ปที่ 3 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ 2553
อยูอยางไร ไมใหตายผอนสง
จาก บก.
แมวนั นีบ้ า นเมืองจะยังไมปกติสขุ นัก แตชวี ติ ก็ยงั ตองดำเนินตอไป มองใหเปน กลาง ดูความเปนไปอยางสงบและยอมรับความจริงทีจ่ ะเกิดขึน้ อยางเขาใจ อยาหมกมุน หรือเครียดจนเกินไป หาเวลาวางพักผอน หลังจากที่หางดังๆปดไปซะนาน ลองมาเดิน ตลาดดูบา งจะพบบรรยากาศทีห่ า งหายไปนาน การไดพดู คุยซักถามระหวางผูซ อ้ื -ผูข าย เปนการปฏิสัมพันธที่สรางความสนิทสนมไดโดยไมรูตัว อาจไดรับความรูที่ไมคาดคิด และจะเห็นภาพชีวิตอันหลากหลายเปนอีกสังคมที่แตกตางและคอยๆเลือนหาย แตวัน นี้เราจะมารวมกันสรางใหเกิดขึ้นอีกเปนตลาดนัดสีเขียว ณ โรงพยาบาลบางโพในวัน ที่ 23 พฤษภาคมนี้ พบกับงานปารตี้สุขภาพดี....ชีวีมีสุข ทำอยางไรสุขภาพจะดีเพื่อ ใหชีวิตมีความสุขไดตองมาคนพบดวยตัวเอง แลวพบกันนะคะ..... ไผพิม phaipim@live.com
สนับสนุนการจัดพิมพโดย
2
ที่ปรึกษา สุวรรณา หลั่งน้ำสังข
ผูจัดการสหกรณเลมอนฟารมพัฒนาจำกัด
นาถฤดี นาครวาจา
ผูจัดการสำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย : มกท
วัลลภ พิชญพงศศา
สมาคมการคาเกษตรอินทรียไทย
ฮันส แวน วิลเลียนสวารด บริษัท สวนเงินมีมา จำกัด
บรรณาธิการบริหาร วัลลภา แวน วิลเลียนสวารด บรรณาธิการ กรณรวี เกงกุลภพ กองบรรณาธิการ อธิพาพร เหลืองออน ปรียานุช พุทธมา จุฬาลักษณ ทิวกระโทก ธนกร เจียรกมลชื่น ตนฉบับและพิสูจนอักษร วรนุช ชูเรืองสุข ผูจัดทำ บริษัท สวนเงินมีมา จำกัด
ติดตอเพื่อลงโฆษณาและสมัครสมาชิกวารสารไดที่ บริษัท สวนเงินมีมา จำกัด 77 ,79 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ10200 โทร. 0-2622-0955, 0-2622-0966 โทรสาร 0-266-3228 วารสารตลาดสีเขียว เว็บไซด www.thaigreenmarket.com อีเมล wecare@thaigreenmarket.com
สารบัญ
4 ฟารมเห็ด
เล็กๆ จากแรงกายแรงใจ พี่นอยและลูกๆ
7
Green hospital สรางเครือขายสีเขียว ....จากตลาดนัดสีเขียว
12
Green feature อยูอยางไรไมตายผอนสง
10
Green market คูมือเดินตลาดอยางรูคิด
17 19
Green desizn แกลบสรางคาไดอยางไร
Shool for wellbeing จีดีพี...วัดความสุขของประชาชน ?
Producer เรื่อง/อธิพาพร ภาพ/ไผพิม
ฟารมเห็ด
เล็กๆ จากแรงกายแรงใจ พี่นอยและลูกๆ
“เราทำอะไรก็ไดที่ทำอยูบานไดทุกวัน ทุกคน ในครอบครัวไดทำดวยกัน ใหลกู ๆไดมสี ว นรวม ในอาชีพดวย” นี่เปนความคิดของ “พี่นอย” หรือ “คุณกันทิมา ฮวดบำรุง” เปนที่มาของ ฟาร ม เห็ ด เล็ ก ๆ ที่ เ ธอยึ ด เป น อาชี พ เลี้ ย งดู ลูกชายและลูกสาวทั้ง 2 คนในครอบครัว แตเดิมพีน่ อ ยทำธุรกิจรับเหมากอสรางอยูก บั ครอบครัวและ สามี จนกระทั่งเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในป พ.ศ. 2540 สงผลใหธรุ กิจของ ครอบครัวไมมั่นคง พี่นอยจึงเริ่มคิดมีอาชีพเสริมที่ทำเองที่บานได ทุกๆวัน เธอเริ่มดวยงานฝมือที่ตนเองชอบ คือการถักโคเชทและเย็บ กระเปาโดยศึกษาคนควาวิธีการตางๆ ดวยตนเองจากหนังสือและ อินเตอรเน็ต ตอมามาในป 2551 ครอบครัวและชีวิตของพี่นอยตองพบ กับการสูญเสียครั้งยิ่งใหญและสำคัญ เมื่อสามีหรือคุณพอที่แสนดี ของลูกๆตองจากไปอยางกะทันหันดวยโรคหัวใจวายเฉียบพลัน เมื่อ เสาหลักของครอบครัวจากไปแลวแมวาทั้งพี่นอยและลูกๆจะเสียใจ มากมายเพียงใด แตดวยความรับผิดชอบของผูเปนแมที่ตองเลี้ยงดู ลูกอีกสองคน ทำใหพี่นอยตองเขมแข็งลุกขึ้นสูกับทุกปญหา เพื่อเปน ทั้งเสาหลักใหครอบครัวและแมที่ดีของลูกๆ ตอไป
4
วารสารตลาดสีเขียว
พี่นอยตัดสินใจไปทำงานที่บริษัทเอกชน แหงหนึ่ง เธอทำงานหนักจนไมมีเวลาให กับลูกๆและเริ่มรูสึกถึงความเหินหางใน ครอบครัว เมื่อรูวาครอบครัวไมมีความ สุข เธอจึงคิดหาอาชีพอื่น เปนงานที่ทั้ง เธอและลูกๆสามารถชวยกันทำไดที่บาน ทุกๆวัน เมื่อคิดถึงงานฝมือที่เคยทำแต รายไดจากอาชีพนี้ก็ไมเพียงพอสำหรับ เลี้ยงดูทุกคนในครอบครัว เธอจึงนึกถึง การเพาะเห็ดและการเลีย้ งไสเดือนทีต่ นเอง เคยไปอบรมวิชาชีพมา พี่ น อ ยเลื อ กที่ จ ะเพาะเห็ ด สด ขาย โดยเริ่มลงทุนทำโรงเพาะเห็ดดวย และซื้ อ หั ว เชื้ อ เห็ ด มาเลี้ ย งด ว ยเงิ น ทุ น เริ่มตนประมาณ 3,000 บาท พี่นอยและ ลูกๆชวยกันรดน้ำดูแลเห็ดดวยกันอยาง มีความสุข ลูกทั้งสองคนไดเรียนรูวิชาชีพ นีไ้ ปพรอมๆกับเขาใจถึงความยากลำบาก และมานะอดทนของคุณแม ทำใหทั้งแม ลูกตางเปนกำลังใจทีส่ ำคัญใหกนั และกัน เห็ดทีพ่ น่ี อ ยเพาะมาขายคือ เห็ด นางฟ า ภู ฐ าน เป น เห็ ด ที่ จั ด อยู ใ นสกุ ล เดี ย วกั บ เห็ ด นางรมและเห็ ด เป า ฮื้ อ ลักษณะทั่วไปของเห็ดนางฟาภูฐาน คือ เจริญเติบโตเปนชอๆ คลายพัด สีขาวอม น้ำตาล ขณะที่เห็ดเปาฮื้อจะมีสีคล้ำและ เนื้อเหนียวหนาและนุมอรอยคลายเนื้อ สัตวมากกวา เชื่อวาสามารถปองกันโรค หวั ด ช ว ยการไหลเวี ย นเลื อ ดและโรค กระเพาะ ตอนนี้พี่นอยเริ่มเพาะเห็ดฟาง
เราทำอะไรก็ ได ท่ีทำอยูบ า นได ทุ ก วั น ทุ ก คนใน ครอบครั ว ได ทำ ด ว ยกั น ให ลู ก ๆ ได มี ส ว นร ว มใน อาชีพดวย
ออกขายไดแลว ซึ่งเปนเห็ดยอดนิยมของ คนไทย เพาะกั น บนกองฟางข า วชื้ น ๆ โคนมีสีขาว สวนหมวกสีน้ำตาลอมเทา ใหวิตามินซีสูง และมีกรดอะมิโนสำคัญ อยูห ลายชนิด หากรับประทานเปนประจำ จะชวยเสริมภูมิคุมกันการติดเชื้อตางๆ อีกทั้งยังชวยลดความดันโลหิตและเรง การสมานแผลดวย ในอนาคตพี่นอยและลูกๆฝนที่ จะขยายกิจการนี้ใหดีขึ้น มีเตานึ่งหัวเชื้อ เห็ดเอง มีโรงเพาะเห็ดที่ใหญขึ้น เพราะ เมื่ อ ได ม าขายที่ ต ลาดนั ด สี เ ขี ย วในโรง พยาบาลปทุมธานีทุกวันพุธ พี่นอยขาย ได ดี ม าก มี ก ารแปรรู ป เห็ ด ออกมาเป น น้ำพริกเห็ด แหนมเห็ด ทุกเชาๆเมื่อคุณ แมเพาะเห็ดสดได ลูกทั้งสองคนก็ปนจัก รยานไปขายใหกับเพื่อนบานในละแวก ชุมชนเดียวกัน เปนภาพที่ชาวบานในชุม
ชนคุ น ตากั บ เด็ ก หญิ ง เด็ ก ชายตั ว น อ ย และจั ก รยานคู ใ จที่ ค อยส ง เห็ ด ปลอด สารพิ ษ ที่ ใ หม สด จากฟาร ม ถึ ง มื อ ผู บริโภคทุกๆวัน เห็ดของพี่นอยมีลูกคาประจำ สั่งทุกวันทุกวันนี้ผลิตไมพอขาย “เพราะ เห็ดของเราปลอดสารพิษ เก็บใหม สด จากฟารมสงตรงถึงมือลูกคาทุกวัน” จะ เรียกวาเปนปณิธานในการผลิตและจำ หนายเห็ดจากผูผลิตรายเล็กๆที่ฟูมฟก สิ่งดีๆเพื่อสุขภาพใหกับผูบริโภคก็วาได ฟารมเห็ดเล็กๆของพี่นอยและลูกนาจะ เปนแบบอยางที่ดีใหกับผูที่สนใจเริ่มตน ธุรกิจการเกษตร เปนธุรกิจเล็กๆที่สราง รายได สรางรอยยิ้มและเสียงหัวเราะใน บานที่อบอุน ที่สำคัญคุณจะไดสรางวิถี การผลิตเกษตรอินทรียที่เปนมิตรตอสุข ภาพและสิ่งแวดลอมอีกดวย
Shop
อยากมีสุขภาพดี ใครก็ชวยไมไดตองสรางเอง... เปนความจริงที่ตองพิสูจนดวยตนอง แตปจจุบัน นี้ ป จ จั ย ที่ เ ป น ตั ว ช ว ยและทางเลื อ กในการสร า ง สุขภาพดีมีอยูมากมายหากใฝศึกษาเรียนรู และ นี่คืออีกหนึ่งทางเลือก... ดี- เฮลท ( D- health )ราน green shop เล็กๆที่แทรกตัว อยูในยานศิริราช บนถนนพรานนก ที่เต็มไปดวยรานรวงเกี่ยวกับ สุขภาพมากมาย หากแตที่นี่มีลูกคาเขามาเลือกซื้อหาสินคาไม ขาดสาย ดวยมีสินคาหลากหลายเชนสินคาจากโครงการหลวง อาหารเพื่อสุขภาพ ทั้งสำเร็จรูปและแปรรูป ผลิตภัณฑสมุนไพร เวชสำอางค รวมถึงหนังสือเพื่อสุขภาพทั้งกายใจ เรามาทำความ รูจ กั กับคุณนุจรี วิรยิ ยุตตพันธุ หรือคุณรัก ผูเ ปนเจาของเลาใหฟง วา “ รานนี้เปดมาตั้งแตเดือนตุลาคม ป 50 เดิมเปนราน ของคุณแมแลวเลิกกิจการ เสียดายดวยเห็นวาเปนทำเลที่ดี เลย คิดจะทำธุรกิจของตัวเอง และที่มาจับธุรกิจนี้ก็เริ่ม จากตัวเองเปนคนสนใจดูแลสุขภาพ ชอบความ สวยความงาม รักธรรมชาติ อะไรมีประโยชนก็ จะกิน เลยคิดวาแนวนีเ้ หมาะกับตัวเองทีส่ ดุ และ เห็นวาธุรกิจแนวนี้นาจะเติบโตขึ้นเรื่อยๆ เพราะ คนเริ่มมีกระแสรักษาสุขภาพกันมากตั้งแตยัง ไมปวย เปนการปองกันโรคภัยตางๆ ที่จะเกิด ขึ้น” แม D - health จะเปนเพียงรานคูหา เดียวแตมีสินคาหลากหลาย ไมวาของกิน
6
วารสารตลาดสีเขียว
