ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
! ! รี ฟ ง... อ ่ รื เค � ำ จ ระ ป ญ ั าม ส รม ก โปรแ
ไขปัญหา...การประ ปีงบประมาณ 2554เมินผลปฏิบัติงาน
เยี่ยมบ้าน….KM Team “คลังความรู้ในฝันของกรมควบคุม โร ค… จะหน้าตาเป็นอย่างไร” ร่วมสนุกตอบคำ�ถามกับของรางวัล ที่ใครก็อยากได้....
3 5 ี ป ค ร โ ุ ม ค บ ว ค ม ร ก น ่ ด เ ี ด ร า ก ช า ร ข้า
.................. .................. ............
บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะท่านผู้อ่านทุกท่าน ก่อนอื่นทางทีมงานต้อง ขอขอบคุณทุกท่านทีใ่ ห้ความร่วมมือตอบแบบสอบถามเพือ่ การ ปรับปรุงจุลสารของเราให้ดขี นึ้ และสามารถให้คำ� แนะน�ำมาได้ ตลอดนะคะ จุลสาร ฉบับนี้ ขอน�ำเสนอเรื่อง ข้าราชการดีเด่น โดยได้รบั เกียรติจากข้าราชการดีเด่นของกรม ควบคุมโรค ปี 53 ทั้ง 3 ท่าน มาบอกเล่าแนวคิดและวิธีการ ท�ำงาน ซึง่ อาจจะเป็นก�ำลังใจในการท�ำงานให้ใครหลายๆคนได้ ดีค่ะ และ KM 360 องศา ก็ได้รับค�ำถามที่แฟนๆ ถามไถ่กัน มาว่าอยากให้สำ� นักจัดการความรู้ เป็นสือ่ กลางว่า “ใครจัดการ ความรู ้ อะไรที่ ไ หน อย่างไร” เราจะพาท่านไปเที่ ย วชม หน่วยงาน 3 หน่วยงานคือ ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป สถาบันราช ประชาสมาสั ย และส� ำ นั ก งานคณะกรรมการเครื่ อ งดื่ ม แอลกอฮอล์ ว่าเค้ามีวธิ กี ารจัดวงแลกเปลีย่ นเรียนรูใ้ นหน่วยงาน กันอย่างไรบ้าง ส่วนถามมา-ตอบไปฉบับนี้ ก็ได้น�ำอีเมล สรุป “ประเด็นค�ำถาม PMS ของกรมควบคุมโรค” ที่ทาง กองการเจ้าหน้าที่รวบรวมประเด็นค�ำถามที่มักถามกันบ่อย มาแชร์กันค่ะ
CONTENT Special Story
3
ข้าราชการดีเด่น กรมควบคุมโรค ปี 53 KM Focus ครั้งหนึ่ง...กับรางวัลแห่งชีวิต
9
KM 360 องศา
10
เยี่ยมบ้าน KM Team IT Tip & Trick โปรแกรมสามัญประจ�ำเครื่อง...ฟรี
12
คลินิกวิจัย Q&A
14 15
ไขปัญหา...การประเมินผลปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554
KM & Network Activity All about learning
16 17
เก็บตก
17
พบแพทย์หญิงวรรณา
18
คนดีไม่จีรัง ความดียั่งยืน
Your life Your style
19
“คลังความรู้ในฝันของกรมควบคุมโรค...จะหน้าตาเป็นอย่างไร”
เป็นจุลสารที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นโอกาสหรือ “ถนน” ให้กับทุกการเรียนรู้ระหว่าง องค์กร หุ้นส่วน หน่วยงานเครือข่ายกรมควบคุมโรค จัดทำ�โดย สำ�นักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ที่ปรึกษา แพทย์หญิงวรรณา หาญเชาว์วรกุล บรรณาธิการ อรณิชา สมิตทันต์ จัดพิมพ์ บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ออกแบบ ART QUALIFIED CO., LTD.
มุมนี้มีรางวัล เปิดกล่องเครื่องมือ การจัดการความรู้ท�ำให้คนเก่งขึ้น...งานดีขึ้น.. องค์กรณ์ดีขึ้นอย่างไร Idea I can
19 20
20
Special Story
“ข้าราชการดีเด่น ปี 53” นางสีวิกา แสงธาราทิพย์ นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป
ประวัติ นางสี วิ ก า แสงธาราทิ พ ย์ ( สกุ ล ทั บ ) หรื อ ดร.ไก่ , พี่ ไ ก่ , ป้ า ไก่ ของชาวกรม คร. เป็น “เด็ก(กรุง)เทพ” ตั้งแต่ก�ำเนิด เรียนจบปริญญาตรีจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์บางเขน ภาควิชากีฏวิทยาในปี 2522 หลังจากเรียนจบ ดร. ไก่ได้เข้าท�ำงานที่กรมส่งเสริมการเกษตร 1 ปี ใช้ชีวิตอยู่กับตั๊กแตนปาทังก้าและ หนอนเจาะท่อนอ้อย หลังจากนั้น ดร.ไก่สอบชิงทุนรัฐบาลตามความต้องการของ กระทรวงสาธารณสุขไปศึกษาปริญญาโทที่ Oregon State University ประเทศ สหรัฐอเมริกา ด้าน Medical Entomology (กีฏวิทยาทางการแพทย์) เมือ่ เรียนจบจึงกลับมาท�ำงานใช้ทนุ ทีฝ่ า่ ยโรคติดต่อไวรัส และริกเกตเซีย กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรคติดต่อ (ชื่อในสมัยนั้น) โดยคลุกคลีอยู่กับยุงร�ำคาญและยุงลายเป็นส่วน ใหญ่ แต่บางครั้งก็ได้ไปช่วยงานด้านอื่นๆ บ้าง เช่น อุจจาระร่วง ตับอักเสบ ฯลฯ หลังจากท�ำงานได้เกือบ 8 ปี ดร. ไก่ก็ลา ไปเรียนต่อปริญญาเอกด้านเดิมที่มหาวิทยาลัยเดิม เหตุผลที่เรียนต่อ..ไม่ใช่เพราะต้องการน�ำปริญญามาปรับขั้นหรือความ ก้าวหน้าในสายงาน แต่เพราะดร. ไก่ทำ� ตามสัญญาทีใ่ ห้ไว้กบั คุณปูก่ อ่ นทีท่ า่ นจะเสียชีวติ ว่าจะเรียนให้จบปริญญาเอก ชีวติ หลัง จากเป็น “ด็อกเตอร์” แล้วก็ยัง “ติดดิน” เหมือนเดิม เพียงแต่โฟกัสงานไปที่ยุงลายและไข้เลือดออกมากขึ้น และยังต้องปฏิบัติ งานที่ “ศูนย์โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ�้ำ” อีกหน้าที่หนึ่ง เมื่อมีการปฏิรูประบบราชการ ดร. ไก่จึงต้องย้ายตามงานยุ่งๆ ของยุงลายไปยังส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง โดย ได้รับมอบหมายให้ดูแลงานอนุกรมวิธาน และช่วยงานกลุ่มโรคไข้เลือดออกตามที่ “คุณขอมา” เนื่องจาก ดร.ไก่มีความรัก และความผูกพันกับส�ำนักโรคติดต่อทัว่ ไปอย่างมาก จึงขอย้ายกลับมาอยูท่ กี่ ลุม่ โรคติดต่ออุบตั ใิ หม่อบุ ตั ซิ ำ �้ (ซึง่ ในขณะนัน้ สังกัด ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป) แต่ชีวิตก็ต้องระหกระเหิน (โดยไม่คาดคิด) อีกครั้ง เมื่อกลุ่มโรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ�้ำ (กลุ่ม EID) ต้องไปรวมกับส�ำนักไข้หวัดใหญ่กลายเป็นส�ำนักโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ เมือ่ กรมควบคุมโรคตัง้ ศูนย์ปฏิบตั กิ ารเตรียมพร้อมตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (ศูนย์ PHER) ดร. ไก่ก็ขอย้ายไปปฏิบัติงานที่นั่น และได้ฉลองงานใหม่ด้วยการ ตอบโต้โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 พอดี เมือ่ โรคใกล้สงบและสบโอกาสพอเหมาะ ดร. ไก่กไ็ ด้ยา้ ยกลับมาทีห่ น่วยงานทีร่ กั มากทีส่ ดุ คือส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป โดยตั้งใจว่าจะเกษียณอายุราชการที่นี่ในอีก 7 ปีข้างหน้าและด้วยความหวังว่าจะไม่ต้องไปผจญภัย ที่ใดอีก
ท�ำไมถึงอยากเป็นข้าราชการ “อยากท�ำงานอะไรก็ได้ที่ทดแทนคุณของแผ่นดิน เพื่อประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ อาชีพราชการสามารถตอบ โจทย์ตรงนี้ได้ เพราะไม่ใช่องค์กรที่แสวงหาผลก�ำไรจากประชาชน” ครอบครัวและคนในตระกูลก็รับราชการเป็นส่วนใหญ่ (คุณปู่เป็นรองอ�ำมาตย์โท, คุณพ่อเป็นแพทย์ทหารอากาศ, คุณแม่อยู่กรมการบินพาณิชย์, คุณลุงอยู่กรมทางหลวง, คุณอาหลายคนมีทั้งที่เป็นทหารและเป็นข้าราชการอยู่ตามกระทรวงต่างๆ) จึงถูกปลูกฝังให้รักชาติ รักแผ่นดิน รักในหลวงไป โดยปริยาย
3
Special Story คติประจ�ำใจ “มีคติประจ�ำใจหลายอย่าง จะใช้คติใดเตือนตัวเองก็ขนึ้ อยูก่ บั สถานการณ์ เช่น ถ้าตอนไหนรูส้ กึ ท้อแท้อบั จนหนทาง ก็จะบอกกับตัวเองว่า “Where there is a will, there is a way : ความพยายามอยู่ที่ไหน ความส�ำเร็จอยู่ที่นั่น” ; ถ้าเริ่ม รู้สึกขี้เกียจ อยากจะผัดวันประกันพรุ่ง ก็จะนึกถึง “Time and tide wait for no man : เวลาและวารีไม่มีที่จะคอยใคร” หรือ ถ้าท�ำงานใดท�ำแล้วล้มเหลว ก็จะให้ก�ำลังใจตัวเองว่า “Try again : ลองอีกครั้ง(เถอะน่า)” เหนือสิ่งอื่นใด ที่โต๊ะท�ำงานจะมี พระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวงในพระอิริยาบถที่มีพระเสโท (เหงื่อ) ไหลอยู่บริเวณพระนาสิก (จมูก) พี่ก็จะมีก�ำลังใจใน การท�ำงานและมีลูกฮึดขึ้นมาใหม่ คิดถึงในหลวงทีไร..ต้องร้องไห้ทุกที รักพระองค์ท่านมากๆ เลย”
