่างหนึง ซึ งเหมาะสมกับเยาวชนทีจะค่อยๆ ซึมซับการทําดี การเสี ยสละ การเข้าใจ ธรรมชาติและตัวตนของตนเองผ่านสิ งทีตนทําซึ งเป็ นการเรี ยนรู้นอกห้องสี เหลียมทีสอนวิชาทักษะชีวิตให้พวก เขาผ่านความจริ งของสังคมชนบทไทย ปัจจัยเกือหนุนการขับเคลือนขบวนบุญ ๑. เคลือนข่ายคนบุญและสถานที จะเห็นได้วา่ ร้านค้าทีร่ วมเป็ นหน้าร้านให้กบั สิ นค้าขบวนบุญได้ วางขายและประชาสัมพันธ์ สําหรับสถานทีต่างๆ เช่น สวนนาฟานอุทยานทิพย์และบ้านแม่เลย ใน โซนสะเมิงเหนือ บ้านสนามกีฬา ในโซนกะเหรี ยงบ่อแก้ว บ้านสบลานในเขตเทศบาลสะเมิงใต้ และศูนย์การเรี ยนรู ้เศรษฐกิจพอเพียง ณ วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม เป็ นเครื อข่ายของโครงการซึ ง ยินดีตอ้ นรับและเปิ ดให้เยาวชนเข้ามาเรี ยนรู ้กบั พ่อๆ แม่ๆ ในพืนทีอย่างไม่หวงวิชาเหล่านีเป็ นปัจจัย เกือหนุนทีทําให้การขับเคลือนคุณธรรมผ่านกิจกรรมเป็ นไปได้ดว้ ยดี เรี ยนรู ้อย่างประหยัดและเรี ยบ ง่ายจากเครื อข่าย ๒. บริ บทชุมชนเมือง แหล่งรวมความหลากหลายของผูค้ น ความเป็ นปัจเจกในแต่ละบุคคลสูง แต่ ขณะเดียวกันอําเภอสะเมิงยังถือว่าเป็ นสังคมเมืองขนาดย่อมทําให้การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร เป็ นไปด้วยความรวดเร็ ว จึงเป็ นปั จจัยเกือหนุนในการกระจายข่าวเรื องผลิตภัณฑ์บุญเป็ นไปด้วย ความรวดเร็ วแบบปากต่อปากเช่นกัน รวมทังการขับเคลือนขบวนบุญผ่านกิจกรรมการซื อขาย ผลิตภัณฑ์เหมาะสมกับพฤติกรรมการบริ โภคของคนเมืองกลุ่มทีไม่ผลิตเอง กล้าลองสิ นค้าใหม่และ ใส่ ใจสุขภาพมากขึนทําให้แนวคิดเรื องบุญถูกถ่ายทอดผ่านทางสิ นค้าได้ง่ายกว่าวิธีอืนๆ