ของใชพืชผักสดเรียกวาลูกคาเขามาแลวไมผิดหวัง คุณรัก เลาวามีกฏเกณฑการเลือกซื้อสินคา คือ - ถาเปนอาหารตองไมใสผงชูรส วัตถุกันเสีย เปน ของไทยไมนำเขา และถาเปนเกษตรอินทรียไดยิ่งดี - ดูปจจัยคุณภาพสินคา ดูรสชาติ ความอรอย ความตองการของลูกคา เนนของโรงพยาบาลอภัยภูเบศร เพราะลูกคาใชกันมาก และปองกันความเสี่ยง - มีมาตรฐานรับรองสินคาที่เชื่อถือได เชน อย., ตราเกษตรอินทรีย, ตัว Q , GAP เพื่อปองกันปญหาที่จะ เกิดขึ้น เชนการแพ ของเสีย และสิ่งสำคัญที่ทำให D- health อยูไดก็คือทำเล ที่ตั้งที่เอื้อตอยอดขายในการทำธุรกิจ อีกทั้งการเนนบริการ ใหความจริงใจกับลูกคา ใหขอมูลสินคาที่เราขาย ทราบ แหลงที่มา ไมขายของที่ไมดี หมดอายุ ซื่อสัตยเอาใจใส เปนกันเองกับลูกคา ใหเวลาในการเลือกซื้อ และนี่ คื อ อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กของคนรั ก สุ ข ภาพ สุขภาพดีที่ ดี - เฮลท (D - health)
ตลาดนัดสีเขียว… จากใจสูใจสรางเครือขายสีเขียว
โครงการพัฒนาระบบและกลไกตลาดนัดสีเขียวในพื้นที่โรงพยาบาล ต น แบบภายใต ก ารสนั บ สนุ น จากสำนั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การ สรางเสริมสุขภาพ (สสส.) มีวัตถุประสงคหลักเพื่อพัฒนาระบบและ กลไกตลาดสีเขียวในพื้นที่โรงพยาบาล ดำเนินงานและเชื่อมประสาน ระหวางกลุมผูผลิต/ผูประกอบการกับผูบริหารและบุคลากรของ โรงพยาบาลรวมทั้งผูบริโภคในพื้นที่อยางมีสวนรวมและรณรงคให ผูบริโภค เกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของอาหารอินทรีย อาหารปลอดภัยที่ดีตอสุขภาพและไมทำลายสิ่งแวดลอม โดยมีกลุม เปาหมายคือผูบริโภคในโรงพยาบาลและชุมชนโดยรอบ ซึ่ ง ได ดำเนิ น การเป ด ตลาดนั ด สีเขียวขึน้ ทีโ่ รงพยาบาลปทุมธานีเปนแหงแรก โดยมีระยะเวลาในการดำเนินโครงการตั้งแต เดือนกันยายน 2553 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2554 นอกเหนือจากกลไกการทำงานดังกลาว ทางโครงการไดพยายามสรางความเขมแข็ง ในการรวมกลุมผูผลิตเพื่อความยั่งยืนที่จะ เกิดขึ้นในอนาคต เพราะเมื่อถึงเวลาที่ทาง โครงการหมดระยะเวลาการดำเนินงาน เรา หวังที่จะเห็นกลุมผูผลิต/ ผูประการสามารถ ยื น อยู ไ ด ภ ายใต วิ ถี ก ารผลิ ต สี เ ขี ย วอย า ง เขมแข็ง ไมถูกกลืนหายไปกับการแขงขันดวย
การตลาดที่มุงเนนการผลิตเพื่อแสวงหาผล กำไรเพียงอยางเดียวโดยไมคำนึงผลกระทบ ใด ๆ ที่ จ ะตามมาดั ง เช น ที่ เ ราพบมากใน ปจจุบัน หนึ่งกิจกรรมที่เราทำเพื่อสรางให เกิดความเขมแข็งจาการรวมกลุมตลาดนัด สี เ ขี ย วคื อ การประชุ ม หลั ง ตลาดเลิ ก โดย ทุกครั้งเมื่อสมาชิกแตละคนเก็บขาวของเสร็จ จะทยอยกั น มานั่ ง รวมกลุ ม ใต ต น ไม เพื่ อ ประชุมและพูดคุยกัน มีการแจงขอมูล ขาวสาร ความเคลื่ อ ไหว ทั้ ง ในและนอก เครื อ ข า ย ตลาดนัดสีเขียวที่เกี่ยวของ หลังจากนั้นจะ
Hospital เรื่องโดย จุฬาลักษณ ชวยกันระดมความคิดเห็นเพื่อแกไขปญหา หรือขอไอเดียเพื่อสรางสรรคกิจกรรมตางๆ เชน กิจกรรมจากผูผลิต สูผูบริโภค พรอมกับ ทบทวนกฎกติกา มาตรฐานตลาดนัดที่ตกลง รวมกัน อยางสม่ำเสมอ เมือ่ แรกเริม่ ของการจัดประชุม หลัง ตลาดเลิก หลายคนอิดออดไมอยาก เขารวม พอขายของเสร็จก็อยากจะกลับ บานเลย แต เมื่อทำเปนประจำเสียงบน เหลานั้นก็เริ่มเบา ลง ถึงแมจะมีอยูบางก็ตาม ดวยธรรมชาติ ของการขายของใน ตลาดนัดหากไมไดตั้ง รานขายสินคาอยูใกลกัน นอยคนนักที่จะมี โอกาสสรางสัมพันธกบั กลุม ผูค า คนอืน่ ๆ ดวย กันเอง การสรางวงประชุมเล็กๆ ใหเกิดขึ้น จึงเปนการดี ที่ทำใหทุกคนไดเห็นหนาคาตา กัน ไดแลกเปลี่ยนความคิด ทัศนคติตอกัน รูวา ตอนนี้ใครทำอะไร อยางไร ซึ่งเปนการ ตอยอดไปถึงการซือ้ ผลผลิตกันเองในตลาดนัด สีเขียว กลุม ผูผ ลิตอาหารซือ้ วัตถุดบิ จากกลุม เกษตกรไปทำเปนอาหารเพือ่ สุขภาพปลอดภัย จำหนายในตลาดนัดสีเขียว ผูที่มีประสบการณ ความรู ตางให คำแนะนำต อ กั น เมื่ อ สมาชิ ก ในกลุ ม พบกั บ ปัญหา อีกสิง่ ทีเกิดขึน้ ถือเปนเรือ่ งราวทีง่ ดงาม คือความมีน้ำใจ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน ใน กลุม สมชิกตลาดนัดสีเขียว ในเรือ่ งเล็กๆ นอยๆ ที่เรามองเห็นชัดเจนขึ้นทุกวัน สิ่งเหลานี้ได เกิดขึ้นนอกเหนือจากพัฒนาระบบและกลไก ตลาดนั ด สี เ ขี ย วในโรงพยาบาล ซึ่ ง เป น เปาหมายหลักของเรา เรารวบรวมความรูสึกและสิ่งที่ได จากการมารวมออกรานเปนประจำทีต่ ลาดนัด สีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานีแหงนี้ ของผูผ ลิต บางสวนมาบอกเลาสูกันฟง เริ่มจาก “ป า ทอง” เกษตกรจากบ า นใหม ผูผลิตพืชผักปลอดภัยเลาใหเราฟงวา เดิมที ไปขายผลผลิตที่ตลาดไท ซึ่งเปนตลาดใหญ อำนาจการตอรองเราเลยนอย หากสายแลว
ยังขายไมได ไมวา ราคาจะถูกแคไหนก็จำเปน ตองขาย เหมือนคนตายไมเผาก็ตองฝง แต เมื่อไดมาขายที่ตลาดนัดสีเขียว ทำใหขายได ราคาเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง แม จ ะไม ม ากแต ก็ ไ ม ต อ ง ลำบากใจกับการถูกกดราคาหรือกลัวของจะ เสี ย หาย มี ลู ก ค า ประจำมาซื้ อ ทุ ก สั ป ดาห นอกจากนั้นปาทองยังไดเพื่อนใหมมากขึ้น หลายคนพูดจาภาษาเดียวกัน เปนคนดี ได รวมตัวเปนกลุมเปนกอนเปนสมาชิกดวยกัน รูสึกสบายใจเมื่อมาขายในตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลปทุมธานี “พี่นก” จากรานผักบานผลไมสวน เปนอีกหนึ่งคนที่เขารวมโครงการตลาดนัด สีเขียวมาตั้งแตวันเปดงาน ผลผลิตสวนใหญ จะเป น ผลไม พื้ น บ า นของไทยตามฤดู ก าล เชน กลวย ขนุน มะมวง มะละกอ มะเหมี่ยว เปนตน และมีผักสวนครัวตางๆ ติดมาดวย สม่ำเสมอ สวนของพี่นกเปนการปลูกแบบ ผสมผสาน ปลอยใหธรรมชาติดูแลกันเอง มี การเพิ่มปุยคอก หรือน้ำสมควันไมไลแมลง
8
วารสารตลาดสีเขียว
ชวยบาง แตไมมีการใชสารเคมี หรือยาฆา แมลงใดๆ กอนทีจ่ ะมาขายในตลาดนัดสีเขียว พีน่ กพบปญหาระบายผลผลิตทางการเกษตร ไมทัน ของเหลือเสียเปนจำนวนมากแตเมื่อมี ตลาดนัดสีเขียวเกิดขึ้นก็ถือเปนอีกชองทางที่ ชวยใหพ่นี กมีตลาดที่แนนอน ถึงแมจะรองรับ ผลผลิตไมไดทั้งหมดแตตอนนี้พี่นกไดคิดตอ ยอดแปรรูปผลิตภัณฑจากสวนตัวเอง โดย เริ่มศึกษาการทำเตาอบพลังงานแสงอาทิตย เพื่อใชแปรรูปผลไมในสวนตัวเอง ตอไปใน ตลาดนัดสีเขียวของเราคงมีผลไมแปรรูปจาก แหลงวัตถุดบิ ทีป่ ลอดสารเคมี และกระบวนการ แปรรูปทีป่ ลอดภัยไดรบั ประทานกัน นอกจาก นั้ น พี่ น กยั ง ได เ ล า ถึ ง พฤติ ก รรมการซื้ อ ของ ตัวเองที่เปลี่ยนไป โดยกลาววาเห็นคุณคา ของเงินมากขึ้นเพราะการเก็บผลผลิตในสวน มาขายนัน้ เหนือ่ ยมาก ตองเดินไปเก็บตรงนัน้ ที ตรงโนนที เนือ่ งจากไมไดใชปยุ เคมี หรือฮอรโมน สังเคราะหเรง ทำใหผลผลิตที่ไดไมแนนอน ตองชะเงอมองทีละตน กวาจะไดแตละอยาง มาขาย แตพี่นกก็มีความสุขดีกับการมาขาย ทีต่ ลาดนัดสีเขียวแหงนี้ เพราะไดรบั น้ำใจจาก เพื่อนๆ สมาชิกเสมอ หลายครั้งที่มาชวยพี่ นกยกของ ชวยกางโตะไวให พีน่ กบอกวารูส กึ วาเปนสังคมที่ดี ชวยเหลือเรา เราไมรวู า สิง่ ทีท่ างโครงการฯ กำลัง พยายามจะสรางใหเกิดอยางเชนการเปนกลุ มหรือเครือขายผูผลิต/ผูประกอบการตลาดนั ดสีเขียว จะเขมแข็งและยั่งยืนไดแคไหนเนื่อง ดวยขอจำกัดของระยะเวลาการทำโครงการ ที่กำลังกระชั้นเขามาทุกที แตถึงกระนั้นเมื่อ เราเห็นความตัง้ ใจและมุง มัน่ ของผูผ ลิตหลาย คนที่อยากใหเครือขายผูผลิตตลาดนัดสีเขียว เกิดขึ้นอยางเขมแข็งไดจริงๆ ก็ทำใหเราไม