ผลงานที่ภาคภูมิใจ “ภูมใิ จกับทุกงานทีต่ งั้ ใจท�ำ..แล้วงานส�ำเร็จด้วยดี..ก็จะรูส้ กึ ภูมใิ จและหายเหนือ่ ย งานบางงานเมือ่ ท�ำแล้วอาจไม่คอ่ ย มีผลต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ..เพราะไม่ใช่งานวิจัย แต่ถ้ามันจะมีผลต่อประเทศหรือประชาชนหรือองค์กรในภาพรวม พี่ก็สมัครใจช่วยท�ำตรงนั้น…. ยกตัวอย่าง เช่น มีส่วนร่วมในโครงการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในงาน Walk Rally ที่ มธ.รังสิต ท่านรองอธิบดีก็ไว้วางใจให้พี่ถวายค�ำอธิบายแด่พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า พัชรกิติยาภา พี่เป็นคณะท�ำงานจัดการประชุมโรคไข้เลือดออกนานาชาติทั้งครั้งที่ 1 ที่เชียงใหม่และครั้งที่ 2 ที่ภูเก็ตด้วย ช่วง 10 เดือน ของการเตรียมการแต่ละครั้ง วุ่นวายมาก เหนื่อย(ใจและกาย)มาก พอการประชุมผ่านพ้นด้วยดี อยากจะหลับยาวสัก 24 ชั่วโมง หรือที่พี่ออกแบบจัดท�ำ flip chart โรคไข้เลือดออก เนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติ 60 ปี งานชิ้นเล็กๆ แต่พี่ก็ภูมิใจ เพราะเป็นประโยชน์ส�ำหรับการถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียน และคนไข้ในโรงพยาบาล..อ้อ..รวมทั้งผู้ปกครองด้วย PowerPoint หลายชิ้น (ส่วนใหญ่เกี่ยวกับ ยุงลาย/ไข้เลือดออก และไข้หวัดใหญ่ 2009) ที่ท�ำมาใช้ประกอบการบรรยายของตัวเอง ก็มีหลายคน ที่ชอบใจ..มาขอ copy ไปใช้สอนต่อ พี่ก็ดีใจนะ.. ที่เขาเอาไปใช้ประโยชน์ต่อได้” งานเล็กๆ อีกอย่างหนึ่ง แต่เป็นความภูมิใจคือ การริเริ่มท�ำ model 3 มิติเกี่ยวกับแหล่ง เพาะพั น ธุ ์ ข องยุ ง ลาย เพื่ อ ให้ ป ระชาชนและเด็ ก ๆ สนใจ ตอนนั้ น ทุ น น้ อ ย..ใช้ เ งิ น ส่ ว นตั ว ก็ ประดิดประดอยกล่องกระดาษแข็งท�ำเป็นบ้าน เป็นโรงเรียน มีโอ่งดินเผาใบเล็กๆ กระถางบัว ยางรถยนต์ก็ไปงัดมาจากรถของเล่นของลูกชาย มีไข่ยุงจริงๆ ให้ดู ตอนเอาไปแสดงครั้งแรกที่อุดรธานีมั้ง มีคนสนใจมาดูมาถามเยอะมาก มันก็ท�ำให้เรารู้สึกภูมิใจนะ เอาไปจัดนิทรรศการแสดงตามโรงเรียน วันเด็กเคยไปจัดที่เขาดิน โอ้..เด็กๆ สนใจมาก และที่ดีใจมากที่สุดคือ การที่มีโอกาสเข้าไปส�ำรวจ ลูกน�้ำในเขตพระราชฐานหลายแห่ง ทั้งที่พระต�ำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล ที่สวนจิตรลดา ที่วังสระปทุม บริเวณพระที่นั่งจักรี ฯลฯ มีครั้งหนึ่งที่พี่และทีมงานไปจัดการลูกน�ำ้ ยุงร�ำคาญที่วังไกลกังวล เพราะก่อนหน้านั้น ในหลวงรับสั่งกับข้าราชบริพาร ว่า “ยุงชุม” เจ้าหน้าที่บอกพวกเราว่าในหลวงก�ำลังประทับอยู่บนชั้นสอง ได้ยินแค่นั้น..น�้ำตาพี่ก็จะไหลแล้ว ดีใจที่ได้รับใช้พระ องค์ท่านน่ะ”
ข้อคิดที่อยากฝากบอกชาว คร. “อยากให้ช่วยกันตั้งใจท�ำงานเพื่อประโยชน์ต่อประเทศและประชาชนโดยส่วนรวม อยากให้เน้นคุณภาพมากกว่า ปริมาณ ถ้ามองจากจุดเล็กๆ ขึ้นไปคืออยากให้ช่วยกันขับเคลื่อนส�ำนักฯ ของเราไปข้างหน้าอย่างมีคุณภาพ เมื่อทุกส�ำนักฯ ประสบความส�ำเร็จ ในภาพของกรม คร.ก็จะออกมาดี เมื่อทุกกรมฯ มีผลงานดี กระทรวงสาธารณสุขก็ดีตามไปด้วย หากทุกกระทรวงยิง่ ดีอกี ส่งผลให้ประชาชนมีแต่รอยยิม้ ..มีความสุข ประเทศชาติกเ็ จริญรุง่ เรือง มันเหมือน domino… ในทาง ที่ดี และขอฝากกฤษณาสอนน้องค�ำฉันท์ ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ซึ่งพี่จะจ�ำไว้ในใจตลอด เอาไว้เป็นก�ำลังใจในการท�ำงานเพื่อประเทศชาติค่ะ”
พฤษภกาสร โททนต์เสน่งคง นรชาติวางวาย สถิตทั่วแต่ชั่วดี 4
อีกกุญชรอันปลดปลง ส�ำคัญหมายในกายมี มลายสิ้นทั้งอินทรีย์ ประดับไว้ในโลกา
Special Story
นายธนู คุณยศยิ่ง นายช่างเทคนิคช�ำนาญงาน สถาบันบ�ำราศนราดูร
ประวัติ นายธนู คุณยศยิ่ง เกิดที่บ้านเลขที่ 211 หมู่ที่2 ต�ำบลลวงเหนือ อ�ำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2507 เรียน จบระดับชัน้ ประถมศึกษาทีโ่ รงเรียนชลประทานผาแตก ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ที่โรงเรียนดอยสะเก็ดวิทยาคม และระดับประกาศณียบัตรวิชาชีพชั้นสูง จากวิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่เป็นระดับสูงสุด หลังส�ำเร็จการศึกษาได้เข้า ท�ำงานตามบริษัทอยู่ระยะหนึ่งซึ่งก็มีความก้าวหน้าดี ในปีพ.ศ.2534 ได้มีการเปิดรับสมัครสอบ ก.พ. ซึง่ ทางครอบครัวต้องการให้เข้ารับราชการเหมือนพีช่ ายจึงได้ตดั สินใจสมัครสอบ ก.พ. ทีก่ รุงเทพฯ และสามารถ สอบผ่าน ต่อมา ก.พ. ก็ได้เรียกบรรจุซึ่งก็มีหลายๆ หน่วยงานหลายๆ จังหวัดให้เลือกทั้งในกรุงเทพฯและ ต่างจังหวัด ด้วยความทีเ่ ป็นคนต่างจังหวัดไม่รจู้ กั พืน้ ทีใ่ นกรุงเทพฯ ซึง่ มีการจราจรแออัดอากาศร้อนทัง้ วันจึงไม่ เลือกบรรจุที่กรุงเทพฯ ต่อมาในปีพ.ศ.2536 ทาง ก.พ. ได้ติดต่อเพื่อเรียกบรรจุอีกครั้งและก็ยังมีหน่วยงานให้ เลือกมากเช่นเคยซึง่ หนึง่ ในนัน้ คือ โรงพยาบาลบ�ำราศนราดูร (ชือ่ ในขณะนัน้ ) จังหวัดนนทบุรี และโดยชือ่ เสียง ของจังหวัดนนทบุรีที่มีชื่อเสียงด้านผลไม้ที่ขึ้นชื่อลือชาว่ามีสวนทุเรียนดี จึงตัดสินใจเลือกบรรจุที่โรงพยาบาล บ�ำราศนราดูรโดยยังไม่ทราบพิกัดที่ตั้งของจังหวัดนนทบุรีว่าอยู่ตรงไหน คิดว่าถ้าอยู่โรงยาบาลหากเจ็บไข้ได้ ป่วยก็จะหาหมอได้สะดวก ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้รับบรรจุยังพูดกระเซ้าว่า “อ้าวไหนบอกไม่อยากอยู่กรุงเทพฯแล้ว เลือกนนทบุรีมันก็ไม่ได้ต่างกันเลยนะ” ด้านครอบครัวได้สมรสกับคุณอัมพวา คุณยศยิ่ง ซึ่งเป็นพยาบาล หน่วยไตเทียม มีบุตรธิดา 2 คนคือ นางสาวอัญธิกา คุณยศยิ่ง อายุ 15 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยม 5 และเด็กชายนัฐพงศ์ คุณยศยิ่ง อายุ 13 ปีเรียนอยู่ชั้น มัธยม 3 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม การท�ำงานในกรมควบคุมโรค ได้ รั บ บรรจุ เ ข้ า รั บ ราชการครั้ ง แรกในต�ำ แหน่ ง นายช่ า งเทคนิ ค (งานช่ า งไฟฟ้ า )ที่ โ รงพยาบาล บ�ำราศนราดูรเมื่อ 18 ปีก่อน (วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2536) ปัจจุบันเป็นหัวหน้างานซ่อมบ�ำรุงด้วยความ เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่มีอัธยาศัยดี ท�ำงานสอดคล้องตอบรับกับนโยบายขององค์กร ประสานงาน ให้เกิดความร่วมมือในการท�ำงานภายในฝ่ายงานได้เป็นอย่างดีกอ่ ประโยชน์แก่องค์กรจึงได้รบั การสนับสนุนจาก หัวหน้าให้ส่งชื่อเข้าร่วมเพื่อพิจารณารับรางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น และได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือนดี เด่นปี 2553 ของหน่วยงานกรมควบคุมโรค “เมื่อทราบว่าตนเองได้รับรางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่นของกรมก็รู้สึกปลื้มใจ ดีใจ ภาคภูมิใจว่า สิ่งที่เราได้ทุ่มเทคงมีประโยชน์กับองค์กรไม่ได้สูญเปล่าซึ่งทางครอบครัวก็รู้สึกภาคภูมิใจด้วย”
5
Special Story คติและข้อคิดในการท�ำงาน “เป็นคนดีต้องเป็นทั้งชีวิต” “คุณภาพของคนอยูท่ คี่ วามดี” การท�ำงานหรือการท�ำความดีโดยไม่หวังสิง่ ตอบแทนจะท�ำให้เราท�ำงาน อย่างมีความสุข ผลงานที่ภาคภูมิใจ หน่วยงานมี “อ่างล้างมือแบบใช้เท้าเหยียบ” เพือ่ ลดการสัมผัสจุดแพร่เชือ้ โดยได้ประสานกับบุคลากร ในแผนกและใช้การจัดการความรู้ (KM) ร่วมกับบุคลากรในงานซ่อมบ�ำรุงจัดท�ำอุปกรณ์เปิดน�้ำอ่างล้างมือ แบบเท้าเหยียบ โดยเริ่มจากที่งานโรคติดเชื้อได้มาขอค�ำปรึกษาว่าอยากให้หาราคาอ่างล้างมือแบบที่ใช้หัวเข่า เปิดน�้ำล้างมือเหมือนกับที่ใช้ในห้องผ่าตัด ซึ่งพอสอบถามราคาที่ได้มีราคาแพงมากเป็นหลักหมื่น หากจะติดตั้ง ทั่วๆ ไปหลายจุดต้องใช้งบประมาณที่สูงมาก จึงได้เสนอว่าทางงานซ่อมบ�ำรุงจะทดลองท�ำเอง จึงได้ชักชวน บุคลากรในแผนกช่างทัง้ หมดมาช่วยกันระดมความคิดเพือ่ ทีจ่ ะช่วยกันท�ำอุปกรณ์เปิดน�ำ้ อ่างล้างมือแบบใช้เท้า เหยียบโดยไม่ต้องใช้มือเปิดก๊อก และได้จัดท�ำแก้ไขหลายรุ่นน�ำเสนอในงานมหกรรม KM ได้รับข้อเสนอแนะ มากมายน�ำมาพัฒนาปรับปรุงจนได้รนุ่ ปัจจุบนั ซึง่ ใช้งานอยูห่ ลายจุดในสถาบันบ�ำราศนราดูร