แม่น้ำโขง

Page 1


องคความรูแมน้ําโขง รายงานการประชุมองคความรูแมนา้ํ โขงเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน วันที่ 8 มิถุนายน 2552 กรุงเทพมหานคร

ISBN:

978-974-8479-55-2

พิมพครั้งที่ 1

ธันวาคม 2553

บรรณาธิการ

ดร.สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง และ ดร.ศุภสุข ประดับศุข

กองบรรณาธิการ

วรวรรณ ชายไพฑูรย มาดาพร ลาภโรจนไพบูลย และวรรณนิภา สุขสถิตย

จัดพิมพโดย

สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

จํานวน

1,000 เลม

16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนดสตรีท ต. บางพูด อ. ปากเกร็ด จ. นนทบุรี 11120 โทรศัพท 02-503-3333 ตอ 501 โทรสาร 02-504-4826-8 เว็บไซต www.tei.or.th สนับสนุนการจัดประชุม มูลนิธิฟอรด (Ford Foundation) สนับสนุนการพิมพ

มูลนิธิฟอรด

ออกแบบหนาปก

วาทิต พูนพนิช

ภาพถายหนาปก

ฐากูร โกมารกุล ณ นคร

พิมพที่

โรงพิมพ ส เจริญการพิมพ โทร. 02-913-2080

ขอมูลทางบรรณานุกรมแหงชาติ สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง และ ศุภสุข ประดับศุข, บก. 2553. องคความรูแมน้ําโขง: รายงานการประชุม องคความรูแมน้ําโขงเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน. นนทบุร:ี สถาบันสิ่งแวดลอมไทย. 350 หนา


องคความรูแมน้ําโขง

รายงานการประชุมองคความรูแมนา้ํ โขงเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน วันที่ 8 มิถุนายน 2552 กรุงเทพมหานคร

Knowledge Base for Sustainable Development in Mekong Basin Proceedings of a National Dialogue 8 June 2009, Bangkok

ดร. สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง ดร. ศุภสุข ประดับศุข บรรณาธิการ Dr. Somrudee Nicro Dr. Suphasuk Pradubsuk Editors

สถาบันสิ่งแวดลอมไทย Thailand Environment Institute (TEI) Nonthaburi, Thailand 2010