ยอทอตอสิ่งใด พรอมจะจับมือผูผลิตของเรา สรางเครือขายตลาดนัดสีเขียวใหเกิดขึ้นและ ยืนอยูไดอยางเขมแข็งในอนาคต และแนวความคิ ด ที่ ต อ งการให โรงพยาบาลเปนสถานที่จำหนายสุขภาพที่ดี ใหแกทกุ คน และปองกันการเจ็บปวยของผูป ว ย ที่ตองมารักษาในโรงพยาบาลถูกสงตอจาก โรงพยาบาลปทุมธานีไปสูโ รงพยาบาลบางโพ เมือ่ ผูบ ริหารโรงพยาบาลบางโพไดเขารวมงาน พิธีวันเปดตลาดนัดสีเขียวของโรงพยาบาล ปทุมธานีเมือ่ วันที่ 3 มีนาคม ทีผ่ า นมา จึงเกิด แนวความคิดอยากใหตลาดนัดสีเขียวแหงนี้ ไดไปอยูท โ่ี รงพยาบาลบางโพบาง เพราะอยาก ใหลกู คาทีเ่ ขามาใชบริการทีโ่ รงพยาบาลบางโพ ไดมที างเลือกในการบริโภคอาหารทีป่ ลอดภัย ควบคูไปกับการเรียนรูและเขาใจ ตระหนักถึง พิษภัยของสารเคมีตกคางในอาหารซึ่งเปน ส ว นสำคั ญ ในการก อ โรคร า ยหลายอย า ง แกรางกายเรา รวมไปถึงอยากใหบุคลากร เจาหนาที่ในโรงพยาบาลและชุมชนรอบขาง ได มี ท างเลื อ กและตระหนั ก ถึ ง พิ ษ ภั ย ของ สารเคมีตกคางในอาหารดวยเชนเดียวกัน โรงพยาบาลบางโพเปนโรงพยาบาล เอกชนขนาด 100 เตียง อยูบนถนนประชา ราษฎรสาย 2 เขตบางซือ่ ไดเปดทำการตัง้ แต ป พ.ศ 2533 วิสยั ทัศนหลักของโรงพยาบาลคือ Bangpo : Your choice for good health จะจั ด พิ ธี เ ป ด งานตลาดนั ด สี เ ขี ย วในโรง พยาบาลแห ง แรกในกรุ ง เทพฯ ในวั น ที่ 23 พฤษภาคม 2553 บริเวณโถงชั้น 1 ทางไป อาคารจอดรถ ตัง้ แตเวลา 08.00 น.เปนตนไป มีทั้งอาหารกาย อาหารใจ และอาหารสมอง ใหไดเลือกรับกัน ภายในงานมีเวทีเสวนา “กินเปน ลืมปวย” และกิจกรรมตางๆ มากมาย คุณ เมธนี สายเพ็ชร ผูจัดการฝายพัฒนาคุณภาพ หนึง่ ในผูบ ริหารทีเ่ ปนกำลังสำคัญในการสราง ตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาลบางโพไดกลาว ทิ้งทายไวกับเราสั้นๆ ถึงแรงจูงใจสำคัญใน การสรางตลาดนัดสีเขียวใหเกิดขึ้นวา “เรา อยากใหลูกคา เจาหนาที่ ชุมชนและองคกร โดยรอบไดใชชิวิตที่สมดุล และรูทันพิษภัยที่ เกิดขึ้นใกลๆ ตัว ไมตองรอใหเจ็บปวยหรือ เปนโรครายเสียกอนจึงมาโรงพยาบาล”
Market
เมื่อตนเดือนพฤษภาคม มีบทความหนึ่งใน หนังสือพิมพบางกอกโพสตที่นาสนใจมาก เพราะทำให เราตระหนักมากยิ่งขึ้นวา “ตนแลเปนที่พึ่งแหงตน” เมื่อ รัฐบาลไทยพยายามทุกวิถีทางที่จะสรางเม็ดเงินจาก การสงออกอาหาร โดยใชสโลแกนวา “ประเทศไทยจะ เป น ครั ว อาหารของโลก” ทั้ ง กระทรวงพาณิ ช ย แ ละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ ตางขมีขมันกับการสราง คุณภาพและสรางมาตราฐานอาหารเพื่อการสงออก ไปขายยังตางประเทศ โดยเฉพาะตลาดในประเทศ ยุโรป นัน้ เขามีมาตรการทีเ่ ขมงวดในดานนี้ มีกฏหมายปกปอง คุม ครองผูบ ริโภคของเขา ใหเขาถึงอาหารอยางปลอดภัย และลดความเสี่ ย งจากการบริ โ ภค ดั ง นั้ น ผู ส ง ออก อาหารตองไดรับการรับรองดานมาตรฐานอาหารจาก หนวยงานตางๆ ตัง้ แตดา นอาหารปลอดภัยจากการใช สารเคมีทางอาหาร หนวยงานดานการรับรองผลผลิต อินทรีย และการบรรจุภัณฑตางๆ เรียกวาทุกขั้นตอนมี การตรวจรับรองถึงจะสงออกไปขายในประเทศเขาได ผิดกับสถานการณในบานเรา ใครจะชวยดูแล ใหผบู ริโภคปลอดภัยจากการกินและการบริโภคอาหาร ที่มากับการปนเปอนของสารเคมีทางการเกษตร เชน ยา ฆาแมลง ปุ ย เคมี รวมทั้ ง สารเคมี ที่ ใ ช ใ นการแปรรู ป อาหาร ไดแก สารกันปูด สารแตงสี สารแตงกลิ่นและรส อาหาร ในขณะที่อาหารและ สินคาบริโภคที่ขายอยูใน บ า นเราไม มี ค วามสามารถที่จ ะทำการตรวจสอบได หนวยงานเชนคณะกรรมการอาหารและยาหรือ อย. แหงกระทรวงสาธารณสุขก็ออกมายอมรับวาไมมีกำลัง คนและกำลังทรัพยที่จะทำอยางทีก่ ระทรวงพาณิชย หรือ กระทรวงเกษตรและสหกรณตรวจสอบอาหารสงออกได คำถามจึงเกิดขึ้นวา ทำไมผูบริโภคบานเราถึง ถูกทิ้งขวาง ไมมีหนวยงานไหนที่จะชวยปกปองดูแล ใน เมื่อ อย. ก็ออกมายอมรับวาไมสามารถจัดกับปญหา สารเคมีที่ปนเปอ นในอาหารได ไมวา ในขัน้ ตอนการผลิต การปลูก หรือการแปรรู บทความนี้ยังรายงานถึงสถิติ ตัวเลขในเรือ่ งความเสีย่ งทีเ่ กิดจากอาหารและขบวนการ ผลิตในบานเรา ซึง่ ทัง้ ผูผ ลิต และผูบ ริโภคลวนเผชิญกับ ความไมปลอดภัยและความเสี่ยงในเรื่องอาหารอยาง ไมนาเชื่อ
ตัวเลขผูผลิต : ไมปลอดภัยจากการผลิต 39 % ความเสี่ยงจากการผลิต 36 % และปลอดภัย 25%
39 %
ตัวเลขผูบริโภค : ไมปลอดภัยจากการบริโภค 61 % ความเสี่ยงจากการบริโภค 28 % และปลอดภัย 11%
61 %
ดังนั้นถึงเวลาหรือยังที่ผูผลิตและผูบริโภคหัวใจสีเขียว ตอง มาหาวิธีที่จะดูแลตนเองกัน หันมารวมกลุมอยางที่พวกเราชาวตลาด สีเขียวกำลังขับเคลือ่ นสรางตลาดสินคาพูดได คือการใหขอมูลของผูผลิต แกผูบริโภค และสรางโอกาสที่จะไดมาพบปะเจอะเจอกันมากขึ้น
คูมือเดินตลาด อยางรูคิด...
ในยุคทีบ่ า นเมืองเจริญเติบโต สิง่ ตางๆ เปลีย่ นแปลงไป ตามสมัย ราน ตลาด กลายเปนเซเวน วิลลามารเก็ต ซุปเปอรมารเก็ต ศูนยการคาตางๆ มากมาย จนผูคน ลืมเลือนบรรยากาศของ “ตลาด” แหลงพบปะของผูค น ในชุ ม ชน สถานที่ แ ลกเปลี่ ย นข า วสารกั น ตามประสา ชาวบาน เสนหข องตลาดอยูท ค่ี วามเคลือ่ นไหว ความมี ชีวิตชีวา ที่ผูมาเดินจับจายซื้อของไดสัมผัสทัง้ อาหาร ตาและอาหารใจกลับบานไปดวย เรามาลองสวมวิญญาณ นักช็อปเดินตลาดกันดีไหม แตตองมีคูมือเพื่อเรียนรู วิธกี ารเดินอยางคุมคา เริ่มแลวไปกันเลย... - ตั้งเปาหมายการช็อป เพื่อไมเสีย เวลาเพลินไปกับสินคาหลากหลาย และจะ ไดไมสน้ิ เปลืองเงินทองกับสิง่ ของทีไ่ มจำเปน สามารถกะงบประมาณได เปนการคุมราย จายใหพอเหมาะพอดี - จายตลาดใหเปน บางคนบอกก็ ไมใชแมบาน เลือกซื้ออาหารผัก ผลไมไม เปน อยางนีก้ ต็ อ งมาเรียนรูก นั หนอยดีไหมละ เลือกอาหารคุณภาพดี ราคาไมแพง เพราะ คุณภาพไมไดวัดดวยราคาเสมอไป เชน ผัก และผลไม พื้ น บ า นมี คุ ณ ค า ของอาหารสู ง แต ร าคาถู ก มี อ ยู ม ากมาย เลื อ กซื้ อ ที่ ไ ม มี คราบดินติดมากมายและไมมคี ราบขาวของ สารเคมีติด อยาไปเลือกซื้อของราคาแพง เพราะเปนของตางประเทศ ของแพงเพราะ หายาก ปลูกยาก เชน อะโวคโด องนุนอก พริกตุม แตคุณคาเมื่อเทียบเทากับอาหาร ชนิดอื่นที่ราคาไมแพง เลือกซื้ออาหารผัก และผลไมใหถูกตองตามฤดูกาล บานเรามี ผักผลไมหลายชนิด จึงสามารถเลือกผัก อยางหนึ่งแทนอีกอยางหนึ่งโดยไดคุณคา เที ย บเคี ย งกั น เลื อ กซื้ อ ของให พ อเหมาะ ไมขาดหรือเหลือทิ้ง โดยคิดรายการอาหาร ใน 1 สัปดาห (ถาบานอยูไกลตลาด) เชน
10
วารสารตลาดสีเขียว
ไปจายตลาดสัปดาหละ 1 ครัง้ ควรเลือกซือ้ ของไวใหพอ ไมจำเปนตองซื้อของกักตุนใน ปริมาณมาก เพราะอาจหมดอายุเสียกอน แทนที่จะเปนการประหยัดกลายเปนของ เหลือทิ้ง - รูจักกับตราสัญญลักษณ ปจจุบัน นี้มีการควบคุมดูแลปลอดภัยในอาหาร จึง ไดมสี ญ ั ลักษณทร่ี า นอาหาร ฉลากผลิตภัณฑ หรือที่ตลาดสดตองหมั่นสังเกตดู เพื่อสราง ความมัน่ ใจใหกบั ผูบ ริโภค เชน อย. (องคการ อาหารและยา) เปนสัญลักษณใหกบั ผลิตภัณฑ อาหารแปรรูปทีม่ ภี าชนะบรรจุมดิ รับผิดชอบ สำนั ก งานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข เครือ่ งหมายตลาดสด น า ซื้ อ เป น สั ญ ลั ก ษณ ใ ห กั บ ตลาดขาย อาหารสด อาหารพรอมบริโภค อาหารแปรรูป โดยกำหนดสถานทีส่ ะอาด อาหารปลอดภัย ไมมีสารปนเปอน (ไมพบบอแรกซ สารฟอร มาลีน สารไฮโดรซัลไฟด สารฟอกขาว สาร ป อ งกั น เชื้ อ รา สารพิ ษ ตกค า ง สารกำจั ด แมลง) ใสใจผูบริโภค มีพื้นที่ใหความรูและ กิ จ กรรมส ง เสริ ม การคุ ม ครองผู บ ริ โ ภค รั บ ผิ ด ชอบโดย กรมอนามั ย กระทรวง สาธารณสุข
โครงการ ‘อาหารปลอดภั ย ’ หรื อ ‘Food Safety’ เปนสัญลักษณใหกับฟารม แหลง ปลู ก ที่ ดำเนิ น การตามระบบการผลิ ต ที่ ถู ก ต อ ง(GAP), มาตรฐานการจั ด การ (COC) และหลักเกณฑวธิ กี ารทีด่ ใี นการผลิต (GMP) รับผิดชอบโดย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนการรับรอง สินคาอาหาร รับรองระบบการจัดการดาน ความปลอดภัย และคุณภาพอาหาร รับรอง สินคาที่มิใชอาหาร เชน ปจจัยการผลิตทาง การเกษตรรับรองระบบอื่นๆ ที่ไมใชดาน ความปลอดภัยและคุณภาพอาหารดวย เมื่ อ ได เ รี ย นรู กั น แล ว เราจะได เดิ น ตลาดด ว ยความมั่ น ใจ รู จั ก เลื อ กซื้ อ เลือกหาของดีมีคุณภาพ ราคาเหมาะสม ไดแลกเปลี่ยนพูดคุยกับพอคาแมขาย ถึง แหล ง ผลิ ต ความเป น มาของสิ น ค า เป น มิตรภาพของผูซื้อและผูขายที่ใหแกกัน และนี่ คื อ วิ ถี แ ห ง “ตลาด” ตั ว สะท อ นเรื่ อ งราวของคนแต ล ะชุ ม ชนจน เปรียบเสมือนเปนลมหายใจของวิถชี วี ติ ไทย มาแตอดีตจนทุกวันนี้....