และได้รบั ประกาศ ค�ำนิยมทีส่ ามารถพัฒนาคุณภาพและใช้งานอุปกรณ์เปิดน�ำ้ อ่างล้างมือแบบใช้เท้าเหยียบได้อย่างยัง่ ยืนมากกว่า 3 ปีจากผู้อ�ำนวยการสถาบันบ�ำราศนราดูร ในปี 2544 ได้รบั มอบหมายให้ดแู ลงานซ่อมบ�ำรุงจากแต่เดิมทีส่ ถาบันมีงาน ซ่อมบ�ำรุงทีแ่ ยกเป็น 4 ส่วนคือ ช่างไฟฟ้า ช่างประปา ช่างเชือ่ ม และช่างไม้ ชึง่ แต่ละ งานก็จะแยกกันท�ำงาน ไม่สนใจงานช่างอื่นเพราะไม่ใช่หน้าที่ ท�ำให้แผนกช่างที่มี ปริมาณงานมาก เช่น ช่างไฟฟ้า และช่างไม้ ท�ำงานไม่ทันมีงานค้างจ�ำนวนมาก จึงได้เป็นแกนกลางในการประสานงานระหว่างช่างเพื่อพัฒนาปรับปรุงระบบการ ท�ำงานใหม่โดยไม่แบ่งแยกส่วนงานแต่ให้ทำ� งานร่วมกันเป็นงานซ่อมบ�ำรุงเนื่องจาก ช่างบางคนก็มคี วามรูค้ วามสามารถหลากหลายสามารถท�ำงานได้หลายๆ ด้านเมือ่ มารวม และช่วยกันท�ำงานท�ำให้มีทีมงานที่เข้มแข็งการปฏิบัติงานรวดเร็วมีประสิทธิภาพ ลดปริมาณงานที่ค้างลงได้เป็นอย่างมากได้รับการตอบรับและค�ำชมจากผู้รับบริการ ข้อคิดที่อยากฝากบอกชาว คร. “จงคิดว่าเราจะท�ำอะไรให้องค์กร อย่าคิดว่าเราจะได้อะไรจากองค์กร” ซึ่งการที่เราคิดแบบนี้ท�ำให้ เราไม่ยึดติดไม่คาดหวังผลรางวัลไม่ต้องกลัวผิดหวังและจะท�ำให้เรามีความสุข เป็นเพียงค�ำพูดสั้นๆแต่มีความ หมายและเราเองก็สามารถน�ำไปใช้ได้ค่ะ จากการที่ได้สัมภาษณ์พี่ธนู ผู้เขียนก็สัมผัสได้ถึงความรู้สึกอบอุ่นและเป็นเกียรติเมื่อได้พูดคุย ความรักและเคารพของบุคลากรในหน่วยงานจากการทีพ่ ธี่ นูพาทีมงานเดินดูสถานทีแ่ ละอุปกรณ์เปิดน�้ำอ่างล้างมือ แบบใช้เท้าเหยียบตลอดทางพี่ธนูจะได้รับการทักทายด้วยความเคารพจากรุ่นน้องๆ และรอยยิ้มจากเพื่อนร่วม สถาบันฯ ซึ่งก็เป็นเครื่องช่วยการันตีรางวัลข้าราชการดีเด่นที่พี่ธนูได้รับเป็นอย่างดี
6
Special Story
นายเกษม กลิ่นรัตน์ พนักงานขับรถยนต์ระดับ 2 หัวหน้างานยานพาหนะ ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 นครสวรรค์
ด้วยสีหน้าท่าทางที่สุขุม ดูจริงจัง แต่แฝงไปด้วยรอยยิ้มที่จริงใจ ภายใต้ชุดซาฟารีสีกรมท่า มองดูสะอาดตาเรียบร้อยดี หากมองจาก ต�ำแหน่งงานของเขาแล้ว ใครๆ อาจมองว่าเป็นต�ำแหน่งทีไ่ ม่ได้มคี วามส�ำคัญ อะไร แต่ส�ำหรับเขาแล้ว การได้ท�ำงานในต�ำแหน่งนี้ เป็นสิ่งที่เขาภาคภูมิใจ การให้บริการที่ดีใครๆ ก็คงท�ำได้ แต่ “การให้บริการที่ประทับใจ” คงท�ำได้ยาก หากคนผู้นั้นไม่ได้มี “ใจ” ในการให้บริการอย่างแท้จริง งานบริการทีก่ ล่าวถึงคืออะไร เราจะทราบกันในบทสัมภาษณ์จาก “คุณเกษม กลิน่ รัตน์” ผู้ที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นข้าราชการดีเด่นประจ�ำปี 2553 ชีวิตการท�ำงานที่ผ่านมา “เกษม กลิ่นรัตน์” เป็นคนจังหวัดนครสวรรค์ เมื่ออายุประมาณ 14 -15 เริ่มท�ำงานรับจ้างเป็นนาย ช่างคุมงานก่อสร้าง จนถึงอายุ 21 ปี (พ.ศ.2514) ได้มาท�ำงานคุมงานก่อสร้างอาคารที่สถานตรวจโรคปอด ภาคเหนือ จังหวัดนครสวรรค์ (งานวัณโรคเดิม) และด้วยความที่เป็นคนอัธยาศัยดี มีน�้ำใจ ช่วยเหลืองาน ซ่อมแซมบ้านให้คนอื่นๆ ด้วย เป็นที่ถูกใจของเจ้าหน้าที่และหมอหลายๆ คน จึงได้ถูกชักชวนให้มาท�ำงาน ราชการเป็นลูกจ้างประจ�ำ ในต�ำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ ได้รับเงินเดือนเพียงเดือนละ 450 บาท ทั้งๆ ที่งาน ที่ท�ำอยู่เดิมได้เดือนละ 3,000 บาท แต่คุณเกษมก็ตัดสินใจเข้ามาท�ำงานราชการ ด้วยเหตุผลที่ว่า งานราชการ เป็นงานที่มั่นคงและคนรอบข้างก็สนับสนุนให้ท�ำด้วย และถึงแม้ว่าคุณเกษมจะเป็นพนักงานขับรถยนต์ แต่เมื่อมีเวลาว่างจากการขับรถ ก็ยังคอยช่วยเหลืองานในส่วนอื่นๆ ด้วย เช่น ช่วยเจ้าหน้าที่ปรุงยาที่ห้องเภสัช, จ่ายยาผู้ป่วย, ช่วย x-ray ผู้ป่วย, ช่วยตรวจเสมหะ เป็นต้น ต่ อ มาปี 2520 ย้ า ยมาท� ำ งานที่ ศู น ย์ โ รคติ ด ต่ อ ทั่ ว ไป เขตภาคเหนือ (เมื่อก่อนมี 4 ศูนย์ 4 ภาค) คุณเกษมก็ยังช่วยเหลือ งานอีกเช่นเคย เช่น เมือ่ ต้องขับรถพาเจ้าหน้าทีล่ งพืน้ ทีต่ รวจพยาธิ ก็จะช่วยแจกตลับบรรจุอจุ จาระ ด้วยการเรียนรูเ้ ทคนิควิธกี ารต่างๆ จากเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการพูดคุยกับชาวบ้านว่าจะพูด อย่างไร ให้พวกเค้าอยากตรวจและน�ำตลับเก็บตัวอย่างอุจาระมาส่งคืน หรือ แม้แต่การขับรถพาเจ้าหน้าที่ไปลงพื้นที่ในงานอื่นๆ ไม่ใช่เพียงแค่ ขับรถไปส่งให้ถงึ ทีห่ มายเท่านัน้ แต่คณ ุ เกษมก็ยงั ท�ำงานเหมือนกับ เจ้าหน้าทีค่ นอืน่ ๆ ท�ำโดยไม่ได้หวังอะไร เพราะท�ำไปก็ไม่ได้คา่ จ้างเพิม่ ถ้าไม่ท�ำก็ไม่ได้มีผลกระทบอะไร แต่ท�ำด้วยความมีน�้ำใจอย่างแท้จริง
7
Special Story “เวลาผมขับรถพาเจ้าหน้าที่ไปลงพื้นที่ในทุกๆ งาน ไม่ใช่ขับรถไปส่งแล้วไปนอนรออย่างเดียว ผมจะไม่นิ่งดูดายที่จะไปช่วยเค้าท�ำงาน ทั้งๆที่เค้าไม่ได้บอกให้ผมท�ำ แต่เค้าท�ำอะไรผมก็ท�ำเหมือนเค้าด้วย” ปัจจุบัน (ปี 2554) คุณเกษมท�ำงานอยู่ที่ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 นครสวรรค์ กรมควบคุมโรค และยังคงท�ำงานอยูใ่ นต�ำแหน่งพนักงานขับรถยนต์เหมือนเดิม แม้วา่ เส้นทางการท�ำงานในต�ำแหน่งพนักงานขับ รถยนต์จะผ่านมาแล้วกว่า 40 ปี และจะเกษียณอายุราชการในปีนี้ คุณเกษมก็ยังคงมุ่งมั่นให้บริการ กับเจ้าหน้าที่ทุกคนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย เป็นคนมีอัธยาศัยดี มีน�้ำใจ ชอบช่วยเหลืองานของผู้อื่นอยู่เสมอ และอีกสิ่งหนึ่งที่คุณเกษมมีก็คือ การใฝ่เรียนรู้งานในหลายๆ ด้าน ไม่ได้จ�ำกัดว่า ตนเป็นเพียงพนักงาน ขับรถยนต์ก็จะต้องขับรถยนต์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยอยู่ในความคิดของคุณเกษมเลย หลักคิดในการท�ำงาน สิ่ ง หนึ่ ง ที่ คุ ณ เกษมใช้ เ ป็ น หลั ก คิ ด ในการท� ำ งานที่ ผ ่ า นมาจะใช้ ห ลั ก ที่ ว ่ า “ต้ อ งตรงต่ อ เวลา และรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายให้เต็มที่” “ผมเป็นคนตรงต่อเวลา ใครนัดหมายมาก็ไม่เคยผิดนัด ผมจะมาก่อนเวลาประมาณ 15 นาที และ ถ้ามอบหมายงานอะไรให้ท�ำก็จะรับผิดชอบงานเต็มที่ คือไม่ต้องมีใครมาคอยตามงานเลย” และเมื่อถามถึงการท�ำงานที่ผ่านมา เคยโดนต�ำหนิจากผู้บังคับบัญชา หรือไม่ คุณเกษมบอกกับพวกเราว่า “คือตอนนีผ้ มเป็นพนักงานขับรถประจ�ำให้ กับนาย (ผู้อ�ำนวยการ) เพียงคนเดียว ในการท�ำงานก็จะมีโดนต�ำหนิบ้าง อย่างบางครั้งนายเค้ามีความคิดแบบหนึ่ง แต่เราตอบสนองให้เค้าอีกอย่างหนึ่ง เค้าก็อาจจะหงุดหงิดบ้าง แต่เราก็มีความคิดว่า อ่อ..นายเค้าเป็นผู้บริหาร งานเค้าเยอะ ก็คงเครียดงานเป็นธรรมดา ก็ต้องมองเค้าอย่างเข้าใจ” จากค�ำบอกเล่าของคุณเกษม ท�ำให้พวกเรารู้ว่า คุณเกษมเป็นคนที่ มองโลกในแง่ดี เป็นคนคิดบวก แม้จะโดนต�ำหนิจากผูบ้ งั คับบัญชาบ้าง ก็ไม่เคย เก็บมาคิดน้อยใจจนท�ำให้งานเสียหาย หากแต่จะเก็บสิง่ นัน้ มาเป็นสิง่ เตือนใจไม่ ท�ำให้โดนต�ำหนิอีก ทิ้งท้าย... ใครหลายๆ คนอาจคิดว่าการท�ำงานในหน้าที่ของตัวเองให้ดีที่สุดเพียงอย่างเดียวก็เพียงพอแล้ว แต่จากการได้พูดคุยกับคุณเกษม ท�ำให้ได้ข้อคิดในการท�ำงานอีกอย่างหนึ่งก็คือ “นอกจากจะรับผิดชอบงานใน หน้าที่ของตนเองอย่างเต็มที่แล้ว การได้เรียนรู้งานด้านอื่นๆ การหาประสบการณ์ท�ำงานใหม่ๆ หรือแม้แต่การ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ก็เป็นสิ่งจ�ำเป็นในการท�ำงานปัจจุบัน หากแต่บุคคลนั้นก็จะต้องท�ำด้วยใจ” เช่นเดียวกับ คุณเกษมที่ไม่เคยเลือกท�ำงานเฉพาะในหน้าที่ แต่จะท�ำงานทุกอย่างตามความสามารถของตัวเองที่พอจะท�ำได้ ด้วยการยึดหลักคิดว่า “ต้องตรงต่อเวลา และรับผิดชอบงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายให้เต็มที”่ ทีค่ ณ ุ เกษมใช้เป็นหลัก คิดในการท�ำงานเสมอมา
8
KM Focus
...ครั้งหนึ่ง รางวัลแห่งชีวิต...
