Mangrove Forest Conservation Center: Prupalong_Thesis-Nawin Somkanae@Arsom Silp Institute Of The Art

Page 1

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ศูนย์ศกึ ษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุ ป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center นวิน สมคะเน วิทยานิพนธ์นีเ้ ป็ นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาสถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทางสถาปั ตยกรรมศาสตร์ สถาบันอาศรมศิลป์ ปี การศึกษา ๒๕๖๒ 1


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

2


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

3



ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทคัดย่อภาษาไทย ป่าชายเลน เป็นป่าทีม่ คี วามส�าคัญและมีความหลากหลายทางระบบนิเวศอย่าง

คุณค่าที่ส�าคัญในการท�าวิทยานิพนธ์ครั้งนี้คือ การที่ได้ลงพื้นที่เพื่อเก็บข้อมูล

มาก เป็นป่าที่อยู่ระหว่างผืนดินและน�้า การเปลี่ยนแปลงของระดับน�้าทะเลเป็นปัจจัย

เกีย่ วกับพืน้ ทีโ่ ครงการและได้พดู คุยกับชาวบ้านในพืน้ ที่ ผูน้ า� ชุมชน กรรมการชุมชน นาย

ส�าคัญที่ท�าให้เกิดป่าชายเลนขึ้น ท�าให้สภาพดินมีความหลากหลาย ส่งผลให้พันธ์ุไม้ที่

อ�าเภอ และนายกเทศบาลนครเกาะสมุย ท�าให้ได้เห็นทัศนคติและมุมมองต่อสิง่ แวดล้อม

เกิดขึน้ ในป่านีม้ คี วามหลากหลาย ต�าแหน่งการเกิดขึน้ ของพันธ์ไุ ม้แปรผันตามสภาพและ

ที่หลากหลายจากกลุ่มคนหลายระดับในสังคม ท�าให้เข้าใจสภาพสังคมมากขึ้น ซึ่งเป็น

คุณสมบัตขิ องพืน้ ดิน และส่งผลไปถึงการเป็นแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยและแหล่งอาหารของสัตว์

ปัจจัยส�าคัญในการจัดท�าโครงการอันมีผลกระทบต่อสังคมเมือง

ป่าด้วยเช่นกัน ส�าหรับสังคมมนุษย์ ป่าชายเลนเป็นแหล่งอาหารและแหล่งอาศัยของคน

จากการส�ารวจและค้นหาข้อมูลพบว่า พืน้ ทีแ่ ห่งนีเ้ ป็นป่าชายเลนทีส่ มบูรณ์ผนื

เพียงบางกลุม่ เท่านัน้ ท�าให้ในอดีตพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนได้ถกู รุกล�า้ และเปลีย่ นผืนป่าให้กลาย

สุดท้ายของเกาะสมุย เป็นพืน้ ทีท่ คี่ นในชุมชนหวงแหนเพราะเป็นพืน้ ทีท่ ค่ี นในชุมชนล้วน

เป็นเมือง ทัง้ ตัง้ โรงงานอุตสหกรรม การสร้างท่าเรือ และเพือ่ การเกษตร เพือ่ ตอบรับการ

มีความทรงจ�าทีด่ จี ากกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในอดีต อีกทัง้ ป่าแห่งนีเ้ คยถูกพัฒนาให้กลายเป็น

ขยายตัวของเมือง แต่ปัจจุบันพื้นที่ป่าชายเลนได้ถูกให้ความส�าคัญมากขึ้นเนื่องจาก

แหล่งท่องเที่ยวมาแล้วในอดีต ก่อนที่จะถูกทิ้งร้างไปเนื่องจากเป็นโครงการที่ขาดการ

สถานการณ์สภาวะโลกร้อนท�าให้เราได้เห็นถึงผลกระทบจากกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ของมนุษย์

ดูแลจากภาครัฐและการมีส่วนร่วมของชุมชนค่อนข้างน้อย ทั้งนี้จากการที่ได้พูดคุยกับ

และเห็นว่าต้นไม้นั้นจะเป็นสิ่งที่ช่วยลดผลกระทบลงได้

ชาวบ้านและกลุ่มผู้น�าชุมชนแล้ว หลายฝ่ายมีความเห็นว่าพื้นที่แห่งนี้มีโอกาสที่จะ

เกาะสมุยเป็นเกาะที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติอยู่มาก ในปัจจุบันการพัฒนา

สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเทีย่ วเชิงนิเวศแห่งใหม่ได้โดยการจัดท�าโครงการทีช่ าวบ้าน

เศรษฐกิจได้มุ่งเน้นไปที่การท่องเที่ยวเป็นหลัก ท�าให้ธรรมชาติได้รับผลกระทบจากการ

มีสว่ นร่วมอย่างแท้จริง เพือ่ เสริมสร้างความยัง่ ยืนของวิถชี วี ติ ของผูค้ นในชุมชนและการ

ขยายตัวของเมือง คือการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่ทางธรรมชาติให้กลายเป็นที่พัก

ท่องเที่ยว สามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคนกับธรรมชาติให้มากขึ้นและท�าให้ผู้คน

โรงแรม ห้างร้าน เพือ่ รองรับกิจกรรมของนักท่องเทีย่ ว แม้วา่ จุดเด่นของเกาะสมุยคือการ

กลับมาเห็นคุณค่าของธรรมชาติมากขึ้น

ท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อสัมผัสกับบรรยากาศธรรมชาติก็ตาม ด้วยเหตุนี้ท�าให้พื้นที่ป่าบน

โดยในการจัดท�าวิทยานิพนธ์ครั้งนี้ได้ท�าการศึกษาอย่างจริงจังถึงเรื่องระบบ

เกาะหลาย ๆ แห่งได้ถกู ท�าลายลงโดย เฉพาะป่าทีต่ ดิ ทะเลทีส่ า� คัญก็คอื ป่าชายเลน โดย

นิเวศของป่าชายเลน และศึกษาวิถชี วี ติ ของผูค้ นในท้องถิน่ เพือ่ จัดท�าเป็นศูนย์ศกึ ษาและ

ในปัจจุบันนี้ป่าชายเลนเพียงแห่งเดียวที่สมบูรณ์และมีความส�าคัญของเกาะสมุยคือป่า

อนุรักษ์ธรรมชาติป่าชายเลนที่มีความสอดคล้องกับวิถีของชุมชน ภายใต้แนวคิดของค�า

ชายเลนที่มีชื่อว่า “พรุป่าโหลง”

ว่า “พอดี” หมายถึงการใช้ประโยชน์จากบริบทให้คมุ้ ค่า ลดความฟ่มุ เฟือยและการพึง่ พา

ในการจัดท�าวิทยานิพนธ์นผ้ี จู้ ดั ท�าได้มคี วามสนใจในเรือ่ งสิง่ แวดล้อมและมีความ รักและหวงแหนในแผ่นดินอันเป็นบ้านเกิดคือเกาะสมุย จึงมีเจตนาที่ต้องการจะฟื้นฟู

ปัจจัยภายนอก รวมไปถึงเป็นโครงการที่สร้างศักยภาพให้คนในท้องที่ เพื่อเพิ่มความ มั่นใจในการพึ่งพาตนเองได้และใชีชีวิตอย่างยั่งยืน

สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติของเกาะสมุยทีส่ วยงามให้กลับคืนมาและยังคงรักษาไว้ตอ่ ไปได้ในอนาคต โดยในขั้นตอนกระบวนการศึกษาหาความรู้ ได้มีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเรื่อง ป่าชายเลน จากหนังสือ วารสาร และแหล่งข้อมูลต่าง ๆ มีความน่าเชือ่ ถือ รวมไปถึงการ ได้มีโอกาสพูดคุยและสัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเรื่องป่าชายเลน เพื่อน�าข้อมูล ต่าง ๆ มาแปลงเป็นองค์ความรู้เพื่อใช้ในการออกแบบ

5


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ABSTRACT

Mangrove forest is an important forest which extremely has

The important things from doing this project are surveying for

diversity in ecosystem. It is the forest between land and sea. The change

collecting the data, and interviewing local villagers, community leader,

of the sea level is the important factor that causes mangrove forest.

chief district officer, and municipal president of Koh Samui. Consequently,

Consequently, it creates diversity to a soil condition. It also causes

we can see several attitudes and aspects towards environment from many

diversity of species of trees in this forest. The incident position of tree

social groups and has more understanding about social condition which

species can change in accordance with soil conditions and properties. In

is an important factor for doing projects that affect urban society.

addition, it affects habitat of wild animals. For human, mangrove forest is

According to the data and information from the survey and study,

a food source and a habitat of some people. Because mangrove forests

this area is the last complete mangrove forest of Koh Samui. Villagers

were intruded in the past, it changed the forests to towns and cities.

cherish this place because it is a place that people have good memories

Moreover, they built industrial factories, harbors ,and agriculture for

form the past. In addition, this forest used to be developed for tourist

responding to the urban expansion. At present, people give importance

attraction in the past before being abandoned. The lack of taking care

to mangrove forest because of the global warming. People see the effects

from public sector and less community participation are the reasons.

from human activities, and they know that trees can reduce the issues.

According to the interviews of villagers and the community

Koh Samui is an island that has many natural resources. At present,

leader, most of them have the same opinion that this place has

the economists focus on developing for tourism, so nature is affected by

opportunity to be developed for being a new ecotourism destination by

urban expansion. People destroy natural space to accommodations, hotels

doing project that villagers can actually participate for supporting sustain-

,and stores for supporting tourist activities. Although the distinctive point

ability of the way of life of people in the community and tourism. This

of Koh Samui is eco-tourism in order to touch with natural atmosphere,

place can develop the connection between human and nature, also make

the forest areas on most islands are destroyed especially mangrove forest

people see the more value of nature.

which is near the beach. At present, there is only one important mangrove

The practical studying about the ecology of mangrove forest and

forest that is still complete forest of Koh Samui. It is called “Prupalong”.

the way of local people’s life has been used for proceeding in this project

For doing this project, it is because the environment is the most

in order to create the conservation center mangrove forest project which

important resource. Consequently, the environment of Koh Samui needed

related to the community ways of life under the concept of the word

to be recovered to be a beautiful natural and conserve it continuously

“Sufficiency”. Sufficiency means utilizing from context worthily, reducing

for future.

luxury, and depending on external factors. Furthermore, it will be the

Methods study comprises from gathering information about mangrove forest from many books, journals, and credible sources, including the interview from specialists of mangrove forest. 6

project that create potential to local people in order to increase confidence for self-dependence and live sustainably.


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

กิตติกรรมประกาศ

การเกิดขึ้นของวิทยานิพนธ์นี้เป็นสิ่งที่ท�าให้ได้เรียนรู้อะไรหลาย ๆ อย่าง มากกว่าการออกแบบ คือ การใช้ชีวิต

เล่มนี้ และความรู้จากอาจารย์ไว้อย่างดีที่สุด ขอขอบคุณ คุณอาเสรี ศรีทอง กรรมการหมู่บ้านที่ให้ค�าปรึกษา และข้อมูล

ส�าหรับช่วงชีวติ นักศึกษาสถาบันอาศรมศิลป์ทผี่ า่ นมาต้องขอขอบคุณ อาจารย์

เกี่ยวพรุป่าโหลง ซึ่งเป็นข้อมูลที่ส�าคัญมากในการท�างาน และ ขอบคุณ คุณลุงอ�านาจ

ธีรพล นิยม รองอธิการบดีฯ ผู้ให้ข้อคิดที่ส�าคัญมาตลอดระยะเวลาของการศึกษา โดย

โชติช่วง ส.อบจ. เกาะสมุย เขต ๑ นักพัฒนาผู้เคยผลักดันโครงการเส้นทางศึกษา

เฉพาะข้อคิดทางด้านของคุณค่าของสถาปัตยกรรมและชีวติ ซึง่ มีผลต่อการพัฒนาความ

ธรรมชาติที่พรุป่าโหลง ผู้ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการท�างาน และข้อมูล

คิดและจิตใจในช่วงเวลาที่ผ่านมาอย่​่างมาก

เรื่องประวัติศาสตร์ของพื้นที่พรุป่าโหลง เพื่อน�าไปประกอบกับการท�างาน

ขอขอบคุณคณาจารย์ทุก ๆ ท่านในสถาบันที่คอยให้ค�าปรึกษา ให้ความรู้ และ สอบถามถึงความคืบหน้าอยู่เสมอ ทุก ๆ ความเห็นที่มีต่องานมีประโยชน์อย่างมากและ

ขอขอบคุณ ท่านปลัดอ�าเภอ ปริญญา อุดมศักดิ์ ผู้ให้ค�าแนะน�าเรื่องการสืบหา ข้อมูลและแนวทางการท�างาน ท�าให้สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลส�าคัญได้ถูกต้อง

เป็นแรงผลักดันให้เกิดความกระตืนรือร้นที่จะท�างานมากขึ้น และที่ต้องขอบคุณเป็น

ขอขอบคุณท่าน รามเนตร ใจกว้าง นายกเทศมนตรีนครเกาะสมุย ผู้ให้ค�า

พิเศษคือ อาจารย์ย่ิงยง ปุณโณปถัมป์ (อาจารย์คุ้ง) ซึ่งเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษา คอยให้

แนะน�าแนวทางในการท�างาน และแนวทางในการพัฒนาเกาะสมุย ท�าให้เข้าใจถึงความ

ความช่วยเหลือ ให้ค�าปรึกษาในทุก ๆ ด้าน คอยชี้ให้เห็นถึงจุดที่ดี และจุดที่เสียในตัวผม

เคลื่อนไหวของสังคมบนเกาะสมุยมากขึ้น

สอนให้ผมท�าตัวเหมือนน�า้ ทีเ่ คลือ่ นไหวอ่อนไหวไม่แข็งเกร็งถึงแม้วา่ จะยังท�าได้ไม่ดมี าก

ขอขอบคุณชาวบ้านหลายๆท่าน พีค่ นขับเรือหางยาว ขาวประมง ทีไ่ ด้ให้ความ

ก็ตาม ขอบคุณที่ดูแลตั้งแต่เริ่มต้นจนจบงานและเป็นผู้ร่วมมือกับ อาจารย์กรรณิการ์

เห็นต่อเรื่องสิ่งแวดล้อมบนเกาะสมุย ทั้งเรื่องป่าชายเลนและเรื่องอื่น ๆ ซึ่งทั้งหมดล้วน

รัตนปรีดากุล(อาจารย์เล็ก) ที่ช่วยผลักดัน ให้ผมท�างานต่อไป

น�ามาเป็นส่วนประกอบในกระบวนการท�างานทั้งสิ้น

อาจารย์กรรณิการ์ รัตนปรีดากุล(อาจารย์เล็ก) เป็นผู้ที่ส�าคัญที่สุดในการท�า

ขอบคุณ Chatarchitect บริษัทสถาปนิกที่ฝึกงาน ที่ได้ฝึกสอนการท�างานให้

วิทยานิพนธ์ครั้งนี้ เปรียบเสมือนหัวขบวนรถไฟที่เป็นแรงขับเคลื่อนในการท�างานนี้

ผม จนพัฒนาฝีมือมากขึ้นเรื่องการตัดต่อผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ท�าให้ผมสามารถ

ด�าเนินต่อไปได้ ต้องขอขอบพระคุณและขออภัยส�าหรับสิ่งใดที่ได้ท�าไม่ดีลงไป อาจารย์

ท�างานลุล่วงไปได้

เป็นผู้ที่มองโลกในแง่ดีมากๆแต่ขณะเดียวกันก็มีวิธีคิดเหตุผลที่เป็นหลักการและจริงจัง ซือ่ ตรง ซึง่ เป็นแบบอย่างทีด่ มี าก ๆ หลาย ครัง้ ในการท�างานทีเ่ ราก�าลังหลอกตัวเองหรือ

ขอขอบคุณเพื่อน ๆ ที่คอยให้ค�าแนะน�าทั้งติและชมผลงาน ท�าให้เห็นแนวทาง และเป็นข้อคิดในการพัฒนางานต่อไปได้

หลงทาง ก็ได้ท่ีคอยเตือนสติเอาไว้ ค�าสอนของอาจารย์มีค่ามากๆโดยเฉพาะเรื่องการ

และสุดท้ายขอขอบคุณทุก ๆ สิง่ ทีเ่ ป็นไปในช่วงเวลาทีไ่ ด้ประสบมาในช่วงเวลา

จัดการเวลาที่ผมควรปรับปรุง ขอบคุณที่เข้าใจในตัวผม และการที่อาจารย์ได้มาสอนถือ

ที่ผ่านมานี้ ขอบคุณร่างกายที่แข็งแรงกว่าที่คาดเอาไว้ขอบคุณตนเองที่ท�าให้รู้ว่าตนเอง

เป็นประสบการณ์หนึ่งที่ดีมากส�าหรับชีวิตผม วิธีการสอนของอาจารย์ท�าให้ผมมองโลก

ก็มีความพยายามอยู่ในตัวลึก และขอบคุณชีวิตที่ยังมีอยู่และต้องด�าเนินต่อไป

เปลีย่ นไป ผมเริม่ พยายามมองและท�างานด้วยความสัตย์ตอ่ ตัวเอง ซึง่ เป็นบุคลิกทีส่ า� คัญ มากส�าหรับวิชาชีพสถาปนิก ขอบพระคุณอย่างสูงครับ ขอขอบคุณอาจารย์สรายุทธ บุญยะเวชชีวัน ผู้เชี่ยวชาญเรื่องป่าชายเลน และ ผู้เขียนหนังสือ “ป่าชายเลน นิเวศวิทยาและพรรณไม้” ที่สละเวลามาให้ความรู้ และ ข้อคิดเห็นต่อวิทยานิพนธ์ และได้มอบหนังสือเล่มส�าคัญ ซึ่งเปรียบเสมือนค�าภีร์เรื่องป่า ชายเลน ไว้ให้ผมได้น�าไปใช้ท�างาน และติดตัวเป็นความรู้ ขอสัญญาว่าจะเก็บหนังสือ 7


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สารบัญ บทที่ ๓ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ

บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ

๖.๒.๒ แนวคิดการออกแบบเส้นทางศึกษาธรรมชาติ...................๖๒ ๖.๒.๓ แนวคิดการจัดการต�าแหน่งทีต่ ั้งของอาคาร .....................๖๔

๓.๑ วิเคราะห์ท�าเลที่ตั้งของโครงการ ........................................................๒๗

สารบัญ

๓.๑.๑ พืน้ ทีส่ า� คัญของเมือง ........................................................๒๘

สารบัญรูปภาพ

๓.๑.๒ การขยายตัวของเมือง ......................................................๒๙

สารบัญตาราง

๓.๒ วิเคราะห์สถานที่ตั้ง ............................................................................๓๑

บทที่ ๑ บทน�า ๑.๑ ความเป็นมาของโครงการ...................................................................๑๓

๖.๒.๔ แนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรม .................................๖๙ ๖.๓ ผลงานการออกแบบ ..........................................................................๗๖ ๖.๓.๑ กลุม่ อาคาารต้อนรับ .........................................................๗๗ ๖.๓.๒ จุดพักในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ .................................... ๘๒

๓.๒.๑ สภาพแวดล้อมโดยรอบอาคาร ........................................๓๑

๖.๓.๓ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ...................................................๘๓

๓.๒.๒ สภาพแวดล้อมภายในโครงการ .......................................๓๓

๖.๓.๔ หอชมป่า .........................................................................๘๔

๓.๒.๓ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ ..............................๓๖

๖.๓.๕ กลุ่มอาคารต่อเรือ ...........................................................๘๕ ๖.๓.๖ กลุ่มอาคารร้านอาหาร ....................................................๘๙

๑.๒ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ..........................................................๑๔ ๑.๓ วัตถุประสงค์ของโครงการ...................................................................๑๔ ๑.๔ ขอบเขตของการศึกษาโครงการ...........................................................๑๕

๔.๑ รายละเอียดโครงการด้านการบริหาร .................................................๓๗

๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ.................................................................๑๕

๔.๑.๑ โครงสร้างองค์กร .............................................................๓๗ ๔.๑.๒ บทบาทหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ..................................๓๘

บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ ๒.๑ ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโครงการ ......................๑๗

๔.๒ รายละเอียดโครงการด้านหน้าทีใ่ ช้สอย ..............................................๓๙ ๔.๓ รายละเอียดโครงการด้านพืน้ ทีใ่ ช้สอย ................................................๔๒

๒.๑.๑ ระบบนิเวศพื้นที่ชุมน�้าบนเกาะสมุย ................................๑๗ ๒.๑.๒ สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ...................๑๙

บทที่ ๕ การศึกษาวิเคราะห์อาคารกรณีศึกษา ๕.๑ กรณีศึกษาภายในประเทศ .................................................................๔๕

๒.๒.๑ การเกิดขึ้นของป่าชายเลน ..............................................๒๐

๕.๒ กรณีศกึ ษาในต่างประเทศ ...................................................................๕๓

๒.๒.๒ พันธ์ไม้ในป่าชายเลน .......................................................๒๑

๒.๓ กฏหมายและเทศบัญญัติ .....................................................................๒๕ 8

บทที่ ๗ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๗.๑ ความคิดเห็นต่อผลงานการออกแบบ .................................................๑๐๐ บรรณานุกรม ภาคผนวก

๒.๒ ทฤษฎีและองค์ความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน .........................................๒๐

๒.๒.๓ สัตว์ในป่าชายเลน ...........................................................๒๓

๖.๓.๗ กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน ...................................๙๔

บทที่ ๔ รายละเอียดของโครงการ

บทที่ ๖ ผลงานออกแบบ ๖.๑ แนวความคิดของโครงการ..................................................................๕๙ ๖.๒ แนวความคิดในการออกแบบ..............................................................๖๑ ๖.๒.๑ แนวคิดการปรับปรุงและฟืน้ ฟูสภาพป่า............................๖๑

ชีววิทยาและนิเวศวิทยาป่าชายเลน


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สารบัญรูปภาพ บทที่ ๑ บทน�า

รูปภาพที่ ๓.๐๘ ภาพแสดงความสูงระดับน�้าทะเล ....................................๓๓

รูปภาพที่ ๕.๑๑ ภาพแสดงโซนต่างๆของโครงการป่าในกรุง ......................๕๐

รูปภาพที่ ๑.๐๑ รูปภาพแสดงต�าแหน่งของป่าชายเลนบนเกาะสมุย .........๑๒

รูปภาพที่ ๓.๐๙ แผนผังระดับและคุณสมบัติของพื้นที่ ..............................๓๔

รูปภาพที่ ๕.๑๒ ภาพอาคารหลักของโครงการป่าในกรุง ............................๕๑

รูปภาพที่ ๑.๐๒ รูปภาพแสดงพื้นที่พรุป่าโหลง .........................................๑๓

รูปภาพที่ ๓.๑๐ ภาพแสดงมุมมองต่างๆบริเวณโครงการ ............................๓๕

รูปภาพที่ ๕.๑๓ ภาพแสดงรายละเอียดภาพตัดของโครงการป่าในกรุง ......๕๑

รูปภาพที่ ๑.๐๓ รูปภาพแสดงความเชื่อมโยงของเป้าหมาย ......................๑๔ รูปภาพที่ ๑.๐๔ รูปภาพในพื้นที่พรุป่าโหลง ..............................................๑๖

รูปภาพที่ ๕.๑๔ ภาพหอคอยของโครงการป่าในกรุง ..................................๕๒ บทที่ ๔ รายละเอียดของโครงการ รูปภาพที่ ๔.๐๑ Head Hand Heart …..............................................……๓๙

บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ รูปภาพที่ ๒.๐๑ รูปภาพแสดงภูมิศาสตร์ของเกาะสมุย .............................๑๗

รูปภาพที่ ๕.๑๕ ภาพแสดงการเติบโตของต้นไม้ภายในโครงการ ...............๕๒ รูปภาพที่ ๕.๑๖ ภาพรูปด้านอาคารหลักของโครงการป่าในกรุง ................๕๒ รูปภาพที่ ๕.๑๗ ภาพมุมมองภายในโครงการ Sungai Buloh ................…๕๓

บทที่ ๕ การศึกษาวิเคราะห์อาคารกรณีศึกษา

รูปภาพที่ ๕.๑๘ ภาพผังแม่บทของโครงการ Sungai Buloh ...................…๕๔

รูปภาพที่ ๒.๐๒ รูปภาพแสดงต�าแหน่งของโครงการ .................................๑๘

รูปภาพที่ ๕.๐๑ ภาพภายในศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ........๔๕

รูปภาพที่ ๕.๑๙ ภาพรายละเอียดผังแม่บทของโครงการ Sungai Buloh ......๕๔

รูปภาพที่ ๒.๐๓ กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา .......................................๑๙

รูปภาพที่ ๕.๐๒ ภาพถ่ายทางอากาศศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติกองทัพบก(บางปู)..๔๖

รูปภาพที่ ๕.๒๐ ภาพโซนของผังแม่บทของโครงการSungai Buloh ....……๕๕

รูปภาพที่ ๒.๐๔ ต้นโกงกางในพรุป่าโหลง .................................................๒๐

รูปภาพที่ ๕.๐๓ ภาพแสดงโซนต่างๆภายในโครงการศูนย์ศกึ ษาธรรมชาติ

รูปภาพที่ ๕.๒๑ ภาพการวิเคราะห์โดยรอบของโครงการ Sungai Buloh ..๕๕

รูปภาพที่ ๒.๐๕ ล�าดับของพันธุ์ไม้ ............................................................๒๐ รูปภาพที่ ๒.๐๖ วัฏจักรในป่าชายเลน ......................................................๒๓ รูปภาพที่ ๒.๐๗ ผังก�าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ......................................๒๕

กองทัพบก (บางปู) ...........................................................................๔๖ รูปภาพที่ ๕.๐๔ ภาพแสดงโซนต่างๆภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบก (บางปู) ..........................................................๔๗

รูปภาพที่ ๕.๒๒ ภาพนโยบายหลักของโครงการ Sungai Buloh ...........…๕๕ รูปภาพที่ ๕.๒๓ การแบ่งโซนของพื้นที่ภายในโครงการ ....…...................…๕๕ รูปภาพที่ ๕.๒๔ ภาพบรรยากาศของโครงการ Sungai Buloh .........………๕๖

รูปภาพที่ ๕.๐๕ ภาพแสดงเส้นทางภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ บทที่ ๓ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ รูปภาพที่ ๓.๐๑ ต�าแหน่งพรุปา่ โหลง ..........................................................๒๗

กองทัพบก (บางปู) ..........................................................๔๗ รูปภาพที่ ๕.๐๖ ภาพแสดงโซนของป่าภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ

บทที่ ๖ ผลงานออกแบบ รูปภาพที่ ๖.๐๑ ผังแม่บทของโครงการ .....................................................๖๐

รูปภาพที่ ๓.๐๒ แสดงต�าแหน่งของพืน้ ทีส่ า� คัญบนเกาะสมุย .....................๒๘

กองทัพบก (บางปู) ..........................................................๔๗

รูปภาพที่ ๖.๐๒ ภาพแสดงแนวคิดการปรับเปลีย่ นสภาพพืน้ ทีโ่ ครงการ .....๖๑

รูปภาพที่ ๓.๐๓ ภาพแสดงการขยายตัวของเมือง .……..........................…..๒๙

รูปภาพที่ ๕.๐๗ สะพานลอยศึกษาธรรมชาติ ............................................๔๘

รูปภาพที่ ๖.๐๓ ผังแสดงแนวคิดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ............... ...........๖๒

รูปภาพที่ ๓.๐๔ ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงต�าแหน่งของพรุปา่ โหลง .............๓๐

รูปภาพที่ ๕.๐๘ ภาพแสดงมุมมองต่างๆภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ

รูปภาพที่ ๖.๐๔ ภาพแสดงระยะทางของเส้นทางเดินป่าแต่ละประเภท ....๖๓

รูปภาพที่ ๓.๐๕ ภาพแสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ..๓๑

กองทัพบก (บางปู) ..........................................................๔๘

รูปภาพที่ ๖.๐๕ ภาพแสดงต�าแหน่งทีต่ งั้ กลุม่ อาคารต้อนรับ ......................๖๔

รูปภาพที่ ๓.๐๖ ภาพเส้นทางการเข้าถึงจากเส้นทางสัญจรหลัก ................๓๒

รูปภาพที่ ๕.๐๙ ภาพแสดงมุมมองของโครงการป่าในกรุง ........................๔๙

รูปภาพที่ ๖.๐๖ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารต่อเรือ .......................๖๕

รูปภาพที่ ๓.๐๗ ภาพเส้นทางล�าคลองที่เชื่อมต่อกับทะเล .........................๓๒

รูปภาพที่ ๕.๑๐ ภาพแสดงแผนผังของโครงการป่าในกรุง ........................๕๐

รูปภาพที่ ๖.๐๗ ภาพแสดงต�าแหน่งทีต่ ง้ั กลุม่ อาคารร้านอาหาร .................๖๖ 9


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สารบัญตาราง รูปภาพที่ ๖.๐๘ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารกิจกรรมชุมชน .........๖๗

รูปภาพที่ ๖.๓๑ รูปด้านและรูปตัดของกลุ่มอาคารร้านอาหาร .................๙๐

รูปภาพที่ ๖.๐๙ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งอาคารหอคอยสังเกตการณ์ ........๖๘

