การวิจัยในชั้นเรียน 1 2561 ebook

Page 1

การวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในชั้นเรียน อ.ดร.จิตราภรณ์ บุญถนอม

CTL5057/5007 สั มมนาการสอน 2


การวิจัย

การสื บเสาะอย่ างเป็ นระบบที่จะสามารถ ทาให้ คนเข้ าใจในธรรมชาติของปัญหา หรื อปรากฏการณ์ (Stringer, 2007)


การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน การวิจยั ทีม่ เี ป้ าหมายทีน่ าไปสู่ การปฏิบัติเพื่อ แก้ ปัญหาของบุคคลและสั งคมไปพร้ อมๆกัน

(Gilmore, Krantz and Ramirez, 1986)

การวิจัยเพื่อการแก้ ไขปัญหาหรื อพัฒนาการปฏิบัติงาน ของบุคคลหรื อหน่ วยงานทีใ่ ช้ กระบวนการวิจัยและ ปฏิบัติการจริงเป็ นกระบวนการเดียวกัน โดยคานึงถึง บริบททางการศึกษา (ราชบัณฑิตยสถาน, 2551)


ขั้นตอนการวิจยั เชิงปฏิบัติการ (Action Research) ทฤษฎีด้งั เดิม (Kurt Lewin. 1946)

1. วางแผน (Plan) 2. ปฏิบัติ (Do) 3. สั งเกต (Observe) 4. สะท้ อนผลของการปฎิบัติ (Reflect)

วางแผน (Plan)

2

ปฏิบัติ (Do)

1

3

วางแผน (Plan)

4

สะท้ อนผลของการปฎิบัติ (Reflect)


วางแผน (Plan)

1. ศึกษาปัญหา/ กาหนดปัญหา ปัญหาหรื อประเด็นที่เกิดขึน้ เมื่อ ภาคการศึกษา 1/2561 ในห้ องเรียนทีน่ ักศึกษาเป็ นผู้สอน ตัวอย่ าง - นักเรียนของนศ.อ่ อนทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยศึกษา จากการตรวจข้ อสอบการคิดวิเคราะห์ นักเรียนส่ วนใหญ่ ไม่ สามารถทาได้


2. วางแนวทางการแก้ไข (ร่ าง) - ภาคการศึกษา 1/2561 นศ. ต้ องการพัฒนาให้ ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ ได้ คาถาม

การจัดการเรียนรู้ แบบใดบ้ างส่ งเสริมการ คิดวิเคราะห์


2.1 ทบทวนวรรณกรรมเบื้องต้ น ศึกษาการจัดการเรียนรู้ ทชี่ ่ วยแก้ ไขปัญหา และนศ. สนใจรวมถึงทันสมัยเหมาะกับยุคปัจจุบัน จากตัวอย่ างปัญหา นักเรียนอ่ อนทักษะการคิดวิเคราะห์ ดังนั้น จึงต้ องทบทวนวรรณกรรมในเรื่ องอะไรบ้ าง - การจัดการเรียนรู้ เชิงประสบการณ์ (Experience Learning) - การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ กรณีศึกษา (Case study) - การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem based learning) ฯลฯ


2.2 คัดเลือกแนวทางการแก้ไขปัญหาจากการทบทวน วรรณกรรมเบื้องต้ น สมมติ

นศ.เลือกการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน (Problem based learning) เหตุผลที่ นศ.เลือก 1. งานวิจยั จานวน 15 ฉบับตั้งแต่ พ.ศ. 2550-2560 สนับสนุนว่ า การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานช่ วย ส่ งเสริมการคิดวิเคราะห์ ให้ แก่ นักเรียน 2. การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานสอดคล้ อง กับเนื้อหาวิชาที่นักศึกษาสอน


ปัญหา

ทบทวน วรรณกรรมเบื้องต้ น

ร่ างการแก้ ไขปัญหา

ระบุชื่อเรื่ อง

คัดเลือกแนวทางการแก้ ไข


2.3 ระบุชื่อเรื่ อง (ร่ าง) - การศึกษาประสิ ทธิผลในด้ านทักษะการคิดวิเคราะห์ ของการจัดการเรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐาน - การพัฒนารู ปแบบการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐานเพื่อ พัฒนาการคิดวิเคราะห์ - การเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน และการจัดการเรียนรู้ แบบบรรยาย

เลือกชื่ อเรื่ องที่จะสอดคล้องกับงานวิจัยของ นศ.