Consumer
โครงการตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานีไดเปด ดำเนินการมาได 3 เดือนแลว ทำใหเห็นมิติตางๆ ของ ผูผลิต สรางความรักความผูกพันทั้งความปรารถนาดี ที่มีตอกันในหมูผูผลิต เพื่อพยายามพัฒนาตนเองและ สรางเครือขายใหเกิดขึ้น และทางโครงการก็มีการขยาย โครงการไปสูโรงพยาบาลบางโพอีกแหงหนึ่งซึ่งจะเปด งานในวันที่ 23 พฤษาภาคมนี้ ลองมาฟงความคิดเห็น ของเจาหนาที่ในการเปดตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาล บางโพครั้งนี้...
อาจารยสมจิตต สายเพ็ชร กรรมการผูจัดการ โรงพยาบาลบางโพ
สถาพร คชภักดี พยาบาลพัฒนาระบบคุณภาพ
การเกิดตลาดนัดสีเขียวขึ้นที่โรงพยาบาลนับวามีความ สำคัญ เพราะปกติก็ทานพวกผักปลอดสารอยูแลว ทำใหมีทางเลือก มากขึ้นเขาถึงแหลงไดงายขึ้น และเจาหนาที่ ผูบริโภคทั่วไปจะไดรจู ัก ดูแลตนเองเพราะปจจุบันโรคภัยตางๆ โดยเฉพาะมะเร็งคุกคามชีวิต ผูคนมากมายโดยยังหาสาเหตุไมไดแนชัด อาจมาจากสิ่งแวดลอม อากาศ น้ำอาหาร ซึ่งตลาดนัดสีเขียวนี้จะเปนแหลงใหความรูแก ผูค นไดรจู กั เลือกเพือ่ ตัวเอง และอยากใหตลาดนัดทีน่ เ่ี ปนแหลงอาหาร ปลอดภัยของชุมชน ที่สามารถหาซื้อจับจายสินคาเพื่อสุขภาพ อยาก ใหทุกคนใสใจตนเอง ใสใจสิ่งแวดลอม เปนการคืนกลับเพื่อสังคม ของเรา และเราเองจะไดหางไกลจากโรคภัยตางๆ ดวย...
การเปดตลาดนัดสีเขียว ในโรงพยาบาลเปนการดี มีความ สำคั ญ เนื่ อ งจากตั ว เองเป น นั ก กำหนดอาหาร มีหนาที่ในการหา ซื้ออาหาร พืช ผักปลอดสารเรา จะเนนอาหารปลอดภัย หาซือ้ ยาก แตพอมีโครงการตลาดนัดสีเขียว ที่โรงพยาบาลบางโพ ทำใหเรา มั่ น ใจ จะได มี แ หล ง ที่ เ ชื่ อ ถื อ ได ดวยเห็นกระบวนการในการคัด กรองสิ น ค า และคิ ด ว า จะเป น ประโยชน ทั้ ง ต อ ตั ว เอง แพทย ผูมาใชบริการของรพ. เปนผลดี ตอสุขภาพของทุกคน แลวยังมี ส ว นร ว มช ว ยด า นสิ่ ง แวดล อ ม ลดโลกรอนดวยการใชถุงผามา นาวัน แสงศรีเพ็ชร จับจายซื้อของ ลดปริมาณขยะ นักกำหนดอาหารวิชาชีพ ใหโลกมองดูแลวมีแตสิ่งดีๆ ที่จะ เกิดขึ้น
คิ ด ว า ตลาดนั ด สี เ ขี ย ว เปนตลาดที่ปลอดภัย ปลอดสาร เคมี อยากใหมพี ชื ผักผลไม เลือก ไดหลากหลายและมีความสำคัญ ทั้ ง จำเป น ต อ เจ า หน า ที่ แ ละผู บริโภคทั่วไป ในการสรางเสริม สุขภาพ ทำใหเขาถึงผลิตภัณฑ ไดงายและสะดวกขึ้น อยากให ตลาดเปนแรงจูงใจใหคนหันมา ใสใจสุขภาพ ใสใจสิ่งแวดลอม มากขึ้น
เนาวรัตน เดชฤทธิ์ สมุหบ ญ ั ชี โรงพยาบาลบางโพ การมีตลาดนัดสีเขียว นับเปนการสงเสริมคุณภาพชีวิต ผูบ ริโภคในเรือ่ งอาหารทีป่ ลอดภัย ปลอดสารเคมี เปนชองทางเลือก การเข า ถึ ง สิ น ค า ที่ มี คุ ณ ภาพ ทำให เ พิ่ม ความสะดวกในการ ดูแลสุขภาพ เพราะในการรักษา นอกจากการใชยา สิ่งแวดลอม อื่นๆ ก็มีสวนสำคัญ อยางเรื่อง อาหารเป น ทั้ ง ยา และหากไม สะอาดหรือมีสารปนเปอนก็กอ ใหเกิดโรคไดผูบริโภคจึงตองรับรู และศึกษา การมีตลาดนัดสีเขียว มีอาหารที่ปลอดสาร ปลอดภัย จึ ง เป น การลดภาวะความเสี่ ย ง ของคนเราในการเลือกซือ้ เลือกกิน และตลาดนัดสีเขียวรพ.บางโพ ก็ เ น น อาหารเพื่ อ สุ ข ภาพเป น นโยบายของที่นี่เพื่อใหชุมชนได รับทราบ เปนการสรางภาพลักษณ ทีด่ ี และยังเปนสวนสงเสริมชุมชน ให ตื่ น ตั ว เรื่ อ งการดู แ ลรั ก ษา สุขภาพของตนเองและครอบครัว เพื่อสรางสังคมที่แข็งแรงตอไป
Feature เรื่อง/ ภาพ: วุฐิศานติ์ จันทรวิบูล
อยูอยางไร ไมตายผอนสง จากวิถีบริโภคสูน โยบายอาหารปลอดภัย โรคภัยจากอาหาร ในวิถีชีวิตของมนุษย อาหารนับ เปนหนึ่งในปจจัยสี่ที่มีความสำคัญซึ่งคน เราจะขาดไปเสียไมได เมื่อเปรียบเทียบ กับปจจัยที่เหลืออีกสามอยาง เพราะวา อาหารเปนสิ่งสำคัญยิ่งตอการดำรงชีวิต อยูของมนุษย คนเราตองไดรับอาหารทุก วัน ปกติวันละสามมื้อ อาหารการกินจึงมี ความผูกพันกับชีวิตประจำวันของคนเรา มาก เพราะหากขาดปจจัยอื่นๆ มนุษยเรา ยังพอมีชีวิตอยูได แตถาหากขาดอาหาร เพี ย งไม น าน เราก็ จ ะไม ส ามารถมี ชี วิ ต รอดอยูได ในเมื่ออาหารมีความสำคัญกับ ชีวิตมนุษยมากมายอยางนี้ บวกรวมกับ จำนวนประชากรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว อาหารจึงถูกเรงผลิตใหมีจำนวนเพิ่มมาก ขึ้น ฉะนัน้ ปจจัยสวนหนึง่ ทีช่ ว ยเพิม่ ผลผลิต ใหแกเกษตรกรและฟารมปศุสตั ว จึงจำเปน ตองพึ่งพาสารเคมีตางๆ จำพวกปุยและ ยาฆาแมลง รวมถึงยาปฏิชีวนะอีกมาก มาย ซึ่งหากคนเรากินเขาไปแลวยอมสง
12
วารสารตลาดสีเขียว
ผลอันตรายถึงแกชีวิต หากอาหารทีเ่ รากินอยูเ ปนประจำทุกวันปนเปอ นอยูด ว ยสารเคมี ความปลอดภัย ในชีวิตของเราก็ยอมมีนอยลง แทนที่คุณคาทางโภชนาการจากอาหารที่เรากินจะเขา ไปชวยเสริมซอมแซมสวนที่สึกหรอของรางกายใหกลับแข็งแรงสมบูรณ กลับกลายมา เปนบั่นทอนชีวิตของเรามากยิ่งขึ้น ทำใหเกิดความเจ็บปวย ทั้งยังเปนการสะสมกอให เกิดโรคภัยไขเจ็บในภายภาคหนาอีกดวย ถาเชนนั้นเราควรทำอยางไรดี ดวยความหวงใยในสุขภาพของประชาชน และตระหนักรูถึงความสำคัญของ อาหาร กระทรวงสาธารณสุขจึงไดกำหนดเปนนโยบายอาหารปลอดภัยขึ้นมา และ สงเสริมใหเปนนโยบายระดับชาติ โดยไดรบั ความสนับสนุนจากองคการระหวางประเทศ จากองคการอนามัย (WHO: the World Health Organization) และองคการอาหารและ เกษตรแหงสหประชาชาติ (FAO: the Food and Agriculture Organization of the United Nations) โดยกระทรวงสาธารณสุขรวมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ เขามา ทำหนาที่ในการควบคุมดูแล ตรวจสอบ และออกขอกำหนดเกี่ยวกับมาตรการความ ปลอดภัยดานอาหาร
อาหารปลอดภัยสูนโยบายแหงชาติ วิถีการบริโภคในโลกยุคปัจจุบัน อาหารมีใหเลือกสรรมากมาย อีกทั้งยังหาซื้อ ไดงาย เพียงแคเรายางกาวเขาไปในตลาดที่มีอยูเกือบทุกหัวระแหง ตั้งแตตลาดสด ขนาดใหญ ตลาดนัดชัว่ คราว รานคา แผงรอย รถเข็น รวมไปถึงตลาดในซุปเปอรมารเก็ต ที่ขายทั้งอาหารสดและอาหารปรุงสำเร็จที่เราตองซื้อหากลับไปบริโภค แตเคยบางไหม เมื่อคุณซื้ออาหารกลับไปรับประทานแลวเกิดอาการทองรวง หรือเจ็บปวยเนื่องจาก อาหารเปนพิษ ถาเชนนั้นผูบริโภคจะรูไดอยางไรวาอาหารที่ขายอยูในตลาดหรือราน อาหารมีความปลอดภัยหรือไม
เมื่ อ นโยบายความปลอดภั ย ด า นอาหารถู ก ยก ใหเปนนโยบายระดับชาติ กระทรวงสาธารณสุขกับกระทรวง เกษตรและสหกรณ จึงไดมกี ารเขามากำกับดูแลและกำหนด มาตรฐานดานอาหาร โดยกระทรวงเกษตรฯ มีหนาที่ดูแล เรื่องการผลิตและการสงออก สวนกระทรวงสาธารณสุขเขา มามีหนาที่ดูแลเรื่องอาหารที่จำหนายในทองตลาด โดยได กำหนดใหมีการตรวจสอบความปลอดภัยในอาหาร ดวย การสุมตรวจหาสารเคมีและจุลินทรียในอาหารเปนประจำ ทุกเดือน ไดแก สารบอรแรกซ สารตกคางจากยาฆาแมลง สารฟอกขาว สารกั น รา สารฟอร ม าลิ น สารเร ง เนื้ อ แดง จุลินทรีย สารโพลารในน้ำมันทอดซ้ำ สารอะฟลาทอกซินใน ถั่วลิสง เปนตน คุ ณ จงกลนี วิ ท ยารุ ง เรื อ งศรี ผู อำนวยการศู น ย ปฏิบัติการความปลอดภัยดานอาหาร เลาใหฟงวา “พอมี นโยบายเรื่องอาหารปลอดภัย กระทรวงสาธารณสุขสั่งให ทุกจังหวัดระดมตรวจกันทุกตลาดเลย พอกลายเปนนโยบาย สาธารณะ ทุ ก หน ว ยงาน ทั้ ง มหาวิ ท ยาลั ย โรงเรี ย น โรง พยาบาล องคกรทั้งหลาย แมกระทั่งโรงงานก็นำนโยบายไป ปฏิบัติอยางเขมขน โดยจะเลือกตรวจสารเคมีบางตัวใน อาหารสดแตละชนิด เชน ตรวจสารเรงเนื้อแดงในเนื้อหมู ตรวจฟอรมาลินในอาหารทะเล เพราะอาหารทะเลสวนใหญ ใชฟอรมาลินแชเพื่อไมใหเนาเสีย ตรวจสารกันราในน้ำพริก