รูปภาพที่ ๖.๓๒ ภาพมุมมองการเข้าถึงกลุ่มอาคารร้านอาหารจาก

รูปภาพที่ ๖.๑๐ ภาพแสดงแนวคิดของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น.....................๖๙

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ ..................................................๙๑

รูปภาพที่ ๖.๑๑ ภาพแสดงแนวคิดการเลือกใช้วัสดุประกอบอาคาร .........๗๐

รูปภาพที่ ๖.๓๓ ภาพมุมมองการเข้าถึงกลุม่ อาคารร้านอาหารจากทางน�า้ ....๙๒

รูปภาพที่ ๖.๑๒ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารต้อนรับ.........๗๑

รูปภาพที่ ๖.๓๔ ภาพมุมมองบนชานรับประทานอาหารกลุม่ อาคารร้านอาหาร ...๙๓

รูปภาพที่ ๖.๑๓ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารต่อเรือ ..........๗๒

รูปภาพที่ ๖.๓๕ แบบแปลนกลุม่ อาคารท�ากิจกรรมชุมชน .........................๙๔

รูปภาพที่ ๖.๑๔ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารร้านอาหาร ...๗๓

รูปภาพที่ ๖.๓๖ แบบรูปด้านและรูปตัดกลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน ......๙๕

รูปภาพที่ ๖.๑๕ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุม่ อาคารท�ากิจกรรมชุมชน ...๗๔

รูปภาพที่ ๖.๓๗ ภาพมุมมองเส้นทางการเข้าถึงของชุมชน ........................๙๖

รูปภาพที่ ๖.๑๖ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบอาคารหอสังเกตการณ์....๗๕

รูปภาพที่ ๖.๓๘ ภาพมุมมองบริเวณด้านหน้ากลุม่ อาคารท�าเครือ่ งใช้พนื้ บ้าน .....๙๗

รูปภาพที่ ๖.๑๗ ภาพแสดงผังแม่บทอาคาร ..............................................๗๖

รูปภาพที่ ๖.๓๙ ภาพมุมมองคาเฟ่ชนั้ ๒ ของกลุม่ อาคารท�ากิจกรรมชุมชน .....๙๘

รูปภาพที่ ๖.๑๘ แสดงแบบแปลนอาคารต้อนรับ ......................................๗๗

รูปภาพที่ ๖.๔๐ บริเวณสวนป่ากลางพืน้ ทีก่ ลุม่ อาคารท�ากิจกรรมชุมชน .....๙๙

รูปภาพที่ ๖.๑๙ แสดงแบบรูปด้านและรูปตัดอาคารต้อนรับ ....................๗๘ รูปภาพที่ ๖.๒๐ ภาพมุมมองทางเข้าอาคารต้อนรับ .................................๗๙ รูปภาพที่ ๖.๒๑ ภาพลานกลางพื้นที่ของกลุ่มอาคารต้อนรับ ....................๘๐ รูปภาพที่ ๖.๒๒ ภาพมองย้อนกลับไปยังลานกลุ่มอาคารต้อนรับ .............๘๑ รูปภาพที่ ๖.๒๓ ภาพจุดพักในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ .............................๘๒ รูปภาพที่ ๖.๒๔ ภาพเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ...........................................๘๓ รูปภาพที่ ๖.๒๕ ภาพมุมมองจากหอสังเกตุการณ์ .....................................๘๔ รูปภาพที่ ๖.๒๖ แบบแปลนกลุ่มอาคารต่อเรือ .........................................๘๕ รูปภาพที่ ๖.๒๗ แบบรูปด้านและรูปตัดของกลุ่มอาคารต่อเรือ .................๘๖ รูปภาพที่ ๖.๒๘ ภาพมุมมองด้านอาคารจัดแสดงโครงสร้างเรือ ................๘๗ รูปภาพที่ ๖.๒๙ ภาพมุมมองด้านอาคารต่อเรือ ........................................๘๘ รูปภาพที่ ๖.๓๐ แบบแปลนกลุ่มอาคารร้านอาหาร ..................................๘๙ 10


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สารบัญตาราง

สารบัญแผนภูมิ

บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ

บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการ

ตารางที่ ๒.๐๑ แสดงรายชือ่ พันธุไ์ ม้แท้จริงในป่าชายเลน ...........................๒๑

แผนภูมิที่ ๒.๐๑ แผนภูมิการสัดส่วนใช้ประโยชน์จากพันธุ์ไม้ ....................๒๒

ตารางที่ ๒.๐๒ ตารางการใช้ประโยชน์จากพันธุ์ไม้ ....................................๒๒

แผนภูมิที่ ๒.๐๒ สัตว์ในป่าชายเลน ...........................................................๒๔

บทที่ ๓ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ตารางที่ ๓.๐๑ ตารางสถิติจ�านวนครัวเรือน ..............................................๒๙

บทที่ ๓ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ แผนภูมิที่ ๓.๐๑ แสดงสถิติจ�านวนครัวเรือต่อปี ........................................๒๙ แผนภูมิที่ ๓.๐๒ แผนภูมิแสดงระดับน�้าขึ้นลงเฉลี่ยต่อปี ...........................๓๓

บทที่ ๔ รายละเอียดของโครงการ

แผนภูมิที่ ๓.๐๓ แสดงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในรอบปี ..............................๓๖

ตารางที่ ๔.๐๑ ตารางขนาดพื้นที่ใช้สอย ...........................................๔๒ - ๔๕ บทที่ ๔ รายละเอียดของโครงการ แผนภูมิที่ ๔.๐๑ แสดงโครงสร้างของโครงการ ..........................................๓๗ แผนภูมิที่ ๔.๐๒ แสดงโ.ครงสร้างการใช้สอยของโปรแกรมของโครงการ ....๓๙ แผนภูมิที่ ๔.๐๓ แสดงความเชื่อมโยงกิจกรรมและโปรแกรม ....................๔๐ แผนภูมิที่ ๔.๐๔ องค์ประกอบของโปรแกรม .............................................๔๑

11


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ต�าแหน่งของป่าชายเลนที่ยังเหลืออยู่ ต�าแหน่งของป่าชายเลนที่เสื่อมโทรมและสูญหายไปแล้ว

12

รูปภาพที่ ๑.๐๑ รูปภาพแสดงต�าแหน่งของป่าชายเลนบนเกาะสมุย ที่มา: google earth, 2020


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๑ บทน�า ๑.๑ ความเป็นมาของโครงการ ป่าเป็นพื้นที่ส�าคัญของโลก สามารถจ�าแนกได้มากมายหลายชนิด และหนึ่งใน

“พรุปา่ โหลง”เป็นชือ่ ทีถ่ กู เรียกโดยชาวบ้านในพืน้ ที่ โดยแท้จริงแล้วเป็นป่าชาย

ป่าที่เป็นพื้นที่ส�าคัญของโลกคือพื้นที่ป่าชายเลน พื้นที่ชุ่มน�้าเหล่านี้เป็นต้นก�าเนิดของ

เลน ซึง่ เป็นแหล่งสุดท้ายทีส่ มบูรณ์ของเกาะสมุย ในอดีตเคยมีโครงการอนุรกั ษ์และฟืน้ ฟู

ชีวิตหลากหลายชนิด และยังอุดมไปด้วยแร่ธาตุอาหารที่จ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิตของทั้ง

พื้นป่าแห่งนี้ แสดงให้เห็นว่าครั้งหนึ่งผู้คนเคยมองว่าพื้นที่นี้มีความส�าคัญ แต่ท้ายที่สุด

ต้นไม้ และสัตว์ปา่ เป็นระบบนิเวศทีม่ คี วามส�าคัญเกีย่ วข้องกับมนุษยชาติอย่างมาก เช่น

ลดความส�าคัญลง ขาดคนดูและจนทรุดโทรมเสียหาย แต่ปจั จุบนั ค่านิยมในสังคมเริม่ ให้

ภายใต้ผืนดินของป่าชายเลนเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ (CO2) จ�านวน

ส�าคัญกับความยัง่ ยืนทางธรรมชาติ และพืน้ ทีส่ เี ขียวมากขึน้ นีจ้ งึ เป็นโอกาสทีจ่ ะพลิกฟืน้

มาก, ป่าชายเลนเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์นา�้ ทีส่ า� คัญ, เป็นแหล่งอาหาร, เป็นป่าทีช่ ว่ ยต้าน

พื้นที่ทรงคุณค่าที่ควรแก่การอนุรักษ์แห่งนี้ขึ้นมาอีกครั้งดังนั้นการออกแบบศูนย์ศึกษา

แรงลมพายุที่จะพัดเข้าสู่พื้นที่ชายฝั่ง เป็นต้น

และอนุรกั ษ์ธรรมชาติพรุปา่ โหลง จึงเป็นโครงการทีจ่ ะช่วยส่งเสริมในการสร้างจิตส�านึก

เกาะสมุ ย มี ข นาดพื้ น ที่ ป ระมาณ ๒๕๒ ตารางกิ โ ลเมตร อุ ด มไปด้ ว ย

รักษ์ผนื แผ่นดิน ห่วงแหนในทรัพยากรทางธรรมชาติ และจะช่วยส่งเสริมการการอนุรกั ษ์

ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ เสน่ห์ที่ส�าคัญของเกาะสมุยคือ ภูเขาและทะเลที่สวยงาม

และเพิ่มพื้นที่ทางธรรมชาติ ไม่เพียงแค่บริเวณพรุป่าโหลงแต่จะเป็นตัวจุดประกาย

ซึ่งเป็นหัวใจหลักที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามา ปัจจุบันการท่องเที่ยวคือธุรกิจหลักของ

สะท้อนให้เห็นถึงความส�าคัญของ ป่าต้นน�า้ ชายหาด ทะเล และพืน้ ทีท่ างธรรมชาติอน่ื ๆ

เกาะสมุยซึ่งมีมูลค่าเพิ่มขึ้นทุกๆปี แต่ในขณะเดียวกับทรัพยากรทางธรรมชาติก็ค่อยๆ

บนเกาะสมุย เพื่อพัฒนาสู่การเป็นเมืองท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ลดลงเรื่อยๆ จากการบุกรุกพื้นที่ทางธรรมชาติเพื่อสร้างที่พักอาศัย โรงแรม และพื้นที่ ทางการเกษตร ท�าให้สภาพป่าไม้บนเกาะสมุยโดยเฉพาะป่าต้นน�า้ บนภูเขาและป่าไม้รมิ ทะเลเริม่ ถูกรุกล�า้ และท�าลายทัง้ จากทางตรงทางอ้อม ซึง่ ส่งผลต่อระบบนิเวศของป่าชาย เลนทัง้ สิน้ รวมไปถึงพืน้ ทีช่ มุ่ น�า้ ทีถ่ กู ลดบทบาทความส�าคัญลงจากในอดีต จากทีเ่ คยเป็น ป่าทีส่ ามารถใช้สอยประโยชน์ได้ทงั้ แหล่งอาหารจากสัตว์ปา่ ขนาดเล็ก และต้นไม้ทใี่ ช้ใน การก่อสร้าง หรือท�าฟืน ในปัจจุบันป่าเริ่มมีความส�าคัญต่อวิถีชีวิตของคนน้อยลง ผู้คน ไม่สามารถเชือ่ มโยงวิถชี วี ติ กับสิง่ แวดล้อมได้ ซึง่ ท�าให้เกิดผลลัพธ์เชิงลบขึน้ มากมาย เช่น การบุกรุกพื้นที่ป่าพรุและป่าชายเลนเพื่อก่อสร้างที่พักอาศัย ท�าให้แหล่งพื้นที่ซับน�้าลด น้อยลง เมื่อเกิดฝนตกหนักจึงเกิดเป็นพื้นที่น�้าท่วมขังมากมายจากสิ่งปลูกสร้างที่ขวาง ทางน�า้ และการท�าเกษตรเคมีบนภูเขาท�าให้สภาพดินเสียหายอย่างมาก ผืนดินไม่สามารถ กักเก็บน�า้ ได้ดเี ท่าทีค่ วร จึงท�าให้เกิดความแห้งแล้งและป่าต้นน�า้ เริม่ เสียสมดุลท�าให้ทรี่ าบ ลุม่ ด้านล่างเกิดความเสียหายตามไปด้วย เป็นต้น นอกจากนีย้ งั ส่งผลกระทบต่อธรรมชาติ สัตว์ป่า และต้นไม้อีกมากมาย หากระบบนิเวศเกิดการเสียสมดุล ในภาษาถิน่ ของภาคใต้คา� ว่า “พรุ” หมายถึงพืน้ ทีล่ มุ่ ทีม่ นี า�้ ขัง หรือพืน้ ทีท่ เี่ ป็น ดินเลนแฉะ ซึ่งในบริบทของชาวเกาะสมุย สามารถแปลความหมายได้ทั้งเป็น พื้นที่ที่ เป็นคูน�้า พื้นที่น�้าขังบริเวณกว้าง พื้นที่ป่าพรุ และพื้นที่ป่าชายเลน

รูปภาพที่ ๑.๐๒ รูปภาพแสดงพืน้ ที่พรุป่าโหลง 13


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๑.๒ เป้าหมายเชิงคุณค่าของโครงการ ๑.๒.๑ สร้างจิตส�านึกรักและหวงแหนธรรมชาติ เพื่ออนุรักษ์ไว้ซึ่ง ทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าบนเกาะสมุย ๑.๒.๒ ชี้ให้เห็นความส�าคัญของสิ่งแวดล้อมเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยว เชิงนิเวศ และน�าไปสู่การเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

๑.๓ วัตถุประสงค์ของโครงการ ๑.๓.๑ เป็นพื้นที่สร้างประสบการณ์และการเรียนรู้อย่างใกล้ชิด ธรรมชาติผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า ๑.๓.๒ อนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในพื้นที่พรุป่าโหลง เป็นโครงการที่ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ๑.๓.๔ เพื่อเป็นพื้นที่พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ ให้กับนักท่องเที่ยว และคนในชุมชน ๑.๓.๔ เชื่อมโยงวิถีชีวิตของคนเข้ากับสิ่งแวดล้อม

รูปภาพที่ ๑.๐๓ รูปภาพแสดงความเชื่อมโยงของเป้าหมาย

14


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๑.๔ ขอบเขตของการศึกษาโครงการ ๑.๓.๑ ศึกษาและรวบรวมข้อมูล - ศึกษาเรื่องสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติบนเกาะสมุย เพื​ื่อสร้างความ เข้าใจระบบนิเวศ และลักษณะภูมิประเทศของเกาะสมุย - ศึกษากระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา เพื่อน�ามาใช้ประโยชน์ใน การออกแบบพื้นที่การเรียนรู้ที่เหมาะสม - ศึกษาระบบนิเวศป่าชายเลน ทั้งด้านปัจจัยพื้นฐานและประโยชน์ ใช้สอยจากป่าชายเลน - ศึกษาปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในป่าชายเลนและกิจกรรมของ มนุษย์ในช่วงเวลาต่างๆ - ศึกษากฎหมายและข้อบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ

๑.๕ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑.๕.๑ ประโยชน์ของการท�าโครงการ - สร้างจิตส�านึกรักสิ่งแวดล้อมให้แก่เยาวชนผู้คนในท้องถิ่น และนักท่องเที่ยวเพื่อต่อยอดไปสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน - กระจายรายได้เข้าสู่ท้องถิ่น และส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ๑.๕.๒ ประโยชน์ของการท�าวิทยานิพพนธ์ - ได้ศึกษาการออกแบบสถาปัตยกรรม ที่อยู่ร่วมกับธรรมชาติได้ อย่างยั่งยืน - ได้เรียนรู้และท�าความเข้าใจถึงความส�าคัญของระบบนิเวศทาง ธรรมชาติบนเกาะสมุย - ศึกษาระบบการจัดการเพื่อการสร้างความยั่งยืนของโครงการ - ฝึกฝนการวิเคราะห์ และค้นคว้าข้อมูล เพื่อน�าใช้ในการออกแบบ

๑.๓.๒ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบ - วิเคราะห์ท�าเลของโครงการและศึกษาความสัมพันธ์ของท�าเลของ โครงการกับบริบทของเมือง

ให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด - เชื่อมโยงวิถีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมท�าให้เห็นความส�าคัญและคุณค่ า ของสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

- วิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกโดยรอบพื้นที่ โครงการ - วิเคราะห์่โครงสร้างองค์กรและการบริหารโครงการ - วิเคราะห์กิจกรรมและพฤติกรรมต่างๆของผู้ใช้งานเพื่อน�าไปสู่ โปรแกรมของโครงการ - วิเคราะห์กรณีศึกษาที่มีลักษณะใกล้เคียงกับโครงการทั้งภายใน ประเทศและต่างประเทศ - วิเคราะห์ตา� แหน่งทีต่ งั้ ของกลุม่ อาคาร เพือ่ การออกแบบทีส่ อดคล้อง กับกิจกรรมและสภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ ๑.๓.๓ สังเคราะห์ข้อมูลเพื่อน�ามาสู่การออกแบบ

15


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๑.๐๔ รูปภาพในพืน้ ที่พรุป่าโหลง

16


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๒ เกณฑ์ในการออกแบบโครงการฯ ๒.๑ ทฤษฎีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบโครงการ ๒.๑.๑ ระบบนิเวศพื้นที่ชุมน�้าบนเกาะสมุย พื้นที่ชุ่มน�า้ คืออะไร ค�าจ�ากัดความตามอนุสัญญญาแรมซาร์ (Ramsar Convention) หรืออนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน�้า กล่าวว่า “พื้นที่ชุ่มน�้า” (Wetlands) หมาย ถึง ที่ลุ่ม ที่ราบลุ่ม ที่ช้ืนแฉะ พรุและป่าชายเลน ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่ มนุษย์สร้างขึน้ ทัง้ ทีม่ นี า�้ ขังชัว่ คราวหรือน�า้ ท่วมอยูถ่ าวร ทัง้ ทีเ่ ป็นแหล่งน�า้ นิง่ และน�า้ ไหล ทั้งที่เป็นน�้าจืด น�้ากร่อย และน�้าเค็ม รวมไปถึงชายฝั่งทะเลและพื้นที่ในทะเลบริเวณที่ เมื่อน�้าลดลงต�่าสุดจะมีความลึกของระดับน�้าไม่เกิน 6 เมตร” ซึ่งในประเทศไทยนั้นจะ สามารถพบพื้นที่ลักษณะนี้ได้มากทางภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ของประเทศ รวม ไปถึงบนเกาะสมุยด้วยเช่นกัน เกาะสมุยเป็นเกาะทีม่ ลี กั ษณ์เหมือนจานคว�า้ มีภเู ขาขนาดใหญ่อยูต่ รงกลางซึง่ เป็นพื้นที่ป่าต้นน�้า และจะล�าธารไหลบ่ากระจายออกไปทุกทิศรอบเกาะ ดังนั้นเราจะ สามารถพบเห็นทั้งน�้าตก และล�าธารได้รอบเกาะ หลังจากนั้นมวลน�้าเหล่านี้จะไหลไป รวมกัน ณ ทีร่ าบลุม่ ด้านล่าง กระทัง้ นานวันเข้าเมือ่ น�า้ ไหลบ่ามายังพืน้ ทีบ่ ริเวณทีร่ าบลุม่ เหล่านีม้ ากๆ จึงเกิดเป็นแอ่งน�า้ ขึน้ มาจนกลายเป็นพืน้ ทีป่ า่ พรุและป่าชายเลนซึง่ สามารถ พบพื้นที่ลักษณะเช่นนี้ได้รอบเกาะ เหตุที่น�้าถูกขังไว้ไม่ได้ไหลลงสู่ทะเลโดยตรงนั้นก็ เพราะสภาพภูมศิ าสตร์และภูมปิ ระเทศของเกาะสมุยนัน้ ถูกรายล้อมไปด้วยทะเลสามารถ เกิดลมพัดเข้ามาได้จากรอบทิศทาง ท�าให้เกิดเป็นสันทรายที่ทับถมกัน เมื่อนานวันเข้า

สภาพภูมิศาสตร์

จึงเกิดเป็นผืนดินดอนใกล้แนวชายหาด ด้วยเหตุนเี้ องจึงท�าให้พนื้ ทีต่ รงกลางนัน้ เกิดเป็น

สูง

-

ต�า่

ลุ่มน�้า - ล�าธาร(เส้นทางน�้า)

แอ่งกักเก็บน�้าขึ้นมา ก่อนที่น�้าจะไหลลงสู่ทะเลและระเหยกลายเป็นฝนตกลงมาเป็น วัฏจักร อีกทั้งเกาะสมุยเองก็มีสภาพอากาศพิเศษที่สามารถ คือมีฝนตกลงมาได้ตลอด ทั้งปีซึ่งเกิดจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ท�าให้เกิด ความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศอย่างมาก

ภูเขา

ที�ราบลุ่ม

ดินดอน ชายหาด

ทะเล

รูปภาพที่ ๒.๐๑ รูปภาพแสดงภูมิศาสตร์ของเกาะสมุย 17


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

พรุป่าโหลง ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่

รูปภาพที่ ๒.๐๒ รูปภาพแสดงต�าแหน่งของโครงการ ที่มา: google earth, 2020

: ชุมชนท้องโตนด บ้านพังกา ต.ตลิ่งงาม อ.เกาะสมุย : ๙๓ ไร่

พรุป่าโหลงเป็นพื้นที่ป่าชายเลน เป็นพื้นที่ชุ่มน�้าที่อุดมสมบูรณ์ผืนสุดท้ายของ

ทางระบบนิเวศ เป็นพืน้ ทีอ่ นุบาลสัตว์นา�้ อีกทัง้ ยังเป็นประโยชน์ตอ่ ผูค้ นในชุม ซึง่ สามารถ

เกาะสมุย ตั้งอยู่ในพื้นที่อ่าวพังกา ลักษณะคือล�าคองเชื่อมต่อพื้นที่ภายในป่ากับทะเล

ทีจ่ ะมาหาอาหารในพืน้ ทีไ่ ด้ดว้ ยเช่นกันเนือ่ งจากเป็นพืน้ ทีส่ าธารณะประโยชน์ จึงเห็นว่า

บริเวณทีเ่ ป็นอ่าว ท�าให้นา�้ ทะเลสามารถเข้าถึงพืน้ ทีไ่ ด้ เกิดเป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามหลากหลาย

พื้นแห่งนี้มีความส�าคัญทั้งทางด้านสิ่งแวดล้อมและทางวัฒนธรรม

18


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒.๑.๒ สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน สิง่ แวดล้อมศึกษา คือ “กระบวนการทีม่ งุ่ สร้างให้ประชากรโลกมีความส�านึกและห่วงใย ปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปัญหาที่เกี่ยวข้องอื่นๆ และมีความรู้ ทัศนคติ ความตั้งใจจริง และความมุ่งมั่นที่จะหาทางแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่ และป้องกันปัญหาใหม่ ทั้งด้วยตนเอง และด้วยความร่วมมือกับผูอ้ นื่ ” หรือกล่าวได้อกี อย่างคือ เป็นกระบวนการส�าคัญทีท่ า� ให้ ผู้คนได้ตระหนักถึงคุณค่าและรักษาความหลากหลายทางชีวะภาพอย่างเป็นรูปธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ การพัฒนาโดยใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมี ประสิทธิภาพและชาญฉลาดไม่ท�าลายฐานการผลิต ท�าให้ทรัพยากรธรรมชาติสามารถ สร้างตัวเองขึ้นมาได้ใหม่ สามารถกล่าวได้ว่าการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นการพัฒนาที่ ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์

“สิ่งแวดล้อมศึกษาเป็นหนึ่งในกุญแจซึ่งน�าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน”

กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา คือการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอนของสิ่ง แวดล้อมศึกษา โดยรูปแบบและวิธีการจัดกิจกรรมสามารถจ�าแนกได้ ๓ รูปแบบ คือ

“กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา” มีองค์ประกอบส�าคัญอยู่ 5 ประการ ได้แก่ ๑) การรับรู้ปัญหา(Awareness) กระบวนการช่วยให้รับรู้ปัญหาและพิจารณา วิเคราะห์อย่างรอบด้านของการ เกิดปัญหาและผลกระทบ ๒) ความรู้(Knowledge) การบวนการช่วยให้ได้เรียนรู้และเข้าใจพื้นฐานของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม การเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและ แนวทางแก้ไข ๓) ทัศนคติ(Attitude) การบวนการช่วยให้มีค่านิยม ห่วงใย ตั้งใจจริง และมุ่งมั่น ที่จะมีส่วนร่วมใน การรักษาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ๔) ทักษะ(Skill) กระบวนการช่วยให้เกิดทักษะที่จ�าเป็นในการชี้ปัญหา และด�าเนินการตรวจ สอบรวมทั้งร่วมกันหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้น ๕) การมีส่วนร่วม(Participation) กระบวนการช่วยให้มีประสบการณ์ในการน�าความรู้และทักษะที่ได้ มาใช้ใน การด�าเนินการหาทางแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมต่างๆ จุดประสงค์าการเรียนรู้

การรับรูป้ ั ญหา (Awareness)

ทัศนคติ (Attitude)

ความรู ้ (Knowledge)

กระบวนการ สิ่งแวดล้อมศึกษา “Environmental Education Process

ทักษะ (Skill)

การมีสว่ นร่วม (Participation)

รูปภาพที่ ๒.๐๓ กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา

โดยในแต่ละช่วงวัยจะมีทักษะในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน

ประเภท

ช่วงวัย

แนวทางการเรียนรู้

นักเรียน (เด็ก-เยาวชน)

๓-๖

สร้างประสบการณ์และภาพจ�า

ศึกษาธรรมชาติในแง่มุมศิลปะ , สังเกตชีวิตของสัตว์

๖-๙

เรียนรู้พื้นฐานของระบบนิเวศ

การฝึกจ�าแนกสิ่งมีชีวิต กลุ่มพันธ์ุไม้ นก สัตว์หน้าดินฯ

การเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อม

การจัดกิจกรรมการเรียนรูจ้ ากประสบการณ์จริงใน สิ่งแวดล้อม

๙ - ๑๒

เรียนรู้พื้นฐานของระบบนิเวศ และความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

จ�าแนกโครงสร้างของสิ่งมีชีวิต และเรียนรู้การปรับตัว ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

การเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เนื้อหาสิ่งแวดล้อมผ่าน กิจกรรมที่หลากหลาย

๑๒ - ๑๘

เรียนรู้องค์ประกอบทางนิเวศวิทยาของพื้นที่ และ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

วิเคราะห์ความหลากหลายทางชีวิภาพในพื้นที่ เน้นการ เรียนรู้แบบองค์รวมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆใน ระบบนิเวศ

เรียนรู้สิ่งแวดล้อมระดับพื้นฐาน และเชื่อมโยงวีถี ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

เน้นเรียนรู้ในภาพรวมของระบบนิเวศ ผ่านกิจกรรมการมี ส่วนร่วมต่างๆ การเดินศึกษาธรรมชาติ และกิจกรรม บ�าเพ็ญประโยชน์

การเรียนรู้เพื่อสิ่งแวดล้อม

การจัดกิจกรรมเรียนรูท้ มี่ งุ่ เน้นการลงมือท�าปฏิบตั ิ และการมีส่วนร่วมในการปกป้องและพัฒนาสิ่ง แวดล้อม

นักท่องเที่ยว/ บุคคลทั่วไป

~

19


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒.๒ ทฤษฎีและองค์ความรู้เกี่ยวกับป่าชายเลน ๒.๒.๑ การเกิดขึ้นของป่าชายเลน

“ป่าชายเลนส่วนใหญ่มีลักษณะโครงสร้างแบบหมู่ไม้เบิกน�า แต่ก็มีบ้างที่มี

ป่าในประเทศไทยมีหลากหลายประเภทมาก โดยประเภทของป่านั้นจะถูกจัด

ลักษณะโครงสร้างแบบหมูไ่ ม้เสถียร ป่าชายเลนเขตนอกสุดติดทะเลหรือบางครัง้ เรียกว่า

แบ่งตามสภาพของภูมิประเทศ พันธ์ุไม้ ดิน และน�้า และปัจจัยอื่นๆอีกมาก ซึ่งสามารถ

ป่าชายเลนงอกใหม่ มีไม้แสมและไม้ลา� แพนเป็นพันธุไ์ ม้เด่น และเขตพันธุไ์ ม้ทอี่ ยูถ่ ดั เข้าไป

เรียกรวมๆว่าระบบนิเวศ

คือเขตไม้โกงกาง จะมีลักษณะโครงสร้างแบบหมู่ไม้เบิกน�าที่เด่นชัด ป่าชายเลนที่อยู่ถัด

ป่าชายเลน เป็นป่าที่อยู่แนวนอกสุดคือแนวติดชายทะเล เป็นพื้นที่เชื่อมต่อ

เข้าไปไปเป็นเขตพันธุ์ไม้ผสมเป็นพื้นที่ที่มีเลนแข็งเช่นเขตกลุ่มไม้พังกาหัวสุม ถั่ว ตะบูน