ถ้ า มี ใ ครคนหนึ่ ง คนใดตั้ ง ค� ำ ถามขึ้ น มาว่ า “การ ก็ท�ำให้มีก�ำลังใจที่จะท�ำงานมากขึ้นเรื่อยๆ แต่ในทางกลับกัน ประกวด” ที่เราเห็นอยู่ทุกวันนี้จากเวทีนั้น เวทีนี้ และอะไรต่อ รางวัลก็เป็นเหมือนดาบสองคมที่มีทั้งดีและไม่ดีถ้าใช้ได้ถูกทาง มิอะไรต่างๆ มากมาย เขาประกวดกันท�ำไม ประกวดกันพื่ออะไร ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นย่อมเป็นผลดีแน่นอน แต่ถ้าน�ำมาใช้ไม่ถูกต้อง เชื่อไหมคะว่าคงมีหลายต่อหลายเสียงที่ตอบกลับมาคงไม่พ้นว่า หรืออีกนัยหนึ่งก็คือมองรางวัลเป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ก็จะ ก็ประกวดเพือ่ ให้ประสบความเร็จได้รางวัลตามทีไ่ ด้วาดฝันไว้ ซึง่ ท�ำให้เกิดความผูกมัดกับตัวเองว่าจะต้องประสบความส�ำเร็จ นั่นหมายถึงการแข่งขันของผู้เข้าประกวดทั้งหลาย ที่จะท�ำความ ตลอดไป ความสุ ข จากการท� ำ งานก็ จ ะลดน้ อ ยลงไปเรื่ อ ยๆ ฝันของตัวเองให้เป็นจริง แต่นั่นเป็นเพียงเวทีเวทีหนึ่งที่ทดลอง รวมทั้งอาจกระทบต่อสัมพันธภาพกับเพื่อนร่วมงานก็เป็นไปได้ ความสามารถของเราว่าจะฝ่าฟันอุปสรรคเพื่อให้ฝันนั้นเป็นจริง ส�ำ หรั บ ในภาคราชการนั้ น การได้ รั บ รางวั ล มี ห ลาย ได้แค่ไหน นี่ก็คงขึ้นอยู่กับความสามารถหรืออาจบวกดวงด้วย ประเภทหลายรูปแบบทั้งการเลื่อนขั้น เลื่อนต�ำแหน่ง เป็นต้น เล็กน้อย แต่สิ่งที่ดูจะเป็นความภาคภูมิใจส�ำหรับชาวข้าราชการนั้น คือได้ แต่ถ้าพูดถึงชีวิตของการท�ำงานแล้ว ไม่ว่าจะเป็นของ รับการประเมินให้เป็น “ข้าราชการดีเด่น” ซึ่งถือเป็นเกียรติยศ ภาคราชการหรือว่าภาคเอกชนถ้ามองดูกันอย่างลึกซึ้งแล้ว ใช่ว่า อย่างหนึ่ง การเป็นข้าราชการดีเด่นจึงเป็นเหมือนเครื่องประดับ จะไม่มีเวทีการประกวดแข่งขันกันนะคะ แต่จะอยู่ในอีกรูปแบบ คุณงามความดีให้กบั ข้าราชการได้อกี อย่างหนึง่ แต่การได้มาของ หนึง่ ทีต่ า่ งกันออกไป เป็นการประกวดแข่งขันกันในเรือ่ งของการ รางวัลเกียรติยศนีค้ งไม่ใช่วา่ เป็นผูท้ จี่ ะต้องมีความรู้ ความสามารถ ท� ำ งานเป็ น หลั ก ซึ่ ง จะดู จ ากผลงานที่ อ อกมา ใครมี ผ ลงานที่ ทีโ่ ดดเด่นเท่านัน้ ทีเ่ ป็นเครือ่ งการันตี แต่รวมถึงความดี ความชอบ โดดเด่นก็นับว่ามีชัยไปกว่าครึ่งแล้ว แต่สิ่งที่ว่านี้ถือว่าเป็นเพียง ที่ยังปรากฏให้เห็นอยู่ร่วมด้วย เพราะการประเมินข้าราชการ ส่วนประกอบเล็กๆ น้อยๆ อย่างหนึ่งที่ท�ำให้ชีวิตการท�ำงานเรา ดีเด่นต้องได้รบั ความเห็นชอบจากหน่วยงานว่าคุณสมบัตเิ พียงพอ ดูมสี สี รรค์มชี วี ติ ชีวาขึน้ บ้าง อย่างน้อยการได้รางวัลมาก็นบั ได้วา่ ต่อการได้รับการประเมิน เป็นแรงบันดาลอย่างหนึ่งที่จะท�ำให้เรารู้สึกมีพลัง มีแรงกายแรง การได้รบั รางวัลข้าราชการดีเด่นจึงเปรียบเสมือนได้วา่ ใจที่จะท�ำงานให้ประสบความส�ำเร็จ มีคุณค่า ถ้าให้ลองมองย้อน เป็นรางวัลแห่งชีวิตที่ครั้งหนึ่งความดีงาม และความสามารถ หลังกลับไปว่าท�ำไมถึงได้ประสบความส�ำเร็จและมายืนอยูต่ รงจุด ปรากฏให้มองเห็น ถึงแม้ว่ารางวัลนี้จะถือได้ว่าเป็นรางวัลสูงสุด นี้ได้ บางคนอาจนึกไม่ออกหรือว่าไม่ทันได้นึกว่าเกิดจากอะไร ในชีวติ ข้าราชการก็ตาม แต่การได้ทำ� ความดี ท�ำประโยชน์ตอ่ งาน อะไรเป็นตัวสนับสนุนให้เกิดสิ่งนั้น แต่ถ้าได้ลองพินิจทบทวนให้ ที่ท�ำให้เกิดคุณค่า เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมแล้วแม้จะยังไม่ได้ ดีกจ็ ะเห็นว่านัน่ คือเกิดจากความมุง่ มัน่ ความตัง้ ใจเพือ่ ทีจ่ ะท�ำให้ รับการการันตีจากรางวัลแห่งเกียรติยศนี้ แต่เชื่อว่าทุกๆความดี ผลที่ออกมานั้นดี โดยที่บางคนอาจไม่คิดถึงผลรางวัลด้วยซ�ำ้ ไป งามก็ยังสะท้อนออกมาให้ได้เห็นแม้จะไม่ได้เป็นตัวรางวัลที่ เพียงแต่อยากให้ผลที่ออกมานั้นมีประโยชน์ มีคุณค่าให้กับใคร จับต้องได้ แต่ก็ได้รับเสียงชื่นชมก็ถือว่าเป็นรางวัลได้เหมือนกัน อีกหลายๆ คน ฉะนั้นการที่ได้รับรางวัลจากการท�ำงานคงเป็น เราเชื่อว่าการตั้งมั่นตั้งใจในการท�ำคุณประโยชน์ในไม่ช้า โอกาส เหตุผลพอทีจ่ ะสนับสนุนว่าบุคคลผูน้ นั้ ได้ท�ำผลงานทีม่ คี ณ ุ ค่าและ ทีไ่ ด้จะต้องเป็นของเราแน่นอน แต่สำ� หรับผูท้ คี่ รัง้ หนึง่ ได้รบั รางวัล เกิดประโยชน์มากน้อยแค่ไหน แต่เหตุผลที่ว่านั้นก็ใช่ว่าจะ แห่งชีวติ นีแ้ ล้วก็อยากจะให้จดจ�ำสิง่ ดีงามทีเ่ กิดขึน้ เป็นแรงบันดาล สามารถน�ำมาสนับสนุนทฤษฎีทวี่ า่ นีท้ งั้ หมดทีจ่ ะดาดเดาว่ารางวัล ใจในการท�ำงานต่อไป ส�ำนักจัดการความรูข้ อเป็นส่วนหนึง่ ในการ คือเครือ่ งชีว้ ดั ทีด่ ที สี่ ดุ ของคนท�ำงาน แต่รางวัลมันเป็นเพียงกลไก แสดงความยินดีกับผู้ได้รับรางวัลแห่งชีวิตในครั้งนี้ค่ะ... ตัวหนึง่ ทีจ่ ะท�ำให้การท�ำงานเกิดพลังการขับเคลือ่ นขึน้ อย่างน้อย
9
KM 360 องศา
360 องศา เยี่ยมบ้าน….KM Team ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป สถาบั น ราชประชาสมาสั ย ส� ำนั ก งาน คณะกรรมการควบคุมเครือ่ งดืม่ แอลกอฮอล์ “ใครจั ด การความรู ้ อะไรที่ ไ หน อย่ า งไร?” เป็ น ค� ำ ถามที่ แ ฟนๆ จุ ล สาร ถามไถ่ มาพร้อมกับข้อแนะน�ำว่า อยากให้ส�ำนักจัดการความรู้เป็นสื่อกลางบอกเล่าเก้าสิบ ให้พี่น้องในกรมควบคุมโรค ได้รู้ว่า หน่วยงานอื่นๆ ในกรมฯ จัดการความรู้อย่างไร มีวิธีการจัดวงแลกเปลี่ยนความรู้ในหน่วยงานอย่างไร ฉบั บ นี้ เลยถื อ โอกาส เปิ ด ตั ว คอลั ม น์ KM 360 องศา เพื่ อ เป็ น พื้ น ที่ บ อกเล่ า ส่ ง ข่ า วไปยั ง พี่น้อง KM Team ทุกส�ำนัก ฉบับนี้เราพาไปเยี่ยมบ้าน ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป สถาบันราชประชาสมาสัย และ ส�ำนักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3 หน่วยงาน 3 สไตล์ ตามไปชมกันเลยค่ะ หน่วยงานแรก เราไปที่ “ส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป” ดร.ไก่- สีวิกา แสงธาราทิพย์ ท�ำหน้าที่ “สีวิกาชวนชิม” จัดตลาดความรู้ ให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้ เปิดตลาดครั้งแรกวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ ห้องประชุมส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป อาคาร 5 ชั้น 5 มีพี่ๆนักวิชาการที่ไป อบรมเรือ่ งการจัดการความรู้ และเรือ่ งการบริหารการเปลีย่ นแปลง 2 ท่าน ท�ำหน้าทีแ่ ม่คา้ น�ำความรูท้ ไี่ ปอบรมมาเล่าสูพ่ นี่ อ้ งในส�ำนักฟัง ตัง้ ชือ่ เก๋ไก๋ ชวนชิมว่า “ครัวคุณหนิง” มาแนะน�ำวิธี “จัดการความรู้” สูตรประยุกต์ และเตรียมพร้อมสู่อนาคตกับ “น้องตุ๋มเบเกอรี่” ด้วยการบริหารการ เปลี่ยนแปลง ใช้เวลา 10 โมงเช้า ถึงเที่ยง นอกจากการพูดคุย และร่วม แชร์ ป ระสบการณ์ กั น แล้ ว ก็ มี กิ จ กรรมสนุ ก ๆ จู ง ใจเหล่ า สมาชิ ก สุ ด ๆ ด้วยการลุ้นรางวัลพิเศษต่างๆ เช่น ผู้ที่นั่งเก้าอี้ที่มีกระดาษแปะอยู่ใต้เก้าอี้ จะเป็นผู้โชคดีได้รับของรางวัล นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้เสนอข้อคิดเห็น ต่างๆ และเสนอเรือ่ งองค์ความรูท้ จี่ ำ� เป็นส�ำหรับส�ำนักโรคติดต่อฯ แบบสอบถาม มาในรูปเก๋ไก๋ ไม่ธรรมดาแต่อยู่ในรูปแบบอาหารที่ครัวคุณหนิง และ น้องตุ๋ม เบเกอรี่น�ำมาให้ แกะออกมาแล้วตอบแบบสอบถาม ก็จะได้ของที่ระลึกกลับมาด้วย เรียกว่าจูงใจกันสุดๆ เวที แลกเปลี่ยนนี้ ส�ำนักโรคติดต่อฯจะจัดเดือนละ 1 ครั้ง ใครไปเจออะไรดีๆ ไปประชุม ไปอบรมมีเรื่องราวประทับใจ มีความรู้ มีบทเรียนอะไรก็จะน�ำมาเล่าสู่กันฟังในเวทีนี้ ครั้งต่อไปจะจัดขึ้นในวันที่ 25 มีนาคม 2554 แต่ไม่ใช่รูปแบบ ตลาดแล้วค่ะ ครั้งหน้าจะเป็นรูปแบบคอนเสิร์ต ตอนนี้เห็นบอกว่าแจกตั๋วคอนเสิร์ตกันแล้ว ว๊าว! ตื่นเต้น อยากรู้จัง ว่าครั้งหน้าห้องประชุมส�ำนักโรคติดต่อทั่วไป จะแสง สี เสียงขนาดไหน ว๊าว! ใครเป็นนักร้องเนี่ย! จากกรมควบคุมโรค เราออกเดินทางไปที่พระประแดง จ.สมุทรปราการ ที่ตั้งของสถาบันราชประชาสมาสัย วันที่ 8-9 มีนาคม 2554 KM Team ของสถาบันฯ บูรณาการเรื่องการจัดการความรู้(KM : Knowledge Management) และเครื่องมือยาขม แต่มีประโยชน์มากมายอย่าง PMQA (Public Sector Management Quality Award : รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) ไปกับงานที่ต้องท�ำเพื่อขอรับการรับรองคุณภาพ