ปรุงสำเร็จ เครือ่ งแกง หรือสินคาโอทอปทีช่ าวบานทำออกมาจำหนาย นอกจากนี้ยังตรวจพบสารฟอกขาวในถั่วงอก เห็ดหูหนู และน้ำตาล ปบอีกดวย” คุ ณ จงกลนี อธิ บ ายว า เรื่ อ งอาหารที่ อ ยู ใ นบริ บ ทของ กระทรวงสาธารณสุขมีอยู 3 ประเภท ไดแก อาหารสด อาหารแปรรูป และอาหารปรุงสำเร็จ “อาหารสดที่จำหนายในตลาด ตัวตลาดเองก็ ตองดูแลดานสุขาภิบาลดวย แบงเปนตลาดที่มีโครงสรางถาวร ไดแก ตลาดสดขนาดใหญ ตลาดของเทศบาลหรือ อบต. ถัดมาเปนตลาด นั ด รถเร ซุ ป เปอร ม าร เ ก็ ต ซึ่ ง เอกชนให ค วามร ว มมื อ ดี ม าก โดย กระทรวงสาธารณสุขกำหนดวาตลาดสดตองผานเกณฑอะไรถึงจะ ไดรับการรับรองจากกรมอนามัย เปนตลาดสดนาซื้อ เชน เกณฑ สุขาภิบาลกับสิ่งแวดลอม และเกณฑ Food Safety ซึ่งตลาดที่ไดมา ตรฐานจะไดรับปาย ‘ตลาดสด นาซื้อ’ “ สำหรับอาหารแปรรูป สำนักงานคณะกรรมการอาหารและ ยาจะต อ งกำหนดตรวจสอบ GMP (Good Manufacturing Practice) เขมขน โดยกำหนดวาโรงงานอาหารตองได GMP มีกรรม วิธที ด่ี ใี นการผลิต ทัง้ ในเรือ่ งกระบวนการผลิต ความสะอาด สุขาภิบาล ในโรงงาน ตัวพนักงานทีเ่ ขาไปสัมผัสอาหาร หองเก็บวัตถุดบิ อุปกรณ ตางๆ สารทีน่ ำมาใชในกระบวนการผลิตหรือการถนอมอาหาร คุณภาพ ของอาหาร เรียกไดวาคุมเขมทั้งกระบวนการผลิตจนกระทั่งออกมา
เปนผลิตภัณฑสำเร็จรูป อย. จะดูแลทุก กระบวนการขั้นตอนใหไดมาตรฐาน เมื่อ ผานเกณฑก็จะไดตรารับรองของ อย. ประเภทสุดทายคืออาหารปรุง สำเร็จทีข่ ายตามรานอาหาร ซึง่ กรมอนามัย จะเป น ผู กำหนดมาตรฐาน โดยในร า น อาหารจะเนนเรื่องการตรวจเชื้อจุลินทรีย และเปดโอกาสใหรานอาหารที่ดี มีความ ตื่นตัวมาของเครื่องหมายรับรอง Clean Food Good Taste ทั้งนี้มีเจาหนาที่กรม วิ ท ยาศาสตร ก ารแพทย เ ข า ไปตรวจ ถ า วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช มี ค วามปลอดภั ย ก็ จ ะมอบ ปาย Clean Food Good Taste ใหทาง รานไวแสดงแกลูกคาวาเปนรานอาหารที่ มีความปลอดภัย ตัง้ แตป 2551ทีผ่ า นมา กระทรวง สาธารณสุ ข กั บ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ ได จั ด ทำข อ ตกลงกั บ 19 ภาคี องคกรเครือขายทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชนและ ภาคประชาชน กอตัง้ เปนสภาความรวมมือ เครือขายความปลอดภัยและความมั่นคง ด า นอาหาร มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ ร ว มกั น พัฒนาขับเคลือ่ นการผลิตและการกระจาย อาหารปลอดภั ย สู ต ลาดชุ ม ชนและร า น
14
วารสารตลาดสีเขียว
อาหารสดที่จำหนายในตลาด ตัวตลาดเองก็ตองดูแลดาน สุ ข าภิ บ าลด ว ย แบ ง เป น ตลาดที่ มี โ ครงสร า งถาวร ได แ ก ตลาดสดขนาดใหญ ตลาดของเทศบาลหรือ อบต. ถัดมาเปน ตลาดนัด รถเร ซุปเปอรมารเก็ต ซึ่งเอกชนใหความรวมมือ ดีมาก โดยกระทรวงสาธารณสุขกำหนดวาตลาดสดตอง ผานเกณฑอะไรถึงจะไดรับการรับรองจากกรมอนามัย เปน ตลาดสดนาซื้อ เชน เกณฑสุขาภิบาลกับสิ่งแวดลอม และ เกณฑ Food Safety ซึ่งตลาดที่ไดมาตรฐานจะไดรับปาย ‘ตลาดสด นาซื้อ อาหาร รวมทั้งพัฒนาอาหารปลอดภัยใน องคกรตางๆ เชน โรงพยาบาล โรงเรียน และในสถานทีท่ ำงานตางๆ โดยไดกำหนด เปนธรรมนูญอาหารปลอดภัย กำหนดให อาหารและสินคาเกษตรทีน่ ำมาเปนอาหาร ตองมีความปลอดภัย ไรสิ่งเจือปน ตาม กฎหมายวาดวยอาหาร อาทิ การปองกัน จุ ลิ น ทรี ย ห รื อ สารเคมี ที่ เ ป น อั น ตรายต อ สุขภาพ การควบคุมการผลิต ขนสง เก็บ รักษาอาหารใหถูกสุขลักษณะ กำหนดวิธี การคั ด เลื อ กวั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช ป รุ ง อาหารทั้ ง สัตวและพืช รวมถึงควบคุมคุณภาพของ ภาชนะบรรจุอาหารที่ไมเปนอันตรายตอ สุขภาพ ซึง่ ในปนจ้ี ะมีการสนับสนุนใหเกิด มีการดำเนินงานอยางจริงจังมากขึ้น โดย ปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะสงเสริมให เปดศูนยเรียนรูอาหารปลอดภัย สงเสริม สุขภาพตนแบบขึ้นในโรงพยาบาลและใน กระทรวงสาธารณสุข เพื่อจัดกิจกรรมเผย แพรความรูแกประชาชน ดานอาหารและ โภชนาการที่ปลอดภัย รวมทั้งเปน Outlet ของตลาดนัดสีเขียว ตรวจสอบและจำหนาย ผลผลิตอาหารจากเกษตรกรในโครงการ พระราชดำริ และเกษตรอินทรีย ซึง่ จะชวย หนุนเสริมสนับสนุนโครงการของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ ที่จะผลักดันใหเกิด การเกษตรทีป่ ลอดภัยแกผบู ริโภคใหสำเร็จ งายขึ้น และนอกจากนี้ ทานปลัดกระทรวง สาธารณสุ ข ยั ง สนใจเรื่ อ งโรงพยาบาล อาหารปลอดภัย โดยใหทางโรงพยาบาล รับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรผูผลิตอาหาร อินทรียโ ดยตรง และสงเสริมใหมตี ลาดนัด สี เ ขี ย วในโรงพยาบาล เป ด โอกาสให เกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรียนำสินคาของ ตนเขามาจำหนาย “มันเปนการเปดโอกาส ใหผูผลิตไดพบกับผูบริโภคโดยตรง จัดให คนที่อยากไดวัตถุดิบกับคนที่ผลิตวัตถุดิบ มาเจอกัน เหมือนเปนการสรางชองทาง ใหเขามาคาขายกัน ขณะนี้ทางกระทรวง สาธารณสุขเองก็กำลังเตรียมความพรอม ที่จะเปดใหมีตลาดนัดสีเขียวในกระทรวง สาธารณสุขอีกดวย” คุณจงกลนีกลาว แต สิ่ ง ที่ ป ระเทศเราขาดคื อ ตั ว กลาง “ตัวกลางจะมาดูวาความตองการ ของตลาดคื อ อะไร ตั ว กลางต อ งไปหา ผูผลิต และรับจากผูผลิตมาสงใหผูบริโภค หรื อ ร า นอาหาร โดยที่ ค นกลางต อ งไม ค า กำไรเกิ น ควร ให ค วามเป น ธรรมทั้ ง ตัวผูผลิตกับคนที่เอาไปขายตออีกที ถา เราสรางคนกลางตรงนี้ไดคิดวาทุกอยาง
จะดีขึ้น คิดดูสิวาถาเราควบคุมรานอาหารทั้งหมดได ประชาชน ผูบริโภคก็จะปลอดภัย ดวย เพราะชีวิตเราในปจจุบันฝากไวกับรานอาหารตางๆ”
อยูอยางไรไมตายผอนสง ความจริงแลวอันตรายมีอยูใกลตัวมากเสียจนเราไมไดทันสังเกต โดยเฉพาะ อันตรายที่ปนเปอนอยูในอาหารแตละจาน คุณจงกลนีบอกเลาถึงประสบการณที่พบ เจอกับตัวเองใหฟงวา “ดิฉันเคยไปซื้อขาวขาหมูที่ปากซอย มีผักดองมาดวย เลยลอง เอาผักดองมาตรวจดวยชุดทดสอบ Test Kits ที่กรมวิทยาศาสตรการแพทยเปนผูผลิต โดยการหยดน้ำยาลงไปบนผักดอง ปรากฏวาเจอสารฟอกขาวและสารกันรา ฉะนั้น หากซื้อผักกาดดอง หนอไมดอง คุณอาจจะไดสองตัวนี้แถมมาทุกครั้ง” ถาเชนนั้นแลว เราจะอยูอยางไร กินอยางไรไมใหตายผอนสง เราคงตองเลือก ซื้ออาหารอยางระมัดระวังยิ่งขึ้น เลือกตลาดหรือรานอาหารที่สะอาดและนาเชื่อถือ โดยเฉพาะรานที่มีเครื่องหมายและตราสัญลักษณอาหารปลอดภัย Food Safety, Clean Food Good Taste และตลาดสดนาซื้อ นอกจากนี้ อาจจะตองขวนขวายหาความรูเ รือ่ งอาหารการกิน หรือคอยติดตาม ประชาสัมพันธของกระทรวงสาธารณสุข ที่ออกมาใหความรูกับประชาชนในเรื่องการ บริโภค การปรับพฤติกรรมการกิน เรื่องความสะอาด การขจัดสารเคมีตกคาง เชื้อ จุลินทรีย รวมถึงเรื่องภาชนะบรรจุ โดยเฉพาะถวยชามเมลามีน “กระทรวงสาธารณสุข ตองคอยประชาสัมพันธและใหความรูกับประชาชน เพราะตอนนี้อาหารอาจมีความ ปลอดภัยดวยตัวกายภาพของอาหาร แตปรากฏวาคนไทยยังเจ็บปวยดวยโรคตางๆ ทั้ง โรคความดัน เบาหวาน โรคหัวใจ โรคหลอดเลือด โรคเหลานี้ลวนเกิดจากพฤติกรรม ของคนเรา ทั้งพฤติกรรมการกิน ภาวะของจิตใจ อารมณ ความเครียด การกินสำคัญ มาก กินอยางไรก็ไดอยางนั้น การกินกับการออกกำลังกายมีความสัมพันธกัน ซึ่งทาง สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ และสำนักโภชนาการตองเขามาดูแลวา จะทำอยางไร ใหประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกิน” คุณจงกลนีกลาวในทายที่สุด การจะมีชีวิตอยูไดโดยไมตองตายผอนสง สุดทายแลวคงขึ้นอยูที่การเลือก ของเราเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของเรา การปรับภาวะอารมณและจิตใจ ของเราใหเกิดความสมดุล รวมถึงการเลือกอาหารที่ดี มีประโยชนและปลอดภัยใหกับ ตัวเอง อยางนอยก็ใหเลือกซื้ออาหารจากรานคาที่มีตราสัญลักษณอาหารปลอดภัย หรือเลือกซื้ออาหารจากผูผลิต รานคา และตลาดที่มีความนาเชื่อถือ อยางเชนสินคาที่ นำมาขายในตลาดนัดสีเขียวทีจ่ ดั ใหมขี น้ึ ตามทีต่ า งๆ เชือ่ แนวา คุณจะรับประทานอาหาร อยางอิ่มอรอยและปลอดภัย ขอขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับความปลอดภัยดานอาหารไดที่ศูนยปฏิบัติการความ ปลอดภัยดานอาหาร ที่เว็บไซต www.foodsafetythailand.net หรือพบเห็นผลิตภัณฑ สุขภาพทีไ่ มไดมาตรฐาน สามารถรองเรียนไดท่ี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทุกจังหวัด สายดวนผูบริโภค ๑๕๕๖ และที่เว็บไซต www.fda.moph.go.th