ระหว่างพื้นบกและทะเล โดยปัจจัยส�าคัญที่จะท�าให้เกิดป่าชายเลนได้คือ น�้าทะเล ดิน

ก็มลี กั ษณะโครงสร้างคล้ายแบบหมูไ่ ม้เบิกน�าแต่ไม่ชดั เจนเหมือนเขตกลุม่ ไม้โกงกาง บ่อย

ภูมิศาสตร์ และพันธ์ุไม้ ป่าชายเลนมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยปัจจัยหลักคือ

ครั้งพบว่ามีกล้าไม้ และลูกไม้จ�านวนมากมีเรือนยอดชั้นล่าง ทั้งนี้เพราะพันธ์ไม้ป่าชาย

ระดับน�้าทะเลที่ขึ้นลง น�้าทะเลได้พัดพาตะกอนดินและทรายจ�านวนมากเข้ามาทับถม

เลนหลายชนิดในเขตกลุม่ ไม้นี้ เป็นพันธ์ไม้ทนร่ม เช่น ถัว่ ขาว พังกาหัวสุมดอกขาว พังกา

กันอยู่บริเวณขอบนอกของป่า พันธ์ไม้ที่อยู่แนวชายขอบติดทะเลคือ กลุ่มไม้เบิกน�า ซึ่ง

หัวสุมดอกแดง ตะบูนด�า ตะบูนขาว ตามตุ่มทะเล เป็นต้น ส่วนป่าชายเลนที่อยู่ในสุด

มีคณ ุ สมบัตทิ จี่ ะช่วยดักตะกอนดิน เช่นต้นแสมทีม่ รี ากหายใจทิม่ ขึน้ มาจากพืน้ ดินมามาก

เรียกว่าป่าแนวหลังป่าชายเลน หรือป่าชายเลนติดเขตป่าบก จะเป็นเขตพื้นที่ที่เลนแข็ง

โดยรอบ เป็นสาเหตุส�าคัญที่ท�าให้เกิดเป็นดินเลนขึ้น เมื่อดินเลนแข็งตัวมากพอ พันธ์ุไม้

ที่มีพันธ์ไม้ที่ไม่ใช่พันธ์ไม้ป่าชายเลนแท้จริงขึ้นอยู่จ�านวนมาก”๑

โกงกางก็สามารถทีจ่ ะหยัง่ รากลงไปและเติบโตขึน้ ได้ ดังนัน้ เราจึงจะสามารถมองเห็นได้ ๒ กลุม่ พันธ์ไม้ทมี่ ลี กั ษณะเด่นเมือ่ เราไปเยีย่ มชมป่าชายเลน คือ กลุม่ พันธ์ไม้โกงกาง และ กลุ่มต้นแสม ที่อยู่ในแนวติดทะเลชายฝั่งจ�านวนมาก นอกเหนือจากนี้ปัจจัยที่ท�าให้เกิด ป่าขึ้นยังมีอีกมาเช่น ร่มเงาที่เกิดจากการบดบังกันของเรือนยอดไม้ อัตราความรวดเร็ว รูปภาพที่ ๒.๐๔ ต้นโกงกางในพรุป่าโหลง

ในการเจริญเติบโตของต้นไม้ เป็นต้น เขตไม้โกงกาง

เขตไม้ผสม

เขตติดป่าบก

เลนงอกใหม่ (เลนอ่อนมาก)

เลนอ่อน

เลนแข็ง

เลนแข็งมาก

เขตป่าบก

หมู่ไม้เบิกน�า

ทะเล

๑ สรายุทธ

บุณยะเวชชีวิน และรุง่ สุรยิ า บัวสาลี, ป่ าชายเลน นิเวศวิทยาและพรรณไม้. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์, ๒๕๕๔). ๓๐

20

รูปภาพที่ ๒.๐๕ ล�าดับของพันธ์ไุ ม้


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒.๒.๒ พันธ์ุไม้ในป่าชายเลน ป่าชายเลนนั้นมีความหลากหลายทางระบบนิเวศมาก และพันธ์ุไม้ในป่าชาย เลนก็มีความพิเศษและเป็นเอกลักษณ์ด้วยเช่นกัน โดยจุดเด่นที่เห็นได้ชัดคือ กลุ่มไม้

หมู่ไม้เบิกน�า

ไม้โกงกาง

ไม้ผสม

เขตป่าแนวหลังป่าชายเลน (เขตติดป่าบก)

แสมขาว

โกงกางใบเล็ก

พังกาหัวสุมดอกแดง

ดุหุนใบเล็ก

แสมทะเล

โกงกางใบใหญ่

พังกาหัวสุมดอกขาว

แตดลิง

ใบพาย

พังกาหัวสุมดอกช่อ

มะคะ

เล็บมือนาง

ถั่วขาว

ฝาดดอกขาว

สีง�้า

ถั่วด�า

ฝาดดอกแดง

จาก

ตะบูนด�า

ล�าแพน

ตะบูนขาว

หงอนไก่ทะเล

เข้ามาในพืน้ ทีอ่ ยูต่ ลอดเวลา ท�าให้สภาพดินมีความแตกต่างกัน ส่งผลให้พนั ธุ ไ์ ม้ทเี่ กิดขึน้

เหงือกปลาหมอดอกม่วง

โปรงแดง

ก็จะมีความแตกต่างกันด้วย โดยในทางวิชาการนั้นสามารถแบ่งได้ ๔ ระดับด้วยกันตาม

เหงือกปลาหมอดอกขาว

โปรงขาว

โกงกาง ที่มีรากค�้ายันคอยช่วยพยุงล�าต้นเนื่องจากต้นไม้ชนิดนั้นจะเกิดขึ้นในบริเวณที่ เป็นดินเลนซึ่งมีความอ่อนนุ่ม หรือ ต้นแสม ที่มีรากหายใจ เป็นลักษณะของรากแผ่ที่มี ปลายรากชี้ขึ้นมาบนผืนดินเหมือนดินสอจ�านวนมาก สิ่งเหล่านี้เป็นภาพจ�า ของป่าชาย เลน ส�าหรับโครงการนีไ้ ด้มงุ่ เน้นทีจ่ ะศึกษาและท�าความเข้าใจสภาพป่าชายเลน โดย ยึดพันธ์ุไม้ในป่าชายเลนที่เป็นพันธ์ุไม้ที่แท้จริงเป็นหลัก ซึ่งไม้ป่าชายเลนที่แท้จริงคือ พันธ์ไุ ม้ทจี่ ะเกิดขึน้ เฉพาะในป่าทีเ่ ป็นป่าชายเลน หรือบนพืน้ ดินทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ หมือนกัน กับป่าชายเลน โดยในธรรมชาตินั้นป่าชายเลนก็มีการเปลี่ยนแปลงของระดับน�้าทะเลที่

สภาพของพื้นดิน คือ ๑. เขตไม้เบิกน�า ๒. เขตไม้โกงกาง

เหงือกปลาหมอเครือ แสมขน

๓. เขตพันธ์ไม้ผสม

แสมด�า

๔. เขตป่าแนวหลังป่าชายเลน(เขตติดป่าบก)

ล�าพู ล�าแพนหิน แดงน�้า เป้งทะเล ปรงหนู รังกะแท้ สมอทะเล

๑ สรายุทธ

บุณยะเวชชีวิน และรุง่ สุรยิ า บัวสาลี, ป่ าชายเลน นิเวศวิทยาและพรรณไม้. (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์, ๒๕๕๔). ๓๑

ตาตุ่มทะเล ตารางที่ ๒.๐๑ แสดงรายชื่อพันธุ์ไม้แท้จริงในป่าชายเลน 21


ต้นไม้ในป่าชายเลนแทบทุกชนิดสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้ ทัง้ การน�าไปปรุง

แสมขาว

แสมขน

แสมทะเล

แสมด�า

ใบพาย

ล�าพู

เล็บมือนาง

ล�าแพนหิน

สีง�้า

แดงน�้า

เทียนทะเล

เป้งทะเล

ความแข็งแรง ขนาดทีใ่ หญ่เหมาะส�าหรับจะน�ามาก่อสร้าง โดยสามารถน�าไปก่อสร้างได้

จาก

ปรงทะเล

ตั้งแต่การท�า รั้ว จนไปถึงการท�าเสาและการน�าไปเป็นเสาเข็ม

โกงกางใบเล็ก

ปรงหนู

โกงกางใบใหญ่

รังกะแท้

พังกาหัวสุมดอกแดง

สมอทะเล

พังกาหัวสุมดอกขาว

ตาตุ่มทะเล

พังกาหัวสุมดอกช่อ

ดุหุนใบเล็ก

ถั่วขาว

แตดลิง

ถั่วด�า

มะคะ

ตะบูนด�า

ฝาดดอกขาว

ตะบูนขาว

ฝาดดอกแดง

เหงือกปลาหมอดอกม่วง

ล�าแพน

เหงือกปลาหมอดอกขาว

หงอนไก่ทะเล

เหงือกปลาหมอเครือ

โปรงแดง

อาหาร การน�าไปท�าเครือ่ งไม้เครือ่ งมือพืน้ บ้าน จนไปถึงการน�าไม้ไปสร้างบ้าน ซึง่ สามารถ จ�าแนกได้หลักๆเป็น ๔ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ ๑ ไม้อาหาร กลุ่มพันธ์ุไม้ที่สามารถรับประทานได้ทั้งการปรุงและการ ทานสด โดยส่วนมากจะรับประทานส่วนที่เป็นผล และยอดใบอ่อน สามารถพลิกแพลง ท�าอาหารได้หลากหลายเมนู ซึง่ ปัจจุบนั มีนอ้ ยคนทีท่ ราบว่าพันธ์ไุ ม้ชนิดไหนสามารถรับ ประทานได้บ้าง กลุ่มที่ ๒ ไม้สร้าง จะเป็นพันธ์ุไม้ขนาดใหญ่และมีอายุมากเพราะเนื้อไม้จะมี

กลุม่ ที่ ๓ ไม้พลังงาน พันธ์ไุ ม้หลากหลายชนิดสามารถน�าไปท�าฟืนและท�าถ่าน ได้ แต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติแตกต่างกัน แต่ไม้ที่โดดเด่นที่สุดในป่าชายเลนที่เหมาะ ส�าหรับน�าไปท�าถ่านคือ ไม้โกงกาง เพราะมีคณ ุ สมบัติ ติดไฟดีและติดไฟนาน ถือเป็นถ่าน ไม้คุณภาพเยี่ยมที่ปัจจุบันหาได้ยาก กลุ่มที่ ๔ ไม้ใช้สอย กลุ่มพันธ์ุไม้ที่สามารถตัดไม้มาใช้ประโยชน์ท�าเครื่องมือ เครือ่ งใช้พนื้ บ้านได้ เช่นการท�า ช้อน ถ้วยชาม หมาน�า้ รวมไปถึงการน�าเปลือกไม้มาย้อม ผ้าได้ด้วย ๒๐ ๓ ๑๕

๑๐

๑๑

๒ ๒

๑ ๒ ๒

ไม้อาหาร

ไม้สร้าง

ไม้ใช้สอย

๒ ไม้พลังงาน

แผนภูมิที่๒.๐๑ แผนภูมิการสัดส่วนใช้ประโยชน์จากพันธุ์ไม้ 22

ไม้พลังงาน

ไม้ใช้สอย

ไม้สร้าง

ชื่อต้นไม้

ไม้อาหาร

ไม้พลังงาน

ไม้ใช้สอย

ประโยชน์ของพันธ์ุไม้ในป่าชายเลน

ไม้สร้าง

ชื่อต้นไม้

ไม้อาหาร

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

โปรงขาว เขตไม้เบิกน�า

เขตไม้โกงกาง

เขตพันธ์ุไม้ผสม

เขตพันธ์ุไม้แนวหลังป่าชายเลน(เขตติดป่าบก) ตารางที่ ๒.๐๒ ตารางการใช้ประโยชน์จากพันธุ์ไม้


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒.๒.๓ สัตว์ในป่าชายเลน ป่าชายเลนมีความพิเศษแตกต่างจากป่าประเภทอื่นจากป่าประเภทอื่นๆ คือ การมีพนื้ ทีท่ นี่ า�้ ทะเลท่วมถึง ท�าให้ปา่ แห่งนีเ้ ป็นแหล่งอาศัยของสัตว์หลากหลายประเภท ทั้งสัตว์บก สัตว์น�้า สัตว์หน้าดิน และนก และนอกจากปัจจัยทางกายภาพแวดล้อมทาง ธรรมชาติแล้ว ปัจจัยทางอาหารภายในป่าส�าหรับสัตว์ปา่ ก็มมี ากเพียงพอ และกลายเป็น วงจรวัฏจักของระบบนิเวศป่าชายเลนขึ้น มนุษก็เป็นอีกกลุ่มหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทในระบบวัฏจักรนี้ โดยการใช้พื้นที่นี้ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย และหาอาหาร ซึ่งอาหารที่มีความโดดเด่นจากป่านี้ก็คือกลุ่มสัตว์ จากระบบนิเวศทะเลคือ กุ้งและปู กุ้งและปูสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในป่าชายเลน ด้วย ผืนป่าที่อุดมไปด้วยอาหารหลักคือ ซากพืช ซากสัตว์ แพลงตอน สาหร่าย ท�าให้จ�านวน ประชากรของสัตว์หน้าดินมีปริมานมาก และมากเพียงพอต่อการเป็นอาหารให้แก่สัตว์ ที่อยู่บนห่วงโซ่อาหารที่สูงขึ้นไป เช่น ปลา นก และมนุษย์ ได้อย่างยั่งยืนทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขนาดของผืนป่า และปัจจัยประกอบอื่น ๆ ร่วมด้วย เมื่อมีปู และหอย สัตว์ที่จะตามมาก็คือ นก โดยนกในป่าชายเลนก็มีมากมาย หลายชนิด มีตั้งแต่ขนาดเล็กที่อาศัยตามพุ่มไม้ได้ จนไปถึงขนาดใหญ่ที่จะต้องอาศัยใน ที่โล่งกว้าง ป่าชายเลนมีความส�าคัญอย่างมากต่อเหล่านก โดยเฉพาะกลุ่มนกอพยบ เพราะนกนั้นจะอพยบจากทิศเหนือลงมาหากินยังทิศใต้ในช่วงฤดูหนาว และในขณะที่ อพยบจุดพักอาศัยและเป็นแหล่งอาหารทีส่ า� คัญก็คอื ป่าชายเลนนัน้ เอง ท�าให้เราสามารถ พบนกที่มีลักษณะแตกต่างจากนกที่พบได้ทั่วหรือเป็นนกที่หายากได้ในป่าแห่งนี้

รูปภาพที่ ๒.๐๖ วัฏจักรในป่าชายเลน

23


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สัตว์ในป่าชายเลน

สัตว์จากระบบนิเวศบก

สัตว์ในระบบนิเวศทะเล

กุ้ง

ปู

กุ้งแชบ๊วย กุ้งขาว

หอย

ปลา

สัตว์เลื้อยคลาน

นก

สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม

ปูลม

หอยแครง

ปลาตีน

นกปรอดหน้านวล

ตัวเงินตัวทอง

นาก

ปูแสม

หอยกาบ

ปลากระพง

นกยาง

งูพังกา

ค้างคาว

ปูก้ามดาบ

หอยจุ๊บแจง

ปลาดุกทะเล

นกกวัก

ตุ๊กแกป่า

ลิงแสม

หอยขี้กา

ปลาดุกทะเล

นกกระเต็นแดง

กระบาง

นกชายเลน

ปลากระบอก

นกกินปลี แผนภูมิที่๒.๐๒ สัตว์ในป่าชายเลน

นอกจากนีย้ งั มีสตั ว์อีกมากมายหลายชนิดที่พบได้ในป่ าชายเลน มีทงั้ สัตว์ท่ี อยูป่ ระจ�าถิ่นป่ าชายเลนและอาศัยชั่วคราว ป่ าชายเลนจึงเป็ นทัง้ แหล่งอาหารแหล่ง ที่อยูอ่ าศัย แหล่งหลบภัย และแหล่งอนุบาล ของสัตว์หลายชนิด

24


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒.๓ กฎหมายและเทศบัญญัติที่เกี่ยวข้อง กฏกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฏ์ธานี พ.ศ.๒๕๔๙

“ ข้อ ๑๕ ที่ดินประเภทอนุรักษ์ป่าไม้ ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการสงวนและ คุ้มครองดูแลรักษา หรือบ�ารุงป่าไม้ สัตว์ป่า ต้นน�้าล�าธาร และทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ตามมติคณะรัฐมนตรี และกฎหมายทีเ่ กีย่ วกับป่าไม้ การสงวนและคุม้ ครองสัตว์ปา่ และ การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ ทีด่ นิ ประเภทนีซ้ งึ่ เอกชนเป็นเจ้าของ หรือผู้ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ ที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรือ เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การท่องเที่ยว สาธารณประโยชน์ หรือการอยู่อาศัย เท่านั้น ” โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ ๑. ที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ ให้ด�าเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มี พื้นที่ทั้งหมด รวมกันไม่เกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงไม้เกิน ๑๒ เมตร ๒. เว้นที่ว่างตามแนวริมฝั่งแหล่งน�้าสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่ เพื่อการคมนาคมหรือสาธารณูปโภค “ ข้อ ๑๓ ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม การอยู่อาศัย การท่องเที่ยว สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการเป็นส่วนใหญ่ ส�าหรับการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ กิจการอื่น ให้ใช้ได้ไม่เกินร้อยละยี่สิบของที่ดินประเภทนี้ในแต่ละบริเวณ ” โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ ๑. ที่ดินเพื่อกิจการใด ๆ ให้ด�าเนินการหรือประกอบกิจการได้ในอาคารที่มี พื้นที่ทั้งหมด รวมกันไม่เกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตร และมีความสูงไม่ เกิน ๑๒ เมตร ๒. ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย ให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบของแปลงที่ดิน ๓. ให้มีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของแปลงที่ดิน ๔. เว้นที่ว่างตามแนวริมฝั่งแหล่งน�้าสาธารณะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร เว้นแต่ เพื่อการคมนาคมหรือสาธารณูปโภค

รูปภาพที่ ๒.๐๗ ผังก�าหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่มา: กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. ๒๕๔๙ 25


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๗ (ก�าหนดเขตพื้นที่และมาตรการควบคุมสิ่งแวดล้อม ในบริเวณ อ�าเภอเกาะสมุย และ อ�าเภอเกาะพงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี )

กฏกระทรวง ฉบับ ๓๙

กฏกระทรวง ฉบับ ๗

กฏกระทรวงฉบับนี้ว่าด้วยเรื่อง ระบบป้องกันอัคคีภัย, ข้อก�าหนดเกี่ยวกับห้องน�้า,

กฏกระทรวงฉบับนีว้ า่ ด้วยเรือ่ งการจัดการทีจ่ อดรถ ซึง่ โครงการมีสว่ นพืน้ ทีข่ องส�านักงาน

ระบบการจัดการแสงสว่างและระบบระบายอากาศ และระบบพลังงานไฟฟ้าส�ารอง

จึงเข้าข่ายพื้นที่ที่จะต้องมีพื้นที่จอดรถของโครงการ

ก�าหนดให้มีการฟื้นฟูและบ�ารุงรักษาพื้นที่ป่าพรุและป่าชายเลน ให้ฟื้นคืนสู่ธรรมชาติ

ฉุกเฉิน

โดยเร็ว เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้�า เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ธรรมชาติ ทั้งนี้ให้ สอดคล้องกับแผนการจัดการป่าชายเลนและพื้นที่ชุ่มน้�าของประเทศตามมติของคณะ รัฐมนตร

โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ ๑. ต้องติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถืออย่างใดอย่างหนึ่ง ต่อพื้นที่อาคารไม่ เกิน ๑,๐๐๐ ตารางเมตร ทุกระยะไม่เกิน ๔๕ เมตรแต่ไม่น้อยกว่าชั้นละ ๑

โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ พื้นที่มีความลาดชันเกินกว่า ร้อยละ ๕๐ ขึ้นไป ห้ามก่อสร้างดัดแปลงอาคารใด ๆ

เครื่อง ๒. อาคารที่มีพื้นที่รวมกันทุกชั้นในหลังเดียวกันเกิน ๒,๐๐๐ ตารางเมตรต้องมี ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ทุกชั้นด้วย ๓. อาคารที่บุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้ ต้องมีห้องน้�าและห้องส้วมไม่

กฏกระทรวง ฉบับ ๕๕ อาคารศูนย์ศึกษาธรรมชาติถูกจัดให้อยู่ในหมวดหมู่อาคารประเภท “อาคาร สาธารณะ” เนื่องจากเป็นอาคารที่ใช้เพื่อกิจการทางสังคม ที่อยู่ในความดูแลของ หน่วย เทศบาลนครเกาะสมุย ซึ่งเป็นหน่วยงานภาครัฐ โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ ๑. ช่องทางเดินภายในอาคารต้องกว้างไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร ๒. ข้อก�าหนดเรื่องบันได ๓. ข้อก�าหนดเรื่องทางเดินเชื่อมระหว่างอาคาร ๔. ที่ว่างภายนอกอาคารในพื้นที่โครงการจะต้องมีที่ว่างไม่น้อยกว่า ๑๐ ใน ๑๐๐ ส่วน ของพื้นที่ชั้นใดชั้นหนึ่งที่มากที่สุดของอาคาร ๕. ข้อก�าหนดระยะห่างระหว่างอาคาร

26

น้อยกว่าจ�านวนที่ก�าหนดไว้ในตารางที่ ๒ ท้ายกฎกระทรวง ๔. ระบบการระบายอากาศในอาคารจะจัดให้มีการระบายอากาศโดยวิธี ธรรมชาติหรือโดยวิธีกลก็ได้

โดยสรุปมีข้อก�าหนดที่เกี่ยวข้องกับโครงการดังนี้ ๑. ส�านักงานให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า ๑ คันต่อพื้นที่ ๑๒๐ ตารางเมตรเศษ ของ ๑๒๐ ตารางเมตร ให้คิดเป็น ๑๒๐ ตารางเมตร ๒. ที่จอดรถยนต์ต้องจัดให้อยู่ภายในบริเวณของอาคารนั้น ถ้าอยู่ภายนอก อาคารต้องมี ทางไปสู่อาคารนั้นไม่เกิน ๑๒๐ เมตร ๓. ทางเข้าออกของรถยนต์ต้องกว้างไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ในกรณีที่จัดให้รถยนต วิ่งได้ทางเดียว ทางเข้าและทางออกต้องกว่างไม่น้อยกว่า ๓.๕๐ เมตร


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๓ วิเคราะห์ที่ตั้งโครงการ ๓.๑ วิเคราะห์ท�าเลที่ตั้งของโครงการ พรุปา่ โหลง เป็นพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนทีต่ งั้ อยูท่ างทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสมุย

การเลือกทีต่ งั้ ท�าเลของโครงการเป็นสิง่ ส�าคัญ เพราะจะเป็นสิง่ ทีก่ า� หนดทิศทาง

ซึ่งเกาะสมุยเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส�าคัญของประเทศ โดยเฉพาะการท่องเที่ยวทางด้าน

ความเป็นไปของโครงการ ทั้งการเข้าถึงของผู้มาเยือน การท�าให้อาคารมีปฏิสัมพันธ์กับ

สิง่ แวดล้อม เกาะสมุยมีชายหาดและท้องทะเลทีส่ วยงานเป็นสิง่ ดึงดูดให้นกั ท่องเทีย่ วเข้า

สภาพแวดล้อมภายนอก การตั้งโครงการมีผลต่อการการสร้างอารมณ์ความรู้สึก และ

มาสัมผัสบรรยากาศธรรมชาติของเกาะสมุย ปัจจุบนั ป่าชายเลนบนเกาะสมุยได้ถกู รุกล�า้

บรรยากาศให้ของโครงการ สามารถท�าให้งานออกแบบมีพลังมากขึ้น ดังนั้นจึงตัดสินใจ

และแปลสภาพเป็นอย่างอืน่ ไปเกือบหมดแล้ว เช่นเป็น รีสอร์ท เป็นพืน้ ทีช่ มุ ชนสร้างบ้าน

ตั้งท�าเลโครงการในพื้นที่ป่าชายเลน เพราะพื้นที่ป่าชายเลนนี้มีพื้นที่ที่กว้างใหญ่ และมี

เรือน แต่ก็ยังเหลือพื้นที่พรุป่าโหลงที่เป็นป่าชายเลนอีกแห่งหนึ่งที่เป็นผืนสุดท้ายที่

ศักยภาพมากพอที่จะสามารถดึงดูดนัดท่องเที่ยวเข้ามาได้ด้วยตัวเอง

สมบูรณ์ของเกาะสมุย ปัจจุบนั เกาะสมุยมีแหล่งท่องเทีย่ วทางธรรมชาติมากมาย ทัง้ น�า้ ตก ภูเขา ทะเล หากทราย แต่ยงั ไม่มกี ารท่องเทีย่ วในสภาพพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนทีถ่ กู เปิดเผยและจัดการอย่าง จริงจัง อันเนื่องมาจากพรุป่าโหลงป่าชายเลนนี้ยังไม่เป็นที่นิยมหรือเป็นที่รู้จักมากนัก อีกทั้งยังตั้งอยู่ในที่ห่างไกลจากตัวเมืองท�าให้ ปัจจุบัน มีเพียงชาวบ้านบางส่วนเท่านั้น ทีม่ าท่องเทีย่ วพืน้ ทีน่ ี้ เสน่หข์ องป่าทีถ่ กู ซ่อนไว้ บรรยากาศทีก่ ารท่องเทีย่ วทีแ่ ตกต่างจาก พืน้ ทีอ่ นื่ ๆบนเกาะสมุยมีศกั ยภาพมาเพียงพอทีจ่ ะพัฒนาให้พนื้ ทีน่ สี้ ามารถท�าให้คนกลับ มาสนใจและรูจ้ กั ป่าชายเลนแห่งนีไ้ ด้มากขึน้ ในขณะเดียวกันเมือ่ ผูค้ นรูจ้ กั และเห็นความ ส�าคัญของพืน้ ทีต่ รงนี้ ป่าชายเลนแห่งนีก้ จ็ ะกลายเป็นอีกหนึง่ พืน้ ทีส่ า� คัญ ควรค่าแก่การ อนุรักษ์และมีความหมายต่อชาวสมุย ไม่แพ้สถานท่องเที่ยวชื่อดังอื่นๆ

รูปภาพที่ ๓.๐๑ ต�าแหน่งพรุป่าโหลง 27


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓.๑.๑ พื้นที่ส�าคัญของเมือง เกาะสมุยมีเส้นถนนหลักรอบเกาะ ซึ่งมีระยะทั้งหมดอยู่ที่ ๕๐ กิโลเมตร โดย ประมาน สามารถขับรถยนต์วนรอบเกาะได้ ๑ รอบโดยใช้ระยะเวลาเพียงไม่ถงึ ๖๐ นาที

พระใหญ่ ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย ตลาดหน้าทอน

พื้นที่ส�าคัญของเมือง

หาดเฉวง

ระยะทางจากโครงการ

ตลาดหน้าทอน(ท่าเรือหน้าทอน)

๑๕ กม.

ท่าเรือราชา

๑๑ กม.

ท่าอากาศยานนานาชาติสมุย

๓๐ กม.

หาดเฉวง

๒๘ กม.

หาดละไม

๑๖ กม.

พระใหญ่

๓๑ กม.

น�้าตกหน้าเมือง

๑๑ กม.

หินตาหินยาย

๑๕ กม.