คํานํา แมน้ําโขงเปนสายน้ําหลักที่หลอเลี้ยงผูค นใน 6 ประเทศ ไดแก จีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม แมวาการพัฒนาโครงการขนาดใหญในแมน้ําโขงและแมน้ําสาขาที่ผานมาจะสงผลใหเกิดการเติบโตทางเศรษฐกิจ แตก็ไดกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมพื้นถิน่ รวมถึงคําถามตอความยั่งยืนการจัดการ ทรัพยากรน้ําและทรัพยากรธรรมชาติที่เกี่ยวของ ดวยตระหนักถึงความเขมแข็งและพรอมตอการมีสวนรวมของภาค ประชาสังคมในประเทศไทย และความจําเปนในการเสริมสรางความเขาใจและการเขาถึงองคความรูของภาคสวน ตางๆในการกําหนดบทบาทของประเทศไทยตอทิศทางการพัฒนาในลุมน้ําโขง สถาบันสิ่งแวดลอมไทยจึงไดจัดการ ประชุม “องคความรูแมน้ําโขงเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” ขึ้นเมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2552 โดยมีวัตถุประสงคหลัก ไดแก 1. รวบรวมองคความรูที่มีอยูเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้าํ ในลุมแมน้ําโขงในประเทศไทยและเสริมสราง ความรวมมือจากทุกภาคสวนเพื่อขยายขอบเขตการเขาถึงขอมูลใหกวางขวางขึ้น 2. เปดเวทีใหตัวแทนจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของในการพัฒนาแมน้ําโขงหรือแมน้ําสาขาในประเทศไทย จากภาครัฐ นักวิชาการ องคกรพัฒนาเอกชน ภาคประชาสังคม และบริษัทเอกชน ไดระดมขอมูล ความ คิดเห็น และประสบการณที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรน้าํ ในลุมแมน้ําโขง การประชุมนี้เกิดขึ้นไดดวยความรวมมืออันดีจากทุกภาคสวน เริ่มจากการประชุมเตรียมงานซึ่งจัดขึน้ เมื่อ วันที่ 26 มกราคม 2552 ณ อาคารสถาบันสิ่งแวดลอมไทย ผูเขารวมประชุมไดรวมกันกําหนดโจทยความรูที่จําเปน ตอการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย ดังนี้ 1. ความหลากหลายของการใชและการจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย 2. ประสิทธิภาพการจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย และคณะกรรมการลุมน้ํา 3. ความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และชีวภาพ ในลุมน้ําโขง 4. ประเทศไทยและความรวมมือกับภูมิภาค ในการจัดการน้าํ ในแมน้ําโขง จากนั้นสถาบันสิ่งแวดลอมไทยจึงไดเรียนเชิญตัวแทนจากภาคสวนตางๆ ซึ่งเปน “ผูร”ู หรือผูที่มีความรูจริง ในหัวขอนั้นๆ ไมวาจะเปนนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ปราชญชาวบาน ผูน ําชุมชน ผูทํางานองคกรพัฒนาเอกชน หรือผูมีหนาที่รบั ผิดชอบจากภาครัฐมารวมเตรียมขอเขียนภายใตโจทยความรูขางตนเพื่อประมวลองคความรูทั้ง จากภาควิชาการและภาคปฏิบัติ แลวจึงไดจดั ประชุมผูรูขนึ้ เมื่อวันที่ 14 และ 18 พฤษภาคม 2552 เพื่อใหความเห็น และคําแนะนําตอเนื้อหาบทความกอนที่จะไดนําเสนอบทความทั้งหมดในการประชุม “องคความรูแมน้ําโขงเพือ่ การ พัฒนาอยางยั่งยืน” ในวันที่ 8 มิถนุ ายน 2552 ที่โรงแรมมิราเคิลแกรนด กรุงเทพมหานคร การประชุมเรื่อง “องคความรูแ มน้ําโขงเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน” นี้ มีผูเขารวมจากภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ องคกรพัฒนาเอกชน องคกรชุมชน และสื่อมวลชน รวมทั้งสิ้น 190 คน เขารวมรับฟงการนําเสนอ บทความ รวมอภิปรายซักถาม และแสดงความคิดเห็นกันอยางเปดกวางเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู รายงานการ I


ประชุมฉบับนีจ้ ึงเปนผลมาจากการรวบรวมขอมูลองคความรู และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตอการจัดการน้ําใน แมน้ําโขง จากภาคสวนตางๆ ของไทยทั้งในระดับทองถิน่ และระดับประเทศ เพื่อสะทอนใหเห็นถึงความสําคัญของ การจัดการน้ําในลุมน้ําโขงที่มตี อความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ และการใชภูมิ ปญญาเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม สถาบันสิ่งแวดลอมไทยจึงหวังเปนอยางยิ่งวา การเผยแพรองคความรูน ี้จะนําไปสูการ ผลักดันใหเกิดกระบวนการการจัดการองคความรูขึ้นอยางตอเนื่อง สงเสริมใหเกิดความเขาใจกันของภาคสวนตางๆ และสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมในการตัดสินใจและการกําหนดนโยบายของประเทศไทยตอทิศทางการพัฒนาใน ลุมน้ําโขงใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรมกับทุกฝายยิ่งขึ้น สถาบันสิ่งแวดลอมไทย ขอขอบคุณทุกทานที่ไดใหความรวมมือรวมใจในการเตรียมการและดําเนินการ จัดการประชุมนี้ ดังปรากฏรายชื่อใน “องคกรภาคีรวมจัดการประชุม” ในภาคผนวก ขอขอบคุณผูบรรยายและ ผูเขียนทุกทานและขอขอบคุณมูลนิธิฟอรด (Ford Foundation) ที่ใหการสนับสนุนการจัดการประชุมและการ จัดพิมพรายงานฉบับนี้