Movement
สมัชชาอาหาร ปลอดภัย จังหวัดสมุทรสงคราม “มุงมั่นสรางสรรคเมืองแมกลอง ใหเปนเมืองแหงอาหารปลอดสารพิษ เพื่อทุกชีวิตปลอดภัย โดยกระบวน การให ค วามร ว มมื อ ของทุ ก ภาค สวนอยางบูรณาการและยั่งยืน”
สมัชชาอาหารปลอดภัยสมุทรสงคราม เปนองคกรภาคประชาชน มีอาจารย อรุณ เกิดสวัสดิ์ เปนประธาน ไดรบั งบ ประมาณสนับสนุนจากสำนักงานกอง ทุ น สนั บ สนุ น การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพ (สสส.) เพือ่ พัฒนาการผลิต การเพาะ เลี้ยง การเพาะปลูก การแปรรูป และ การประกอบอาหารปรุงสำเร็จในสถาน ประกอบการและครัวเรือน ใหมีความ ปลอดภัยจากสารเคมีและจุลินทรียที่ เป น อั น ตรายแก ผู บ ริ โ ภค โดยได รั บ ความรวมมือจากเกษตกรผูผลิต ผู ประกอบการคา ผูบริโภค หนวยงาน ราชการ ภาครัฐ และองคกรทองถิ่น ทุ ก ระดั บ ในจั ง หวั ด สมุ ท รสงคราม พรอมทัง้ ผลักดันใหเกิดการเคลือ่ นไหว ด า นกลไกตลาดที่ เ ป น ธรรมต อ กลุ ม ผูผลิต
16
วารสารตลาดสีเขียว
โครงการพัฒนาระบบและกลไกตลาดนัดสีเขียวในพืน้ โรงพยาบาลตนแบบ ไดมโี อกาสพาผูผ ลิตจากตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานีไปทัศนศึกษาดูงาน ที่ กลุมองคกรภาคีเครือขายสมัชชาอาหารปลอดภัยสมุทรสงครามเมื่อวันที่ 26 เมษายน 2553 ที่ผานมาเพื่อศึกษาแนวทางการรวมกลุมการพัฒนาผูผลิต รวม ไปถึงการตรวจสอบระบบคุณภาพภายในกลุมที่เครือขายสมัชชาอาหารปลอดภัย ไดนำมาใช จนประสบความสำเร็จในสรางเครือขายไดอยางเขมแข็ง โดยเฉพาะ การทำงานรวมกับชุมชนซึ่งไมไดขับเคลื่อนเพียงแคการพัฒนาการผลิตในรูปแบบ ตาง ๆ เทานั้น แตยังพยามยามรักษาองคความรู ภูมิปญญาดั้งเดิมซึ่งถูกสงตอมา จากบรรพบุรุษใหไปถึงมือลูกหลานโดยมิไดจำกัดเพียงแคลูกหลานในจังหวัด สมุทรสงครามแตยงั เปดรับบุคคลทัว่ ไปทีเ่ ห็นคุณคาความสำคัญขององคความรูแ ละ ภูมปิ ญ ญาตางๆ ดวย รูปแบบหนึง่ ทีช่ ดั เจนทีท่ างเครือขายสมัชชาอาหารปลอดภัย ญา คือการจัดตัง้ ศูนยการเรียนรูม หาวิชชาลัยภูมปิ ญ ญา ไดสง ตอความรูแ ละภูมปิ ญ ทองถิ่น สมุทรสงคราม แบงภาคการเรียนรูเปน 6 กลุม ไดแก 1. เกษตรธรรมชาติ และพลังงานยัง่ ยืน 2. ขนมไทย อาหารไทยพืน้ บาน 3. แปรรูปผลผลิตการเกษตร 4. สมุนไพรและแพทยแผนไทย 5. ศิลปวัฒนธรรม หัตกรรมพื้นบาน และ 6. การ อนุรกั ษทรัพยากรชายฝง โดยเนนความรูท ม่ี อี ยูใ นทองถิน่ มาใหชาวบานไดถา ยทอด ประสบการณ แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกัน ตามความสนใจ ในปจจุบนั ถึงแมทางเครือขายสมัชชาอาหารปลอดภัยจะไมไดรบั เงินทุน สนับสนุจาก สสส.แลวก็ตาม แตยงั มีการเชือ่ มโยงเครือขายและพัฒนาผูผ ลิตอยาง ตอเนื่อง อาจารยอรุณ เกิดสวัสดิ์ ประธานสมัชชาอาหารปลอดภัย ไดกลาวไววา “องคกรเราจะเติบโตอยางเขมแข็ง เปนลูกที่รูจักโต และโตอยางมีคุณภาพ ถึงแม องคกรภาคประชาชนเล็กๆ แหงนี้จะไมไดรับเงินสนับสนุนจาก สสส.แลวก็ตาม”
จี ดี พี
เปนมาตรวัดความสุข และความมั่งคั่งของประชาชาติไดจริงหรือ?
จีดีพี (GDP Gross Domestic ในสังคมและสภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจได ครอบครัว ชุมชน หนวยของสังคมวิชาชีพตา งๆ การอาสาสมัครรวมไมรวมมือในชุมชน เ Product) แปลเปนไทยวา ผลิต ดวยเหตุผลดังตอไปนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติหมด : จีดีพีเพิ่ม พื่อกระตุนจีดีพีโดยไมรูตัว แตจีดีพีไมนับรวม ภัณฑมวลรวมของประเทศ ซึ่ง จีดพี ถี อื เอาการสูญเสียทุนทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งตางๆเหลานี้ หมายถึงมูลคาตลาดทัง้ หมดของ เปนรายได การขุดเจาะเหมืองแรธาตุ น้ำมัน 5. จีดีพีเพิ่ม ความสุขลด จีดีพีวัดความ ล ว นไปเพิ ่ ม ให ก ั บ รายได ห รื อ สุ ข ของคนผ านความร่ำรวย โดยเชือ่ วา ถาจีดพี ี และก า ซต า งๆ สินคาและการบริการในประเทศ ในหนึง่ ป ตัวเลขดังกลาวไดมาจาก จีดีพีโดยไมไดคิดคำนวณการหมดไปของ มีอัตราเพิ่มสูงมาก ประเทศจะร่ำรวยและคน ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวหมดไป ไมอาจ จะมีความสุข เพราะคิดวาการกินดีอยูดีจะ ตัวเลขการบริโภค, การลงทุน, นำกลั บ มาใช ใ หม ไ ด ดั ง นั้ น ค า ตั ว เลขจี ดี พี ทำใหคนมีความสุข ซึ่งไมเปนจริง เพราะคน การใชจา ยของรัฐบาล บวกตัวเลข ที่เพิ่มพูนขึ้น จึงยอมหมายถึงการสูญเสีย มีความสุขหรือไม ไมไดขึ้นกับความรวยโดย เฉพาะอย า งยิ่ ง ความสุ ข ที่ ยั่ ง ยื น จี ดี พี จึ ง ไม การสงออกลบดวยตัวเลขการ ทรัพยากรธรรมชาติเชนเดียวกัน 2. มลภาวะเพิ่ม : จีดีพีเพิ่ม การเพิ่มขึ้น สามารถวัดความสุขที่แทจริงของคนได นำเขา วันนีเ้ ปนทีว่ พิ ากษวจิ ารณทว่ั โลกวา การวัดความเจริญดวยตัวเลขการเติบโตทางเ ศรษฐกิจดวยคาจีดีพีน้ไี มไดแสดงการเติบโต ”จริงๆ “ หรือเติบโตในคุณภาพชีวติ มีชวี ติ ดีขน้ึ มีความสุขมากขึน้ เพราะไดมหี ลักฐานทัว่ โลก ที่ชี้ใหเห็นวา การเติบโตทางเศรษฐกิจ การมี ทรัพยสินเงินทองมากไมไดแปลวามีคุณภาพ ชีวติ และมีความสุขมากขึน้ ตามไปดวยเสมอไป มีหลายประเทศที่มีจีดีพีอยูระดับเดียวกัน แต แตกตางกันอยางมากในเรือ่ งสุขภาพและการ ศึกษาแหงชาติ ประเทศยากจนบางประเทศ มีตวั เลขคุณภาพชีวติ ดีกวาประเทศร่ำรวยกวา บางประเทศ เชน อายุยนื กวา คนมีสขุ ภาพจิต ดีกวา ความเครียดนอยกวา คำถามตอจีดพี :ี จีดพี กี ลบเกลือ่ นอะไรไวบา ง? จี ดี พี เ ป น เพี ย งภาพลวงตามั น ไม สามารถสะทอนความตองการทีแ่ ทจริงของคน
ของจีดพี ยี งั หมายถึง การเพิม่ ขึน้ ของมลภาวะ ตอสิ่งแวดลอมดวย กลาวคือ มลภาวะที่เพิ่ม ขึ้นจากการขยายตัวของจีดีพี ไมเคยถูกตรวจ นับใหหักออกจากคา จีดีพี แตกลับบวกคาใช จายใดๆ ก็ตาม ที่เกิดขึ้นเพื่อแกไขมลภาวะ เป น พิ ษ เพิ่ ม เข า ไปให กั บ จี ดี พี อี ก ทอดหนึ่ ง แทนที่จะตองถือเปนคาใชจายที่ตองหักออก 3. การกระจายรายได : จี ดี พี ป กป ด จีดีพีไมไดคำนึงถึงการกระจายรายได มิได สะทอนถึงความกินดีอยูดีของคนในประเทศ ถาประเทศนัน้ มีความแตกตางในการกระจาย รายได การเติบโตของจีดพี กี จ็ ะสงผลประโยชน ตอคนสวนนอยที่ถือครองทรัพยสินสวนใหญ 4. กิจกรรมสรางสรรคทางสังคม : จีดีพี ไมนับ จีดีพีไมถือเอากิจกรรมทางครอบครัว ชุมชน สังคมอันมีคุณคาตอเศรษฐกิจทั้งทาง ตรงและออมมาพิจารณา ไมวาจะเปนการมี เวลาเพิ่ ม ขึ้ น ในการใช ชี วิ ต ร ว มกั น ภายใน
(หมายเหตุ: GDP รวมมูลคาตลาดทัง้ หมดในประเทศ ไมวา จะเปนการลงทุนหรือดำเนินการโดยบริษทั ของประเทศใด)
สรุปไดวาการคิดคาจีดีพีดังกลาว มีทั้งขอจำกัดและความไมสมบูรณ ดังนั้น การนำจีดพี มี าใชเปนเปาหมาย และดัชนีชว้ี ดั ความกาวหนาของสังคมและความเปนอยู ที่ดี อาจเปนขอผิดพลาดทำใหเกิดการเรงรัด การใชทรัพยากรจนนำไปสูก ารพัฒนาประเทศ ที่ไมยั่งยืนในที่สุด ซึ่งนี่คือสิ่งที่ประเทศภูฐาน ได ต ระหนั ก เรี ย นรู แ ละนำ GNH (Gross National Happiness) ความสุขมวลรวม ประชาชาติ มาพัฒนาคุณภาพชีวิต,เศรษกิจ ของประเทศแทน GDP จนกลายเปนแบบอยาง ใหหลายประเทศหันกลับมามองและกาวตาม เพื่อความสงบและสันติสุขของประชาชน....