ท่าเรือราชา หาดละไม

น�้าตกหน้าเมือง

หินตาหินยาย

รูปภาพที่ ๓.๐๒ แสดงต�าแหน่งของแลนด์มาร์คส�าคัญบนเกาะสมุย ที่มา: google earth, 2020

จากการส�ารวจระยะทางจากจุดส�าคัญต่างๆมายังโครงการ แสดงให้เห็นว่าผู้ มาเยือนมาสามารถเดินทางมายังโครงการได้ ภายในเวลาไม่เกิน ๓๐ นาที ดังนั้นการตั้ง โครงการไว้ห่างไกลจากตัวเมืองจึงไม่ใช่ปัญหา แต่การสร้างบรรยากาศการเข้าถึงนั้น ส�าคัญ 28

รถตู้โดยสาร

รถโดยสารส่วนตัว

รถจักรยานยนต์

รถจักรยาน

เรือโดยสารขนาดเล็ก


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓.๑.๒ การขยายตัวของเมือง ทีต่ งั้ ของพืน้ ทีพ่ รุปา่ โหลง ตัง้ อยูท่ างตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะสมุย ซึง่ อยูใ่ นโซน พืน้ ทีท่ มี่ ธี รรมชาติอยูม่ าก และยังไม่มกี ารขยายตัวเป็นแหล่งท่องเทีย่ วขนาดใหญ่เหมือน ทางฝั่งตะวันออก เหตุที่การท่องเที่ยวส่วนมากและเมืองไปขยายตัวอยู่ที่ฝั่งตะวันออก เป็นเพราะสภาพภูมิประเทศของเกาะและสภาพอากาศ นอกจากจะมีที่ราบเป็นบริเวณ กว้างแล้ว ฝั่งทิศตะวันออกนั้นจะมีกระแสมแรงจากทะเลอ่าวไทย และมีวิวทิวทัศมอง ออกไปนอกทะเลไม่มสี นิ้ สุด ต่างกับฝัง่ ตะวันตก ทีล่ มจะไม่แรงเท่า และสามารถมองเห็น แผ่นดินใหญ่ได้ ในอดีตคนส่วนมากจึงตั้งรกรากทางฝั่งตะวันตก ดังนั้นในอนาคตหากเกิดการขยายตัวของเมือง โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ อาจจะเป็นแรงผลักดันให้ผคู้ นสามารถอนุรกั ษ์ความสมบูรณ์ของพืน้ ทีส่ เี ขียวเหล่านีไ้ ว้ได้ และด้วยท�าเลทีต่ งั้ ของโครงการ ยังเห็นโอกาสในอนาคตทีจ่ ะสามารถเชือ่ มต่อพืน้ ทีเ่ รียน รู้กับศูนย์ศึกษาธรรมชาติบนเกาะแตนได้อีกด้วย

ปริมาณความหนาแน่น มาก - น้อย รูปภาพที่ ๓.๐๓ ภาพแสดงการขยายตัวของเมือง ที่มา: google earth, 2020

ตารางที่ ๓.๐๑ ตารางสถิติจ�านวนครัวเรือน ที่มา: รายงานสถิติจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2560

แผนภูมิที่ ๓.๐๑ แสดงสถิติจ�านวนครัวเรือต่อปี 29


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๓.๐๔ ภาพถ่ายดาวเทียมแสดงต�าแหน่งของพรุป่าโหลง ที่มา: google earth, 2020 30


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓.๒ วิเคราะห์สถานที่ตั้ง ๓.๒.๑ สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ

เป็นประโยชน์อย่างมากต่อการจอดพักเรือช่วยป้องกันคลืน่ ลมแรงได้ดี ภายหลังผูค้ นเริม่

ในพื้นที่บนบกเป็นหลักโดยมีวัดดั้งเดิมเป็นศูนย์กลาง และส่วนของชายหาดก็กลายเป็น

โดยรอบโครงการ เป็นย่านชุมชนเก่าแก่แห่งหนึ่งของเกาะสมุย ชื่อว่าชุมชน

หันมาท�าการเกษตรมากขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ โดยหันไปท�าสวน

รีสอร์ทที่พักไป ส่งผลให้ความสัมพันธ์ของชุมชนกับ”พรุป่าโหลง”ก็ลดลงด้วยเช่นกัน

บ้านพังกา อาชีพทีส่ า� คัญของชุมชนและเป็นอาชีพหลักของชุมชนในอดีตคืออาชีพประมง

มะพร้าวเป็นหลัก ก่อนทีอ่ าชีพเหล่านีจ้ ะหายไปและถูกแทนทีด่ ว้ ยการท่องเทีย่ วเป็นหลัก

โดยชุมชนมีอา่ วซึง่ เป็นทีจ่ อดเรือทีส่ า� คัญในอดีตคือ ”อ่าวพังกา” มีลกั ษณะภูมศิ าสตร์ที่

ท�าให้เกิดรีสอร์ทขึ้นมากใกล้บริเวณริมชายหาด ท�าให้ส่วนที่เป็นชุมชนในปัจจุบันจะอยู่

รีสอร์ท

รีสอร์ท

อ่าวพังกา

บ้านเรือนและวัด

รูปภาพที่ ๓.๐๕ ภาพแสดงการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการ รีสอร์ท

31


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

การเข้าถึงพรุป่าโหลงป่าชายเลน พรุป่าโหลงมีการเข้าถึงจากชุมชนได้จากถนนรอบชุมชน โดยมีระยะทางจาก ปากซอยชุมชนติดถนนหลักเข้ามาในพื้นที่ มีระยะทาง ๑.๕ กิโลเมตรโดยประมาน ซึ่ง เป็นระยะทางทีไ่ ม่ไกลส�าหรับชุมชน และเส้นทางถนนทีต่ ดั ผ่ากลางพืน้ ทีป่ า่ ท�าให้ปา่ เกิด การแบ่งแยกเป็น ๒ ฝั่ง ซึ่งถนนเส้นนี้เป็นถนนที่น�าไปสู่รีสอร์ทขนาดใหญ่ ด้านหลังของ ภูเขาที่ติดกับป่าชายเลน

รูปภาพที่ ๓.๐๖ภาพแสดงเส้นทางการเข้าถึงจากเส้นทางสัญจรหลัก

น�้าทะเลเข้าถึงพื้นที่ป่า พรุป่าโหลงมีล�าคลองเชื่อมต่อกับทะเลบริเวณอ่าวพังกา ซึ่งล�าคลองนี้ ในอดีต เป็นคลองทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ จากสภาพทางภูมศิ าสตร์ น�า้ ทีไ่ หลลงจากภูเขาไหล มาขังบริเวรพื้นที่ป่าและล�าคลองนี้เป็นเส้นทางน�้าที่ช่วงระบายน�้าออกไปสู่ทะเล ท�าให้ พื้นที่ป่าเกิดเป็นพื้นที่ลุ่มน�้า ภายหลังชาวบ้านได้ขุกลอกคลองขยายล�าคลอง เพื่อใช้ ประโยชน์ล�าคลองนี้ในการจอดพักเรือ และเพื่อการกระมง

รูปภาพที่ ๓.๐๗ ภาพแสดงเส้นทางล�าคลองที่เชื่อมต่อกับทะเล 32


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓.๒.๒ สภาพแวดล้อมภายในโครงการ

ไหลผ่านไปยังอีกฝากหนึง่ ของป่าได้ ท�าให้ปา่ ทัง้ ๒ ข้างยังมีความอุดมสมบูรณ์อยูม่ ากใน

ทีแ่ สดงไว้ ซึง่ เมือ่ น�า้ ท่วมสูงสุด จะมีระดับทีส่ งู มากจนท่วมถนนทีต่ ดั ผ่านพืน้ ที่ ท�าให้เห็น

ระดับน�า้ ทะเลเป็นปัจจัยส�าคัญหลักทีท่ า� ให้เกิดป่าชายเลน พรุปา่ โหลงก็เช่นกัน

บริเวณทีใ่ กล้นา�้ แต่เมือ่ พืน้ ทีห่ า่ งไกลออกไปสภาพดินเปลีย่ นไป กลุม่ พันธ์ไุ ม้กเ็ ริม่ เปลีย่ น

พลังของธรรมชาติได้ชดั เจนมาก ดังนัน้ โครงการนีจ้ ะต้องค�านึงถึงระดับความสูงของพืน้ ที่

แปลงตามแและเริ่มกลายเป็นป่าบก

การใช้งานเป็นสิ่งส�าคัญ

มีน�้าทะเลท่วมถึงผ่านล�าคลองเข้ามา เมื่อระดับน�้าทะเลขึ้นพื้นที่ด้านในก็จะถูกน�้าท่วม ไปด้วย ถึงแม้ว่าพื้นที่จะมีถนนตัดผ่าน แต่ใต้ถนนก็ยังคงมีท่อน�้าขนาดใหญ่ที่ช่วยให้น�้า

ส�าหรับระดับน�้าในที่นี้ สามารถแบ่งออกได้เป็นทั้งหมด ๕ ระดับ ตามรูปภาพ

ระดับน�้าทะเล ขึ้น - ลง

ภาพถ่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๒

ภาพถ่ายในพื้นที่ เมื่อวันที่ ๘ มกราคม ๒๕๖๓

ระดับความสูงน�้าทะเล (เมตร)

แผนภูมิแสดงระดับน�้าทะเล น�้าขึ้น - น�้าลง ในพื้นที่โครงการ ช่วงเวลา ๐๘.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.

วันที่ เดือน

ช่วงเวลา รูปภาพที่ ๓.๐๘ ภาพแสดงความสูงของระดับน�า้ ทะเล ๕ ระดับ

แผนภูมิที่ ๓.๐๒ แผนภูมิแสดงระดับน�้าขึ้นลงเฉลี่ยต่อปี ที่มา: google earth, 2020 33


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

เมื่อสามารถระบุต�าแหน่งระดับน�้าขึ้นน�้าลงได้แล้ว ก็จะสะท้อนไปถึงพันธ์ุไม้ แต่ละชนิดทีอ่ ยูใ่ นระดับพืน้ ทีแ่ ตกต่างกันตามสภาพดิน ยิง่ พืน้ ดินถูกน�า้ ท่วมบ่อยครัง้ ดิน เลนก็จะยิ่งอ่อนนุ่ม และเช่นเดียวกันเมื่อน�้าท่วมน้อยพื้นดินก็จะยิ่งแข็ง จึงสรุปได้ว่า เรื่องระดับน�้า คุณสมบัติของดิน พันธ์ุไม้ ทั้งสามเรื่องนี้จะมีความสอดคล้องกันเสมอ

แผนผังระดับน�้า ระดับน�้าต�่าสุด ระดับน�้าต�่า ระดับน�้าปานกลาง ระดับน�้าสูง ระดับน�้าสูงสุด

แผนผังลักษณะของดิน เลนอ่อนมาก

เลนอ่อน

เลนแข็ง เลนแข็งมาก

แผนผังกลุ่มพันธ์ุไม้ กลุ่มพันธ์ไม้เบิกน�า กลุ่มไม้โกงกาง กลุ่มไม้ผสม กลุ่มไม้แนวหลังป่าชายเลน

ระดับน�า้

ระดับน�า้ ขึน้ สูงสุด

ระดับน�า้ ลงต�่าสุด

รูปภาพที่ ๓.๐๙ แผนผังระดับและคุณสมบัติของพื้นที่ 34

ลักษณะของดินเลน

เขตพันธ์ไุ ม้

เลนแข็ง

เขตป่ าแนวหลังป่ าชายเลน

เลนแข็ง

เขตพันธ์ไุ ม้ผสม

เลนอ่อน

เขตไม้โกงกาง

เลนอ่อน

เขตไม้เบิกน�า คลอง


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

Iso - Siteplan

รูปภาพที่ ๓.๑๐ ภาพแสดงมุมมองต่างๆบริเวณโครงการ 35


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓.๒.๓ ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ

หน้ามรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูร้อน

ป่าชายเลนมีกิจกรรมต่างๆเกิดขึ้น ทั้งจากสัตว์ จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ

Peak season

และจากมนุษย์ โดยในแต่ละรอบปีมกี จิ กรรมเกิดขึน้ แตกต่างกันไป โดยจะสอดคล้องกับ ช่วงเวลาดังทีแ่ สดงในแผนภูมิ กิจกรรมส�าคัญต่างๆล้วนมีความน่าสนใจ เช่น ช่วงดอกไม้

หน้ามรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ฤดูฝน

ฝนทิ้งช่วง

High season โรงเรียนเปิดเทอม ๒

Low season

ความสัมพันธ์กันทั้งทางตรงและทางอ้อม แผนภูมินี้ แสดงสิ่งที่น่าสนใจในป่าชายเลน ผู้

ฝาดดออกขาวออกดอกและผล

เหงือกปลาหมอออกดอกและผล

กิจกรรมของโครงการก็จะเปลี่ยนไปตามแต่ละช่วงเวลาด้วยเช่นกัน โดยยึดเอาธรรรม

season Low season โรงเรียนเปิดเทอม ๒

แสมขาวออกผล ฝักโกงกางใบใหญ่พร้อมจะร่วงหล่น

โกงกางออกดอก

ที่สนใจสามารถที่จะดูตารางแล้วเปรียบเทียบเวลาการท่องเที่ยวได้ ในขณะเดียวกัน

Peak

High season โรงเรียนเปิดเทอม ๑

ล�าแแพนออกผล

บาน ช่วงปูผสมพันธ์ุ ฤดูวางไข่ของปลา ฤดูนกอพยพ ทุกอย่างล้วนเป็นระบบนิเวศที่มี

หน้ามรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หน้ามรสุม(พายุ,ฝน,คลื่นลมแรง)

ล�าแแพนออกผล โกงกางใบใหญ่ออกดอก

พังกาหัวสุมดอกแดงออกฝัก ช่วงพรรณไม้ออกดอก ช่วงขยายพันธ์ุไม้

ชาติเป็นหลัก ข้อมูลชุดนีแ้ สดงให้เห็นถึงขอบเขตของกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ เช่น กิจกรรมปลูก ป่า หรือกิจกรรมเรียนรู้ในธรรมชาติ ซึ่งแต่ละช่วงเวลาจะมีการเปลี่ยนแปลงกิจกรรมไป

ฤดูผสมพันธ์ุของนกกระเต็นแดง ฤดูผสมพันธุ์ของนกปรอดหน้านวล นกกินปลีอกเหลืองท�ารัง

ตามสภาพแวดล้อม

ฤดูผสมพันธ์ุของนกกระปูด ฤดูผสมพันธ์ุของยางโทนใหญ่ ฤดูผสมพันธ์ุของนกกวัก นกปากห่างอพยพ ช่วงนกเล็กขยายพันธุ์ ช่วงนกขนาดกลางและขนาดใหญ่ขยายพันธุ์ หอยปรากฏตัว

หอยปรากฏตัว แม่เพรียงปรากฏตัว ปูแสมวางไข่

ปูแสมวางไข่ ฤดูปลาทะเลวางไข่ ฤดูปลาตีนวางไข่

ช่วงหาปูและหอย ช่วงหาปูและหอย

ช่วงหาปูและหอย

ระดับความสูงน�้าทะเล (เมตร)

ช่วงงดจับปลา

วันที่ เดือน

แผนภูมิที่ ๓.๐๓ แสดงปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในรอบปี 36


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๔ รายละเอียดของโครงการ ๔.๑ รายละเอียดโครงการด้านการบริหาร ๔.๑.๑ โครงสร้างองค์กร

ชาวบ้าน

โครงการนี้เป็นโครงการที่มีความร่วมมือกันระหว่าง ภาครัฐและเอกชน พื้นที่ แห่งนีเ้ ป็นพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจ�าของผูค้ นในชุมชน ผูค้ นในชุมชนล้วนมีความผูกพันธ์กบั เทศบาลนครเกาะสมุย

พื้นที่แห่งนี้ แม้จะเป็นเพียงป่าขนาดเล็ก แต่ชุมชนกลับรู้สึกรักและหวงแหนพื้นที่แห่งนี้

จัดท�าแบบร่างโครงการร่วมกัน

อ�าเภอเกาะสมุย

มาก โครงการที่จะเกิดขึ้นจะเป็นการร่วมมือระหว่างชุมชนและภาครัฐ เพื่อให้ชุมชนได้ อนุมัติโครงการ

มีความรูส้ กึ เป็นเจ้าของพืน้ ทีแ่ ห่งนีม้ ากทีส่ ดุ เพือ่ การอนุรกั ษ์และการจัดการอย่างยัง่ ยืน

ทีมผู้บริหารโครงการ

การจัดการ

เจ้าหน้าที่จากส่วนกลาง

จัดตั้งทีมผู้บริหารโครงการ

กายภาพ

เจ้าหน้าที่โครงการ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เจ้าหน้าที่โดยชุมชน

เจ้าหน้าที่ส่วนบริหารโครงการ

ผู้น�ากิจกรรมเวิร์คชอป

ทีมนักวิจัยสิ่งแวดล้อมประจ�าโครงการ

เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย

ภาครัฐ พื้นที่สาธารณะประโยชน์

การมีส่วนร่วม ชาวบ้าน

มัคคุเทศก์ แม่ครัว แม่บ้าน สิ่งที่เกิดขึ้นจากโครงการ รายได้ อาชีพ วิถีชีวิตพึ่งพาตนเอง แผนภูมิที่ ๔.๐๑ แสดงโครงสร้างองค์กร 37


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๔.๑.๒ บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ สรุปหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และบทบาทหน้าที่ของแต่ละฝ่ายในการจัดการ โครงการ โดยผู้น�าหลักของโครงการคือส่วนราชการ ซึ่งควบคุมเรื่องงบประมานการ

เจ้าของโครงการ

องค์การบริหารส่วนจังหวัด

เจ้าภาพโครงการ

เทศบาลนครเกาะสมุย

จัดการแผนพัฒนาและเป็นเจ้าภาพในการรับผิดชอบโครงการหลัก โดยชุมชนและภาค เอกชนนั้นจะเข้ามามีส่วนร่วมในขั้นตอนของกระบวนการท�างาน เป็นหลัก เช่นการเป็น มัคคุเทศก์ การเป็นผู้น�าในการท�ากิจกรรม การดูแลความเรียบร้อย ซึ่งจะช่วยให้ผู้คนใน ชุมชนรู้สึกมีความเป็นเจ้าของพื้นที่ รู้สึกเสมือนพื้นที่นี้เป็นสวนหลังบ้านของตนเอง

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์การบริหารส่วนจังหวัด

ผู้จัดการเรื่องงบประมาน และดูแลภาพรวมของโครงการ ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาของจังหวัด

เทศบาลนครเกาสมุย

ผู้จัดการด�าเนินการโครงการ ให้เกิดความเรียบร้อยและเป็นระเบียบ รวมถึงการวางแผนยุทธศาสตร์ในการ พัฒนาพื้นที่โครงการและพื้นที่โดยรอบ

องค์การบริหารส่วนต�าบล

ผู้ดูแลรับผิดชอบในเขตพื้นที่โครงการระดับต�าบล สามารถเข้าถึงได้อย่างใกล้ชิดชุมชนเพิ่มหาข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ต่อโครงการได้

ชุมชนท้องตะโนด องค์กรเอกชน

38

บทบาทหน้าที่

การดูแลจัดการกันในระดับหมู่บ้านและชุมชนเป็นส่วนส�าคัญที่สุดของโครงการ เพราะเป็นผู้ได้รับผลกระทบ โดยตรง หากชุมชนเข็มแข็งก็จะสามารถสร้างผลลัพธ์ที่ดีต่อส่วนรวมได้ ผู้สนับสนุนโครงการ


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๔.๒ รายละเอียดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย รายละเอียดของโปรแกรม โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ มุ่งเน้นเรื่องการเรียนรู้เป็นโดยอาศัยธรรมชาติ เป็นสือ่ กลางเพือ่ สร้างประสบการณ์ อย่างไรก็ตามโครงการไม่เป็นเพียงพืน้ ทีเ่ รียนรูอ้ ย่าง เดียว แต่ยังเป็นพื้นที่พักผ่อนและท่องเที่ยวของผู้คนได้อีกด้วย โดยพื้นที่ของโครงการ สามารถแบ่งเป็นพื้นที่ได้ ๓ ประเภทหลัก ๆ ตามแผนผัง สร้างพื้นที่การเรียนรู้ ที่มีความเฉพาะถิ่นสอดแทรกแนวคิดพื้นฐาน ทางวัฒนธรรมของคนกับสิ่งแวดล้อมพื้นที่ เพื่อเชื่อมโยงกับวิถีชีวิต และเป็นการสร้าง คุณค่าให้กับสิ่งแวดล้อมภายในโครงการ เพื่อการอนุรักษ์และการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ อย่างคุ้มค่า

General

ความรู้พื้นฐานทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม

Unique

ความรู้เฉพาะถิ่น สิ่งแวดล้อมบนเกาะสมุย

General

กิจกรรมการเรียนรู้พื้นฐาน

Unique

กิจกรรมการเรียนรู้ที่สะท้อนวัฒนธรรมท้องถิ่น

Knowledge (การเรียนรู้ผ่านการอ่าน ฟัง ดู)

PROGRAM

Activity (การเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ)

พื้นที่พักผ่อน Facility

พื้นที่ชมวิว

(สิ่งอ�านวยความสะดวก)

ส่วนบริหารจัดการโครงการ พื้นที่ใช้สอยอื่น ๆ แผนภูมิที่ ๔.๐๒ แสดงโครงสร้างการใช้สอยของโปรแกรมของโครงการ

พื้นที่ใช้สอยของโครงการจะต้องมีความสอดคล้อง และส่งเริมการเรียนรู้แบบ องค์รวม โดยมีฐานทักษะก็คือ ทักษะความคิด ทักษะการลงมือปฏิบัติ และจิตใจ ซึ่ง เป็นทักษะทีน่ า� ไปสูเ่ ป้าหมายของโครงการ คือการสร้างจิตส�านึกทีด่ ตี อ่ สิง่ แวดล้อมให้กบั ทุก ๆ คน

HEAD

HEART

HAND

รูปภาพที่ ๔.๐๑ Head Hand Heart 39


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ประเภทของพื้นที่

กิจกรรม ทั่วไป

ความรู้

เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เฉพาะถิ่น ทั่วไป

อบรมความรู้พื้นฐาน

พื้นที่อบรม

นิทรรศการแสดงความรู้เรื่องระบบนิเวศ

พื้นที่จัดนิทรรศการถาวร

นิทรรศการผลงานนักเรียน/นักศึกษา/ศิลปินพื้นบ้าน ฯ

พื้นที่จัดนิทรรศการชั่วคราว

เรียนรู้ในพื้นที่ธรรมชาติ

เรียนรู้ในสิ่งแวดล้อม เรื่องเล่าจากปราชญ์ชาวบ้าน ส่วนประกอบในโครงการ

เฉพาะถิ่น วิถีคนพื้นบ้านกับสิ่งแวดล้อม ปลูกป่า

เรียนรู้เพื่อสิ่งแวดล้อม

อ�านวยความสะดวก

ส�านักงาน

ดูนก สังเกตสัตว์หน้าดิน สังเกตต้นไม้ สังเกตสภาพแวดล้อม

หอสังเกตการณ์

การท�าประมง การหาอาหารป่า การใช้สอยต้นไม้ในพรุ

ท่าเรือ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

เรียนรู้การใช้ประโยชน์จากป่า

คุณค่าของพื้นที่ เป็นพืน้ ทีใ่ ห้ความรู้ ข้อมูลพืน้ ฐานผ่านการ อ่าน ฟัง ดู เพือ่ ให้เข้าใจถึงเนือ้ หาบริบทของพืน้ ทีโ่ ครงการ สิง่ แวดล้อม โดยรอบ รวมไปถึงข้อมูลในเชิงวัฒนธรรมของพื้นที่ และยัง เป็นพืน้ ทีจ่ ดั แสดงผลงานของทีเ่ กีย่ วของกับสิง่ แวดล้อม เป็น พื้นที่สร้างความทรงจ�า ที่ส�าคัญ รูปแบบการเรียนรูผ้ า่ นประสบการณ์ ผ่านประสาท สัมผัสทั้ง ๕ จะช่วยให้ผู้เรียนรู้สามารถสร้างความเข้าใจใน ธรรมชาติผ่านกิจกรรมต่าง ๆ พื้นที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ และเป็นการปลูกฝังจิตส�านึก รักสิ่งแวดล้อม

พื้นที่ปลูกป่า / เพาะช�าต้นกล้า

ชมวิว

จุดชมวิว

ทานอาหาร

ร้านค้า/ร้านอาหาร

พักผ่อน

พื้นที่พักผ่อน / จุดพักในป่า

เก็บข้อมูลและเอกสารส�าคัญ

ส�านักงาน

นั่งท�างาน อื่น ๆ

องค์ประกอบของโปรแกรม

พืน้ ทีเ่ พือ่ ซึมซับบรรยากาศธรรมชาติ สร้างความทรงจ�าและ ความผูกพันธ์ ของคนต่อพืน้ ที่ โดยเฉพาะชาวบ้านในละแวก ใกล้เคียง เพื่อสร้างความรักและห่วงแหนธรรมชาติ

ห้องพักเจ้าหน้าที่ ห้องน�้า ที่จอดรถ ห้องเก็บของ แผนภูมิที่ ๔.๐๓ แสดงความเชื่อมโยงกิจกรรมและโปรแกรม

40


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

โปรแกรมของโครงการนี้ จะต้องมีความเหมาะสมส�าหรับการเรียนรู้เรื่องป่า ชายเลนได้อย่างลึกซึ้ง โดยผ่านกระบวนการลงมือท�าเพื่อสร้างภาพความทรงจ�า และได้

องค์ประกอบของโปรแกรม

ความรู้อย่างแท้จริง การเรียนรู้การใช้ประโยชน์จากป่าชายเลน นอกจากจะได้ความรู้

พื้นที่อบรม

แล้วเกีย่ วกับป่าชายเลนและการประยุกต์ใช้แล้ว ยังต้องสัมผัสได้ถงึ ความรูส้ กึ ใกล้ชดิ กับ

พื้นที่จัดนิทรรศการถาวร

ธรรมชาติ เห็นความเป็นไปและเข้าใจธรรมชาติมากขึ้น เห็นคุณค่าของป่าชายเลนมาก ขึน้ และสร้างทัศนคติทดี่ ใี นการรักษาสิง่ แวดล้อมซึง่ ถือเป็นหัวใจส�าคัญในการเข้ามาเรียน รู้โครงการนี้ ดังนั้น การสร้างประสบการณ์ การสร้างภาพจ�าที่ดี จะเป็นการปลูกต้นกล้า

โปรแกรม

พื้นที่จัดแสดงนิทรรศการ พื้นที่เอนกประสงค์

พื้นที่จัดนิทรรศการชั่วคราว

กลุ่มอาคารต้อนรับ พื้นที่จะแสดงนิทรรศการ พื้นที่เอนกประสงค์ ส�านักงาน ห้องพักเจ้าหน้าที่

หอสังเกตการณ์

หอสังเกตการณ์

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

ท่าเรือ

ท่าเรือ

พื้นที่การใช้ประโยชน์จากป่า

พื้นที่จัดแสดงโครงสร้างเรือประมง พื้นที่ต่อเรือประมงขนาดเล็ก พื้นที่เรียนรู้การท�าอาหาร พื้นที่เรียนรู้การท�าเครื่องใช้สอยจากป่าชายเลน

กลุ่มอาคารต่อเรือ

ร้านอาหาร ร้านขายของฝากจากป่าชายเลน

กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน

ส�านักงาน ห้องพักเจ้าหน้าที่

หอสังเกตการณ์

แห่งความรักษ์ผืนแผ่นดิน

พื้นที่ปลูกป่า / เพาะช�าต้นกล้า ร้านค้า/ร้านอาหาร จุดชมวิว พื้นที่พักผ่อน / จุดพักในป่า ส�านักงาน

กลุ่มอาคารร้านอาหาร ร้านอาหาร พื้นที่เรียนรู้การท�าอาหาร

พื้นที่ต่อเรือประมงขนาดเล็ก พื้นที่จัดแสดงโครงสร้างเรือประมง

พื้นที่เรียนรู้การท�าเครื่องใช้สอยจากป่าชายเลน พื้นที่เรียนรู้การท�าไม้ก่อสร้าง พื้นที่การเรียนรู้การเผาถ่าน

ห้องน�้า ที่จอดรถ ห้องเก็บของ แผนภูมิที่ ๔.๐๔ องค์ประกอบของโปรแกรม 41


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๔.๓ รายละเอียดของโครงการด้านพื้นที่ใช้สอย

หมวดหมู่โปรแกรม

จ�านวนผู้ใช้(คน)

ขนาดพื้นที่(ตร.ม.) พื้นที่สุทธิ

กลุ่มอาคารต้อนรับ

หมายเหตุ พื้นที่สัญจร

รวม

พื้นที่จัดนิทรรศการ

๓๐

๙๐

๔๐%

๓๖

๑๒๖

พื้นที่เอนกประสงค์(ลาน)

๓๐

๘๑

๔๐%

๓๒.๔

๑๑๓.๔

ส�านักงาน

๒๔

๔๐%

๙.๖

๔๕

ที่พักเจ้าหน้าที่

ร้านขายของฝาก

๑๕

ห้องละ ๒๗.๕ ๔๘.๗๕

ที่พัก ๒ ห้อง ๔๐%

ห้องน�้า

๒.๗ ตร.ม. ต่อ ๑ คน

๕๕ ๖๘.๒๕

๑๙.๕

๓ ตร.ม. ต่อ ๑ คน

๓.๒๕ ตร.ม. ต่อ ๑ คน

๓๔

กลุ่มอาคารร้านอาหาร พื้นที่ทานอาหาร

๓๕

๑๐๕

๔๐%

๔๒

๑๔๗

พื้นที่เวิร์คชอป

๑๕

๔๕

๔๐%

๑๘

๖๓

ครัว

๒๐

๔๐%

๒๘ ๑๒

ห้องน�้า ๑๕

๑๕

๔๐%

พื้นที่ต่อเรือ

๒๕

๗๕

๔๐%

๓๐

ที่จอดเรือ ๓๐ ตร.ม.

๑๓๕

พื้นที่จัดแสดงโครงสร้างเรือประมง

๒๐

๖๐

๓๐%

๒๔

ที่จอดเรือ ๓๐ ตร.ม.

๑๑๔

จอดเรือ

๒๑

กลุ่มอาคารโรงต่อเรือ

ห้องน�้า พื้นที่เก็บของ

๔.๕ ๘

ตารางที่ ๔.๐๑ ตารางขนาดพื้นที่ใช้สอย 42


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

หมวดหมู่โปรแกรม

จ�านวนผู้ใช้(คน)

กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน

ขนาดพื้นที่(ตร.ม.) พื้นที่สุทธิ

หมายเหตุ

พื้นที่สัญจร

รวม

พื้นที่ท�างานไม้สร้าง

๓๐

๖๐

๔๐%

๒๔

๘๔

พื้นที่ท�างานเครื่องใช้สอย

๓๐

๖๐

๔๐%

๒๔

๘๔ ๒๕

พื้นที่เก็บไม้ พื้นที่เผาถ่าน

๒๐

ลานเอนกประสงค์

๔๐

ร้านกาแฟ

๑๔

๔๐

๓๒

พื้นที่วางเตา ๓ ตร.ม.