ดร. สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง ผูอํานวยการอาวุโส สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

II


สารบัญ คํานํา

I

อักษรยอ

VI

ทิศทางประเทศไทยในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมแมน้ําโขง บทที่ 1 ความรวมมือระหวางประเทศในการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน กฤต ไกรจิตติ

3

บทที่ 2 บรรยายพิเศษ ดร.ศิริพงศ หังสพฤกษ

10

บทที่ 3 บรรยายพิเศษ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ

13

การจัดการน้าํ ในลุมน้ําโขงในสวนพื้นทีป่ ระเทศไทย: โครงการขนาดใหญ บทที่ 4 การบริหารจัดการระบบลุม น้ํา ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

19

บทที่ 5 การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงและศักยภาพการพัฒนา เกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉวี วงศประสิทธิพร

46

บทที่ 6 การมีสวนรวมของกลุมผูมสี วนไดสวนเสีย และความโปรงใสของการพัฒนา โครงการเขือ่ นไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบานกุม (จ.อุบลราชธานี) มนตรี จันทวงศ

69

III


การจัดการน้าํ ในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทยโดยการมีสวนรวมของประชาชน บทที่ 7 ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้าํ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผศ.ฤกษชัย ศรีวรมาศ

99

บทที่ 8 ชลประทานชุมชนในพื้นทีบ่ ุงทามลุมน้ํามูนตอนกลาง บานหนองแค-สวนสวรรค สนัน่ ชูสกุล

115

บทที่ 9 บทบาทคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุม น้ํา สมคิด สิงสง

145

บทที่ 10 โครงขายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บานฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอยางบูรณาการ” โยธิน วรารัศมี

179

บทที่ 11 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอยางมี ประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ ผศ.ดร. กนกวรรณ มะโนรมย

197

ความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุมน้ําโขง บทที่ 12 นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ําโขง กรณีแมน้ําของ-ลานนา นิวัฒน รอยแกว

225

บทที่ 13 ผลกระทบขามพรมแดนจากการพัฒนาแมน้ําโขง มิติดา นสังคมและสิ่งแวดลอม เพียรพร ดีเทศน

256

บทที่ 14 สานตองานวิจัยไทบาน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร ปาบุงปาทาม ลุมน้ําสงครามตอนลาง สรรคสนธิ บุณโยทยาน

272

บทที่ 15 แมน้ําโขง: ดินแดนงดงามแหง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร และชาติพันธุ มุมมองจากประสบการณของสมาชิกรัฐสภา เตือนใจ ดีเทศน

280

IV


บทที่ 16 นิเวศวัฒนธรรมในลุมแมนา้ํ โขง ศ. ศรีศักร วัลลิโภดม

291

ประเทศไทยและความรวมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแมน้ําโขง บทที่ 17 ประเทศไทย และความรวมมือกับภูมิภาคในการจัดการแมน้ําโขง ดร. ปรเมธี วิมลศิริ

295

บทที่ 18 ความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ผกาวรรณ จุฟามาณี

308

บทที่ 19 ขอมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุมแมน้ําโขง “ขอเท็จจริงหรือความเขาใจผิด” รศ. ชัยยุทธ สุขศรี

325

บทที่ 20 ธรรมาภิบาลในลุมแมน้ําโขง ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ

327

ภาคผนวก กําหนดการสัมมนา

331

องคกรภาคีรวมจัดการประชุม

335

แนะนําผูเขียน

339

ประมวลภาพจากที่ประชุม

345

V


อักษรยอ กทช. กพช. ทน. ทส. พพ. ACD ACMECS ADB AIFP APEC ASEAN BCI BDP BDP CBTA CEO CSR DSF ECAFE EIA EOC EP EU FMMP FP GMS IAI ICBP IKMP IWRM MOU MRC MTCO NAFTA NC

คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน Asian Cooperation Dialogue Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy Asian Development Bank Agriculture, Irrigation and Forestry Programme Asia-Pacific Economic Cooperation Association of Southeast Asian Nations Biodiversity Conservation Corridor Initiative Basin Development Plan Basin Development Programme Cross Border Transport Agreement chief executive officer corporate social responsibility Decision Support Framework Economic Commission for Asia and Far East environmental impact assessment Environmental Operation Center Environment Programme European Union Flood Management and Mitigation Programme Fisheries Programme Greater Mekong Subregion Initiative for ASEAN Integration Integrated Capacity Building Programme Information and Knowledge Management Programme integrated water resources management memorandum of understanding Mekong River Commission Mekong Tourism Coordinating Office North American Free Trade Agreement national coordinator VI


NP PRA RBC RRA SA SEA TNMCS ToR UN ESCAP WB WUP

Navigation Programme participatory rural appraisal river basin committee rapid rural appraisal sub-area strategic environmental assessment Thai National Mekong Committee Secretariat Terms of Reference United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific World Bank Water Utilization Programme

VII



ทิศทางประเทศไทย ในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน ของลุมแมน้ําโขง



บทที่ 1 ความรวมมือระหวางประเทศในการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน กฤต ไกรจิตติ อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ

จากประสบการณการมีสวนรวมในการเจรจาจัดทําความตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการใช การบริหาร จัดการ การอนุรักษและการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืนซึ่งไดมีการลงนามโดยกัมพูชา สปป. ลาว เวียดนาม และ ไทย เมื่อป ค.ศ. 1995 และในการกอตั้งคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) จึงขอให ขอมูลและขอคิดเห็นเกี่ยวกับอดีต ปจจุบัน และอนาคตของความรวมมือระหวางประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงใน การใช การบริหารจัดการ การอนุรักษ และการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน โดยจะกลาวถึงภูมิหลังของการจัดทํา ความตกลง วัตถุประสงค พันธกรณี กลไกการดําเนินความรวมมือและการปฏิบัติตามความตกลงและใหขอคิดเห็น เกี่ยวกับปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะในการดําเนินความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมน้ําโขง ดังนี้