Recommend
www.kidsbegreen.org ปลูกฝงนิสัยใสใจสิ่งแวดลอมใหกับเด็กๆ ดวยเนื้อหาสนุกๆ และกราฟฟคนารักๆ เพราะการรักษาสุขภาพสิ่งแวดลอมเปนสิ่งสำคัญ มาก แตมนุษยเราก็สรางขยะมาทับถมโลกไดวันละมหาศาล เว็บไซตนี้ จึงชักชวนเด็กๆ ใหมาชวยพิทกั ษโลกดวยการ reduce – ลดการสรางขยะ reuse – การใชซ้ำ และ recycle - นำของเหลือทิ้งกลับมาใชใหมใหเกิด ประโยชน เนือ้ หาอานสบายดวยภาษาเขาใจงายเหมาะกับเด็กๆ ทีส่ ำคัญ คือใชเกมเปนสื่อ มีใหเลือกเลนมากมาย เลนเพลินไดความรูฝงใจ ผูใหญ จะแอบเปนเด็กกันบางก็คราวนี้แหละ...
เธอเห็นสีสนั ในดวงตาของฉันไหม :
เรือ่ งเลาของจิตรกรหนุม ผูก า วขามสูพ รมแดนแหงศิลปะบำบัด ทำไมศิลปะจึงมีความหมายและ อิ ท ธิ พ ลต อ มนุ ษ ย คำตอบสามั ญ ที่ สุ ด ก็ คื อ ศิลปะแทรกตัวอยูร ะหวางรอยตอของโลกธรรม กับโลกแหงปรมัตถธรรม ศิลปะไมใชคำสอน และตัวของศิลปนเปนเพียงสาธกใหโลกไดเห็น ถึงความงามดวยผลงาน แมแตในกรีกโบราณ ก็ถอื วาความงามเปน 1 ใน 3 ของสดมภหลักซึง่ ประกอบดวยความจริง ความดี และความงาม หรือแมแตในทางพุทธธรรมก็เห็นวา ถึงที่สุด แลวสามสิง่ นีไ้ มมตี วั ตน ดังนัน้ โลกของศิลปะ จึงอยูสูงกวาสามัญสำนึก เพราะแกนแทของ ศิลปะคือการแสวงหาความงามทีส่ มบูรณแบบ ไมวา กระบวนการสรางสรรคศลิ ปะจะซับซอน ยุงยากหรือเรียบงายอยางไร ก็ลวนแตนำไป สูเปาหมายเดียวกัน นั่นคือ ความงาม สวนที่ ศิลปะสามารถยกระดับจิตใจมนุษยใหสูงสง นั้น ก็เปนเรื่องที่เปนไปเอง ในป ค.ศ 1921 เปนตนมา รูดอลฟ สไตเนอร และนายแพทยอติ า เว็กมันไดทำให โลกรูจักกับศิลปะในอีกบทบาทหนึ่ง โดยการ นำเอาธาตุสำคัญทางศิลปะ อันกอปรดวยเสน สี คาน้ำหนักของแสง รูปทรง และพื้นผิว ฯลฯ มาสังเคราะหเขากับภูมปิ ญ ญาทางการแพทย ในแนวมนุษยปรัชญา กอใหเกิดเปนมรรคา สายใหมที่พุงตรงสูจิตวิญญาณของมนุษย โดยหวั ง ผลสั ม ฤทธิ์ อ ยู ที่ ก ารบำบั ด เยี ย วยา
18
วารสารตลาดสีเขียว
ปจเจกบุคคลทัง้ ทางกาย จิต และจิตวิญญาณ และนี่ คื อ อี ก บทบาทหนึ่ ง ของศิ ล ปะที่ ไ ม ไ ด ลอยตัวอยูเ หนือโลกอีกตอไป ทวาไดแปรเปลีย่ น นามธรรมแหงความงาม ใหกลายเปนรูปธรรม ของการอนุเคราะหเพื่อนมนุษยอยางเปนจริง เปนจัง ภายใตนามที่เรียกขานกันวา ‘ศิลปะ บำบัด’ นั่นเอง อนุ พั น ธุ พฤกษ พั น ธ ข จี ถื อ เป น ศิลปนและนักศิลปะบำบัดคนแรกของไทย ที่ นำความรูดานศิลปะบำบัดในแนวทางมนุษย ปรัชญาทีร่ บั การถายทอดจาก Therapeutikum am Kraeherwald e.V .ในเมืองสตุทการท ประเทศเยอรมนี มาใชในการบำบัดเยียวยา ผูปวย เธอเห็นสีสันในดวงตาฉันไหม จึงเปน การถายทอดเรื่องราวและประสบการณจริง ของผูเขียน จากการศึกษาและทำงานตาม แนวทางการใชศลิ ปะบำบัด การใชคณ ุ สมบัติ ของสีสันตางๆ ในการชวยเยี่ยวยาผูปวย ซึ่ง เครื่องมือเหลานี้ตองถูกเลือกใชใหเหมาะสม กับบุคคลและสถานการณที่เกิดขึ้น เชน การ ใชสที เ่ี ขมหนัก เพือ่ ใหผทู เ่ี พอฝนไดตน่ื ตัว หรือ ผูหมดกำลังใจ ไดกระตือรือรน การใชสีเยือก เย็น เพื่อคนที่จิตใจรุนแรงจะไดสงบ หรือคน จิตใจสับสนจะไดปลอดโปรง นอกจากผูเขียนจะทำใหเราไดเขา ถึงและเรียนรูโลกของศิลปะบำบัดและความ
เขียน : อนุพนั ธุ พฤกษพนั ธขจี บรรณาธิการ : ชนะ คำมงคล ราคา : 140 บาท ความหนา 120 หนา สำนักพิมพสวนเงินมีมา งามของศิลปะผานภาษาทีเ่ รียบงาย สวยงาม ชวนใหติดตามยิ่งแลว ผูเขียนยังไดสอดแทรก นัยยะบางสิ่งอยูในงานเขียนที่ทำใหเราตอง กลับมาตัง้ สติคดิ ตามถึงสัจธรรมของชีวติ และ ความงดงามในความเป น มนุ ษ ย จึ ง ไม น า ประหลาดใจนักที่เมื่อผูอานพลิกหนังสือไป จนหนาสุดทาย แลวไดเขาใจหมายความของ ขอความตอไปนี้ “บางสิ่งที่ผูคนไดเคยทำหลนหาย จากหัวใจของตัวเอง และหลงลืมมันไปแลว ศิลปะมักคนหามันจนพบ และสงคืนใหแก เราผูเปนเจาของทุกครั้งไป”
Design เรื่อง/ ภาพ ไผพิม
ใครจะคาดคิดเทคโนโลยีทม่ี นุษย สรรสรางขึน้ เพือ่ พัฒนาโลก ใหรุกหนา แตก็มีผลลบดั่งดาบสองคมที่กลับมาทำรายคนเราดวย มลภาวะตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ ... ไมวา ดิน น้ำ อากาศ เสียง แมกระทัง่ อาหาร การกิน โดยเฉพาะภาชนะที่บรรจุอาหาร พลาสติกเขามาอยูในชีวิต ประจำวันของคนเราจนยากหลีกเลีย่ ง เชน ถุงใสอาหารตางๆ ภาชนะ เมลามีน ซึ่งเปนที่นิยมดวยสีสันลวดลายสวยงาม น้ำหนักเบาทนทาน และราคาไมแพง ทำใหเราไมรูถึงพิษภัยที่ตามมาจากสารเคมีตกคาง เมื่อภาชนะถูกความรอน เชนสารฟอรมาดีไฮด ที่กอใหเกิดโรคมะเร็ง ที่คนเราเปนอยูมากมายในเวลานี้... ดวยตระหนักถึงพิษภัยจากสารเคมีตกคางจากภาชนะบรรจุ อาหาร care earth จึงไดคิดคนใชเทคโนโลยีนำวัสดุธรรมชาติอยาง แกลบมาสรางคุณคาใหกลายเปนเครื่องครัวที่คงทนสวยงาม สีตาม ธรรมชาติ เปนจาน ชาม ชอน ตะเกียบ ถวยชา และเขียง หลากหลาย ดีไซน เปนทางเลือกใหมเพื่อสิ่งแวดลอม โดยคุณชัยธวัช มวงศิริ ผูอำนวยการฝายพัฒนาธุรกิจ บอกเลาถึงที่มาใหทราบวาเห็นแกลบ มีอยูเยอะไมมีมูลคาอะไร การกำจัดทิ้งก็นำไปเผาไฟ เลยคิดนำสิ่ง เหลือใชอยางแกลบ มาพัฒนาสรางมูลคา ก็ใชเวลาคิดคนถึง 4 ป ซึ่งมีขั้นตอนการดำเนินงานคือนำแกลบมาอบฆาเชื้อโรค เอามาบด แลวอัดขึ้นรูป ตัดแตง ตรวจสอบคุณภาพ โดยมีสวนผสมคือแกลบ 85% แปงมัน 15 % เพื่อใหแกลบยึดติด และสีเปนสีธรรมชาติของ แกลบเอง เมื่อขึ้นรูปเรียบรอยตรวจสอบคุณภาพก็จะมีคุณสมบัติใช
ใสอาหารไดตั้งแต -30 องศา ถึง 120 องศา ใชเครื่องลาง จานได มีอายุการใชงานอยางต่ำ 2 ป หากแตกหักก็ยอย สลายไดตามกลไกของธรรมชาติ (Biodegradable) ซึ่งสิ่ง สำคัญทีค่ ณ ุ ชัยธวัชหวงใยและบอกกลาวคือ “ปจจุบนั การใช พลาสติกของไทยเยอะมากๆ โดยเฉพาะเมลามีน การกำจัด ทำไดตองใชเวลาอีกนานสิ้นเปลืองงบประมาณมาก ทั้งสง ผลกระทบปญหาสิง่ แวดลอมทีย่ ากแกไข ทุกคนตองชวยกัน ใชภาชนะจากธรรมชาติสูธรรมชาติ เพื่อลดปริมาณขยะ ของโลก ตอนนี้ก็พยายามคิดเรื่องการสรางสีสันเพื่อดึงดูด ความสนใจ และต อ งเป น สี ที่ ไ ม มี ส ารเคมี อี ก ทั้ ง ดี ไ ซน ใหโดนใจ ก็กำลังศึกษาอยู “ นี่คืออีกหนึ่งทางเลือก เครื่องครัวที่ทำจากแกลบ เพื่ อ ให คุ ณ หลี ก เลี่ ย งจากการตายผ อ นส ง จากภาชนะ พลาสติก และคุณก็จะเปนอีกผูหนึ่งที่รวมกันรักษโลกดัง สโลแกน “We Green The Earth “
Support
ตลาดสีเขียว ตลาดทางเลือก ตลาดสีเขียว ไมวา จะเปนทีส่ รุ นิ ทร หรือในจังหวัดตางๆ ที่ เกิดขึ้นในปจจุบัน สะทอนใหเห็นถึงแนวโนมภาคการผลิต สินคาเกษตรอินทรียใ นประเทศทีม่ คี วามเขมแข็งมากขึน้ และ ไดรบั ความนิยมจากผูบ ริโภคเพิม่ มากขึน้ ภาคราชการเองก็ มองเห็นวาการพัฒนาใหเกิดตลาดสีเขียว จะชวยพัฒนาให เกิดความเขมแข็งของภาคการผลิตในประเทศ และสามารถ พัฒนาไปสูการสงออกไดมากขึ้น ในขณะเดียวกันตลาด เกษตรอินทรียใ นประเทศทีก่ ำลังขยายตัวก็จะคอยๆ สราง ความเขมแข็งในภาคการผลิตสินคาเกษตรอินทรียใ นประเทศ
20
วารสารตลาดสีเขียว