๔๓

๔๐%

๔๘

๑๖๘

๔๐%

๑๒.๘

๔๔.๘

ห้องน�้า

๑๒

ท่าเทียบเรือ

๓๒

หอสังเกตการณ์ รวม

พื้นที่ต่อชั้น ๑๗.๕

หอสูง ๗ ชั้น

๑๒๒.๕ ๑๕๙๙.๕๕

ตารางที่ ๔.๐๑ ตารางขนาดพื้นที่ใช้สอย

43


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

เกณฑ์ในการคัดเลือกกรณีศึกษา

KEYWORD

Nature / Environmental Leaning Center ศูนย์ศึกษา / การเรียนรู้ ทางธรรมชาติ / พื้นที่ชุมน�้า

COMPLETION

สร้างมาแล้วไม่เกินระยะเวลา ๒๐ ปี

BUILDING SIZE

(ไม่ก�าหนด)

BUILDING TYPE

ศูนย์การเรียนรู้ศึกษาธรรมชาติ หรือ ใกล้เคียง

ACTIVITIES

ให้ข้อมูลทางเกี่ยวกับระบบนิเวศธรรมชาติ;มีพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้, โครงการตั้งอยู่ใกล้กับพื้นที่ทางธรรมชาติของจริง

REPUTATION

มีชื่อเสียง และเป็นที่ยอมรับทางสังคม มีการหมุนเวียนมาใช้งานอย่างต่อ เนื่อง และมีรางวัลการันตี แหล่งการเรียนรู้ศึกษาระบบนิเวศทางธรรมชาติ มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป แต่มีจุดมุ่งหมาย และกิจกรรมหลักๆภายในอาคารที่เป็นไปในทางเดียวกัน อันมีความหมายแฝงคือการปลูก ฝังสร้างจิตส�านึกรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับผู้คน

44


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๕ การศึกษาวิเคราะห์อาคารกรณีศึกษา ๕.๑ กรณีศึกษาภายในประเทศ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี

ข้อมูลโครงการ ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่โครงการ ขนาดพื้นที่ก่อสร้างทั้งหมด ลักษณะโครงการ

: ต.บางปูใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ : ๓๓๘ ไร่ ( ๕๔๐,๘๐๐ ตารางเมตร) : ประมาณ ๒,๘๑๐ ตารางเมตร : ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ พื้นที่ชุมน�้าป่าชายเลน

รายละเอียดโครงการ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี ๖�็งอยู่ ภายในบริเวณกองอ�านวยการสถานพักผ่อน (สถานตากอากาศบางปู) กรมพลาธิการ ทหารบก ด้วยความร่วมมือระหว่างกองทัพบก และ WWF ประเทศไทย สนับสนุนโดย บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จ�ากัด โดยศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก(บางปู) ฯ เป็นศูนย์ศกึ ษาฯ แรกทีเ่ ริม่ เปิดให้บริการด้านการศึกษาธรรมชาติ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ เป็นต้นมา ในปัจจุบันบริหารจัดการโดยมูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน(ประเทศไทย) – FEED Thailand๑ วัตถุประสงค์โครงการ - โครงการเพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบรอบ ๗๒พรรษา แห่งองค์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ - การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติป่าชายเลน โดยมีเป้าหมายคือการอนุรักษ์ป่าดั้งเดิม และเพิ่มพื้นที่ป่า (ชายเลน) ใหม่ในพื้นที่อ่าวไทยตอนใน - การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยัง่ ยืน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ทางด้านการศึกษา ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้แก่นักเรียน และผู้ที่สนใจทั่วไป โดยเฉพาะนักเรียนที่ อาศัยอยู่ ในเขตจังหวัดสมุทรปราการและพื้นที่อื่น ๆ ใกล้เคียง ๒

รูปภาพที่ ๕.๐๑ ภาพภายในศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู)

๑ ศูนย์ศก ึ ษาธรรมชาติกองทัพบก

(บางปู) เฉลิมพระเกียรติ ๗๒ พรรษา มหาราชินี [ออนไลน์]. แหล่ง ที่มา: www.feedthailand.org/our-charities/bangpoo/. (๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒)

๒ เรือ ่ งเดียวกัน

45


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

แนวความคิดโครงการ เรียนรู้จากธรรมชาติอย่างใกล้ชิด

ความส�าเร็จของโครงการ

การเรียนรู้อย่างยั่งยืน

เชื่อมโยงวิถีชีวิต

เป็นสถานที่พักผ่อนของคนเมืองและพื้นที่ข้างเคียง เนื่องจากอยู่ใกล้ กรุงเทพ และสามารถเดินทางได้สะดวก เป็นศูนย์การเรียนรู้ศึกษาป่าชายเลนที่ส�าคัญของภาคกลาง และทุกคน สามารถเข้าถึงได้ง่าย มีหลักสูตรการศึกษาเฉพาะตัว เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ทางธรรมชาติ

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน

ได้รับการเสนอชื่อเพื่อขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมในการเข้า ร่วมภาคีความร่วมมือเพื่อการอนุรักษ์นกน�้าอพยพและการใช้ประโยชน์ถิ่นที่ อยู่อาศัยอย่างยั่งยืนในเส้นทางอพยพเอเชียตะวันออก – ออสเตรเลีย มีการเข้ามาศึกษาเรียนรู้ จากทั้งสถาบันการศึกษา และบริษัทเอกชน รวม ถึงราชการ อย่างต่อเนื่อง

รูปภาพที่ ๕.๐๒ ภาพถ่ายทางอากาศศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: google earth, 2020

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ พื้นที่โครงการนั้น เดิมทีเป็นพื้นที่ป่าชายเลน และมีการท�าเกษตร ก่อนจะถูกเวนคืนที่ดินให้กับราชการซึ่งอยู่ ในความดูแลของกรมพลาธิการทหารบก โดยโครงการได้เริม่ จัดตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๕๔๗ โดยความร่วมมือกันของ WWF กับ กรมพลาธิการทหารบก โดยการสนับสนุนจากบริษทั เอกชนหลากหลายหน่วยงาน เพือ่ การฟืน้ ฟูและอนุรกั ษ์ไว้ เพือ่ การเรียนรู้และปลูกสร้างจิตส�านึกรักษ์ในสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากการส�ารวจพื้นที่ และแบ่งพื้นที่ออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑. พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์ โดยจะสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงพื้นที่ เพื่อไม่ให้เกิดการบุกรุกหรือรบกวนภายใน พื้นที่โดยไม่จ�าเป็น ๒. พื้นที่ป่าสาธารณะเพื่อการเรียนรู้ เป็นพื้นที่ที่เปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้าถึงได้โดยสาธารณะ สามารถ มาพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่งสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติทั้งสองพื้นที่นั้นก็มีลักษณะคล้ายคลึงกัน

บริหารจัดการโดยมูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน(ประเทศไทย) – FEED Thailand ปัจจัยสู่ความส�าเร็จ

พื้นที่ป่าสาธารณะ

Program รณรงค์สร้างจิตส�านึกให้กับเยาวชนและชุมชน จัดสรรค์พื้นที่เรียนรู้โดยอิงสภาพแวดล้อมของเดิมเป็นหลัก เน้นการเรียนรู้จากประสบการณ์ใกล้ชิดธรรมชาติ

ถนนหลัก(ถนน สุขุมวิท) พื้นที่ป่าอนุรักษ์ (พื้นที่หลักของโครงการ)

Site Planning มีการแบ่งสัดส่วนพื้นที่หลายประเภทและชัดเจน รูปภาพที่ ๕.๐๓ ภาพแสดงโซนต่างๆภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: google earth, 2020 46


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

อาคารต้อนรับและจัดอบรม

บึงน�า้ กร่อย

บ่อน�า้ ระดับกลาง อาคารนิทรรศการ

พื้นที่ปลูกขยายพันธ์ไม้กล้าป่าชายเลน รูปภาพที่ ๕.๐๔ ภาพแสดงโซนพื้นที่ภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: google earth, 2020

เหตุทวี่ างพืน้ ทีน่ ใี้ ห้เป็นพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ เพราะว่าในพืน้ ทีน่ นั้ ประกอบไปด้วย พืน้ ที่ ป่า และบึงน�้ากร่อย ซึ่งเป็นพื้นที่ส�าคัญที่จะท�าให้เกิดความหลากหลายของระบบนิเวศ โดยเฉพาะสัตว์หน้าดิน(ปู หอย หนอนฯ) ซึง่ แต่ละชนิดจะอาศัยอยูใ่ นพืน้ ทีท่ แี่ ตกต่างกัน บึงน�้ากร่อยจึงเป็นจุดเชื่อมต่อที่ส�าคัญทางระบบนิเวศ และบึงน�้ากร่อยนี้ยังเป็นแหล่ง อาหารและจุดพักที่ส�าคัญของนกหลากหลายสายพันธุ์ที่อพยบจากซีกโลกเหนือ เพื่อมา หาอาหารยังซีกโลกใต้ จะเห็นได้วา่ พืน้ ทีข่ องประเทศไทยเป็นจุดกึง่ กลางพอดี ดังนัน้ พืน้ ที่ ชุ่มน�้าในประเทศไทยจึงเป็นจุกยุทธศาสตร์ที่ส�าคัญต่อสิ่งแวดล้อมมาก จะเห็นว่า การวางผังของโครงการนั้น จะมีการแบ่งแยกพื้นที่ของอาคารกับพื้นที่ ธรรมชาติออกจกากันอย่างชัดเจน เพือ่ เป็นการไม่ไปรบกวนธรรมชาติจนมากเกินไป เป็น โครงการที่สร้างขึ้นเพื่ออยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน

อาคารส�านักงานและการอบรม

หอชมนก

เส้นทางเดินชมโครงการหลัก

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

สะพานแขวนศึกษาธรรมชาติ

รูปภาพที่ ๕.๐๕ ภาพแสดงเส้นทางภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: google earth, 2020

บ่อน�า้ ตืน้

พืน้ ที่ป่าปลูก

บ่อน�า้ ลึก

พืน้ ที่ป่าสงวน

รูปภาพที่ ๕.๐๖ ภาพแสดงโซนของป่าภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: google earth, 2020

พื้นที่ใช้สอยของมนุษย์

พื้นที่ใช้สอยของสัตว์ป่าและต้นไม้

การสร้างพืน้ ทีใ่ ช้สอยประเภทอาคาร โดยส่วนมากจะอยูภ่ ายนอกพืน้ ทีโ่ ครงการ ที่เป็นป่า เพื่อไม่ให้เป็นการรบกวนธรรมชาติ แต่ก็ยังมีการก่อสร้างอาคารบางส่วนอยู่ ภายใน เช่น หอชมนก หอคอยสะพานแขวน และจุดพักเพื่อเรียนรู้ส�าหรับเส้นทางชม ธรรมชาติภายในป่า แต่ก็ยังคงให้สร้างภายใต้ขอบเขตที่จะไม่รบกวนธรรมชาติมากจน เกินไป เช่น การยกอาคารสูงเพื่อให้มีฟุตปริ้นน้อยที่สุด โดยเฉลี่ยแล้วสิ่งปลูกสร้างนี้ มี ไม่ถึง ๕ % ของพื้นที่โครงการทั้งหมด ส�าหรับกิจกรรมก็มที งั้ การ ชมนก การปลูกป่า และเส้นทางธรรมชาติ ซึง่ ระหว่าง ทีเ่ ดินเส้นทางธณรมชาตินี้ ก็จะได้เรียนรูธ้ รรมชาติและสิง่ แวดต่างๆทีผ่ บู้ รรยายได้บรรยาย ไประหว่างเดิน มีทงั้ เดินในระดับปกติ เดินบนสะพานแขวนซึง่ จะได้เรียนรูแ้ ละสัมผัสกับ ธรรมชาติในระดับเรือนชัน้ ยอด หรือในบางโอกาสก็สามารถทีจ่ ะเดินลงไปลุยโคลน เพือ่ ส�ารวจเรื่องสัตว์หน้าดินและสิ่งแวดล้อมอื่นๆได้ จุดสังเกตที่น่าสนใจคือ โครงการนี้จะ ไม่มกี ารติดป้ายบอกข้อมูลให้กบั ผูท้ ม่ี าศึกษา เพราะต้องการทีจ่ ะให้ผเู้ รียนรู้ ได้สมั ผัสกับ ธรรมชาติและเรียนรู้ จดจ�าผ่านประสบการณ์อันใกล้ชิดกับธรรมชาติด้วยตนเองให้มาก ที่สุด

ในโครงการนีก้ ม็ พี น้ื ทีซ่ ง่ึ ถูกจ�าแนกไว้หลายประเภทเช่นกัน ซึง่ โซนของป่าแต่ละ ประเภทเกิดจากการวิเคราะห์พื้นที่และดุงเอาศักยภาพเดิมของพื้นที่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น บริเวณบึงน�้ากร่อยใกล้หอชมนก จะเป็นจุดพักและแหล่งอาหารของนก ทะเล และนกอพยบ ซึ่งจะแตกต่างจากพื้นที่อื่นคือ จะไม่มีต้นไม่สูงและเป็นที่ราบลุ่มมี ไม้พุ่มต�่า เพื่อให้เอื้อต่อวิถีชีวิตของนก ซึ่งทางโครงการก็มีการปรับแต่งพื้นที่ให้บ่อหรือ บึงมีระดับน�้าที่ต่างกันเพราะนกแต่ละชนิด จะหากินในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน เช่นนก ตัวเล็กไม่สามารถอยู่ที่บริเวณน�้าลึกได้เพราะขาสั้น เป็นต้น นอกจากนีย้ งั มีการแบ่งพืน้ ทีป่ า่ ทีแ่ ตกต่างจากพืน้ ทีท่ ว่ั ไปคือ จะมีพน้ื ทีป่ า่ สงวน ซึง่ ไม่อนุญาตให้ใครเข้าไป แม้กระทัง่ เจ้าหน้าทีเ่ อง เป็นพืน้ ทีท่ ป่ี ล่อยให้ธรรมชาติจดั การ ตัวเอง มีเพียงการขุดลอกคลองไว้รอบพื้นที่เท่านั้น เพื่อให้น�้าสามารถเข้าถึงได้ และอีก พื้นที่คือป่าปลูกที่อยู่ติดกับทะเล ซึ่งจะเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้�าและเป็นการขยายดิน ออกไป เพื่อดูแลและป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งอีกด้วย 47


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย ข้อดี แนวคิดการวางผัง

ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมเดิมไม่เป็นการรบกวน ธรรมชาติ

แนวคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอย

มีการจัดแบ่งพืน้ ทีใ่ ช้สอยได้เป็นระบบ และเส้นทางเรียนรู้ มีการจัดแบ่งพื้นที่ใช้สอยได้เป็นระบบ และเส้นทาง มีความต่อเนื่อง ท�าให้ง่ายต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ เรี ย นรู ้ มี ค วามต่ อ เนื่ อ ง ท� า ให้ ง ่ า ยต่ อ การจั ด กระบวนการเรียนรู้

แนวคิดเรื่องรูปทรง ที่ว่าง และสถาปัตยกรรม

จัดการง่าย ราคาถูก เน้นตอบโจทย์การใช้งานมากกว่า ความงาม เพราะเน้นพื้นที่ธรรมชาติเป็นหลัก

รูปภาพที่ ๕.๐๗ สะพานลอยศึกษาธรรมชาติ

ที่มา: www.edtguide.com/travel/378672/bangpu-nature-education-centre, 2555

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม โครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติ มุ่งเน้นที่รูปแบบของการเรียนรู้ที่ใกล้ชิดกับ ธรรมชาติ ดังนั้นจึงให้ความส�าคัญกับพื้นที่เรียนรู้ภายนอกอาคารมากกว่าภายใน ท�าให้ เห็นว่าหน้าตาหรือรูปแบบของอาคาร หรือสิง่ ปลูกสร้างนัน้ จึงไม่มคี วามโดดเด่นเป็นพิเศษ เป็นการสร้างเพื่อตอบรับการใช้งาน ในส่วนของเส้นทางการเรียนรู้ มีการจัดเส้นทางที่น่าสนใจและเป็นไปตาม หลักสูตรการเรียนรู้ ท�าให้มเี ส้นทางทีม่ คี วามหลากหลายและไม่จา� เจ พยายามมุง่ เน้นเอา ธรรมชาติเป็นหัวใจส�าคัญหลักของโครงการและลดบทบาทของสิ่งปลูกสร้างให้น่อยลง

48

ข้อเสีย เกิดข้อจ�ากัดในการจัดสรรค์พื้นที่อย่างอิสระ

สถาปัตยกรรมไม่มีบทบาทมากนัก เสียโอกาสในการ ท�าหน้าที่สร้างความหน้าสนใจให้กับโครงการ

รูปภาพที่ ๕.๐๘ ภาพแสดงมุมมองต่างๆภายในโครงการศูนย์ศึกษาธรรมชาติกองทัพบก (บางปู) ที่มา: http://www.feedthailand.org/our-charities/bangpoo/


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

โครงการป่าในกรุง

ข้อมูลโครงการ ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่โครงการ ขนาดพื้นที่อาคาร ลักษณะโครงการ สร้างเสร็จ รายละเอียดโครงการ

: ถนน สุขาภิบาล ๒, แขวง ดอกไม้, เขต ประเวศ, กรุงเทพมหานคร : ๑๒-๑-๒ ไร่ ( ๑๙,๕๐๐ ตารางเมตร) : ประมาณ ๑,๕๐๐ ตารางเมตร : ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้เรื่องการปลูก ป่าและสถานที่พักผ่อนของคนเมือง : พ.ศ. ๒๕๕๗

โครงการป่าในกรุง เป็นการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในที่ดินของ ปตท. จ�านวน ๑๒ ไร่ ๑ งาน ๒ ตารางวา ภายใต้แนวทางการส่งเสริมพื้นที่สีเขียวในเขตเมืองของ กลุ่ม ปตท. หรือ “PTT Green in the City” ได้ออกแบบสัดส่วนเป็นพืน้ ทีป่ า่ ๗๕% พืน้ ทีน่ า�้ ๑๐% พืน้ ที่ ใช้งาน ๑๕% ป่าเป็นหลัก มีการออกแบบอาคารที่กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อมเป็นต้นแบบ นวัตกรรมอาคารเขียว เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้การปลูกป่าของ ปตท. และการปลูกป่า เชิงนิเวศแบบยั่งยืน ซึ่งในอนาคตป่านี้จะเติบโตและสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับพื้นที่ เป็นพื้นที่เรียนรู้ป่าในเมืองที่เชื่อมโยงและสร้างความใกล้ชิดระหว่างคนกับป่า๑ วัตถุประสงค์โครงการ

รูปภาพที่ ๕.๐๙ ภาพแสดงมุมมองของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.spacetimearchitects.com

- ปลูกป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับคนเมือง - ปลูกป่าเชิงนิเวศแบบยั่งยืนเพื่อให้เกิดป่าทีใกล้เคียงธรรมชาติดั้งเดิมใน พื้นที่กรุงเทพมหานคร - เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการปลูกป่าตามวิถี ปตท. ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการ ปลูกป่า ๑ ล้านไร่ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ ให้แก่ประชาชน นิสิต นักศึกษา และ นักเรียน ที่สนใจ๒ ๑ ความเป็ นมา“ป่ าในกรุ ง”

[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: www.pttreforestation.com/Educationview. cshtml?Id=8. (๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒)

๒ เรือ ่ งเดียวกัน

49


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

แนวความคิดโครงการ ป่ ากลางเมือง

ความส�าเร็จของโครงการ

เรียนรูท้ า่ มกลางธรรมชาติ

เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ได้รับความนิยม เป็นสถานที่พักผ่อนและสัมผัสกับบรรยากาศธรรมชาติของ คนเมือง เกิดเป็นพื้นที่ป่าแห่งใหม่ของเมือง ที่เกิดขึ้นจากวิธีการปลูกทั้งสิ้น อาคารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รางวัล “Best Public Facility” (PropertyGuru Thailand Property Awards 2018) LEED Platinum Certified

ปัจจัยสู่ความส�าเร็จ

Program เป็นโครงการที่สะท้อนสภาพมรดกทางสิ่งแวดล้อมของพื้นที่ เนื้อหาโครงการน่าสนใจ สามารถเข้าถึงกลุ่มคนรุ่นใหม่ได้ Site Planning วางผังได้น่าสนใจ มีรูปแบบที่แปลกใหม่ การวางตัวของอาคารมี ความสอดคล้องกับสภาพบริบทที่จัดวางขึ้น Architect ตัวสถาปัตยกรรมมีความน่าสนใจ สามารถดึงดูดให้คนเข้ามาได้ สถาปัตยกรรมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่สร้างขึ้นอย่างลงตัว Save Energy Building เป็นอาคารที่เลือกใช้แนวคิดของความยั่งยืนมาใช้ในการ ออกแบบเป็นหลัก วัสดุที่ปล่อยมลพิษน้อย

50

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ จากพื้นที่รกร้างกว่า ๑๒ไร่ บนถนนสุขาภิบาล ๒ เขตประเวศ ถูกพลิกฟื้นขึ้นโดยจัดสรรสัดส่วนที่ดิน ๗๕% เป็นพื้นที่ปลูกป่า นิเวศที่สมบูรณ์ พื้นที่แหล่งน�้า ๑๐% และพื้นที่อาคารเพื่อการเรียนรู้ ๑๕% ซึ่งจะเป็นศูนย์การเรียนรู้เพื่อให้ชาวกรุงได้ตระหนักและ ร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืนตลอดไป พื้นที่กว่า ๙ ไร่ ปลูกป่าในลักษณะ “ป่านิเวศ” หมายถึง ป่าที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อ ให้มีสภาพใกล้เคียงสภาพป่าธรรมชาติ การจัดวางอาคารให้ถูกห้อมล้อมด้วยป่า ซึ่ง Sky Walk สร้างแนวป่า เพื่อซ่อนอาคาร เป็นการวางผังเพื่อซ่อนอาคารไว้ ให้ไม่สามารถเห็นได้ หอชมป่า อาคารจัดแสดงหลัก จากด้านนอก ลักษณะอาคารถูกจัดวาง ล้อไปกับภูมิส ถาปัตกรรมท�าให้มีทิศทางที่กลมกลืนไปกับธรรมชาติ แต่กลับสร้างความโดดเด่นด้วยหอชมวิวที่ตั้งอยู่ ท่ามกลางป่าเป็นตระหง่าน ท�าหน้าที่เป็นจุดโฟกัสของ โครงการ โครงการตัง้ อยูบ่ นถนน สุขาภิบาล ๒ สามารถ เดินทางมาได้โดย รถไฟฟ้าแล้วต่อด้วยรถโดยสาร ประจ�าทางหรือจักรยานยนตร์รบั จ้าง หรือสามารถเดิน ทางได้โดยรถโดยสารส่วนตัว เช่นกัน สามารถเดินทาง รูปภาพที่ ๕.๑๑ ภาพแสดงโซนต่างๆของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016 มาง่าย ใกล้เมืองใหญ่ท�าให้ได้รับความนิยมส�าหรับการ พักผ่อนในวันหยุดอย่างมาก บิ าล 2

รางวัล “ASLA PROFESSIONAL AWARDS 2016”

รูปภาพที่ ๕.๑๐ ภาพแสดงแผนผังของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016

ถนน ส ขุ ภ

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

แนวความคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอยของโครงการ ภายในโครงการมีการแบ่งสัดส่วน ไว้อย่างชัดเจนเพือ่ ให้เหมาะสม ส�าหรับการ เรียนรู้ โดยนอกจากจะให้ความส�าคัญกับพื้นที่ป่าแล้ว ยังให้ความส�าคัญกับเรื่องของ สถาปัตยกรรมอย่างมาก เพราะเราไม่สามารถแยกสิง่ ก่อสร้างออกจากสภาพแวดล้อมได้ ข้อได้เปรียบของโครงการคือการสร้างป่าปลูก ท�าให้สามารถที่จะจัดสรรค์พื้นที่ใช้สอย ได้อย่างอิสระ และเป็นไปตามความเหมาะสมของสภาพพื้นที่ แต่ยังคงแนวคิดเรื่องการ เรียนรู้เป็นหลักเช่นเดียวกับศูนย์การเรียนรู้ทางธรรมชาติในหลายๆแห่ง คือ ๑) เข้ามาพบกับพื้นที่จัดแสดงนิทรรศการที่ให้ความรู้ เพื่อให้ผู้ชมได้ใช้เวลา ท�าความเข้าใจบริบทของโครงการ ๒) เริม่ เดินชมตามเส้นทางเข้าสูพ่ นื้ ทีธ่ รรมชาติ เพือ่ ความใกล้ชดิ และสร้างความ เข้าใจมากยิ่งขึ้น ๓) จุดหมายปลายทาง ณ ที่นี้คือพื้นที่ชมป่าซึ่งเป็นจุดน�าสายตา ที่สวยงาม ของโครงการนั้นเอง ใช้พนื้ ทีอ่ ย่างคุม้ ค่า นอกจากจะจัดวางผังได้ดแี ล้ว ยังสร้างพืน้ ทีใ่ ช้สอยได้อย่าง เต็มที่เช่น การสร้าง Graden Roof ซึ่งจะท�าให้ผู้เรียนรู้หรือผู้เข้าชม ได้มุมมองในอีก ระดับหนึ่งที่สูงขึ้นมาจากระดับพื้นที่ และท�าให้อาคารกลมกลืนไปกับป่ามากยิ่งขึ้นด้วย

รูปภาพที่ ๕.๑๒ ภาพอาคารหลักของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรง และที่ว่าง สถาปัตยกรรม อาคารมีแนวคิดการออกแบบให้ดูกลมกลืนและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การออกแบบเพื่อให้กลมกลืนกับธรรมชาติ มีการออกแบบมั้งตั้งแต่การวางผัง ของอาคารร่วมกับภูมิสถาปัตยกรรม มีการสร้างความสัมพันธ์ในแนวตั้ง ของพื้นที่สวน ด้านล่าง เชื่อมต่อขึ้นไปบนหลังคาที่เป็น Green Roof การเลือกใช้วัสดุหลักในการ ก่อสร้างมีความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยเลือกใช้ดินเป็นวัสดุหลักในการสร้าง โดยใช้ วิธกี ารอัดบดจนเกิดความหนาแน่นทีม่ คี วามแข็งแรงมากพอ ส่งผลให้สแี ละสัมผัสทีอ่ อก มานั้น ยิ่งท�าให้อาคารมีความเป็นหนึ่งเดียวกับธรรมชาติมายิ่งขึ้น การออกแบบเพื่อเน้นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยสร้างช่องเปิดและ ช่องลมภายในอาคารเพือ่ ให้อากาศและลมสามารถไหลเวียนได้อย่างทัว่ ถึง เป็นอาคารที่ สามารถใช้งานได้โดยไม่ต้องใช้เครื่องปรับอากาศ ด้วยความเย็นจากหลังคา และผนังที่ มีความหนา อีกทั้งลมและอากาศที่ถ่ายเทสะดวก ท�าให้อาคารหลังนี้เป็นอาคารที่เป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างแท้จริง

รูปภาพที่ ๕.๑๓ ภาพแสดงรายละเอียดภาพตัดของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016 51


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

สถาปัตยกรรมที่ตั้งอยู่ในป่า แนวคิดในการออกแบบโดยการคาดการสถานการณ์ล่วงหน้า ซึ่งเกิดจากการ ศึกษาธรรมชาติของต้นไม้ และวิเคราะห์สภาพพื้นที่ เพื่อสร้างสถาปัตยกรรม ที่มีความ สอดคล้องกับธรรมชาติอย่างแท้จริง ส�าหรับโครงการนี้ซึ่งเป็นโครงการปลูกป่า ได้มีการ วางผังของภูมิสถาปัตยกรรมควบคู่ไปกับการออกแบบสถาปัตยกรรม เพื่อให้เกิดความ ลงตัว ของอนาคต นัน้ หมายถึง เป็นการออกแบบสถาปัตยกรรมทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ ได้อย่างเป็นมิตร ทั้งภาพลักษณ์ วัสดุ และการใช้งาน

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย ข้อดี แนวคิดการวางผัง

สร้างพื้นที่ที่โอมล้อม ท�าให้หลุดออกพื้นที่ของเมือง

ข้อเสีย พื้นที่ศึกษาธรรมชาติมีน้อย

มีล�าดับการเข้าถึงที่ชัดเจน

แนวคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอย

สร้างพืน้ ทีใ่ ช้สอยได้อย่างคุม้ ค่า และมีสดั ส่วนของพืน้ ทีใ่ น แต่ละประเภท ที่เหมาะสม

แนวคิดเรื่องรูปทรง ที่ว่าง และสถาปัตยกรรม

สถาปัตยกรรมยั่งยืน รูปทรงของสถาปัตยกรรมมีความน่าสนใจ สามารถดึงดูด คนได้ สถาปัตยกรรมและภูมสิ ถาปัตยกรรมสามารถอยูร่ ว่ มกันได้ อย่างลงตัว