10
KM 360 องศา การท�ำงานของบุคลากรสถาบันฯ ดูจริงจัง มุ่งมั่นมาก งานได้ โรงพยาบาล(HA: Hospital ผล...คนเป็นสุข ผู้จัดคงจะหายเหนื่อย ที่ผู้เข้าประชุมเลิก “ยี้! Accreditation ) เป้าหมาย การประชุม” ของการจัดเวทีครั้งนี้ ผู้จัดได้ปัก กลับจากพระประแดง มาแวะที่ “ส�ำนักงานคณะ ธงใหญ่ๆ ไว้ว่า อยากให้ผู้เข้า กรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์” KM Team ของส�ำนัก ร่วมประชุมทราบว่า HA PMQA งานฯ ชวนส�ำนักKM ให้ไปพูดคุยและแนะน�ำการจัดการความรู้ และKM เป็นแนวคิดและเครื่องมือ ส�ำหรับการเรียนรู้และการ ให้บุคลากรในส�ำนักงาน ในวันที่ 21 มีนาคม 2554 ณ ห้อง พัฒนาคน พัฒนางาน HA เป็นกลไกส่งเสริมให้โรงพยาบาล ประชุมชั้น 1 อาคาร 1 กรมควบคุมโรค เวลา 10.00 -12.00 น. ประเมินและพัฒนาให้ได้มาตรฐาน KM ช่วยสร้างวัฒนธรรมการ พี่มณีท�ำหน้าที่วิทยากร บอกเล่าถึงความจ�ำเป็น และให้เห็นถึง เรียนรู้ ร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน โดยมี ความเชื่อมโยงตั้งแต่ยุทธศาสตร์ระดับกรม ระดับหน่วยงาน PMQA เป็นแนวทางการบริหารองค์กรให้มีคุณภาพการบริหาร จนถึงตัวบุคคล ท�ำให้ทราบว่าการจัดการความรู้เป็นเครื่องมือ จัดการภาครัฐตามมาตรฐานสากล ทั้ง HA PMQA และKM ช่วยพัฒนาให้คนเก่งขึ้น งานดีขึ้น และ “ใครๆ ก็ท�ำ KM ได้” สามารถบูรณาการร่วมกันได้ และร่วมกันเสริมให้มีการพัฒนา จากนั้ น เราได้ น�ำ แผนการจั ด การความรู ้ ข องส�ำ นั ก งานคณะ อย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ให้องค์กรบรรลุวสิ ยั ทัศน์ และผูจ้ ดั ยังมีธงย่อย ส�ำหรับการจัดเวทีครั้งนี้คือ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสามารถจัดท�ำ มาตรฐานการปฏิ บั ติ ง าน (Standard Operation Procedure: SOP) เพื่อให้เห็นภาพรวมของกระบวนการ ท�ำงาน และค้นพบจุดพัฒนาในแต่ละขั้นตอนของการท� ำงาน นอกจากประเด็นเรือ่ งการจัดการความรูแ้ ล้ว ส�ำนักKM ยังได้รบั มอบหมายให้ท�ำหน้าทีส่ ร้างบรรยากาศการประชุมให้สนุกสนาน กรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้ง 3 แผน (จาก 3 พี่ยุ้ย-แสงระวี รัศมีแจ่ม ผู้จัดบอกว่า “น้องๆ KM ก็ช่วยไปท�ำ กลุม่ งาน) มาพูดคุยให้ทกุ กลุม่ งานในส�ำนักงานฯ ทราบรายละเอียด หน้ า แฉล้ ม ” ผู ้ จั ด บอกว่ า ไม่ อ ยากให้ ค นเข้ า ร่ ว มรู ้ สึ ก ว่ า พร้อมทั้งทบทวนวัตถุประสงค์ และกระบวนที่จะด�ำเนินการ “ยี้! ประชุมอีกแล้ว” เห็นทีมผู้จัดตั้งใจขนาดนี้ พวกเราก็เลย อีกครั้ง โดยมี นพ.สมาน ฟูตระกูล ผู้อ�ำนวยการฯ คอยให้ ต้ อ งสวมบท “หน้ า แฉล้ ม ” เรี ย กเสี ย งหั ว เราะจากผู ้ เ ข้ า ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เมือ่ หลายๆ คนช่วยกันพูด ช่วยกันแลก ร่วม(เหมือนเป็นคณะตลก...?) บรรยากาศการประชุม เริม่ ด้วย เปลีย่ น ท�ำให้เห็นภาพขององค์กร เห็นความเชือ่ มร้อยของแต่ละ นพ.รัชต์ วงศ์ตรังคพันธ์ ผู้อ�ำนวยการสถาบันฯ กล่าวเปิด งาน การจัดการความรู้สามารถท�ำได้ในทุกงาน และช่วยพัฒนา ท่านกล่าวถึงความส�ำคัญของการจัดการความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ระบบการท�ำงานร่วมกัน เชื่อว่าจากการระดมพลังของคนหนุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ในตัวบุคคล(Tacit Knowledge) สาวของที่นี่ การจัดการความรู้ ทั้ง 3 เรื่อง คือ 1) การจัดท�ำ ต้องมีการจัดเก็บ ถ่ายทอดให้รุ่นหลังได้เรียนรู้ ใช้งาน พัฒนา บั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ (MOU)การเฝ้ า ระวั ง ป้ อ งกั น งานต่อ ไม่ต้องเริ่มที่ศูนย์ จึงจ�ำเป็นที่ต้องจัดท�ำมาตรฐานการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 2) แนวทางการด� ำเนิ น งาน ปฏิบัติงาน เพื่อใช้เป็นคู่มือ แนวทางให้คนที่เข้ามาท�ำงานใหม่ ตาม พ.ร.บ.ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 และ 3) สามารถเรียนรูไ้ ด้อย่างก้าวกระโดด และช่วยให้เรามองเห็นจุดที่ การจัดท�ำแผนบริหารความเสี่ยงของส�ำนักงานฯ จะได้ผลผลิต จะพัฒนาจากกระบวนการท�ำงานในขั้นตอนต่างๆได้ จากนั้น เป็น “คู่มือการท�ำงาน” ดีๆ ส�ำหรับคนท�ำงานตัวจริงเสียงจริง อ.ศรันยา งามศิรอิ ดุ ม ได้มาเล่าให้พวกเราได้เห็นภาพความเชือ่ ม ได้ใช้พัฒนาคน พัฒนางานต่อไป ^ ^ โยงของเครื่องมือพัฒนาคุณภาพต่างๆ กับ PMQA การจัดการ ความรูเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของPMQA ทีท่ ำ� หน้าทีส่ นับสนุนให้ทกุ หมวด ท่านทีม่ เี รือ่ งเล่าดีๆ จากการพัฒนาคน พัฒนางานในองค์กร หรือตัวอย่างการจัดการ ใน PMQA ท�ำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากนั้นพี่มณี-มณี ความรู้ หรือการวิจัย R2R ส่งเรื่องเล่าของท่านมาร่วมแลกเปลี่ยน ที่ หรือ โทร. 0 2590 3251-3 ต่อ 15 สุขประเสริฐ ส�ำนักจัดการความรู้ ก็มาพูดคุยว่าท�ำไมเราต้อง kmonstreet@kmddc.go.th ผู้โชคดีจากการตอบแบบสอบถามเพื่อการพัฒนาจุลสาร (ฉบับที่ 7) จัดการความรู้ และการจัดการความรู้ ท�ำได้อย่างไร ก่อนที่พี่ๆ 1. คุณวีระศักดิ์ มั่งมูลมี 13. คุณน้อย ทองสุก ลงมือท�ำ Work Flow เพือ่ จัดท�ำคูม่ อื การ 2. คุณเทิดศักดิ์ วงศ์เขต 14. คุณพัชรินทร์ วงศ์แพทย์ ปฏิ บั ติ ง าน ส� ำ นั ก KM ก็ ท� ำ หน้ า ที่ ส ร้ า ง 3. คุณเรืองวิทย์ สุขกันทา 15. คุณวันเพ็ญ เสถียรพานิช 4. ดร.สี ว ก ิ า แสงธาราทิ พ ย์ 16. คุณวีระศักดิ์ มั่งมูลมี บรรยากาศสนุกๆ ด้วยกิจกรรมอุ่นเครื่อง 5. คุณณัฐิณี อุยยางกุล 17. คุณเอื้องฟ้า มะลิวงศ์ สลับกันไป มีเกมสนุกๆ ทิ้งแง่คิดไว้ให้คิด 6. คุณเบญจวรรณ สุตะวงศ์ 18. คุณเกษม หนูรามัญ เล่นๆ บรรยากาศระหว่าง 7. คุณอรวรรณ ถาดทอง 19. คุณเบญจวรรณ สุตะวงค์ 8. คุณส�ำอาง เชื้อกุล 9. คุณนันทนา คงเหล่ 10. คุณกิตติ ทองศรี 11. คุณพิชญ์สิณี วิชัยวงษ์ 12. คุณเนือง แย้มศิลป์
20. คุณศิริพร ยิสารคุณ 21. คุณอมรรัตน์ ภูกายขาว 22. คุณบุญส่ง เอมประดิษ 23. คุณยุทธนา กลิ่นจันทร์
IT Tip & Trick
โปรแกรมสามัญประจ�ำเครื่อง...