ดังนัน้ สำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ อาหารแหงชาติ (มกอช.) จึงไดดำเนินการชวยเสริม สรางตลาดสีเขียวที่มีอยูใหมีจำนวนมากขึ้น โดยมุง เนนกลุมคนอินทรียที่รวมตัวกัน เพื่อขายสินคาที่ผลิต ดวยความตั้งใจของผูผลิตที่จะลดใชสารเคมี ตาม วิถีพื้นบาน หรือแมแตอยูในระยะปรับเปลี่ยนทำตาม กฎเกณฑมาตรฐานเกษตรอินทรีย ใหมีโอกาสพบปะ คาขายกับผูบริโภคโดยตรงที่ตลาดสีเขียว ดังเชนที่ จังหวัดเชียงใหม มีตลาดเกษตร อินทรียท ด่ี ำเนินงานจนประสบความสำเร็จ หลายแหง เชน โรงเรียนดาราวิทยาลัย โรงพยาบาลนครพิงค ตลาดอิ่มบุญ ฯลฯ ตลาดเหลานี้เปนแหลงจำหนาย ผลิตผลทางการเกษตรจากเกษตรกรรายยอยในพื้นที่ อ.ดอยสะเก็ด อ.แมริม อ.แมแตง ซึ่งเปนแหลงผลิต สินคาเกษตรอินทรียขนาดใหญของประเทศ สินคาที่ จำหนายมีหลากหลาย ไมวาจะเปน ผลิตภัณฑขาว อินทรีย ผักผลไมตามฤดูกาล ผลผลิตทางการเกษตร แปรรูป เชน ไขเค็ม น้ำมันงา ซีอิ๊วขาว หรือผลิตภัณฑ อื่นๆ เชน ปุยชีวภาพ น้ำหมักชีวภาพ การพบปะของเกษตรกรและผูบริโภค ได ก อ เกิ ด สั ง คมเล็ ก ๆ ของคนที่ ใ ส ใ จในสุ ข ภาพและ สิ่งแวดลอม นอกเหนือจากการคาขายที่เปนกิจกรรม
หลัก ในบางครั้งก็จะมีกิจกรรมพิเศษที่จัด ขึน้ เพือ่ สรางกระบวนการเรียนรูใ นดานตางๆ เชน การเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ปจจุบนั ตลาดเกษตรอินทรียใ นพืน้ ทีจ่ งั หวัด เชียงใหม จึงเปนแหลงจับจายของชุมชน เปนสถานที่ศึกษาดูงาน และไดรับความ นิ ย มจากนั ก ท อ งเที่ ย วแวะเวี ย นมาชม สม่ำเสมอ และในป 2553 นี้ มกอช. ได ร ว มมื อ กั บ ศู น ย พั ฒ นาเกษตรอิ น ทรี ย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.) ดำเนิ น การคั ด เลื อ กหาพื้ น ที่ ที่ มี ก ารค า ขายกั น อยู บ า งและมี ผู บ ริ โ ภคที่ ส นใจ จำนวน 2 แหง คือจังหวัดพิษณุโลกและ จังหวัดยโสธร ที่ จั ง หวั ด พิ ษ ณุ โ ลกนั้ น สำรวจ พบวามีตลาดสีเขียวถึง 9 แหง ไมวา จะเปน ตลาดลาว แผงขายสินคาหนาสำนักงาน เกษตรจังหวัดพิษณุโลก โครงการตลาดนัด เพื่ อ สุ ข ภาพ (อนามั ย ปลอดสารพิ ษ ) โรง พยาบาลพุธชินราช ตลาดไทยเจริญ ฟารมเสนทางเห็ด ตลาดเทศบาล 5 (บาน คลอง) ตลาดกิ ต ติ ก ร (ตลาดใต ) ตลาด รวมใจ ศู น ย เ รี ย นรู ก ารผลิ ต ผั ก ปลอด สารพิษ ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิสาหกิจชุมชนผลิตพืชผักปลอดภัยจาก สารพิ ษ ตลาดสี เ ขี ย วทั้ ง 9 แห ง ได รั บ ความสนใจจากผูบริโภคและมีแนวโนมวา จะไดรับความนิยมเพิ่มสูงขึ้น
ศูนยพัฒนาเกษตรอินทรีย มสธ . ไดรับการสนับสนุนจากผูวาราชการจังห วัดพิษณุโลกที่เห็นความสำคัญใหเกิดตล าดสีเขียวซึ่งจะเปนชองทางการพัฒนากา รจำหนายสินคาและผลผลิตของเกษตรก ร และสงเสริม ผูผลิต “ตัวจริง” ที่ผลิตตา มเกษตรอินทรีย รวมถึงการดูแลสถานที่จ ำหนายใหมีสุขลักษณะเบื้องตนที่เหมาะส ม โดยจะหารูปแบบใหเปนตลาดสีเขียวที่ มีความคุมทุน และเกิดความยั่งยืนในการ บริหารจัดการ คาดวาภายใน 1-2 เดือน ผู บริโภคชาวพิษณุโลก คงไดมีโอกาสจับจ ายสินคาอินทรียจากเกษตรกรโดยตรง แ ละ ไดเยี่ยมเยียนแหลงผลิตของเกษตรกร ดวย หลังจากไดมีการจัดการเพื่อใหเ กิดตลาดสีเขียวที่มีคุณภาพอยางแทจริงที่ จังหวัดพิษณุโลกแลว มกอช. และ ศูนย พัฒนาเกษตรอินทรีย มสธ. ก็จะดำเนินก ารสงเสริมตลาดสีเขียวในจังหวัดยโสธรต อไป
Healthy
22
วารสารตลาดสีเขียว
ศิลปะบำบัด เรียนรูเ กีย่ วกับตัวเอง เยียวยา ทั้งรางกายและจิตใจผานการทำศิลปะใน รูปแบบตางๆ วิทยากร โดย พญ.พัชรินทร สุคนธาภิรมย ณ พัทลุง และคณะทำงาน จากศู น ย ศิ ล ปะฮิ ว แมน วั น ที่ 12 - 13 มิถุนายน 2553 ณ. เรือนรอยฉนำ สวนเงิน มีมา คลองสาน กรุงเทพฯ ติดตอ เสมสิกขาลัย สำนักงานรามคำแหง คุ ณ สาวิ ต รี กำไรเงิ น โทรศั พ ท 02-314 7385 ถึง 6 อาสาสมทบทุนขาวสาร และสิ่งอุปโภค บริโภคแกศูนยเด็กกะหราง (กะเหรี่ยง ปากากะญอ) บ า นป า เด็ ง ต. ป า เด็ ง อ. แกงกระจาน จ. เพชรบุรี สอบถาม เพิ่มเติม มูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม ( ม อ ส . ) 0 2 - 6 9 1 0 4 3 7 - 9 อี เ ม ล thaivolunteer@yahoo.com, volunteerservice@gmail.com
Calenda ฝกทักษะการจับประเด็นขั้นตน เขาใจหลักการ และกระบวนการในการจับประเด็น ทั้งในเรื่องปจจัย ปญหาอุปสรรค และการหาแนวทางเพื่อการฝกฝน ตนเอง วันที่ 18 – 20 มิถุนายน 2553 และ 15-17 ตุลาคม 2553 เสมสิกขาลัย สำนักงานรามคำแหง จงรักษ แซตั้ง หรือ สาวิตรี กำไรเงิน โทรศัพท 02-314 7385 ถึง 6 ขอเชิญรวมฟงเสวนา “ตายผอนสง จากสารพิษใน วิถีการกิน”คุณจะตองตกใจกับพิษภัยรอบตัว ที่บั่นทอน ชีวิตเราใหสั้นลงอยางนาเหลือเชื่อ โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุนีย เตชะอาภรณกุล ภาค วิชาชีวเภสัชศาสตร คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร วันจันทรที่ 28 มิถุนายน 2553 เวลา 14.30 – 15.30 น. ณ หองประชุมใหญ โรงพยาบาลปทุมธานี “อันตรายจากการกิน คุณปองกันไดดวยตนเอง”
“โครงการ ชุดนี้... พี่แบงให” หากทานใดที่มีชุดแฟนตาซีนารักๆ สำหรับเด็ก อายุระหวาง 2ป -15 ป ที่ไมใชแลวบริจาคใหเด็กๆในการใชทำกิจกรรม มุมแฟนตาชี หรือ ปากกาดินสอ สีเทียน สีน้ำ สีชอลค สีไม สมุด หรือกระดาษวาดรูป ที่ไมใชแลวตางๆ สำหรับการวาดเขียนเรียนรูสำหรับเด็กๆ หรือ ของเลน เด็กทีเ่ ลิกเลนแลวของนองๆ หนูๆ ทีบ่ า น และคิดวานาจะแบงปนสำหรับเด็กๆ คนอืน่ ๆ ตอไดใชประโยชน ติดตอ มูลนิธเิ พือ่ การพัฒนาเด็ก 143/109-111 หมูบ า นปน เกลาพัฒนา ซ.วัดสุวรรณคีรี ถ.บรมราชชนนี อรุณอมรินทร บางกอกนอย กทม.10700 โครงการแรงงาน เด็ก โทร.0-2433-6292 , 0-2435-5281 ตอ 109
โครงการสัมผัสกาย สัมผัสรัก (อาสา นวดเด็ ก ) มู ล นิ ธิ สุ ข ภาพไทย ขอเชิ ญ ทุ ก ท า นร ว มเป น อาสาสมั ค รเพื่ อ ร ว ม แบงปนความรัก ความอบอุน ใหกบั เด็กๆ กั บ กิ จ กรรม “โครงการอาสานวดเด็ ก พลังแหงการเปลี่ยนแปลง” ณ สถาน สงเคราะหเด็กออนบานปากเกร็ด และ สถานสงเคราะหเด็กออนบานพญาไท จ.นนทบุรี ซึ่งใชเวลาเพียง 3 ชั่วโมงตอ วั น โดยเป น อาสาสมั ค รสั ป ดาห ล ะ 1 วัน เทานั้น ติดตอสอบถามเพิ่มเติมที่ น.ส.นริศรา อารมณชื่น มูลนิธิสุขภาพ ไทย โทร/แฟกซ 02-589-4243, 02-591-8092 และ 086-338-5247 e-mail: thaihof@yahoo.com
ราน “เฮลทมี” (Health Me)
จำหนายผลิตภัณฑเกษตรอินทรีย ผลผลิตธรรมชาติ จากชุมชน, บริการอาหารมังสวิรัติเพื่อสุขภาพ ดวยวัตถุดิบปลอดสารพิษ, มีหองจัดเลี้ยงและสัมมนา มีบริการอาหารปนโตมังสวิรัติสำหรับลูกคาทั่วไป เเละผูปวยที่ตองการอาหารพิเศษ อีกทั้งผักสดเกษตรอินทรีย ที่ดีตอสุขภาพ อีกทางเลือกหนึ่งสำหรับทานที่รักสุขภาพ พบกันทุกวันจันทร – เสาร เวลา 07.00 – 19.00 น. 92/11-12 ปากซอยราษฎรบูรณะ 30 (ตรงขามธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ) โทรศัพท 086-332-8366 , 086-332-8266, E-mail: healthme.delivery@gmail.com www.healthmethai.com มีสาขาเดียวจา
μÅÒ´¹Ñ´ÊÕà¢ÕÂÇÈٹ ÊØ¢ÈÒÊμà ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѸÃÃÁÈÒÊμà Èٹ ÃѧÊÔμ
·Ø¡Çѹ¾ÄËÑʢͧÊÑ»´ÒË àÇÅÒ 07.00 -14.00 ¹. ·Ò§à´Ô¹´ŒÒ¹ËÅѧÈٹ ʋ§àÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ ¤³Ð¾ÂÒºÒÅÈÒÊμà ÍÒ¤ÒÃÃÒªÊØ´Ò ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѸÃÃÁÈÒÊμà Èٹ ÃѧÊÔμ
24
วารสารตลาดสีเขียว