รูปภาพที่ ๕.๑๔ ภาพหอคอยของโครงการป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016

รูปภาพที่ ๕.๑๕ ภาพแสดงการเติบโตของต้นไม้ภายในโครงการ ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016 52

รูปภาพที่ ๕.๑๖ ภาพรูปด้านอาคารหลักของโครป่าในกรุง ที่มา: www.asla.org/2016awards, 2016


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๕.๒ กรณีศึกษาในต่างประเทศ Sungai Buloh ข้อมูลโครงการ ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่โครงการ ขนาดพื้นที่อาคาร ลักษณะโครงการ

: ๓๐๑ Neo Tiew Crescent, Singapore ๗๑๘๙๒๕ : ๘๑๒ ไร่ (๑,๒๙๙,๒๐๐ ตารางเมตร) : ๑๓,๓๕๐ ตารางเมตร : ศูนย์ศึกษาและวิจัย ระบบนิเวศทางธรรมชาติ พื้นที่ชุ่มน�้า

รายละเอียดโครงการ เขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื้นที่ชุ่มน�้าซันไก บูลอร์ (Sungai Buloh) เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ระดับโลกที่มีการค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ โดยกลุ่มนักดูนกจากสมาคม Malayan Nature Society สามปีต่อมาหรือในปี พ.ศ. ๒๕๓๒ รัฐบาลได้ประกาศให้ สถานที่แห่งนี้เป็นเขตอนุรักษ์ธรรมชาติ และเปิดให้เข้าชมอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ ในการสัมผัสประสบการณ์พื้นที่ชุ่มน�้าอย่างถูกต้อง ๑

รูปภาพที่ ๕.๑๗ ภาพมุมมองภายในโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.worldroamer.com, 2018

วัตถุประสงค์โครงการ - อนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน�้า - สร้างพื้นที่ศึกษาธรรมชาติ อันอุดมไปด้วยสภาพแวดล้อมที่สมบูรณ์และทรงคุณค่า - ปลูกสร้างจิตส�านึกรักษ์ ในธรรมชาติ และเรียนรู้วิธีการอนุรักษ์ที่ถูกต้องเพื่อประยุกต์ ใช้กับวิถีชีวิต ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า

๑ เขตอนุรก ั ษ์ธรรมชาติพืน้ ที่ชมุ่ น�า้ ซันไก

บูลอร์ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.visitsingapore. com/th_th/see-do-singapore/nature-wildlife/reserves/sungei-buloh-wetland-reserve/8. (๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๒) 53


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

แนวความคิดโครงการ ป่ากลางเมือง

ความส�าเร็จของโครงการ

เรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ

เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

เป็นแหล่งศึกษาธรรมชาติของหลากหลายสถาบันศึกษาในพื้นที่ใกล้เคียง เป็นสถานที่พักผ่อนของผู้คน อนุรักษ์และเป็นต้นแบบศูนย์ศึกษาธรรมชาติพื้นที่ชุ่มน�้า

หลักฐานข้อมูลสนับสนุน

รางวัล “Singapore Landscape Architecture Awards 2015: Gold Award Parks and Public Spaces” รางวัล “ASLA PROFESSIONAL AWARDS - HONOR AWARD 2010 The Sungei Buloh Wetland Reserve Master Plan” เขตอนุรักษ์ธรรมชาติพื้นที่ชุ่มน�้าซันไก บูลอร์ได้รับการประกาศเป็นอุทยาน มรดกอาเซียนแห่งแรกของสิงคโปร์ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖

ปัจจัยสู่ความส�าเร็จ

Program เน้นการอนุรักษ์สภาพแวดล้อมเดิม เพื่อสัตว์ป่า และวัฒนธรรม เดิมของคนในพื้นที่ มีโปรแกรมหลักสูตรการศึกษาร่วมกับสถานบันหลายแห่ง

รูปภาพที่ ๕.๑๘ ภาพผังแม่บทของโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010

แนวความคิดในการวางผังของโครงการ พื้นที่โครงการมีขนาดที่กว้างใหญ่มาก ท�าให้เกิดการกระจายตัวของอาคาร เพื่อให้การศึกษาเรียนรู้สามารถท�าได้ ครอบคลุมทั้งพื้นที่ โดยหลักในการจัดวางอาคารนั้น โดยมากจะจัดขึ้นในพื้นที่ที่เป็นแนวคันดิน หรือดินดอน เพื่อที่จะไม่ให้ไป กระทบกับพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ชุ่มน�้ามากนัก อีกทั้งตัวอาคาร และเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ รวมถึงหอชมนก ยังยกระดับสูงขึ้น เพื่อลดรากฐานของอาคาร อย่างไรก็ตาม พื้นที่ทั้งหมดของโครงการก็ยังมีการจ�าแนกประเภทพื้นที่ป่า เพื่อการจัดการดูแลได้ อย่างมีระบบ โดยค�านึงถึงบริบทของสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และพื้นที่การใช้งานของสัตว์ป่าเป็นหลัก

Site Planning วางผังโดยค�านึงถึงสภาพแวดล้อมเดิมเป็นเกณฑ์หลัก Architect สถาปัตยกรรมมีทั้งรูปแบบที่กลมกลืนไปกับธรรมชาติและขัดแย้ง

54

รูปภาพที่ ๕.๑๙ ภาพรายละเอียดผังแม่บทของโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๕.๒๐ ภาพโซนของผังแม่บทของโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010

แนวความคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอยของโครงการ ในการก�าหนดพื้นที่ใช้สอย จะเริ่มมาจากการวางผังใหญ่ ก�าหนดต�าแหน่งของแต่ละพื้นที่ ซึ่งเกิดจากการวิเคราะห์ สภาพของแต่ละพื้นที่ในโครงการ ซึ่งจะมีลักษณะที่แตกต่างกันไป เช่น การก�าหนดว่าพื้นที่สันทนาการจะต้องไม่เป็นพื้นที่ที่มี สัตว์ปา่ เข้ามาหากินเพือ่ ทีจ่ ะไม่เป็นการรบกวนสัตว์ปา่ หรือการเลือกพืน้ ทีเ่ พือ่ การอนุรกั ษ์ จะต้องส�ารวจระบบนิเวศและสังเกต พฤติกรรมสัตว์เพื่อการใช้งานภายในพื้นที่อย่างรอบคอบ เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างพื้นที่เรียนรู้กับพื้นที่อนุรักษ์ธรรมชาติ ได้อย่างเหมาะสม

รูปภาพที่ ๔.๒๑ ภาพการวิเคราะก์โดยรอบของโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010

รูปภาพที่ ๕.๒๒ ภาพนโยบายหลักของโครงการ Sungai Buloh ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010

แผนแนวความคิดหรือนโยบายของโครงการ มีอยู่ด้วยกัน ๓ ข้อหลัก และสถาปัตยกรรมต้องตอบรับกับลักษณะพื้นที่ใช้สอยดังที่ กล่าวไว้ข้างต้นได้อย่างถี่ถ้วน พื้นที่ใช้สอยของโครงการ จะอยู่บนพื้นฐานของ ๑) การอนุรักษ์พื้นคงความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่ชุ่มน�้า ๒) สร้างพื้นที่เรียนรู้ที่ใกล้ชิดกับธรรมชาติ ๓) สร้างแรงบันดาลใจและจิตส�านึกรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยกิจกรรมภายในโครงการ จะมีพนื้ ทีอ่ าคารส่วนกลางเป็นหลักและจะกระจายพืน้ ทีเ่ รียนรูไ้ ว้ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ ทีย่ าว ไปทัว่ ทัง้ โครงการ สามารถพบเห็นความหลากหลายของระบบนิเวศ และยังมีพนื้ ทีส่ นั ทนาการเพือ่ การศึกษา โดยจะอยูช่ ายขอบของโครงการ และติดกับทะเล ท�าให้สามารถซึมซับบรรยากาศ ของธรรมชาติได้หลากหลายรูปแบบอย่างเต็มที่

รูปภาพที่ ๔.๒๓ การแบ่งโซนของพื้นที่ภายในโครงการ ที่มา: www.asla.org/2010awards, 2010 55


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย

แนวความคิดในการออกแบบรูปทรงและที่ว่างของสถาปัตยกรรม กลุ่มอาคารหลักของโครงการ มีรูปทรงของอาคารมีความเรียบง่าย เหมาะสม

ข้อดี

กับสภาพภูมอิ ากาศ และถูกควบคุมให้มคี วามกลมกลืนกับธรรมชาติ ด้วยสีและวัสดุทนี่ า� มาใช้งาน ถูกสร้างขึ้นเพื่อตอบสนองการใช้งานมากกว่าการสร้างรูปทรงที่สวยงาม ภาพ

แนวคิดการวางผัง

ลักษณ์มีความเป็นพื้นถิ่นให้บรรยากาศสบาย ๆ

ข้อเสีย

พื้นที่กว้างใหญ่ สามารถวางผังเพื่อศึกษาธรรมชาติ ได้หลากหลายรูปแบบ

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ มีความยาวมากเกินไป

ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมเดิมไม่เป็นการ รบกวนธรรมชาติ

พื้นที่รวมตัวอาจจะมีน้อยเกินไป

การก่อสร้างที่ค�านึงถึงสิ่งแวดล้อม โดนเส้นทางลักษณะนี้จะสามารถเข้าถึงได้ ทั่วทุกพื้นที่ในโครงการ โดยที่ไม่รบกวนหรือท�าลายระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน�้า

กระจายพื้นที่เรียนรู้กว้างมาก ส่งผลให้อาจจะ ดูแลไม่ทั่วถึง

นอกจากจะมีการออกแบบเพื่อความกลมกลืนแล้ว โครงการนี้ยังมีรูปทรงของ สถาปัตยกรรมที่แปลกตาด้วยเช่นกัน นั้นคือจุดพัก เพื่อชมสัตว์ธรรมชาติ ที่ตั้งอยู่ในเส้น ทางเดินศึกษาธรรมชาติ รูปทรงของอาคารที่ดูล้อเลียนมาจากรูปทรงของรังนก โดยคน

แนวคิดเรื่องพื้นที่ใช้สอย

สามารถเข้าไปอยูด่ า้ นในและมองออกมาภายนอกผ่านช่องว่างเล็กๆ อาจเพือ่ เป็นการไม่

เน้นพื้นที่ใช้งานภายนอก ท�าให้สัมผัสกับธรรมชาติ ได้อย่างเต็มที่

ให้สัตว์ป่ารู้สึกตื่นตกใจเมื่อเห็นมนุษย์ หอชมนกที่ตั้งตระหง่านอยู่ใกล้กับพื้นที่ราบลุ่ม ซึ่งเป็นแหล่งอาหารและพัก อาศัยของนกน�้า และนกที่อพยบลงมาจากซีกโลกเหนือ ท�าให้สามารถศึกษาเรียนรู้ทั้ง สัตว์ป่าและพันธุ์ไม้ในระดับเรือนยอด

แนวคิดเรื่องรูปทรง ที่ว่าง และสถาปัตยกรรม

มีทั้งรูปแบบสถาปัตยกรรม ที่กลมกลืน และขัดแย้ง กับธรรมชาติ สร้างความน่าสนใจสดุดตาให้กับ โครงการได้

รูปภาพที่ ๕.๒๔ ภาพบรรยากาศของโคองโครงการ Sungai Buloh 56


Sungai boluh

วิเคราะห์ล�าดับการเรียนรู้เพื่อน�ามาใช้ในการออกแบบวางผังการจัดการโครงการ การเข้าถึง และพื้นที่กิจกรรม

ป่าในกรุง

ล�าดับแนวคิดและรูปแบบของการเรียนรู้

ศูนย์ศึกษาธรรมชาติบางปู

ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓๓.๕ %

๘๕ %

๑๕ %

Knowladge ทางเข้าโครงการ

พื้นที่จัดนิทรรศการ

๒๗.๕ %

Visitor Center พื้นที่จัดนิทรรศการ

เพื่อเตรียมตัวและท�าความเข้าใจโครงการ ก่อนการเข้าไปศึกษา

เส้นทางศึกษาธรรมชาติ

สัมผัสกับธรรมชาติ ผ่านการเดิน มองเห็น ได้ยิน ได้กลิ่น รวมถึงรสชาติ

กิจกรรมเรียนรู้ใกล้ชิดธรรมชาติ

ชมนก ปลูกป่า

๑๙ % ๕๖ %

Activities

สร้างประสบการณ์ร่วมของคนกับป่า เพื่อ สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อม

ลงพื้นที่(พื้นดิน) เพื่อศึกษา

เส้นทางเดินป่า

๔๐ %

พื้นที่ท�ากิจกรรม

๕%

หอชมนก

๒.๕ %

๑๓ %

๑.๕ %

อื่นๆ

กิจกรรมสะท้อนวัฒนธรรม พักผ่อนท่ามกลางธรรมชาติ

อาคารส�านักงาน

เป็นบริบทที่ส�าคัญ ที่จะซึมซับบรรยากาศ ของธรรมชาติ และสร้างภาพจ�าทีด่ ี เพือ่ ให้ เห็นถึงคุณค่าของพื้นที่

หอชมวิว

๒%

* ค�านวนเปอร์เซนต์เฉพาะพื้นที่ใช้สอยเท่านั้น

สัดส่วนพื้นที่ที่มีมากที่สุด คือ พื้นที่การใช้งานประเภท รูปแบบการเรียนรู้ของแต่ละโครงการจะมีล�าดับขั้นตอน เพื่อที่จะสร้างความเข้าใจและเห็นถึงคุณค่าของสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ

๑) พื้นที่จัดนิทรรศการ ซึ่งเป็นหัวใจหลักในการมอบความรู้ และเป็นหน้าตาของโครงการที่ส�าคัญ ควรสร้างความ ประทับใจแรก ที่สร้างแรงบันดาลใจให้แก่ผู้เข้ามาศึกษา เพื่อสร้างความต่อเนื่องในการเรียนรู้ ๒) เส้นทางเดินป่า เน้นการเรียนรู้ท่ามกลางธรรมชาติ โดยรบกวนธรรมชาติให้น้อยที่สุด และสร้างประสบการณ์ เพื่อให้เกิดความทรงจ�าที่ดี สร้างคุณค่าของพื้นที่ขึ้นในจิตใจคน 57


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ลักษณะของโครงการมักจะตั้งอยู่ในพื้นที่ชานเมือง ซึ่งมีพื้นที่สีเขียวเป็นหลัก

สรุปการศึกษากายภาพโครงการ

มีความใกล้เคียงกับชุมชนเนือ่ งจากดัง้ เดิมมักจะเป็นสภาพแวดล้อมทีถ่ กู ใช้ประโยชน์โดย การออกแบบกายภาพโครงการ

ชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียง จึงมีประวัตศิ าสตร์เล็กน้อยทีเ่ กิดขึน้ บนพืน้ ที่ และการตัง้ อยู่

ที่ตั้งโครงการ

ใกล้สถานศึกษาก็เป็นข้อได้เปรียบของโครงการทีจ่ ะสามารถสร้างศักยภาพทางด้านการ เรียนรู้ของโครงการได้ดียิ่งขึ้น

การวางผัง พื้นที่ใช้สอย รูปทรงและที่ว่างของสถาปัตยกรรม แนวคิดเรื่องความยั่งยืน การออกแบบกายภาพโครงการ

ที่ตั้งโครงการ บางปู

การวางผัง

พื้นที่ใช้สอย

ชานเมือง

วางโดยใช้สภาพแวดล้อมพื้นที่เดิมเป็นเกณฑ์ในการออกแบบ

ที่ตั้ง

อาคารกับสิ่งแวดล้อมเชื่อมโยงกัน

โดยรอบโครงการ ใกล้พื้นที่ชุมชน สถานที่ราชการ

มีการแบ่งสัดส่วนพื้นที่แต่ละประเภทของการใช้งานได้อย่างมีระบบ

สถาบันศึกษา

พื้นที่การใช้งานมีความต่อเนื่องกัน

พื้นที่สีเขียว

ให้ความส�าคัญกับสัตว์ป่าและต้นไม้มากพอๆกับการใช้านของมนุษย์

พื้นที่ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม รูปทรงและที่ว่างของ สถาปัตยกรรม

แนวคิดเรื่องความยั่งยืน

58

รูปแบบของอาคารที่กลมกลืนไปกับสภาพแวล้อม สร้างความเป็น หนึ่งเดียวกัน รูปแบบของอาคารที่ไม่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เพื่อสร้างความ น่าสนใจ สะดุดตา วัสดุเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ที่พัก/โรงแรม การเดินทาง

ยานพาหนะส่วนตัว รถโดยสารประจ�าทาง

อาคารประหยัดพลังงาน

จักรยาน

ใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมเดิมให้มากที่สุด

เดิน

ป่าในกรุง

Sungai buloh


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๖ ผลงานออกแบบ ๖.๑ แนวความคิดโครงการ การสร้างสถาปัตยกรรมมีหลากหลายรูปแบบที่หลากหลาย และส�าหรับ โครงการนี้มีจุดมุ่งหมาย ที่มุ่งเน้นในเรื่องของความพอดีของสถาาปัตยกรรม อะไรคือ ความพอดีในการออกแบบสถาปัตยกรรม อะไรคือความพอดี ส�าหรับโครงการทีเ่ กิดขึน้ เพือ่ ชุมชนและการใช้งานอย่างแท้จริง อะไรคือความพอดีระหว่างสถาปัตยกรรมและป่า ค�าถามเหล่านีเ้ ป็นประเด็นทีน่ า่ สนใจเพราะบ่อยครัง้ ทีส่ ถาปัตยกรรมก็เกิดขึน้ เกินความ จ�าเป็นส�าหรับการใช้งานจริง และบ่อยครั้งก็น้อยเกินไป ดังนั้น ความพอดีจึงเป็นเรื่อง ส�าคัญ เพราะ สถาปัตยกรรมจ�าเป็นจะต้องมีความสมดุลระหว่างความสวยงามและการ

ค้นหาความหมายของ “สถาปัตยกรรมมพอดี” เพื่อตนเอง เพื่อศาสตร์แห่งสถาปัตยกรรม

ใช้งาน ความสมดุลระหว่างศาสตร์และศิลป์ ความพอดีของแต่ละคนมีไม่เท่ากัน และในบริบทของโครงการนีไ้ ด้ถกู นิยามไว้ ๓ ข้อด้วยกัน เพื่อเป็นกรอบในการท�างานและการคิดออกแบบได้ชัดเจนมากขึ้น ๑. ใช้ประโยชน์จากบริบทให้คุ้มค่า ลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก คือ การ

ความ “พอดี” ในบริบทของโครงการ

ใช้สอยจากทรัพยากรที่มีอยู่ในโครงการให้มาก และใช้ให้คุ้มค่า ทั้งด้านกายภาพ และ ด้านความรูส้ กึ เช่น การใช้ประโยชน์จากไม้ในโครงการ การใช้ประโยชน์จากบรรยากาศ

ใช้ประโยชน์จากบริบทให้คุ้มค่า ลดการพึ่งพาปัจจัยภายนอก สร้างเท่าที่จ�าเป็น ลดความฟุ่มเฟือย สร้างสถาปัตยกรรมที่ศักยภาพให้คนในท้องที่ เพิ่มความมั่นใจในการพึ่งพาตนเอง

ของป่าชายเลน การสร้างการเรียนรู้จากสสภาพแวดล้อมดั้งเดิมของป่า รวมไปถึงการ เลือกใช้วัสดุที่สามารถหาซื้อได้ตามท้องตลาดทั่วไปบนเกาะสมุย ๒. สร้างเท่าทีจ่ า� เป็น ลดความฟุม่ เฟือย คือ การสร้างโดยยึดพืน้ ฐานเรือ่ งการ ใช้งานเป็นหลัก ท�าให้การก่อสร้างไม่มีส่วนที่สิ้นเปลือง เพื่อการประหยัดทรัพยากรและ ความคุ้มค่าสูงสุด ๓. สร้างสถาปัตยกรรมที่ศักยภาพให้คนในท้องที่ เพิ่มความมั่นใจในการ พึง่ พาตนเอง คือ การออกแบบสถาปัตยกรรมโดยค�านึงถึง ความเป็นจริง และเป้าหมาย โครงการเรือ่ งวิถชี วี ติ ของคนในชุมชน โครงการนีจ้ ะไม่เป็นเพียงแค่การดึงดูดนักท่องเทีย่ ว แล้วสร้างรายได้ แต่ผคู้ นจะได้เรียนรูก้ ารใช้ชวี ติ โดยพึง่ พาธรรมชาติแวดล้อม เพือ่ ลดการ พึ่งพาปัจจัยภายนอกเช่น ท�าให้คนให้ความส�าคัญกับเงินน้อยลง และมีเวลาให้ความ ส�าคัญกับชีวิตมากขึ้น

59


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๐๑ ผังแม่บทของโครงการ 60


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๒ แนวความคิดในการออกแบบ ๖.๒.๑ แนวคิดการปรับปรุงและฟื้นฟูสภาพป่า จัดการปรับปรุงพื้นที่เพื่อสร้างประสิทธิภาพให้โครงการมีประสิทธิภาพในแง่ ของระบบนิเวศป่าชายเลนมากขึ้น จากเดิมที่มีการตัดถนนผ่าน ท�าให้ล�าคลองมีขนาดที่ เล็กและ ท�าให้ระบบนิเวศเปลี่ยนไป ดังนั้นจึงจ�าเป็นจะต้องพัฒนาโครงการในแแง่ของ ระบบนิเวศป่าชายเลนให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และสร้างความเป็นเอกภาพให้ป่าชาย เลน

๑) เชื่อมต่อพื้นที่สีเขียว สร้างความเป็นหนึ่งเดียวกันให้กับโครงการ ปิดเส้นทางถนนทีต่ ดั ผ่านป่าแล้วสร้างพืน้ ทีใ่ ห้ปา่ ได้เชือ่ มต่อการ ท�าให้เกิดความ ต่อเนือ่ งในแง่ระบบนิเวศ และแง่ของการเรียนรู้ เหลือไว้เพียงถนนการส�าหรับการใช้งาน ส่วนหนึ่งเท่านั้น และปรับย้ายถนนไปทางด้านขอบนอกของโครงการแทน

๒) ขยายล�าคลองให้มีขนาดกว้างขึ้น สร้างระบบนิเวศที่สมบูรณ์มากขึ้น ขยายล�าคลองให้กว้างขึ้น เพื่อให้​้น�้าทะเลไหลเข้าออกได้สร้าง และเห็นพลัง ของธรรมชาติมากขึ้น รวมถึงยังท�าให้การใช้งานสัญจรทางน�้าสะดวกขึ้นด้วย

รูปภาพที่ ๖.๐๒ ภาพแสดงแนวคิดการปรับเปลี่ยนสภาพพืน้ ที่โครงการ 61


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๒.๒ แนวคิดการออกแบบเส้นทางศึกษาธรรมชาติ เส้นทางศึกษาธรรมชาติเป็นหนึ่งในหัวใจหลักของพื้นที่โครงการ เพราะเป็น เครื่องมือที่จะน�าพาผู้มาเยือนไปยังจุดต่างๆของโครงการ เพื่อการเรียนรู้ และพักผ่อน ท่ามกลางบรรยากาศธรรมชาติ ในการออกแบบเส้นทางศึกษาธรรมชาติจงึ ต้องค�านึงถึง การใช้งาน มุมมอง และการเรียนรูจ้ ากธรรมชาติเป็นส�าคัญดังนัน้ จึงจะต้องทราบว่าบริบท โดยรอบโครงการมีลักษณะอย่างไรบ้าง เมื่อวิเคราะห์แล้วจะพบว่าโดยรอบโครงการนั้น มีการตั้งอยู่ของอาคารและ รีสอร์ทจ�านวนมาก ดังนั้นในการจัดวางผังเส้นทาง จึงตั้งใจที่จะเบี่ยงเส้นทางเดินไม่ให้ มุ่งหน้าไปยังกลุ่มอาคารโดยรอบ เพื่อเป็นการเบี่ยงทิศทางการมองเห็น และลดความ ส�าคัญของอาคารเหล่านัน้ ลง ให้คนมาใส่ใจกับธรรมชาติของป่าชายเลนมากกว่า และสิง่ ส�าคัญคือการจัดวางเส้นทางการเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึงโครงการ ท�าให้ผู้เดิน ได้เห็นภาพ รวมของโครงการครบถ้วน รู้จักพรุป่าโหลงมากขึ้น และเห็นความสัมพันธ์ของป่ากับสิ่ง ต่างๆชัดเจนยิ่งขึ้น

รูปภาพที่ ๖.๐๓ ผังแสดงแนวคิดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 62


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

เส้นทางภาพรวมระยะยาว ระยะทาง ๑,๙๘๐ เมตร

เส้นทางป่าอาหาร ระยะทาง ๓๓๐ เมตร

เส้นทางป่าใช้สอยระยะทาง ๒๒๐ เมตร

เส้นทางภาพรวมระยะสั้น ระยะทาง ๑,๑๐๐ เมตร

เส้นทางป่าสร้าง ระยะทาง ๒๔๐เมตร

เส้นทางป่าพลังงาน ระยะทาง ๑๓๐ เมตร รูปภาพที่ ๖.๐๔ ภาพแสดงระยะทางของเส้นทางเดินป่ าแต่ละประเภท

63


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๒.๓ แนวคิดการจัดการต�าแหน่งที่ตั้งของอาคาร ๑ ) กลุ่มอาคารต้อนรับ

ถนนการเเข้าถึง

เป็นกลุม่ อาคารทีจ่ ะต้อนรับผูม้ าเยือนจากภายนอก ดังนัน้ อาคารนีจ้ งึ ต้องค�านึง ถึง บรรยากาศในการเข้าถึง และท�าเลทีต่ งั้ ทีเ่ หมาะสม การเลือกทีต่ งั้ ทีค่ วรจะเป็นจุดเริม่ ต้นในการเดินทางศึกษาธรรมชาติ และ ความเหมาะสมของสภาพทางกายภาพของพืน้ ที่

รูปภาพที่ ๖.๐๕ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารต้อนรับ

ปัจจัยการเลือกที่ตั้ง เส้นทางการเข้าถึงมีบรรยากาศร่มรื่น ทีต่ งั้ อยูใ่ นระดับพืน้ ดินเลนแข็ง ท�าให้รบกวนระบบนิเวศป่าชายเลนน้อยกว่าพืน้ ทีด่ า้ นใน สามารถใช้ที่จอดรถร่วมกับรีสอร์ทได้

64


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒ ) กลุ่มอาคารต่อเรือ

ล�าคลอง

อาคารต่อเรือจ�าเป็นจ�าต้องอยู่ใกล้น�้าเพื่อความสะดวกในการใช้งาน อาคารนี้ จะต้องเอื้ออ�านวยต่อการใช้งานจริงเพื่อความสะดวก เช่นการมีถนนเข้าถึงพื้นที่ได้เพื่อ

ถนนเซอร์วิส

ใช้ในการขนส่งของอุปกรณ์เครื่องมือ และไม้ รวมถึงการตั้งอยู่ของอาคารยังต้องแสดง ให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตคนกับป่าได้ด้วย

รูปภาพที่ ๖.๐๖ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารต่อเรือ

ปัจจัยการเลือกที่ตั้ง อยู่ติดล�าคลองท�าให้การสัญจรทางน�้าสะดวก อยู่ใกล้กับถนนภายในโครงการสะดวกต่อการใช้งาน

65


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓ ) กลุ่มอาคารร้านอาหาร

รีสอร์ทที่พักของนักท่องเที่ยว

ร้านอาหารในป่าชายเลนจะต้องตั้งอยู่ในพื้นที่พิเศษและมีทัศนียภาพที่พิเศษ

ชายหาดสาธารณะ

จึงได้เลือกตั้งไว้ใกล้กับทะเลซึ่งเป็นบริเวณปากล�าคลอง นอกจากจะได้บรรยากาศของ

อ่าวพังกาเป็นท่าจอดเรือประมงเก่าแก่

ทะเลแล้วเรือจากภายนอกยังสามารถเข้ามาถึงพื้นที่ได้ง่าย พื้นที่แห่งนี้สามารถซึมซับ บรรยากาศและเสน่ห์ของทั้งป่าชายเลนและทะเล นอกจากนี้ และใกล้กับพื้นที่จอดเรือ ประมง อาจจะท�าให้ช่วยส่งเสริมการซื้อขายของ ระหว่างชาวประมงโดยตรงกับนักท่อง เทีย่ วได้ นอกจากจะได้บรรยากาศของธรรมชาติแล้ว ยังได้บรรยากาศของวิถชี วี ติ ชุมชน ชาวเลอย่างแท้จริง

รูปภาพที่ ๖.๐๗ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารร้านอาหาร

ปัจจัยการเลือกที่ตั้ง ใกล้แหล่งชุมชนประมง สามารถซื้อขายของสดจากชาวประมงได้โดยตรง เป็นจุดเชื่อมต่อป่าชายเลนกับชายหาด รับวิวของทะเลได้บรรยากาศสบาย นักท่องเที่ยวสามารถนั่งเรือจากภายนอกเข้ามาร้านอาหารได้ การนั่งเรือจากล�าคลองในป่าชายเลนไปยังร้านอาหาร ช่วยสร้างบรรยากาศร่มรื่น 66