สวัสดีผู้อ่านทุกท่านครับ IT Tip & Trick ฉบับนี้ผมจะพาไปหาโปรแกรมปรกติพื้นฐานสามัญประจ�ำ เครื่อง ที่ส่วนใหญ่เราต้องใช้กันอยู่เป็นประจ�ำ ที่ส�ำคัญ “ฟรี” และไม่ต้องกังวลเรื่องลิขสิทธิ์ด้วยครับ เพื่อไม่ให้ เป็นการเสียหน้ากระดาษ เราเริ่มกันเลยครับ ให้เราเข้าไปทีเ่ ว็บไซต์ https://ninite.com/ นะครับ ซึง่ จะเป็นเว็บไซต์ทรี่ วบรวมโปรแกรมฟรีๆไว้ให้เรา เลือกใช้งาน หลังจากเข้ามาแล้ว เราก็จะพบหน้านี้ ในหน้านี้ก็จะมีรายละเอียดของโปรแกรมที่เราสามารถ เลือกเพือ่ น�ำมาติดตัง้ ในเครือ่ งของเราได้ ซึง่ ก็จะแบ่งเป็นหลาย หมวด ได้แก่ 1. Web Browser เป็นโปรแกรมที่ใช้เปิดหน้าเว็บ บนอินเตอร์เน็ต ส�ำหรับหัวข้อนี้ที่น่าสนใจก็จะเป็น Chrome ของค่าย Google หรือจะเป็น Safari สวยๆ สไตล์เครื่อง Mac ก็น่าลอง 2. Messaging โปรแกรมแชท ต่างๆ นานา ตัวเด่นๆ คงหนีไม่พ้น MSN และ Skype 3. Media โปรแกรมดูหนัง ฟังเพลง บันเทิง ส�ำหรับ การดูหนัง เลือกลงเฉพาะ KMPlayer และ K-Lite Codecs ก็เพียงพอแล้วครับ แต่ถ้าอยากลองตัวอื่นก็ตามสบาย 4. Runtime เป็นส่วนเสริมของเครื่อง เพื่อท�ำให้ เครื่ อ งสามารถเข้ า เว็ บ /เปิ ด ไฟลมั ล ติ มี เ ดี ย ต่ า งๆ ได้ ดี ขึ้ น เลือกทุกตัวได้เลยครับ 5. Imaging โปรแกรมส�ำหรับดูรูปภาพ หรือแก้ไข รูปภาพเบื้องต้น Picasa เป็นโปรแกรมดูรูปภาพที่ใช้ง่าย น่าโหลดมาติดเครื่องไว้ครับ 6. Document โปรแกรมจัดการเอกสาร มี MS Office ให้ด้วย แต่เป็นตัวทดลองใช้นะครับ ไม่จ�ำเป็นก็อย่าโหลดมาใช้ จะมีปัญหาตอนหมดอายุ ต้องเอาออกอีก ตัวอื่นๆ ที่น่าสนใจก็จะมี Foxit Reader ซึ่งไว้เปิดไฟล PDF ตัวเล็กๆ ไม่หนักเครื่อง ใช้งานง่าย.. อ้อ มี Open Office ด้วยนะ!! 7. Security จัดการพวกไวรัสทั้งหลาย ตอนที่เขียนต้นฉบับนี่มี Anti Virus ในหมวดนี้อยู่ 3 ตัว คือ Essential, Avast และ AVG แนะน�ำว่ารักชอบตัวไหนก็เลือกแค่ตัวเดียวนะครับ เลือกไปหมดเดี๋ยวมัน ไปตีกันเองในเครื่อง ส่วนโปรแกรมที่เหลือในหมวดนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นพวก SpyWare Remover เลือกลง หมดทุกตัวก็จะหนักเครื่องนะครับ ทางที่ดีลงไปแล้วใช้งาน ถ้าอยากเปลี่ยนตัวก็ถอนตัวเก่าออกก่อนครับ
12
IT Tip & Trick
8. File Sharing เป็นโปรแกรมเกี่ยวกับการโหลดไฟล เช่น BitTorrent 9. Other โปรแกรมอื่นๆ ที่ไม่ได้จัดเข้าหมวดหมู่ เช่น โปรแกรมแผนที่สุดฮิต Google Earth 10. Utilities โปรแกรมอ� ำ นวยความสะดวกต่ า งๆ มี ทั้ ง โปรแกรมไว้ ไ รท์ แ ผ่ น CD เช่ น ImgBurn หรือโปรแกรม Defraggler ไว้จัดเรียงข้อมูลให้ใน Hard disk ให้เป็นระเบียบ ช่วยให้เครื่อง คอมฯ ท�ำงานเร็วขึ้น หรือ RealVNC ไว้ควบคุมคอมพิวเตอร์จากคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น 11. Compression โปรแกรมบีบอัดข้อมูลสุดฮิต เช่น 7-zip, WinRAR (แต่ส่วนตัวผมชอบ WinRAR ครับ) 12. Developer Tools โปรแกรมส�ำหรับนักพัฒนาโปรแกรมทั้งหลาย เช่น FileZilla เอาไว้ Upload ข้อมูลไปไว้บน Server หรือ Notepad++ เอาไว้แก้ Code โปรแกรม เป็นต้น เมื่อเลือกโปรแกรมเสร็จแล้ว ก็คลิกที่ Get Installer ครับ ก็จะเจอหน้าจอที่บอกเราว่า เราเลือกโปรแกรม อะไรไปบ้าง
ให้เรากดที่ Download Installer เพื่อดาวน์โหลดไฟลมาครับ เมือ่ โหลดเสร็จแล้ว เราจะได้ไฟลลักษณะดังรูป พร้อมกับชือ่ ไฟลเป็นชือ่ โปรแกรม ที่เราเลือกไว้ ให้เราดับเบิ้ลคลิกที่ไฟลเพื่อติดตั้งโปรแกรมได้เลยครับ หลังจากติดตั้งเสร็จ ให้เราท�ำการ Restart เครื่อง 1 รอบ เราก็จะ มีโปรแกรมดีๆ ฟรีๆ ไว้ใช้ในเครื่องแล้วครับ ไม่ยากเลยใช่ไหม? ส�ำหรับฉบับนี้ เรือ่ งทีจ่ ะเขียนค่อนข้างยาว ผมจึงได้ทำ� การ “กระชับ พื้นที่” ท�ำให้ได้พื้นที่มาเขียน 2 หน้าเต็มๆ ไม่แน่ว่าคราวต่อไปถ้ามีเรื่องยาวๆ อาจจะเขียนสักครึ่งเล่มเลยก็ได้!! (แล้วเปลี่ยนชื่อหนังสือเป็น IT on Street อิอิ >_<”) ผมคิดว่าเรื่องในเล่มนี้น่าจะช่วยให้เพื่อนๆ มีโปรแกรมดีๆ ไว้ช่วยท�ำงาน นะครับ WaTZoN 13
คลินิกวิจัย
เมื่อวันที่ 8-10 มีนาคม 2554 ที่ผ่านมา กลุ่มวิชาการ ส�ำนักจัดการความรู้ ได้จัดประชุม คณะกรรมการพัฒนางานวิจัยและวิชาการ กรมควบคุมโรค เพื่อคัดเลือกโครงการวิจัยปี 2555 และ ได้เชิญ นายแพทย์พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข ผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) มาบรรยาย เรื่ อ ง “อนาคตการพั ฒ นาระบบวิ จั ย สาธารณสุ ข และสุ ข ภาพ...ในประเทศไทย” เนื้อหาบางส่วน อาจารย์ได้พูดถึงเรื่อง RM (Research Management) ซึ่งน่าสนใจมาก คอลัมน์ ฉบับนี้ จึงขอน�ำเสนอเรื่อง “การพัฒนางาน KM สู่ RM”
Knowledge management (KM)
Research management (RM)
Tacit Knowledge
Explicit Knowledge
Organizsation context
Explicit Knowledge
Context specific Knowledge
Generalized Knowledge
Organizsation development
System development
สิ่งที่ สวรส. ต้องพยายามท�ำให้เกิดมากขึ้น คือการน�ำความรู้ (Context) ที่มีอยู่ มาพัฒนาเป็น System development
รูปแบบการวิจัยของ Routine to Research เป็นการใช้ RM เข้ามาเป็นส่วนหนึง่ ของการพัฒนาองค์กร เริ่มจากการพัฒนางานประจ�ำสู่งานวิจัย (Routine to Research) หรือทีเ่ รานิยมเรียกกันสัน้ ๆ ว่า R2R รูปแบบการวิจยั แบบนี้ เป็นการ ท�ำให้งานวิจัยไม่แปลกแยกไป คือไม่ใช่งานของนักวิชาการเพียงไม่ กี่คน แต่ทุกคนสามารถน�ำปัญหาที่เกิดขึ้นจากการท�ำงานมาท�ำเป็น งานวิจัย และน�ำผลที่ได้จากการท�ำ R2R ผลักดันไปสู่นโยบายได้ (Routine to Research to Policy) RM จึงเป็นการประสานการท�ำงานด้วยกัน 3 ส่วน คือ หน่วยนโยบาย (Policy unit) หน่วยบัญชีและการเงิน (Financing unit) และหน่วยวิจัย (Research unit)
ความเชื่อมโยงระหว่าง KM และ RM ภายในองค์กร ทั้ง KM และ RM มีจุดมุ่งหมาย: เพื่อพัฒนาองค์กรและ สร้างความเข้มแข็งของทีมงาน (เน้นการแก้ปัญหาและพัฒนาระบบ ข้อมูลข่าวสารขององค์กร) ค�ำถามงานวิจัย: ได้มาจากปัญหาขององค์กร การออกแบบงานวิจัย: ขึ้นอยู่กับค�ำถามงานวิจัย การน�ำผลไปใช้: เน้นการมีสว่ นร่วมของเจ้าหน้าทีใ่ นองค์กร ความรู้ที่ได้: เป็นความรู้เฉพาะส�ำหรับบริบทที่ท�ำการวิจัย
อย่าลืม!! ติดตามคลินิกวิจัยได้ ในฉบับหน้า หากท่านใดมีข้อสงสัย สามารถสอบถามข้อมูลได้ที่ สำ�นักจัดการความรู้ (กลุ่มวิชาการ) กรมควบคุมโรค โทร. 0 2590 3175, 3149
QA
Q&A
ถามมา....ตอบไป ไขปัญหา...การประเมินผลปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ 2554 เมือ่ ต้องประเมินผลการท�ำงาน 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ ก็มคี ำ� ถาม มากมายไปถึงกองการเจ้าหน้าที่ ถามมา ตอบไปกันหลายรอบ หลายหน่วยงาน จนกองการเจ้าหน้าที่ ต้องส่งอีเมลสรุป “ประเด็นค�ำถาม PMS ของกรมควบคุมโรค” (Performance Management System หรือ ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน) มีประเด็นน่าสนใจค่ะ เป็นค�ำถามที่ถือว่า talk of the town พอสมควรทั้งในวง ของผู ้ รั บ ผิ ด ชอบงานบริ ห ารทรั พ ยากรบุ ค คลของหน่ ว ยงานในสั ง กั ด กรมฯ และบุคลากรที่ต้องรับการประเมินทุกระดับ จึงขออนุญาตน�ำมาเล่าสู่กันฟังนะคะ
ถาม : เมื่อประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรในรอบที่ 1 (ก.ย.53 – มี.ค.54) นอกจากเตรียมพิจารณา เลื่อนเงินเดือนของข้าราชการแล้ว ผู้รับผิดชอบงานบริหารบุคคล ต้องท�ำอะไรต่อ ตอบ : รายงานผลการด�ำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอต่อคณะกรรมการบริหารงานบุคคลของ หน่วยงาน เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบประเมิน และการพัฒนาบุคลากรตามแผน IDP ถาม : หน่วยงานจะปรับแบบฟอร์มการประเมินผลการปฏิบัติงานที่กรมควบคุมโรคก�ำหนดไว้ได้หรือไม่ ตอบ : สามารถปรับเพิ่มเติมได้ แต่เนื้อหาสาระต้องไม่น้อยกว่าที่ก�ำหนดไว้