3. กาหนดคาถามวิจัย “การจัดการเรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานสามารถ ช่ วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ได้ หรื อไม่ ”

หรื อ “การจัดการเรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานสามารถ ช่ วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ได้ ดกี ว่ าการ จัดการเรียนรู้ แบบบรรยายหรื อไม่ ”


3. กาหนดวัตถุประสงค์ การวิจยั การวิจัยในครั้งนีม้ วี ตั ถุประสงค์ การวิจัย เพื่อศึกษาประสิ ทธิผลด้ านทักษะการคิดเมื่อจัดการ เรียนรู้ โดยใช้ การปัญหาเป็ นฐานเรื่ อง....................... หรื อ เพื่อเปรียบเทียบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ น ฐานและการจัดการเรียนรู้ แบบบรรยายเรื่ อง...............


4. ตั้งสมมติฐานการวิจัย “การจัดการเรียนรู้การใช้ ปัญหาเป็ นฐาน สามารถช่ วยพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ใน วิชา..............ได้ ”


4. กาหนดขอบเขตการวิจัย

ใคร ทีไ่ หน เมื่อไหร่ อย่ างไร

นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 2

โรงเรียนหลังรามวิทยาลัย ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ศึกษาการศึกษาประสิ ทธิผลในด้ าน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ของการจัดการเรียนรู้วชิ า......โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


การวิจัยครั้งนีเ้ ป็ นการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้โดย ใช้ ปัญหาเป็ นฐานเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ และ ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนวิชา...............ของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2561 ณ โรงเรียนหลังรามวิทยาลัย


ตัวแปรจัดกระทา

รูปแบบการ จัดการเรียนรู้ โดย ใช้ ปัญหาเป็ นฐาน

ตัวแปรตาม

ความสามารถใน การคิดวิเคราะห์ ผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียน


5. ตรวจสอบชื่ อเรื่ อง คาถามการวิจยั วัตถุประสงค์ สมมติฐานการวิจัย และกรอบแนวคิดการวิจัยให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน

ชื่ อเรื่ องทีส่ มบูรณ์ “การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ เรื่ อง...........โดย ใช้ ปัญหาเป็ นฐานเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น”


6. ระบุคาสาคัญ (Key words)ของการวิจัยและนิยามศัพท์ “การพัฒนารู ปแบบการเรียนรู้ เรื่ อง......................โดยใช้ ปัญหา เป็ นฐานเพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์ และผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น”

1. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ 2. การเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน 3. การคิดวิเคราะห์ 4. ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน


7. ศึกษาและทบทวนวรรณกรรมที่เกีย่ วข้ องกับงานวิจัย 7.1 ศึกษาเอกสารตามคาสาคัญและสาระสาคัญของ งานวิจัย 7.2 วิเคราะห์ และเขียนสรุปวรรณกรรมซึ่งได้ มาจากตารา หรื อเอกสารต่ างๆทีเ่ กีย่ วข้ องทีเ่ ชื่ อถือได้ มีแหล่ งทีม่ า อ้ างอิงได้ 7.3 วิเคราะห์ และเขียนสรุปงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ องจาก วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย แต่ ไม่ ใช่ รายงานของรุ่นพี่


7. สร้ างรูปแบบ/ วิธีการ/ โปรแกรมการเรียนรู้เพื่อการแก้ไข ปัญหา 1. กาหนดระยะเวลา 2. กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ ทสี่ อดคล้ องกับการใช้ ปัญหาเป็ นฐาน 3. ระบุการใช้ สื่อและอุปกรณ์ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ (เช่ น ใบงาน ใบความรู้)


8. สร้ างเครื่ องมือเพื่อประเมินรู ปแบบ/ วิธีการ/ โปรแกรมการเรียนรู้

ทดสอบอะไร ประเมินสิ่ งนั้น รูปแบบการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ ปัญหา เป็ นฐาน

ความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ ผลสั มฤทธิ์ทางการ เรียน


(1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน

ตรวจสอบรูปแบบการจัดการเรียนรู้ โดย ใช้ ปัญหาเป็ นฐานโดยให้ ครูพเี่ ลีย้ งและ อาจารย์ ประจาวิชาเอกเป็ นผู้ตรวจสอบ


(2) เครื่ องมือเพื่อประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน เครื่ องมือเพื่อประเมินผลสั มฤทธิ์ ทางการเรียนตามวัตถุประสงค์ การ เรียนรู้ด้านความรู้ - แบบทดสอบความรู้


(3) เครื่ องมือเพื่อประเมินความสามารถในการคิดวิเคราะห์

เครื่ องมือเพื่อประเมินความสามารถด้ านการ คิดวิเคราะห์ เรื่ อง...........................


ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (Content validity) แบบทดสอบ 1. ให้ เพื่อนครู / ครู อาวุโส ทีส่ อนวิชาและระดับเดียวกันพิจารณา เครื่ องมือได้ แก่ แบบทดสอบเพื่อประเมินผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบเพื่อประเมินการคิดวิเคราะห์ จานวน 3 คนเพื่อหา ดัชนีความสอดคล้ องระหว่ างข้ อคาถามกับวัตถุประสงค์ (Item objective congruence: IOC)


IOC

R = N

IOC > 0. 5 ข้ อคาถามใช้ ได้ IOC ≤ 0. 5 ข้ อคาถามใช้ ไม่ ได้

R หมายถึง ผลรวมของคะแนน N หมายถึง จานวนครู ทชี่ ่ วยพิจารณา


การหาค่ าความเทีย่ ง (Reliability) นาแบบประเมินไปทดลองใช้ กบั นักเรียนใน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ในห้ องอื่นที่ไม่ ใช่ ห้ องที่จะใช้ ในการทดลอง แล้วนามาหาค่ า ความเที่ยงโดยวิธีสัมประสิ ทธิ์แอลฟาของคอ นบราค (Cronbach’s alpha coefficient: ) โดยค่ า  ควรมากกว่ า 0.6


วิธีหาค่ า Cronbach’s alpha coefficient:  ใน spss 1. ใส่ ข้อมูลลงในโปรแกรม SPSS


2. เลือก Analyze


2. เลือก Scale


3. เลือก Reliability Analysis


4. เลือกข้ อคาถามย้ าย ไปทีช่ ่ องItem


4. กด OK



9. การประเมินผล

9.1 นาเสนอข้ อมูลทัว่ ไป ได้ แก่ 1. จานวนนักเรียนทั้งหมด 2. ร้ อยละของแต่ ละเพศของนักเรียน 3. ค่ าเฉลีย่ และส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ GPA ของนักเรียนทั้งห้ อง


การดาเนินการวิจัยแบบกึง่ ทดลองประชากร 1 กลุ่ม เพื่อศึกษา ความแตกต่ างค่ าเฉลีย่ ระหว่ างก่ อนเรียนและหลังเรียน (One sample group pre-post test) E E หมายถึง X หมายถึง O1 หมายถึง O2 หมายถึง

:

O1

X

O2

กลุ่มทดลอง (Experimental group) รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ประเมินผลเมื่อเริ่มใช้ รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน ประเมินผลเมื่อสิ้นสุ ดการใช้ รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


9.2 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ สมมติฐาน 1 นักเรียนทีไ่ ด้ เรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานมีค่าเฉลีย่ ของ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน สมมติฐาน 2 นักเรียนทีไ่ ด้ เรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานมีค่าเฉลีย่ ของ ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสู งกว่ าก่ อนเรียน

สถิตเิ ชิงอนุมานด้ วยการทดสอบ Pair Sample T-test


สถิตเิ ชิงอนุมานด้ วยการทดสอบ Pair Sample T-test ใน โปรแกรม SPSS




การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ Ho : คะแนนเฉลีย่ ก่ อนเรียนไม่ แตกต่ างกับคะแนนเฉลีย่ หลังเรียน H1 : คะแนนเฉลีย่ ก่ อนเรียนแตกต่ างกับคะแนนเฉลีย่ หลังเรียน

แสดงให้ เห็นว่ า คะแนนเฉลีย่ หลังเรียนและคะแนน เฉลีย่ ก่ อนเรียนมีความแตกต่ างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 ( Sig < .05)


ปฏิบัติ (Do)

10. การทดลองรู ปแบบ


10. นาเสนอผลการศึกษาและสรุปผล

นักเรียนทีไ่ ด้ เรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานมีค่าเฉลีย่ ของความสามารถในการคิดวิเคราะห์ หลังเรียนสูง กว่ าก่อนเรียน นักเรียนทีไ่ ด้ เรียนรู้ การใช้ ปัญหาเป็ นฐานมีค่าเฉลีย่ ของผลสั มฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่ าก่อน เรียน


11. สรุปการวิจยั รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ส่งเสริมให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีพัฒนาการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน


สะท้ อนผลของการปฎิบัติ (Reflect)

12. การอภิปรายผลและเสนอแนะข้ อมูล

การอภิปรายผลการวิจัย นักศึกษาสามารถใส่ ความคิดเห็นของ ตนเองได้ แต่ ต้องมีข้อมูลมายืนยัน หรื อ มีหลักฐานอ้ างอิงจากงานวิจัยคนอื่นที่ เคยทามาแล้ ว


งานวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน 1. ชื่ อเรื่ อง 8. ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง 2. วัตถุประสงค์ การวิจัย 9. ขอบเขต-ประชากรทีใ่ ช้ ในการวิจัย 3. ปัญหาการวิจัย 10. ขั้นตอนในการดาเนินการวิจัย 4. สมมติฐานการวิจัย 11. เครื่ องมือทีใ่ ช้ ในการวิจัย 5. กรอบแนวคิดในการวิจัย 12. การประเมินผลการวิจัย 6. ตัวแปรที่ใช้ ในการวิจัย 13. ผลการดาเนินการวิจัย 7. นิยามศัพท์ 14. อภิปรายและข้ อเสนอแนะ 15. เอกสารอ้ างอิง


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.