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๔ ) กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน อาคารกลุ่มนี้จะเป็นจุดที่ชาวบ้านสามารถเข้าถึงได้ เป็นพื้นที่ที่ท�าให้โครงการ

ทางเข้าถึง

นี้เป็นเสมือนหลังบ้านของชุมชน รองรับการท�ากิจกรรมต่างๆที่ใช้ประโยชน์จากป่าชาย เลน เช่นการท�าเครือ่ งใช้ครัวเรือนทัว่ ไป การน�าไม้มาแปรรูปเพือ่ ใช้ในการก่อสร้าง ดังนัน้ั พื้นที่นี้จึงเป็นจุดพบปะกันระหว่างชาวบ้านและนักท่องเที่ยว สามารถท�ากิจกรรมร่วม กัน ซื้อขายแลกเปลี่ยนกันได้ ท่ามกลางบรรยากาศแบบชุมชน

รูปภาพที่ ๖.๐๘ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งกลุ่มอาคารกิจกรรมชุมชน

ปัจจัยการเลือกที่ตั้ง คนในชุมชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย มีถนนเดิมอยู่แล้ว สามารถใช้ถนนนี้เป็นเส้นทางส�าหรับขนของใช้ อุปกรณ์และส�าหรับ การใช้ประโยชน์จากป่าของชุมชนได้

67


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๕ ) หอสังเกตการณ์

หอสังเกตการณ์

หอสังเกตการณ์เป็นอีกหนึ่งอาคารที่ส�าคัญ เป็นจุดที่จะเห็นภาพรวมของ โครงการ เห็นการเชื่อมต่อของป่ากับบริบทแวดล้อม เห็นการเชื่อมต่อของล�าคลองออก ไปยังทะเล เห็นทะเลทั้งสองฝั่ง เป็นภาพที่สามารถสร้างภาพจ�าที่น่าประทับใจกับผู้มา เยือนโครงการได้เป็นอย่างดี

รูปภาพที่ ๖.๐๙ ภาพแสดงต�าแหน่งที่ตั้งอาคารหอคอยสังเกตการณ์

ปัจจัยการเลือกที่ตั้ง ตั้งอยู่ในต�าแหน่งที่สามารถมองเห็นได้รอบโครงการเพื่อการมองเห็นทัศนียภาพของป่า ชายเลนได้ทั่วถึง มีภาพมุมมองที่น่าประทับใจ

68


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๒.๔แนวคิดการออกแบบสถาปัตยกรรม แนวคิดด้านรูปแบบของสถาปัตยกรรม น�าเอารูปแบบของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นมาใช่ในการออกแบบเป็นหลัก โดย ถอดรหัสจากรูปทรงของสถาปัตยกรรมในส่วนของ พืน้ ผนัง และหลังคา เพือ่ ให้โครงการ มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ดังนั้น สถาปัตยกรรมจึงไม่ได้เป็นเพียงเพื่อการสร้างพื้นที่ใช้สอยและความสวยงามอย่างเดียว แต่ยังสะท้อนถึงภูมิปัญญาที่เชื่อมโยงกับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น

พื้นยกสูง พื้นบ้านยกสูงขึ้นจากพื้นดิน ทั้งเพื่อการใช้งานใต้ถุนบ้านและเพื่อให้อากาศ สามารถลอดผ่านได้ โดยเสาไม้จะถูกตัง้ อยูบ่ นฐานคอนกรีตยกสูงเพือ่ ไม้ให้ความชืน้ รวม ถึงแมลงท�าให้ไม้ผุพังไป ผนังไม้กระดานตีเกล็ด ผนังบ้านมีการก่อสร้างและการจัดการที่เรียบง่าย โดยการน�าเอาไม้กระดาน มาตีเกล็ดซ้อนกันตามแนวนอนตลอดความยาวของตัวบ้าน หลังทรงคาจั่ว และ ปั้นหยา สอดคล้องกับสภาพภูมิอากาศ หลังคาทรงจัว่ และปัน้ หยาเป็นรูปทรงหลังคามีความสอดคล้องกับสภาพอากาศ เขตร้อนชืน้ โดยเฉพาะในทางภาคใต้ของประเทศไทย เพราะเป็นพืน้ ทีท่ มี่ ฝี นตกบ่อยครัง้ หลังคาทีม่ คี วามลาดเอียงจะรับน�า้ ฝนท�าให้นา�้ ไหลออกจากหลังคาได้เร็วและช่วงผลักน�า้

ผนังไม้ตีเกล็ดตามแนวนอน

หลังคาทรงจั่ว

ออกจากตัวเรือน รวมถึงรูปทรงจั่วที่ช่วยท�าให้มวลอากาศระบายออกจากใต้หลังคาได้ สะดวกช่วยลดความร้อนของอาคาร รูปทรงที่เรียบง่าย การจัดการ ง่ายต่อการก่อสร้างและใช้งาน อาคารมีรูปทรงที่เรียบง่ายต่อการก่อสร้างและซ่อมแซม สะดวกต่อการใช้งาน และเป็นรูปทรงที่คุ้นเคยในวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่น

รูปทรงอาคารที่ดูเรียบง่าย

พื้นยกสูง รูปภาพที่ ๖.๑๐ ภาพแสดงแนวคิดของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 69


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

แนวคิดในการเลือกวัสดุมาใช่ในการประกอบอาคาร แนวความคิดของโครงการ ภายใต้กรอบของค�าว่า “พอดี” มีสิ่งที่ต้องค�านึง มากมาย เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงจุดมุ่งหมาย วัสดุก็เป็นอีกสิ่งส�าคัญที่จะต้องค�านึง เพื่อ เป็นสิ่งที่แสดงภาพลักษณ์และถ่ายทอดความคิดของโครงการออกไป ดังนั้นการเลือก วัสดุจึงจะต้องพิถีพิถัน วัสดุที่เลือกมาใช้จะต้องเป็นวัสุที่หาได้ง่าย ตามท้องตลาดบนเกาะสมุย ชาว บ้านสามารถทีจ่ ะหาวัสดุมาเพือ่ ท�าการต่อเติมหรือการซ่อมแซมได้อย่างง่าย การประกอบ กันของอาคารจะมีรปู แบบทีเ่ รียบง่าย ไม่ซบั ซ้อน และโดยเฉพาะการทีท่ า� เลของโครงการ

แผ่นผนังซีเมนต์บอร์ด

หลังคาไฟเบอร์ซีเมนต์

รากฐานคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อยกสูง

ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลนซึ่งมีความชื้นสูงมาก ดังนั้นคุณสมบัติของวัสดุจะต้องมีความ พอดี ราคาไม่แพงจนเกินไป คุณภาพของวัสดุที่เลือกใช้จะต้องมีความแข็งแรงทนทาน ต่อการใช้งานและความชื้น คุ้มค่าต่อการลงทุน เสา ด้วยลักษณะของพืน้ ทีท่ เี่ ป็นป่าชายเลน ซึง่ มีความชืน้ สูง จึงดึงเอาลักษณะของ เสาแบบเรือนพื้นถิ่นมาใช้เป็นหลัก คือการที่มีบานเสาเป็นคอนกรีตและตัวเสาเป็นไม้ โดยในโครงการนี้ไม้ที่น�ามาใช้จะเป็นไม้จากป่าชายเลนทั้งสิ้น ซึ่งไม้ที่เหมาะจะน�ามาท�า เสาคือไม้โกงกาง ไม้ตะบูน ไม้พังกาหัวสุม เป็นต้น พื้น เลือกวัสดุที่มีความคงทนเพื่อการใช้งานและการจัดการดูและที่สะดวกต่อผู้ใช้ งานและผู้ดูแล รวมถึงเป็นวัสดุที่ชาวบ้านผู้จัดการโครงการสามารถหาซื้อได้ง่ายและ ท�างานง่ายตามท้องตลาด ผนัง น�าเอาลักษณะของผนังเรือนพื้นถิ่นมาใช้ คือการตีผนังเป็นเกร็ดซ้อนกันตาม แนวนอน แต่เลือกวัสดุที่มีความคงทนและดูแลจัดการง่าย เป็นวัสดุที่หาซื้อได้ทั่วไป หลังคา หลังคาเลือกเป็นวัสดุที่เรียบง่ายชาวบ้านสามารถใช้งานซ่อมแซมได้ง่าย เป็น วัสดุที่คุ้นเคยกับคนในท้องถิ่น คือหลังคาไฟเบอร์ซีเมนต์

เสาไม้จากป่าชายเลน

แผ่นพื้นซีเมนต์บอร์ด รูปภาพที่ ๖.๑๑ ภาพแสดงแนวคิดการเลือกใช้วัสดุประกอบอาคาร

70


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๑) กลุ่มอาคารต้อนรับ

พื้นที่สีเขียวคือพื้นที่ของต้นไม้ที่สอดแทรกอยู่ในกลุ่มอาคาร เพื่อเติมเต็ม ระยะห่างระหว่างอาคารและสร้างบรรยากาศของอาคารที่ถูกโอบล้อมอยู่ กลางบรรยากาศของป่าชายเลน

กลุ่มอาคารต้อนรับ เป็นเสมือนประตูที่จะน�าผู้มาเยือนเข้าสู่พื้นที่ จึงตั้งใจจะ ให้การเข้าถึงมีการบีบแคบและเล็ก ก่อนทีจ่ ะเปิดออกสูล่ านกว้างยกสูง ทีเ่ ห็นทัศนียภาพ ของป่าแบบมุมกว้าง แล้วการออกแบบผังอาคารยังมีการเว้นช่องว่างระหว่างอาคารไว้ เพื่อให้ธรรมชาติได้เข้ามาสอดแทรกระหว่างอาคารต่าง ๆ สร้างบรรยากาศร่มรื่น

ภาพแสดงการเข้าถึงหลักของกลุ่มอาคารต้อนรับ โดยจะต้องผ่านพื้นที่บีบ แคบจากอาคารทัง้ สองข้างก่อนจะพบกับพืน้ ทีเ่ ปิดโล่งทีเ่ ห็นภาพป่าชายเลน ในมุมกว้าง เป็นการสร้างความประทับใจในการเช้าสู่พื้นที่โดยให้ธรรมชาติ เป็นจุดมุ่งหมายหลัก

จัดวางผังอาคารโดยการสร้างพืน้ ทีว่ า่ งระหว่างอาคาร โดยการบิดแนวอาคารให้แยกออกจากกัน เพือ่ ลดความ แข็งทือ่ และความเป็นระเบียบลง สร้างความผ่อนคลายของพืน้ ทีข่ นึ้ เพือ่ ความสอดคล้องกับบรรยากาศโดยรอบ ภาพแสดงระดับความสูงของพื้นที่ที่แตกต่างกัน โดยพื้นที่ลานกลางจะเป็น พืน้ ทีท่ ย่ี กสูงทีส่ ดุ เพือ่ แสดงความส�าคัญของพืน้ ที่ และเส้นทางการเข้าถึงจะ เป็นการใต้ระดับไปยั่งพื้นที่ลานกลางกลุ่มอาคารแห่งนี้

ลักษณะของอาคารจงใจที่จะให้มีภาพลักษณ์เป็นเหมือนก�าแพง เพื่อบดบัง ป่าชายเลนที่อยู่ทางด้านหน้าโดยมีการเปิดช่องทางเข้าขนาดเล็ก เป็นการ สร้างความน่าสนใจและสร้างความส�าคัญของป่าชายเลนโดยจัดการให้เป็น พื้นที่ป่าที่เสมือนขุมทรัพย์ถูกซ่อนไว้หลังแนวก�าแพงนี้

รูปภาพที่ ๖.๑๒ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารต้อนรับ 71


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๒) กลุ่มอาคารต่อเรือ อาคารต่อเรือมีความพิเศษที่สามารถเปลี่ยนแปลงพื้นต�าแหน่งบริเวณจอดเรือ ได้ ส�าหรับการวางแผ่นไม้เพือ่ การต่อหรือ หรือถอดแผ่นไม้ออกเพือ่ น�าเรือเข้าออกได้ ตัว อาคารแบ่งเป็นสองส่วน คือ ส่วนท�างานและส่วนจัดแสดงความรูเ้ กีย่ วกับการต่อเรือ ซึง่ ทัง้ สองส่วนมีการจัดผังให้เชือ่ มต่อกัน เพือ่ การเรียนรูอ้ ย่างราบรืน่ และเข้าใจง่าย ตัวอาคาร ยังมีการสร้างขอบเขตจากการเว้นที่ว่างให้เกิดพื้นที่สีเขียวขึ้น เพื่อเป็นการบดบัง ทัศนียภาพระหว่างถนนกับพื้นที่ท�างาน เพื่อความเป็นส่วนตัวในการท�างาน

เส้นทางการเข้า-ออก ของเรือที่จะซ่อมแซม หรือเรือที่จะสร้างใหม่

พื้นที่สีเขียวคือแนวต้นไม้ที่จะช่วยเป็นแนวก�าบังการมองเห็นอาคารจากถนนภายในโครงการ

เมื่อยกเรือขึ้นจึงน�าแผ่นไม้มารองด้านใต้เพื่อวางเรือ และสะดวกต่อการท�างาน

เส้นทางการเข้าถึงจากเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

สร้างความใกล้ชดิ ของอาาคารกับธรรมชาติโดยการขยับต�าแหน่งอาคารเข้าไปในพืน้ ทีล่ า� คลอง เพือ่ การใช้งาน และท�าให้เห็นระดับความเปลี่ยนแปลงของระดับน�้าทะเลมากขึ้นซึ่งสะท้อนถึงเรื่อการเรียนรู้

การจัดการผังของโครงการ

เนื่องจากเป็นอาคารขนาดใหญ่และมีกิจกรรมบส�าหรับคนจ�านวนมาก จึงต้องออกแบบเพื่อความสะดวกต่อการใช้งาน อากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวก และสถาปัตยกรรมเอื้ออ�านวยต่อการท�างาน โดยมีการซ้อนชั้นหลังคาเพิ่ม ขึ้นเพื่อท�าให้เกิดช่องที่อากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวกขึ้น และมีการใช้หลังคาโปร่งแสงเพื่อให้แสงส่องลงมายังพื้นที่ที่ท�างานเนื่องจากป่าชายเลนเป็นป่าที่มีความทึบแสงจากพุ่มไม้ที่มีความหนาแน่นมากพอสมควร การสร้าง อาคารในป่าชายเลนจึงควรค�านึงถึงแสงและความโปร่งโล่งของอาคารเป็นหลัก รูปภาพที่ ๖.๑๓ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารต่อเรือ 72


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๓) กลุ่มอาคารร้านอาหาร ร้านอาหารเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่ส�าคัญ เพราะสามารถรองรับผู้มาเยือนได้สอง กลุ่ม คือ กลุ่มที่มาท่องเที่ยวป่าชายเลนจะมาท�ากิจกรรมท�าอาหารกันในตอนกลางวัน และกลุ่มที่มารับประทานอาหารที​ี่จะเปิดเป็นร้านอาหารในตอนเย็น โดยสามารถเข้าถึง ได้โดยทางเรือเป็นหลักมีการแบ่งแยกเส้นทางส�าหรับนักท่องเที่ยวและคนท�าครัวหรือ เจ้าหน้าทีอ่ ย่างชัดเจน อาคารวางตัวเลียบกับล�าคลองและมีการจัดการพืน้ ทีว่ า่ งด้านข้าง ของเส้นทางการเข้าถึงอาคาร โดยให้พมุ่ ไม้และต้นไม้ทมี่ อี ยูช่ ว่ ยซ่อนอาคารห้องน�า้ ไม่ให้ เด่นชัดเกินไป ส่วนพืน้ ทีน่ งั่ ทานอาหารตัง้ อยูใ่ นระดับชานยกสูงทีส่ ดุ เพือ่ ได้รบั มุมมองที่ ดีและมีความโปร่งโล่งสบาย จุดนี้จะท�าให้ผู้มาเยือนได้สัมผัสกับเสน่ห์ทั้งสามของพื้นที่ คือ ทะเล ล�าคลอง และป่าชายเลน การเข้าถึงหลักของกลุ่มผู้มาเยือน สามารถเดินทางมาได้จากทางน�้า และเส้นทางศึกษาธรรมชาติ โดยมีพื้นที่ สีเขียวเป็นแนวต้นไม้ที่ช่วยสร้างบรรยากาศธรรมชาติ รวมถึงช่วยซ่อนของห้องน�้าและห้องครัว

เส้นทางที่จะน�าสินค้าหรือเครื่องใช้ต่างๆ จากท่าเทียบเรือตรงขึ้นไปยังห้องครัว

ทะเล

ล�าคลอง

สามารถน�าเรือมาจอดเทียบท่าเพื่อรับส่งนักท่องเที่ยว และน�าสินค้าอาหารสดมาแลกเปลี่ยนซื้อขายได้

ป่าชายเลน

พื้นที่ชานรับประทานอาหารใหญ่สามารถสัมผัสบรรยากาศได้ รอบทิศทางทั้ง ทะเล, ล�าคลอง และ หมู่ไม้ป่าชายเลน รูปทรงหลังคาของอาคารที่มีแตกต่างไปจากรูปทรงพื้นถิ่น อาคารนี้เป็นมากกว่า พืน้ ทีท่ า� กิจกรรมคือการเป็นร้านอาหาร ดังนัน้ เพือ่ สร้างความน่าสนใจให้กบั รุปทรง อาคาร จึงมีการยกหลังคาทางด้านทะเลให้สงู ขึน้ เพือ่ แสดงถึงการให้ความส�าคัญกับ พื้นที่ทะเลและเปิดมุมมองที่โล่งกว้างของอ่าวพังกา รวมไปถึงเปิดรับกับพื้นที่ชาน รับประทานอาหารของอาคารด้วยเช่นกัน รูปภาพที่ ๖.๑๔ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารร้านอาหาร 73


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๔) กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน เป็นพื้นที่ส�าหรับการท�าเวิร์คชอป (workshop) ของผู้คนในชุมชนร่วมกับนัก ท่องเที่ยว พื้นที่นี้ส�าหรับคนในชุมชนแล้วจะเปรียบเสมือนสวนหลังบ้าน ที่สามารถมา นั่งพักผ่อนนั่งเล่นได้ โดยจะมีพื้นที่สวนป่า ตั้งอยู่ตรงกลางและถูกโอบล้มด้วยอาคาร กิจกรรมสองข้าง การเข้าถึงจากชุมชนจะเข้ามาพบกับลานกว้าง การเข้าสูต่ วั พืน้ ทีอ่ าคาร เป็นลานกิจกรรมที่จะสามารถท�ากิจกรรรมชุมชนได้ แต่นักท่องเที่ยวจะเข้าถึงจากเส้น ทางศึกษาธรรมชาติ มาพบกับสวนป่าก่อนที่จะเปิดเผยให้เห็นถึงกิจกรรมต่างๆที่อยู่ใน อาคาร อีกทั้งการวางพื้นที่ยังตั้งใกล้กับถนนส่วนบริการของโครงการ ท�าให้สามารถขน

พื้นที่ป่าและลานเอนกประสงค์ที่เกิดจากการถูกโอบล้อมของทางเดินและอาคาร

เส้นทางการเข้าถึงของผู้คนในชุมชน

การเข้าถึ​ึงจากถนนภายในโครงการเพื่อสะดวกต่อการขนย้ายสิ่งของ

การเข้าถึงของกลุ่มผู้มาเยือนโครงการ

มีการแบ่งพื้นที่โดยใช้ระดับความสูงและใช้ประโยชน์จากความเป็นธรรมชาติดั้งเดิมของพื้นที่ โดยสามารถ แบ่งได้เป็นพื้นที่สวนป่าทางด้านล่างพื้นดินและพื้นที่การท�างานและลานกิจกรรมบนชานที่ถูกยกสูงขึ้น

มีการแบ่งพื้นที่โดยการสร้างชั้นสองของอาคารขึ้น เพื่อสร้างความเป็นส่วนตัวมากขึ้นเนื่องจากด้านล่างพื้น จะมีลักษณะและระดับความสูงที่ใกล้เคียงกันท�าให้มีความเป็นสาธารณะทั้งหมด อีกทั้งพื้นที่ชั้นสองยัง สามารถมองลงมาเห็นภาพรวมของพื้นที่ด้านล่างได้ทั้งหมด จึงเหมาะส�าหรับเป็นพื้นที่พักผ่อนของคนใน ชุมชนและนักท่องเที่ยวผู้มาเยือนโครงการ

เก็บอุปกรณ์ และไม้ได้สะดวก

กลุ่มอาคารและพื้นที่ทางเดิน มีการวางตัวเพื่อสร้างการโอบล้อมพื้นที่ ท�าให้เกิดพื้นที่ส�าหรับขึ้นมาระหว่าง อาคาร โดยไม่จะเป็นจะต้องสร้างอาคารขึ้นมา

รูปภาพที่ ๖.๑๕ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบกลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน 74


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๕) หอสังเกตการณ์ การขึ้นไปยังบนยอดหอจะมีเรื่องราวและบังคับทิศทางการมองเห็นที่แตกต่าง กัน ก่อนที่จะขึ้นไปยังจุดบนสุดที่สามารถเห็นมุมมองที่พิเศษที่สุด และด้านล่างมีท่าเรือ ส�าหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการนั่งเรือออกไปนอกทะเล หรือร้านอาหารได้

ท่าเทียบเรือ

เปิดมุมมองทัศนียภาพสองฝั่ง

ทัศนียภาพฝั่งคลอง

มีกิจกรรมให้โหนสลิงลงมายังด้านล่างได้

มีพื้นที่นั่งพัก

เมื่อมาถึงชั้นบนสุดจะเป็นมุมมอง ๓๖๐ องศาสามารถมอง เห็นได้ทั่วทิศทาง

รูปภาพที่ ๖.๑๖ ภาพแสดงแนวคิดการออกแบบอาคารหอสังเกตการณ์ 75


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓ ผลงานการออกแบบ ผังแม่บทของโครงการ การจัดวางอาคารมีการกระจายไปในพื้นที่ต่างๆของโครงการ โดยเชื่อมต่ออาคารต่างๆ ผ่านเส้นศึกษาธรรมชาติ ที่ผู้มาเยือนสามารถได้รับประสบการณ์ความหลากหลายของ ป่าชายเลนได้อย่างทัว่ ถึงทัง้ พืน้ ทีป่ า่ สามารถเรียนรูแ้ ละเห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างป่า ชายเลนและวิถชี วี ติ ของผูค้ นผ่านกิจกรรมทีเ่ กิดขึน้ ในแต่ละกลุม่ อาคาร ซึง่ สอดคล้องกับ เส้นทางศึกษาธรรมชาติที่เดินผ่านก่อนจะเข้าถึงอาคาร ดังนั้นพื้นที่ที่เป็นหัวใจหลักของ โครงการ คือพื้นที่ป่าทั้งหมด และสถาปัตยกรรมจะเป็นเครื่องมือที่ท�าให้ผู้คนสามารถ เข้าใจและใกล้ชิดกับป่าชายเลนมากขึ้น

รูปภาพที่ ๖.๑๗ ภาพแสดงผังแม่บทอาคาร 76

10

30

50

100

200


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๑ กลุ่มอาคารต้อนรับ กลุ่มอาคารต้อนรับพื้นที่แรกที่จะต้อนรับนักท่องเที่ยว ดังนั้นจึงต้องสร้าง บรรยากาศและอารมณ์ในการเข้าถึงทีน่ า่ ประทับใจและน่าจดจ�า รูปทรงของอาคารมีการ ออกแบบให้สอดคล้องกับความเป็นอาคารพืน้ ถิน่ ทีม่ รี ปู ทรงเรียบง่ายและตอบสนองการ ใช้งาน เหมาะสมกับสภาพอากาศ กลุม่ อาคารต้อนรับประกอบด้วยพืน้ ทีส่ า� คัญคือ พืน้ ทีจ่ ดั แสดงนิทรรศการและ ความรู้ เพือ่ ให้นกั ท่องเทีย่ วสามารถท�าความเข้าใจป่าชายเลนได้ในเบือ้ งต้นก่อนทีจ่ ะเดิน ทางเข้าไปชมเส้นทางศึกษาธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีส่วนของร้านขายของฝากซึ่งเป็น สินค้าทีถ่ กู แปรรูปมาจากทรัพยากรในป่าชายเลน ให้นกั ท่องเทีย่ วใช้เลือกซือ้ และชม และ กลุ่มอาคารนี้ยังเป็นที่ตั้งของส�านักงานหลักของเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลโครงการศูนย์ศึกษาป่า ชายเลนแห่งนี้ เพื่อเป็นการต้อนรับนักท่องเที่ยวและะสะดวกต่อการให้ข้อมูลความรู้

รูปภาพที่ ๖.๑๘ แสดงแบบแปลนอาคารต้อนรับ

ลานไม้กลางพื้นที่

พื้นที่นิทรรศการ

ร้านค้าของฝาก

ส�านักงาน

ที่พักเจ้าหน้าที่

ห้องน�้า 77


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

1 2 3 4 5

10

20

รูปด้าน ๑

1 2 3 4 5

10

20

รูปด้าน ๒

1 2 3 4 5

10

-

20

รูปตัด ก รูปภาพที่ ๖.๑๙ แสดงแบบรูปด้านและรูปตัดกลุ่มอาคารต้อนรับ

78


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๒๐ ภาพมุมมองทางเข้าอาคารต้อนรับ

79


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๒๑ ภาพลานกลางพื้นที่ของกลุ่มอาคารต้อนรับ

80


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๒๒ ภาพมองย้อนกลับไปยังลานกลุ่มอาคารต้อนรับ

81


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๒ จุดพักในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

รูปภาพที่ ๖.๒๓ ภาพจุดพักในเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

82


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๓ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ เส้ น ทางศึ ก ษาธรรมชาติ มี ร ะดั บ ความสู ง ของทางเดิ น ที่ ห ลากหลาย เพื่ อ สนับสนุนการเรียนรูไ้ ด้อย่างทัว่ ถึงทัง้ ในระดับกลางล�าต้น ระดับพ่มุ ไม้ ไปจนถึงระดับพืน้ ดิน ยิ่งเส้นทางศึกษาธรรมชาติยิ่งระดับต�่าก็จะยิ่งใกล้กับระดับน�้ามาก เมื่อน�้าขึ้นจะยิ่ง ท� า ให้ ส ามารถใกล้ ชิ ด กั บ ระดั บ น�้ า มากขึ้ น สะท้ อ นให้ เ ห็ น ถึ ง ระบบนิ เวศและการ เปลี่ยนแปลง อันเป็นเอกลักษณ์ของป่าชายเลนอย่างแท้จริง

รูปภาพที่ ๖.๒๔ ภาพเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 83


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๔ หอชมป่า

รูปภาพที่ ๖.๒๕ ภาพมุมมองจากบนหอสังเกตการณ์

84


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๕ กลุ่มอาคารต่อเรือ กลุม่ อาคารต่อเรือเป็นทัง้ พืน้ ทีใ่ ช้งานและพืน้ ทีก่ ารเรียนรู้ เป็นพืน้ ทีท่ ถี่ กู ใช้งาน

โรงต่อเรือ

จริงในการต่อเรือและซ่อมเรือ โดยใช้ทรัพยากรจากไม้ในป่าชายเลนเป็นหลักสามารถ สร้างอาชีพเพิม่ ให้กบั คนในท้องถิน่ ได้ และยังเป็นพืน้ ทีส่ ร้างปฏิสมั พันธ์การเรียนรูไ้ ด้อย่าง ใกล้ชิดของผู้เยือนกับผู้ท�างานจริงคือกลุ่มชาวบ้าน นอกจากนี้ยังมีพื้นที่จัดแสดง โครงสร้างของเรือ เพื่อให้ความรู้กับนักท่องเที่ยวและสะท้อนให้นักท่องเที่ยวเห็น ประโยชน์จากป่าชายเลนได้ชัดเจนมากขึ้น

พื้นที่จัดแสดงโครงสร้างเรือ

ชานนั่งพัก

พื้นที่เก็บของ

ห้องน�้า

รูปภาพที่ ๖.๒๖ แบบแปลนกลุ่มอาคารต่อเรือ 85


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

1 2 3 4

5

10

20

รูปด้าน ๑

1 2 3 4

5

10

20

รูปด้าน ๒

5

10

1 2 3 4

20

รูปตัด ก

1 2 3 4

5

10

-

20

รูปตัด ข 86

-

รูปภาพที่ ๖.๒๗ แสดงแบบรูปด้านและรูปตัดกลุ่มอาคารต่อเรือ


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๒๘ ภาพมุมมองด้านอาคารจัดแสดงโครงสร้างเรือ

87


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๒๙ ภาพมุมมองด้านอาคารต่อเรือ

88


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๖ กลุ่มอาคารร้านอาหาร พื้นที่นี้จัดอยู่ในส่วนของการเรียนรู้ป่าอาหาร ในช่วงกลางวันอาคารนี้จะเป็น พื้นที่ส�าหรับการท�ากิจกรรมการเรียนรู้อาหารจากป่าชายเลนส�าหรับกลุ่มผู้มาเยือน มี