ถาม : สมรรถนะที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการกรมควบคุมโรค มีจ�ำนวนกี่ตัว อะไรบ้าง และการจัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ท�ำตอนไหน และใช้สมรรถนะจ�ำนวนกี่ตัว ตอบ : 1) สมรรถนะที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน มี 6 ตัวตามสมรรถนะหลักของกรม (I SMART) 2) การจัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคล สามารถด�ำเนินการได้แล้วในขณะนี้ ประกอบด้วย การประเมิน สมรรถนะหลัก 6 ตัว และสมรรถนะตามสายงาน 3 ตัว (สมรรถนะตามสายงานประเมินเพื่อ จัดท�ำแผนพัฒนารายบุคคลเท่านั้น ไม่ได้ถูกน�ำมาคิดในการประเมินผลการปฏิบัติงาน) ถาม : ประกาศกรมควบคุมโรคเรือ่ งหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินผลฯ ครอบคลุมถึงกลุม่ พนักงานราชการ หรือไม่ ตอบ : ตามประกาศฯ เรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลฯ บังคับใช้ในกลุ่มข้าราชการก่อน ส�ำหรับกลุ่ม พนักงานราชการนั้น ขึ้นอยู่กับแต่ละหน่วยงานน�ำไปประยุกต์ใช้ เช่น การวัดผลงานจากการก�ำหนด ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย และประเมินสมรรถนะตามสมรรถนะหลักของกรม ปีงบประมาณ 2555 ส�ำนักงาน ก.พ.ได้กำ� หนดหลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมินผลฯของพนักงานราชการให้สอดคล้องกับ PMS เช่น ก�ำหนดระดับคะแนนผลการปฏิบัติงานเป็น 5 ระดับ คือ ดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้ ต้องปรับปรุง (น้อยกว่า 65) ขอขอบคุณข้อมูลดีๆ จาก คุณพิชญ์สินี พุ่มเหรียญ กองการเจ้าหน้าที่ กรมควบคุมโรค 15 http://person.ddc.moph.go.th
KM & Network Activity ภาพบรรยากาศการประชุม R2R (ภาพรวมกรมควบคุมโรค) ครั้งที่ 1 วันที่ 12-13 มกราคม 2554 ณ โรงแมรมลักซอร์ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี เพื่อเป็นการพัฒนาโครงร่างวิจัยเรื่อง งานยานยนต์ และ I-SMART ของกรมควบคุมโรค
ภาพบรรยากาศการประชุม “เครือข่าย R2R ชาวบริหารทั่วไป กรมควบคุมโรค” R2R (ภาพรวมกรมควบคุมโรค) ครั้งที่ 2 วันที่ 14-15 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมพักพิงอิงทาง บูติค จ.นนทบุรี เพื่อเป็นการนำ�หัวข้อการวิจัยเรื่อง I-SMART มาดำ�เนินการต่อจากครั้งที่ 1 ซึ่งเป็นการคิดเครื่องมือที่จะเก็บข้อมูลงานวิจัย
การประชุมคณะกรรมการพัฒนางานวิจัยและงานวิชาการกรมควบคุมโรค เพื่อร่วมกันพิจารณาโครงการวิจัยของปี 2555 วันที่ 8-10 มีนาคม 2554 ณ โรงแรมศุภาลัย ป่าสัก รีสอร์ท แอนด์ สปา จ.สระบุรี
ภาพบรรยากาศการประชุม “ถอดบทเรียนมาตรการตอบสนองต่อการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่ระดับจังหวัด” วันที่ 9-11 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมโกลเด้น ดรากอน อ.เมือง จ.นนทบุรี เป็นการร่วมกันถอดบทเรียน โดยผู้รับผิดชอบงานไข้หวัดใหญ่ตัวแทนจากสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรค1-12 และสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขตพื้นที่
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การวิเคราะห์งานและกรอบอัตรากำ�ลังของกลุ่มงานพัฒนาวิชาการในสำ�นักงานป้องกันควบคุมโรค” วันที่ 23-24 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมโกลเด้น ดรากอน อ.เมือง จ.นนทบุรี โดยเชิญกลุ่มพัฒนาวิชาการของทุก สคร.แห่งละ 5 ท่าน เพื่อร่วมกันประชุมวิเคราะห์งานและกำ�หนดกรอบอัตรากำ�ลัง
All About Learning
มากับข่าว...
All About Learning
สวัสดีทา่ นผูอ้ า่ นทีร่ กั คะ ระยะนีอ้ ากาศเปลีย่ นแปลงบ่อยมากจริงๆ หวังว่าทุกท่านจะมีสุขภาพที่แข็งแรง พร้อมรับกับสภาพอากาศที่แปรปรวน ของบ้านเราได้อย่างไม่เจ็บป่วยกันนะคะ ฉบับนีผ้ เู้ ขียนขอหยิบยกภัยธรรมชาติ ที่เพิ่งเกิดขึ้นในเดือนมีนาคมที่ผ่านมานะคะ มนุษย์ไม่อาจก้าวเหนือธรรมชาติได้ และภัยธรรมชาติที่มนุษย์ ได้รับ มักตามมาด้วยความสูญเสียอันยิ่งใหญ่ จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวใน ประเทศญี่ปุ่นและตามมาด้วยการเกิดคลื่นยักษ์สึนามิ ทุกท่านคงทราบดีถึง ความรุนแรงและผลกระทบที่ตามมา หลังจากนั้นไม่นาน ทางภาคเหนือ ตอนบนของประเทศไทยเองก็เกิดแผ่นดินไหวขึน้ เช่นเดียวกัน และในขณะนัน้ ท�ำให้เกิดความแตกตื่นในกลุ่มประชาชนที่ได้รับแรงสั่นสะเทือน รวมไปถึง ประชาชนที่กังวลเกี่ยวกับผลกระทบต่างๆ ที่อาจเกิดตามมาด้วย โดยปกติ แ ล้ ว เราไม่ ค ่ อ ยให้ ค วามสนใจกั บ ภั ย ธรรมชาติ ใ น ลักษณะนีม้ ากนัก อาจเป็นเพราะบ้านเราไม่คอ่ ยเกิดแผ่นดินไหว การรับมือกับ สถานการณ์แผ่นดินไหวจึงยังไม่เป็นที่เข้าใจนักในประชาชนส่วนใหญ่ และ ด้วยเหตุนี้เองการให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชนจึงเป็นเรื่องที่สำ� คัญ เพื่อเตรียมตั้งรับกับเหตุการณ์ที่อาจขึ้นได้ในอนาคต และจากเหตุการณ์ดงั กล่าว ท�ำให้เราได้ทราบหลายๆ เรือ่ งเกีย่ วกับ แผ่นดินไหว เช่น ควรจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว, ปัจจัยที่ ส่งผลต่อการเกิดแผ่นดินไหวในกรุงเทพมหานคร หรือแม้กระทัง่ แผ่นดินไหว อย่างไรจึงจะเกิดสึนามิ เป็นต้น ประเด็นต่างๆ ที่ได้รับการหยิบยกขึ้นมา เพื่อสร้างความเข้าใจกับสาธารณชน ส่งผลถึงการลดความตระหนกและ ความแตกตื่นได้เป็นอย่างดี รวมไปถึงการวางแผนไปยังอนาคตหากเกิด เหตุการณ์ขึ้น ไม่ ว ่ า จะเกิ ด เหตุ ก ารณ์ อ ะไรขึ้ น ในวั น ข้ า งหน้ า หากเรามี ส ติ พร้อมด้วยความรู้และความเข้าใจแล้วล่ะก็ ผู้เขียนเชื่อว่าทุกอย่าง จะผ่านไป ได้ด้วยดีค่ะ ท้ายนี้... ผู้เขียนขอแสดงความเสียใจกับทุกท่านที่ได้รับผลกระทบ จากภัยธรรมชาติต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ หวังว่าท่านจะ สามารถยืนหยัดขึ้นมาและก้าวต่อไปนะคะ... สู้ๆ ค่ะ By… Hataraki Man
พบแพทย์หญิงวรรณา
หลายวันก่อนได้เห็นข่าวกรอบเล็กๆ ว่าด้วยการห้าม ขายหนังสือเล่มหนึง่ ในอินเดียเนือ่ งจากผูเ้ ขียนตัง้ ข้อสงสัยกับ ท่านมหาตมะคานธี มหารัฐบุรุษผู้น�ำอหิงสาต่อต้านการ ปกครองของอังกฤษ การต่อสู้ด้วยสันติวิธีของท่านถูกอ้างถึง บ่อยๆ ในหลายประเทศทีม่ กี ารเคลือ่ นไหวของประชาชน เรือ่ ง ทีส่ งสัยก็ทำ� ร้ายจิตใจผูท้ ศี่ รัทธาท่านคานธีอย่างมาก เนือ่ งจาก เป็ น เรื่ อ งเพศรสของท่ า นคานธี ผู ้ เ ขี ย นเคยอ่ า นหนั ง สื อ พญ.วรรณา หาญเชาว์วรกุล “ข้าพเจ้าทดลองความจริง” ซึ่งเป็นหนังสืออ่านนอกเวลา ความรู้สึกไม่รู้จะเขียนอะไรดี เกิดขึ้นทุกทีเมื่อถึง สมัยเรียนมัธยม ขณะอ่านก็ได้เห็นความอดทนและการฝึกฝน ก�ำหนดส่งบทความใน สาเหตุไม่ใช่ไม่รู้จะเขียน ตนเองในการด�ำเนินชีวิตของท่านคานธี และหมดข้อสงสัย อะไร แต่มีหลายเรื่องจนไม่รู้จะเขียนเรื่องไหนก่อน อย่างที่ ว่าท�ำไมท่านจึงเป็นที่เคารพศรัทธา เมื่อเจอข่าวข้อสงสัยเรื่อง วิทยากรท่านหนึ่งที่กรมฯเคยเชิญมาบรรยายในที่ประชุมให้ เพศรสท�ำให้เกิดความรู้สึกขัดใจเป็นอย่างยิ่ง โชคดีที่ในข่าว ฟังและพาดพิงเรือ่ งการอบรมว่า เราส่งคนไปอบรมเยอะแยะ กรอบนั้นบอกว่าผู้เขียนหนังสือต้องห้ามเล่มนั้นยอมรับว่า แต่พอกลับมาก็ไม่มีโอกาสได้น�ำความรู้ที่ได้มาใช้ หลังการ ข้อสังเกตดังกล่าวเป็นความเห็นส่วนตัวจากข้อมูลทีต่ นเองได้ อบรมไม่เกินเดือนความรู้ที่ได้ก็หายหมดจนใช้ไม่เป็นหรือใช้ จึงยังไม่สามารถสรุปเรื่องนี้อย่างชัดเจนได้ จะเห็นได้ว่าผู้น�ำ ไม่ถูกที่ถูกทาง หลังจากได้ฟังก็ตั้งใจว่าหลังจากนี้จะไม่ไป อันยิง่ ใหญ่ของโลกมักจะถูกสืบค้น (ขุดคุย้ ) เรือ่ งราวด้านลบ อบรมอะไรอีก ถ้ายังไม่มีโครงการที่จะใช้ความรู้นั้นอย่าง แล้วน�ำมาเผยแพร่หลังเสียชีวิตเสมอๆ ขณะนี้ผู้เขียนก�ำลัง แท้จริง อ่านหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ มังกรทะยาน คชสารผยอง (The มีเรื่องราวเกิดขึ้นมากมายจากฉบับที่ผ่านมาจนถึง Elephant and the Dragon) ซึ่งเป็น New York Time ฉบับนี้ บรรณาธิการก็แจ้งว่าบทความจะออกราว..