ชานรับประทานอาหาร

พื้นที่ส�าหรับรองรับการท�าอาหารและทานอาหาร โดยการเข้าถึงอาคารจะต้องเดินทาง เส้นทางศึกษาธรรมชาติในส่วนของเส้นทางป่าอาหาร ท�าให้ในระหว่างเดินทางเข้ามา สามารถเรียนรู้และเก็บเกี่ยวผลผลิตจากป่าชายเลนเพื่อน�ามาประกอบอาหารได้ และ อาคารยังตั้งอยู่ใกล้ล�าคลองเพื่อสอดคล้องกับการหาสัตว์น�้ามาเป็นประกอบอาหารได้ ในตอนเย็นพืน้ ทีน่ จี้ ะถูกปรับเปลีย่ นเป็นร้านอาหารเพือ่ ต้อนรับนักท่องเทีย่ วที่ ต้ อ งการจะมารั บ ประทานอาหารสุ ด พิ เ ศษจากป่ า ชายเลนโดยเฉพาะ ท่ า มกลาง

พืน้ ท�าอาหารโชว์และท�า กิจกรรม

บรรยากาศแบบชาวบ้านๆที่นักท่องเที่ยวจะได้มาสัมผัส ประกอบกับกลุ่มแม่ครัวและผู้ ดูแลที่เป็นชาวบ้านในท้องถิ่น พร้อมจะเล่าเรื่องราวของความสัมพันธ์ของชุมชนกับ ธรรมชาติในพื้นที่อย่างอบอุ่นและเป็นกันเอง ครัว

ท่าเทียบเรือ

ห้องน�า้

รูปภาพที่ ๖.๓๐ แบบแปลนกลุ่มอาคารร้านอาหาร 89


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

1 2 3 4 5

10

20

รูปด้าน ๑

1 2 3 4 5

10

20

รูปด้าน ๒

1 2 3 4 5

10

-

20

รูปตัด ก 90

-

รูปภาพที่ ๖.๓๑ แสดงแบบรูปด้านและรูปตัดกลุ่มอาคารร้านอาหาร


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๒ ภาพมุมมองการเข้าถึงกลุ่มอาคารร้านอาหารจากเส้นทางศึกษาธรรมชาติ

91


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๓ ภาพมุมมองการเข้าถึงกลุ่มอาคารร้านอาหารจากทางน�้า

92


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๔ ภาพมุมมองบนชานรับประทานอาหารกลุ่มอาคารร้านอาหาร

93


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

๖.๓.๗ กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมของชุมชน กลุม่ ส�าหรับท�ากิจกรรมของชุมชน เป็นพืน้ ทีร่ วมตัวแห่งใหม่ของคนในชุมชนที่ สามารถมานั่งท�ากิจกรรมร่วมกันและสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน โดยอาศัยทรัพยากรจาก ป่าชายเลนเป็นเครือ่ งมือในการประกอบกิจกรรมต่างๆ เช่นการท�าครือ่ งใช้สอยครัวเรือน หรือการใช้ไม้เพือ่ น�าไปแปรรูปส�าหรับงานก่อสร้างต่อเติมขนาดเล็กของบ้านเรือนภายใน ท้องถิน่ เป็นพท้นทีแ่ ลกเปลีย่ นและสร้างปฏิสมั พันธ์ของคนในชุมชนด้วยกันเองและคนใน ชุมชนกับนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวสามารถเลือกซื้อสินค้าและเยี่ยมชม เรียนรู้วิธีการ ท�าเครือ่ งมือใช้สอยต่างๆ ท�าให้เห็นคุณค่าของป่าชายเลนมากขึน้ ไม่เพียงแค่สามารถน�า ไม้มาใช้งานได้แต่สามารถสร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่ผู้คนได้ด้วยเช่นกัน

แปลนชั้น ๑

แปลนชั้น ๒ รูปภาพที่ ๖.๓๕ แบบแปลนกลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน

พื้นที่เผาถ่าน 94

พื้นที่เวิร์คชอป (Workshop) พื้นที่เวิร์คชอป สวนป่ (Workshop) า ไม้เครื่องใช้สอย ไม้สร้าง

พื้นที่เก็บไม้

ลานอเนกประสงค์

ห้องน�้า


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

1 2 3 4 5

10

20

รูปตัด ๑

1 2 3 4 5

10

20

-

รูปตัด ๒

1 2 3 4 5

10

20

รูปตัด ก รูปภาพที่ ๖.๓๖ แบบรูปด้านและรูปตัดกลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน 95


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๗ ภาพมุมมองจากเส้นทางการเข้าถึงของชุมชน

96


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๘ ภาพมุมมองบริเวณด้านหน้ากลุ่มอาคารท�าเครื่องใช้พื้นบ้าน

97


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๓๙ ภาพมุมมองคาเฟ่ชั้น ๒ ของกลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน

98


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

รูปภาพที่ ๖.๔๐ บริเวณสวนป่ากลางพื้นที่กลุ่มอาคารท�ากิจกรรมชุมชน

99


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บทที่ ๗ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๗.๑ ความคิดเห็นต่อผลงานการออกแบบ โครงการนีม้ เี จตนาทีจ่ ะผลักดันให้ผคู้ นหันมาสนใจและเห็นความส�าคัญของสิง่ แวดล้อมให้มากขึน้ ในแง่ของการแนวคิดโครงการมีความชัดเจนและเป็นระบบดี สามารถ ที่จะน�าไปต่อยอดในเรื่องของการท�างานสถาปัตยกรรมต่อได้ ปัจจุบันนี้ความรู้ด้านสิ่ง แวดล้อมแและด้านสถาปัตยกรรมเริ่มมีการน�ามาประยุกต์ใช้ร่วมกันในการคิดออกแบบ และจัดท�าโครงการต่างๆเพือ่ การอนุรกั ษ์และเรียนรูส้ งิ่ แวดล้อมในระดับนานาชาติ คาด หวังว่าโครงการศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติ พรุป่าโหลง จะเป็นอีกส่วนหนึ่งที่ช่วย ขับเคลือ่ นเรือ่ งการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมผ่านเครือ่ งมือทางสถาปัตยกรรม เพือ่ ให้ผคู้ นเห็น คุณค่าและเข้าใจธรรมชาติมากขึ้น ส�าหรับผลงานออกแแบบสถาปัตยกรรมในโครงการนี้ ยังมีคา� ถามเกิดขึน้ อยูซ่ งึ่ เป็นค�าถามทีค่ วรช่างน�า้ หนักให้ดี คือการเลือกใช้วสั ดุ เนือ่ งจากเป็นโครงการทีเ่ กีย่ วข้อง กับธรรมชาติจงึ มีคา� ถามขึน้ ว่า ท�าไมจึงเลือกใช้วสั ดุทเี่ ป็นอุตสาหกรรมมาใช้เป็นแนวทาง หลักของโครงการ เพราะจะท�าให้มผี ลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมมากกว่าการใช้ไม้ แต่กข็ ณะ เดียวกันก็มคี า� ถามในทิศทางตรงกันข้ามคือ เมือ่ เลือกใช้ไม้ซงึ่ เป็นวัสดุทมี่ เี อกลักษณ์และ สะท้อนถึงความเป็นธรรมชาติมากกว่า ในความเป็นจริงแล้ว ใครคือผู้จัดการดูแล ซ่อมแซมและออกงบประมาณค่าใช้จา่ ยทีส่ งู กว่าวัสดุอตุ สาหกรรม ซึง่ นีค้ อื เหตุผลทีเ่ ลือก ใช้วัสดุอุตสาหกรรม เพราะชาวบ้านที่เป็นผู้ดูแลโครงการสามารถดูและและจัดการเอง ได้งา่ ยกว่าราคาถูกกว่า และมีอายุการใช้งานทีย่ าวนานกว่าส�าหรับงานในบริบทนี้ ดังนัน้ ความเป็นไปได้ในการจัดการดูแลโดยชาวบ้าน จะสามารถท�าได้ดีกว่า อีกหนึ่งความเห็นที่น่าสนใจคือรูปแบบของอาคารที่ออกมา ยังมีความดูบ้านๆ ตามที่เจตนา แต่ยังไม่ค่อยดึงดูดส�าหรับนักท่องเที่ยว รูปทรงของสถาปัตยกรรมควรจะ ท�างานได้ดกี ว่านี้ ส�าหรับการทีจ่ ะเป็นแหล่งท่องเทีย่ วทีจ่ ะดึงดูดนักท่องเทีย่ วเข้ามา ทัง้ นี้ รวมไปถึงรูปทรงของหลังคาทีอ่ าคารบางหลังยังดูขดั แย้งกับสภาพบริบท ความเห็นและ ข้อเสนอแนะเหล่านีจ้ ะเป็นสิง่ ส�าคัญทีจ่ ะช่วยผลักดันให้โครงการสามารถพัฒนาต่อไปได้ อีกในอนาคต ไม่เพียงแค่โครงการนีแ้ ต่สามารถน�าไปปรับใช้ได้ในโครงการอื่น ๆ อีกด้วย

100


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

บรรณานุกรม

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๑๗) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุม การก่อสร้างอาคาร พ.ศ. ๒๔๗๙. ค้นเมื่อ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓. https://download. asa.or.th/03media/04law/cba/mr17-07.pdf(ออนไลน์) กฎกระทรวง ฉบับที่ ๓๙ (พ.ศ. ๒๕๓๗) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒. ค้นเมื่อ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓. https://download.asa.or.th/03media/04law/cba/mr/mr37-39.pdf(ออนไลน์) กฎกระทรวง ฉบับ ๕๓ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตาามความในพระราชบัยญัติควบคุมอาคาร. ค้ น เมื่ อ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ https://www.dpt.go.th/wan/lawdpt/ data/02/116_58_050742_19.pdf(ออนไลน์) กฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (๒๕๔๙). ค้ น เมื่ อ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓. จาก http://www.dpt.go.th/wan/lawdpt/ data/01/123_76_250749_69.PDF(ออนไลน์)

ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก�าหนดเขตพื้นที่และ มาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณท้องที่ต�าบลตลิ่งงาม ต�าบลบ่อผุด ต�าบลมะเร็ต ต�าบลแม่นา�้ ต�าบลหน้าเมือง ต�าบลอ่างทอง ต�าบลลิปะน้อย อ�าเภอเกาะสมุย และต�าบล เกาะพะงัน ต�าบลบ้านใต้ ต�าบลเกาะเต่า อ�าเภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (๒๕๕๗). ค้นเมื่อ ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓. จาก https://download.asa.or.th/03media/04law/eqa/ma57.pdf(ออนไลน์) พัชรินทร์ สายพัฒนะ และ สิทธิ กุหลาบทอง. (๒๕๕๗). การส�ารวจความหลากหลาย ชนิดของพรรณไม้ป่าชายเลนในพื้นที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ กองทัพบกบางปู จังหวัด สมุทรปราการ. กรุงเทพมหานคร: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ศิลปกร. พูลศรี วันธงไชย และคณะ. (๒๕๕๖). คู่มือความรู้เรื่องป่าชายเลน. (พิมพ์ครั้งที่๕). กรุงเทพมหานคร: พลอยมีเดีย. วินัย วีระวัฒนานนท์. (๒๕๔๖). สิ่งแวดล้อมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :อเดียนสโตร์

กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (๒๕๕๖). คู่มือความรู้เรื่องป่าชายเลน. (พิมพ์ครั้ง ที่๕). กรุงเทพมหานคร: พลอยมีเดีย. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ . (๒๕๕๖). ระบบฐานข้อมูลกลางและมาตรฐานข้อมูล ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. ค้นเมื่อ ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๓. จาก http://km.dmcr. go.th(ออนไลน์) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (๒๕๖๐). ภูมิปัญญาพืชสมุนไพรจากป่าชายเลน. (พิมพ์ครั้งที่๑). สมุทรสาคร: บริษัท บอร์น ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ากัด

สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน และรุ่งสุริยา บัวสาลี. (๒๕๕๔). ป่าชายเลน นิเวศวิทยาและ พรรณไม้. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิกระต่ายในดวงจันทร์ ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ. (๒๕๖๑). ประเภทของป่าไม้ใน ประเทศไทย. ค้นเมื่อ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๓. จาก https://gfms.gistda.or.th/ node/37(ออนไลน์)

ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน. (๒๕๖๐). สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดกลางในพื้นที่ป่าชายเลนปลูกปาก แม่นา�้ ท่าจีน จังหวัดสมุทรสาคร. นนทบุร:ี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

101


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ภาคผนวก

ชีววิทยาและนิเวศวิทยาป่าชายเลน

๓. Riverine forests เป็นลักษณะป่าชายเลนที่ขึ้นบนร่องน�้า หรือทางน�้าจืดที่ไหลลง

เติบโต ได้ดี โดยเฉพาะโกงกางจะขึน้ หนาแน่นมากกว่าชนิดอืน่ ทีพ่ บในบริเวณนี้ นอกจาก

ชนิดและการแพร่กระจายของป่าชายเลน

สู่ทะเล

นี้ยังพบพวกโปรงแดง ตะบูนและถั่วด�า เป็นต้น

species) มีการปรับตัวของลักษณะทางสรีรวิทยาเพื่อสามารถเจริญอยู่ได้ในน�้าเค็ม

๔. Basin forests เป็นลักษณะป่าชายเลนที่เป็นพื้นที่ต�่า น�้าท่วมและขังอยู่ มักพบขึ้น

๔. พื้นที่ที่มีน�้าทะเลท่วมถึงเมื่อน�้าขึ้นสูงสุดเท่านั้น บริเวณนี้จะมีสภาพที่แห้งเกินไป

ลักษณะคล้ายพืชทะเลทราย เนือ่ งจากไม่สามารถดูดน�า้ นัน้ ไปใช้ได้สะดวกอย่างน�า้ จืดจึง

อยู่บนฝั่งที่ติดป่าบก สัมผัสกับน�้าจืดจากบนบก และน�้ากร่อยนานกว่าป่าชายเลนที่อยู่

ส�าหรับไม้โกงกางจะขึ้นได้ แต่จะเหมาะสมกับพวกไม้ถั่ว ตะบูนและตาตุ่ม

ต้องเก็บกักน�้าที่ดูดขึ้นไปได้ไว้ในล�าต้นให้ได้มากที่สุด เห็นได้จากลักษณะของใบซึ่งมักมี

ตามชายฝั่ง ป่าชายเลนประเภทนี้มีพืชอิง-อาศัยขึ้นอยู่มาก เช่น กล้วยไม้

ป่าชายเลนประกอบด้วยชนิดพรรณไม้หลายชนิด และเป็นไม้ไม่ผลัดใบ (evergreen

คิวตินเคลือบหนา มีปากใบแบบจมเพือ่ ลดการคายน�า้ และมักมีขนปกคลุมผิวใบทัง้ นีเ้ พือ่

๕. พื้นที่ที่มีน�้าทะเลท่วมถึงเมื่อน�้าขึ้นสูงสุดเป็นพิเศษเท่านั้น ไม้ป่าชายเลนที่ขึ้นบริเวณ

ป้องกันการระเหยของน�า้ ออกจากใบ บางชนิดมีการเก็บกักน�า้ ไว้ในเซลล์พเิ ศษของใบ ซึง่

๕. Scrub/Dwarf forests เป็นลักษณะป่าชายเลนที่ขึ้นบนบริเวณที่มีปัจจัยจ�ากัดการ

ท�าให้ใบมีลักษณะอวบน�้า นอกจากนี้เซลล์ของพืชในป่า ชายเลนยังมีความเข้มข้นของ

เจริญเติบโต โดยทั่วไปจะเป็นไม้พุ่มเตี้ยๆ ประมาณ ๒ เมตร มักพบในบริเวณที่แห้งแล้ง

เกลือแร่สูงกว่าเซลล์ปกติทั่วไป รวมทั้งมีต่อมขับเกลือท�าหน้าที่ควบคุมความเข้มข้นของ

กว่าบริเวณอื่น

เกลือแร่ในเซลล์ใบให้อยูใ่ นระดับปกติอกี ด้วย เนือ่ งจากในป่าชายเลนมีการขึน้ ลงของน�า้

นี้เป็นพวกพังกาหัวสุม หลุมพอทะเล หงอนไก่ทะเล ตาตุ่มและจาก เป็นต้น การแพร่กระจายตัวของป่าชายเลน ป่าชายเลนของประเทศไทยขึ้นอยู่กระจัดกระจายตามชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ภาค

ทะเลสม�่าเสมอ ดังนั้นดินในป่าชายเลนจึงมีน�้าท่วมขังอยู่เป็นประจ�า ท�าให้ออกซิเจนใน

๖. Hammock forests เป็นป่าชายเลนที่มีลักษณะคล้าย Basin forests แต่ระดับ

อากาศไม่สามารถแพร่กระจายลงสูด่ นิ ได้ ซึง่ รากของต้นไม้ปา่ ชายเลนต้องการออกซิเจน

ความสูงของพื้นที่ป่าประเภทนี้จะมากกว่าป่าชายเลนประเภทอื่นๆ

กลาง และภาคใต้ โดยจะพบทั้งทางด้านฝั่งอ่าวไทย และฝั่งด้านทะเลอันดามัน ฝั่งอ่าว ไทยในภาคกลางพบป่าชายเลนกระจายตัวบริเวณที่ติดกับชายฝั่งทะเลของจังหวัด

เพื่อใช้ในการด�ารงชีวิตและการเจริญเติบโต ดังนั้นต้นไม้จึงต้องพัฒนาวิธีการเพื่อที่ราก

สมุทรปราการ กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม เพชรบุรี และประจวบคีรขี นั ธ์ และ

ของมันจะได้รับออกซิเจน ต้นไม้ป่าชายเลนส่วนมากจึงมีรากอากาศ (pneumato-

ในภาคตะวันออกพบป่าชายเลนขึ้นแพร่กระจายอยู่ตามชายฝั่งทะเลของจังหวัดชลบุรี

phores) โผล่พ้นเหนือดินท�าให้ออกซิเจนจึงสามารถผ่านลงทางรากอากาศสู่รากที่อยู่

โครงสร้างของป่าชายเลน

ระยอง จันทบุรี ตราด และฉะเชิงเทรา ส่วนชายฝั่งภาคใต้ด้านตะวันออก จะพบตาม

ใต้ดินได้ ไม้ป่าชายเลนส่วนใหญ่ประกอบด้วยไม้สกุลโกงกาง (Rhizophora spp.) เป็น

การแบ่งเขตของชนิดของไม้ป่าชายเลน (species zonation) ในป่าชายเลน

ปากน�้าและล�าน�้าใหญ่ๆ ในจังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา และ

ไม้เด่น และพันธุ์ไม้ชนิดอื่นอีกกว่า 78 ชนิด

Watson ได้จดั แบ่งเขตไม้ปา่ ชายเลนในพืน้ ทีท่ างด้านตะวันตกของประเทศมาเลเซียออก

ปัตตานี ในด้านทะเลอันดามันพบแนวป่าชายเลนยาวติดต่อกันตั้งแต่เขตจังหวัดระนอง

ได้ ๕ บริเวณ โดยมีความถีข่ องน�า้ ทะเลท่วมถึงเป็นปัจจัยส�าคัญในการแบ่งเขตไม้ปา่ ชาย

พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล จังหวัดที่มีพื้นที่ป่าชายเลนมากที่สุดของประเทศไทย

เลน ดังนี้

ได้แก่ จังหวัดพังงา สตูล กระบี่ และตรัง

๑. พืน้ ทีท่ มี่ นี า�้ ทะเลท่วมถึงทุกครัง้ บริเวณนีไ้ ม่มไี ม้ปา่ ชายเลนชนิดใดขึน้ ได้ในสภาวะเช่น

การจ�าแนกประเภทของป่าชายเลนในประเทศไทยตามโครงสร้างของป่าชายเลน

นี้ ยกเว้นโกงกางใบใหญ่

๑. ป่าชายเลนที่อยู่บริเวณปากแม่น�้าหรือน�้ากร่อย

รูปแบบโครงสร้างของป่าชายเลน 6 แบบ ได้แก่ ๑. Overwash forests เป็นลักษณะป่าชายเลนที่ขึ้นบนที่ราบน�้าทะเลท่วมถึง เมื่อน�้า ท่วมมีลักษณะคล้ายเกาะ และได้รับอิทธิพลจากกระแสน�้าขึ้นลงอย่างสม�่าเสมอ ๒. Fringe forests เป็นลักษณะของป่าชายเลนที่อยู่บนชายฝั่งที่มีความลาดชันน้อย

ป่าชายเลนประเภทนี้พบขึ้นอยู่ตามริมแม่น�้าและร่องน�้าที่ได้รับอิทธิพลจากน�้าจืดมาก

พบทั่วไปบริเวณชายฝั่งของแผ่นดินใหญ่และเกาะใหญ่ๆ มักพบป่าประเภทนี้อยู่บริเวณ

๒. พื้นที่ที่มีน�้าทะเลท่วมถึงในขณะที่มีน�้าขึ้นสูงปานกลาง ไม้ป่าชายเลนที่ขึ้นบริเวณนี้

โดยพืน้ ทีป่ า่ ชายเลนด้านทีต่ ดิ กับทะเล จะมีตน้ ไม้ขนึ้ อยูห่ นาแน่น และมีจา� นวนชนิดต้นไม้

ทีเ่ ป็นอ่าวเปิด และได้รบั อิทธิพลจากคลืน่ ลมไม่แรง ป่าชายเลนประเภทนีถ้ า้ พบบนเกาะ

เป็นพวกแสมขาว แสมทะเล ล�าพูทะเลและโกงกางใบใหญ่

มากกว่าบริเวณทีห่ า่ งจากทะเลขึน้ ไป หรืออยูท่ างด้านต้นน�า้ จืด ได้แก่ ป่าชายเลนในอ่าว

จะอยู่เหนือระดับน�้าทะเลสูงสุด

ปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นป่าชายเลนที่ขึ้นอยู่ริมแม่น�้าใหญ่ คือ แม่น้�า ๓. พื้นที่ที่มีน�้าทะเลท่วมถึงในขณะที่มีน�้าขึ้นสูงตามปกติ บริเวณนี้มีไม้ป่าชายเลนเจริญ

102

ปากพนัง คลองบางจากและคลองปากนคร ป่าชายเลนปากแม่น�้ากันตัง และแม่น�้า


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

ภาคผนวก

ปะเหลียน จังหวัดตรัง ป่าชายเลนในจังหวัดระนอง และจังหวัดพังงา เป็นต้น

กลุ่มไม้โกงกางใบเล็ก-ถั่ว ถัดจากกลุ่มนี้ไปเป็นกลุ่มไม้โปรง และกลุ่มไม้โปรง-ตะบูน ส�าหรับเขตสุดท้ายจะเป็นกลุ่มไม้ตาตุ่ม-เป้ง

๒. ป่าชายเลนที่อยู่ริมทะเล ป่าชายเลนประเภทนีจ้ ะพบตามบริเวณชายฝัง่ หรือปากแม่นา�้ สายเล็กๆ ซึง่ ได้รบั อิทธิพล

๒.๗ จังหวัดกระบี่ จากริมน�า้ เป็นกลุม่ ไม้โกงกางใบใหญ่และโกงกางใบเล็ก ตามด้วยกลุม่

จากน�้าจืดน้อย หรือมีน�้าจืดไหลลงสู่บริเวณป่าชายเลนในปริมาณน้อย น�้าในป่าชายเลน

ไม้โปรง และถัดไปเป็นกลุ่มไม้โปรง-ตะบูน ส่วนเขตสุดท้ายจะเป็นกลุ่มไม้ฝาดและเป้ง

ประเภทนี้ส่วนใหญ่จะเป็นน�้าทะเล พื้นที่ป่าชายเลนประเภทนี้ ได้แก่ ป่าชายเลนที่พบ ขึ้นตามเกาะต่างๆ ซึ่งมีบริเวณขนาดเล็ก สง่าและคณะ (2530) ได้ท�าการแบ่งเขตชนิด

๒.๘ จังหวัดตรัง จากริมน�้าเป็นกลุ่มไม้ล�าพู-แสม และตามด้วยกลุ่มไม้โกงกางและกลุ่ม

ไม้ป่าชายเลนในประเทศไทยในแต่ละพื้นที่ ดังนี้

ไม้โปรง-ตะบูน จะขึ้นแนวหลังสุดของป่าชายเลน

๒.๑ จังหวัดชุมพร มีกลุ่มชนิดไม้ป่าชายเลนขึ้นจากชายฝั่งน�้าลึกเข้าในป่าด้านในติดป่า

๒.๙ จังหวัดสตูล จากริมน�า้ เป็นกลุม่ ไม้ลา� พู-แสม ถัดไปเป็นกลุม่ ไม้โกงกางและตามด้วย

ดอน สรุปได้ดังนี้ บริเวณด้านนอกติดกับริมน�้าเป็นกลุ่มไม้ล�าพู-แสม ถัดไปเป็นกลุ่ม

กลุ่มไม้โปรง-ตะบูน และกลุ่มไม้ฝาด ส่วนเขตสุดท้ายอยู่ติดกับป่าดอน เป็นกลุ่มไม้เสม็ด

โกงกางใบใหญ่และตามด้วยกลุ่มโกงกางใบเล็ก-ถั่ว หลังไม้กลุ่มนี้จะเป็นกลุ่มไม้โปรง-

และบริเวณที่ป่าถูกท�าลายจะมีปรงทะเลขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น ดังรูป

ตะบูน หลังจากกลุ่มไม้โปรง-ตะบูนจะเป็นกลุ่มไม้ตาตุ่มและเป้ง ตามล�าดับ ประเภทของป่าชายเลนในประเทศไทยตามโครงสร้างของป่าชายเลน ๒.๒ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากริมน�า้ เป็นกลุม่ ไม้โกงกาง-แสม ตามด้วยกลุม่ ไม้โปรง-ตะบูน

สง่าและคณะ (๒๕๓๐) ได้สรุปไว้ว่า การขึ้นอยู่ของกลุ่มไม้ในสังคมป่าชายเลนมีความ

ถัดจากนี้จะเป็นกลุ่มไม้ตาตุ่มและกลุ่มไม้ฝาด

สัมพันธ์กบั สภาพพืน้ ทีแ่ ละปัจจัยสิง่ แวดล้อมอย่างชัดเจน กล่าวคือ พวกไม้ลา� พู-แสม จะ เป็นไม้เบิกน�าทีช่ อบขึน้ อยูร่ มิ แม่นา้� ลักษณะเป็นดินเลนมีทรายผสมและมีนา้� ท่วมถึงเป็น

๒.๓ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากริมน�้าเป็นกลุ่มไม้โกงกางใบเล็ก ถัดไปเป็นกลุ่มไม้

ประจ�า ไม้โกงกางใบใหญ่และโกงกางใบเล็กจะชอบขึ้นอยู่ตามริมแม่น้�าซึ่งเป็นดินเลน

โปรง-ตะบูน และตามด้วยกลุ่มไม้ฝาด และสุดท้ายจะเป็นกลุ่มไม้โปรง

หนา เป็นพื้นที่น�้าทะเลท่วมถึงเป็นประจ�า เช่นเดียวกับพวกแสม-ล�าพู พวกไม้ถั่วและไม้ โปรงชอบขึน้ อยูใ่ นทีด่ นิ เลนค่อนข้างแข็งมีนา�้ ทะเลท่วมถึงส�าหรับไม้ฝาดและตะบูนชอบ

๒.๔ จังหวัดปัตตานี จากริมน�า้ เป็นกลุม่ ไม้โกงกางใบเล็ก ตามด้วยกลุม่ ไม้โกงกางใบเล็ก-

ขึ้นในที่ดินเลนแข็ง และพื้นที่ระดับค่อนข้างสูงเล็กน้อย ส่วนพวกที่ชอบขึ้นอยู่บนพื้นที่

ถั่ว และถัดเข้าไปจะเป็นกลุ่มไม้ตะบูน-ปรงทะเล

เลนแข็งและมีน�้าทะเลท่วมถึงบางครั้งในรอบเดือน ได้แก่ กลุ่มไม้-ตาตุ่ม ไม้เสม็ด ไม้เป้ง ส�าหรับบริเวณทีป่ า่ ชายเลนถูกถางและท�าลายจะพบพวกปรงทะเลขึน้ อยูอ่ ย่างหนาแน่น

๒.๕ จังหวัดระนอง จากริมน�้าเป็นกลุ่มเล็บมือนาง-รังกะแท้ และถัดเข้าไปจะเป็นกลุ่ม ไม้ล�าพู-แสม ตามด้วยกลุ่มไม้โกงกาง-ถั่ว และถัดจากกลุ่มนี้เข้าไปจะเป็นกลุ่มไม้โปรงตะบูนและกลุ่มไม้แสม และในเขตสุดท้ายจะเป็นกลุ่มไม้ฝาด และกลุ่มไม้เป้งตามล�าดับ ๒.๖ จังหวัดพังงา จากริมน�้าเป็นกลุ่มไม้ล�าพู-แสม และกลุ่มไม้โกงกางใบใหญ่ ตามด้วย 103


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

104


ศูนย์ศึกษาและอนุรักษ์ธรรมชาติพรุป่าโหลง I Mangrove Forest Conservation Center : Prupalong

105


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.