เดือน Bestseller ในหนังสือเล่มนี้เขียนถึงความเจริญเติบโตทาง พฤษภาคม ท�ำให้ต้องคิดมากขึ้นอีกว่าเรื่องอะไรหว่าที่ยัง เศรษฐกิจและชีวิตความเป็นอยู่ของจีนและอินเดียในช่วง ทันสมัยจนถึงเดือนพฤษภาคม วันที่ท่านผู้อ่านจะได้อ่าน ทศวรรษ 2000 และคาดหมายว่าผู้น�ำโลกยุคใหม่จะชื่อ (หากจะมีคนอ่านอยูบ่ า้ ง ฮา) ก่อนลงมือจรดแป้นพิมพ์ ก็คดิ Chindia (China+India) เนื่องจากระบบเศรษฐกิจ สังคม คิด และ คิดอยู่นาน จากนั้นก็ปิดเครื่องคอมพิวเตอร์เพราะ วัฒนธรรมแบบโลกาภิวัฒน์ สิ่งที่น่าสนใจคือได้กล่าวถึง คิดไม่ออก ระหว่างขับรถกลับบ้านหลายวันก็คิดได้เรื่องหนึ่ง อุปสรรคของการพัฒนาประเทศจีนและอินเดียคือแนวคิดของ คือเรื่องที่ส�ำนัก KM ได้จัดการพัฒนาวิทยากรกระบวนการ คนที่ เ ป็ น ผลพวงทางประวั ติ ศ าสตร์ ข องท่ า นประธาน (facilitator) โดยวิ ท ยากรจากสถาบั น อาศรมศิ ล ป์ เหมาเจ๋อตุง และมหาตมะคานธี แต่หากพวกเราได้เคย ท่านอาจารย์สุรพล ธรรมร่มดี ซึ่งมีกิจกรรมหนึ่งที่น่าสนใจ ติดตามเรือ่ งราวทางประวัตศิ าสตร์อยูบ่ า้ งก็จะต้องยอมรับว่า มากเรียกว่า “จริยศิลป์” การท�ำกิจกรรมก็ง่ายๆคือให้เรา ทั้ ง สองท่ า นได้ ส ร้ า งคุ ณู ป การมากมายในยุ ค สมั ย ของตน จับคู่กับเพื่อนแล้วยืนห่างจากคู่ราว 1-2 เมตร โจทย์ที่ได้รับคือ ผู้เขียนแนะน�ำให้ทุกท่านลองหามาอ่านดู ให้วาดรูปเพื่อนโดยไม่ยกดินสอ (2 บี เน้นต้องดินสอ 2 บี สิ่งที่ได้จากการอ่านหนังสือเล่มนี้คือ ท่านผู้น�ำจีน เพราะจะท�ำให้วาดได้ลนื่ และความคมของเส้นจะสวยกว่า HB) และอิ น เดี ย คงไม่ ไ ด้ เ ป็ น คนดี ใ นสายตาคนรุ ่ น ใหม่ วิธกี ารวาดก็ให้ลากเส้น ตามเส้นทีต่ าเราเห็นบนใบหน้าเพือ่ น แต่ คุ ณู ป การและการกระท�ำ ของทั้ ง สองท่ า นก็ มี ผ ลจนถึ ง โดยจะเริ่มจากหน้าผาก หรือหางตา หรือปลายผมที่ใดก็ได้ ปัจจุบัน ยุคสมัยเปลี่ยน คนดีก็ดูหน้าตาเปลี่ยนไป ผู้เขียน จากนั้นก็เริ่มลากเส้นไปเรื่อยตามที่ตาเราเห็น จนครบทั้ง คิดไปถึงกิจกรรมจริยศิลป์ที่เล่าไว้ในตอนแรก คือหากเราไม่ ใบหน้า แต่มีกติกาว่าระหว่างลากเส้นเราห้ามเหลือบตาดูรูป ยึดติดกรอบความคิดของตัวในการมองคนหรือมองปัญหา แต่ ที่วาด หลังเสร็จกิจกรรมอาจารย์ก็ให้เราทบทวนว่าได้อะไร ใช้การติดตามจากจุดหนึง่ ไปสูอ่ กี จุดหนึง่ เหมือนการลากเส้น จากกิ จ กรรมบ้ า ง คนที่ เ ศร้ า ที่ สุ ด ในกิ จ กรรมน่ า จะเป็ น ตามแต่ที่สายตาเรามองเห็น เราก็จะค้นพบความจริงตามที่ คุณอภิชาญ ทองใบ ที่เป็นแบบให้เขียน ฮา มันเป็น โดยมีอคติของตัวเราในการมองเรื่องราวน้อยที่สุด ดังนั้นในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอสรุปสั้นๆว่า “คนดีไม่จีรัง ความ 18 ดียั่งยืน”
คนดีไม่จีรัง ความดียั่งยืน
Your Life...Your Style
“คลังความรู้ในฝันของกรมควบคุมโรค… จะหน้าตาเป็นอย่างไร” ตอนนี้ สำ�นักจัดการความรู้และผู้แทนจากสำ�นักต่างๆ กำ�ลังระดมสำ�รวจประเภทของความรู้ในกรมควบคุมโรค เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำ�คลังความรู้ของกรมควบคุมโรค พวกเราในฐานะผู้ใช้คลังความรู้...มีความเห็นอย่างไรบ้างคะ อยากมีคลังความรู้หน้าตาแบบไหนจ๊ะ?
อยากให้คลังความรูเ้ ป็นเหมือนขุมทรัพย์ ไม่ ว่ า จะหยิ บ อะไรขึ้ น มาคนทำ�งานก็ สามารถนำ�ไปใช้ประโยชน์ได้ อยากให้ มีความรู้ให้ครบทุกโรคที่กรมรับผิดชอบ รวมถึงงานบริหาร/งานแผนของกรมด้วย
นอกจากจะมีเรื่องโรคแล้ว อยากให้มี ทุกๆ เรื่องที่เกี่ยวกับกรม ตั้งแต่ประวัติ ความเป็นมา หน้าที่ ภารกิจ โครงสร้าง บริหาร และอัตรากำ�ลัง
อยากมี ค ลั ง ความรู ้ ที่ ค ้ น หาข้ อ มู ล / ความรู ้ ที่ ต ้ อ งการใช้ ไ ด้ ง ่ า ย...หาง่ า ย ใช้สะดวก รวดเร็วแล้วทันต่อสถานการณ์ ด้วย
มนัญญา ประเสริฐสุข สำ�นักโรคติดต่ออุบัติใหม่
บางลักษณ์ สุทธิ สำ�นักโรคติดต่อทั่วไป
วิราพร สารทบางเคียน ส�ำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เฉลยฉบับที่แล้ว น้อง บก. มี “กระเป๋าเป้ สวยๆ” มาฝากค่ะ แต่ก่อนอื่น ต้องประลองสายตากันก่อนนะคะ ช่วยดูสิคะว่า “น้อง บก.มีดินสอ ทั้งหมดกี่แท่ง” รู้ค�ำตอบแล้ว ส่งค�ำตอบและที่อยู่ของท่านมาที่ อีเมล kmonstreet@kmddc.go.th หรือ โทรสาร 0 2965 9610 หรือส่ง มาที่ ส�ำนักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ผู้ที่ตอบถูกและโชคดี 5 ท่านรับของรางวัลไปได้เลยค่ะ 1. คุณวีรพงษ์ ปงจันตา 2. คุณศิริลักษณ์ ปลูกปัญญา 3. คุณรัชฎาวรรณ กลางวัง 4. คุณพิเชษฐ์ ท่วงจันทึก 5. คุณอารี ช่วยสงค์
ผู้โชคดีจากฉบับที่แล้ว
ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 10.2 สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่ หน่วยควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 11.2.6 หน่วยควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 5.4.1 สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 นครศรีธรรมราช
I D E A I CA N
ด้านหลังติดแม่เหล็กไว้แบบนี้
เปิดกล่องเครื่องมือ
เคย
พบปัญหาเรื่องการติดป้าย หรือแบบ ฟอร์มต่างๆ ตามครุภัณฑ์ แล้วเวลา แกะออกมาแก้ไขมีกาวสองหน้าติดอยู่ที่ครุภัณฑ์ ดูแล้วไม่สวยงามใช่ไหมคะ ใครทีเ่ คยพยายามลอกกาว สองหน้าแบบโฟมจะนึกได้วา่ มันเป็นเรือ่ งกวนใจมาก ที่แกะไม่ออก พอดึงมันก็ขาดแล้วเหลือเป็นขุยๆ เนื้อโฟมติดอยู่ IDEA I CAN ฉบับนี้ผ่านไปเจอ ไอเดียดีๆ ทีส่ ถาบันราชประชาสมาสัยมาค่ะ “ตาราง การซ่อมบ�ำรุงรักษาเครือ่ งปรับอากาศ” ถูกติดไปบน เครื่องปรับอากาศอย่างสวยงาม สามารถหยิบออก มาเขียนชื่อผู้ตรวจซ่อมอย่างง่ายๆ จะเปลี่ยนใหม่ก็ เพียงแค่แกะออกมา แถมยังไม่มกี ระดาษกาวติดอยู่ เครื่องปรับอากาศให้ร�ำคาญใจ วิธีการง่ายๆ ก็คือ ติดแผ่นแม่เหล็กไว้ที่ฟิวเจอร์บอร์ด แผ่นเท่ากับ กระดาษทีจ่ ะใช้ เครือ่ งปรับอากาศเป็นเหล็ก แค่วาง แผ่นตารางการซ่อมบ�ำรุงทีต่ ดิ แผ่นแม่เหล็กแล้ว มัน ก็ตดิ อยูไ่ ด้ทกุ มุม ง่ายๆ อย่างนีล้ องท�ำได้เลยค่ะ แต่ ถ้าต้องติดกับครุภณ ั ฑ์ หรืออุปกรณ์ทไี่ ม่ได้เป็นเหล็ก ก็เพียงแต่น�ำแผ่นเหล็ก หรือแผ่นแม่เหล็กอีกแผ่น ไปติดกับครุภัณฑ์นั้นก่อน มันก็ติดได้แล้วค่ะ แต่ ต้องดูเรื่องขั้วแม่เหล็กให้ดี ขั้วเดียวกันผลักกัน ขั้ว ต่างกันจึงจะติดกันนะคะ
การจัดการความรู้ทำ�ให้คนเก่งขึ้น...งานดีขึ้น...องค์กรดีขึ้นได้อย่างไร
การจัดการความรู้ (KM-Knowledge Management) หมายถึง การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ใน / นอกองค์กร ซึ่ง มีอยู่ทั้งในตัวบุคคล และเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ผู้ใช้งานทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และใช้ความรู้ ในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความรู้มี 2 ประเภท คือ แนวคิดเรื่องการจัดการความรู้ 1. ความรูท้ ฝี่ งั อยูใ่ นคน (Tacit Knowledge) เป็นความ สร้าง/ยกระดับ เข้าถึง/ตรวจสอบ (ใหม่) รูท้ ี่ได้จากประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เช่น ทักษะในการทํางาน เรียนรู้ รวบรวม ของผู้เกษียณ, งานฝีมือ, การทำ�อาหาร ปรับใช้ ร่วมกัน จัดเก็บ 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ มีใจ/แบ่งปัน เรียนรู้/ยกระดับ (ใหม่) ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึก แนะนำ� เป็นลายลักษณ์อักษร หนังสือ แนวทาง รายงาน คู่มือต่างๆ การจั ด การความรู้ ต้ อ งจั ด การความรู้ ทั้ ง 2 ประเภท โดยใช้ เน้น “2T” Tool & Technology เน้น “2P” Process & People เครื่องมือและเทคโนโลยีต่างๆ (“2T” Tool & Technology) เข้า ** ประยุกต์จากแนวคิด ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรูเ้ พือ่ สังคม สนับสนุนในการจัดการระบบ แต่ก็อย่าลืมว่าต้องให้ความสำ�คัญ เรื่องกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของคนในองค์กร (“2P” Process & People) เพื่อรักษาและยกระดับความรู้ที่จำ�เป็นขององค์กรให้เพิ่มขึ้น ด้วยการนำ�ความรู้ไปใช้แล้วกลับมาแลกเปลี่ยน และนำ�กลับไปใช้อีก หมุนเกลียวไปเรื่อยๆ