ภูมิหลัง การจัดทําความตกลงวาดวยการใช การบริหารจัดการ การอนุรักษและการพัฒนาแมน้ําโขงอยางยั่งยืนและ การจัดตั้งคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเมื่อป ค.ศ. 1995 ระหวางกัมพูชา สปป. ลาว ไทยและเวียดนาม เปนผลมาจาก การปรับปรุงปฏิญญาวาดวยความรวมมือ (statute) การสํารวจลุมแมน้ําโขงตอนลาง ซึ่งเปนความตกลงที่ใชเปน พื้นฐานในการดําเนินงานของคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขงตอนลาง ที่กัมพูชา สปป. ลาว ไทยและ เวียดนามไดรวมกันกอตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1957 โดยการสนับสนุนของ ECAFE หรือ ESCAP ในปจจุบัน และ ปฏิญญาการใชน้ําฉบับ ค.ศ. 1975 (The Joint Declaration of Principles for Utilization of the Waters of the Lower Mekong Basin) ในโอกาสการกลับเขามารวมเปนสมาชิกของคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขง ตอนลาง (Committee of Investigations of the Lower Mekong Basin) อีกครั้งของกัมพูชาในป ค.ศ.1991 และ จากการที่ไทยมีโครงการโขง – ชี – มูล และ กก – อิง – นาน ซึ่งมีแผนการที่จะผันน้ําจากแมน้ําโขง ซึ่งตาม ปฏิญญาการใช แมน้ําโขง ค.ศ. 1975 โครงการของประเทศสมาชิก ที่มีการใชน้ําในปริมาณมากจากแม น้ําโขง ประเทศสมาชิกมีสิทธิที่จะคัดคาน ซึ่งเปนการจํากัดอธิปไตยของไทยในการใชแมน้ําโขงและเปนอุปสรรคตอการ ดําเนินโครงการ การดําเนินโครงการดังกลาวจะตองปรึกษาหารือกับประเทศสมาชิกอื่นกอน และประเทศสมาชิกอื่น มีสิทธิ์ที่จะคัดคานหากเห็นวามีผลกระทบอยางทั่วถึง เพื่อใหมีความยืดหยุน กัมพูชา สปป. ลาว ไทยและเวียดนาม ไดรวมกันเชิญจีนและพมาเขารวมในการเจรจาปรับปรุงความตกลงเพื่อเขารวมเปนภาคีความตกลงแตจีนและพมา แจงวายังไมพรอมจะเขารวมการเจรจา ทั้งนี้ หลังจากการเจรจาโดยไดรับการสนับสนุนจาก ESCAP UNDP ธนาคารโลก และเจตนารมณทางการเมืองที่จะดําเนินการในการพัฒนาแมน้ําโขงของประเทศสมาชิก ประเทศภาคีสี่ ประเทศ ซึ่งประกอบดวยกัมพูชา สปป. ลาว ไทย และเวียดนาม สามารถตกลงกันไดและไดลงนามในความตกลง ความรวมมือวาดวยการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืนเมื่อป ค.ศ. 1995 (Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) ซึ่งใชเปนพื้นฐานทางกฎหมายในการดําเนินความ รวมมือในการพัฒนาแมน้ําโขงและการกอตั้ง MRC โดยมีพันธกรณีในการใชน้ําอยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม (reasonable and equitable manner) การแจงขอมูล การปรึกษาหารือ และการใหความเห็นในการดําเนินโครงการ ใชน้ําจากแมน้ําโขงเพื่อจัดระบบการใชน้ํา การบํารุงรักษาและการใชน้ําอยางยั่งยืน


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ทิศทางประเทศไทยในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของลุ่มแม่น้ําโขง

เมื่อป ค.ศ. 1991 กัมพูชาไดกลับเขารวมเปนสมาชิกคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขงตอนลาง (Committee of Investigations of the Lower Mekong Basin) อีกครั้ง ประเทศสมาชิกคณะกรรมการฯ ซึ่ง ประกอบดวยกัมพูชา สปป. ลาว ไทย และเวียดนาม จึงถือโอกาสทบทวนปฏิญญาวาดวยความรวมมือ (statute) ซึ่ง เปนกรอบการดําเนินงานของคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขงตอนลาง ที่กัมพูชา สปป. ลาว ไทยและ เวียดนามไดรวมกันกอตั้งขึ้นเมื่อป ค.ศ. 1957 โดยการสนับสนุนของ ECAFE หรือ ESCAP ในปจจุบัน และ ปฏิญญาการใชน้ําฉบับ ค.ศ. 1975 ทั้งนี้ เพื่อใหการใช การบริหารจัดการ การอนุรักษและการพัฒนาลุมแมน้ําโขง เกิดประโยชนสูงสุดและเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยสามารถตอบสนองความตองการและลดขอกังวลของประเทศ สมาชิก ในการใชน้ําเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม การเดินเรือ ประมง ทองเที่ยว และการพัฒนาอยางยั่งยืนไดอยาง มีประสิทธิภาพที่สุด รวมทั้งเพื่อใหเหมาะสมกับสภาวการณทางการเมืองในขณะนั้นที่เปลี่ยนแปลงไป กอนที่จะเริ่มเจรจาปรับปรุงการดําเนินการของคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขงตอนลางนี้ ประเทศสมาชิกเล็งเห็นความสําคัญของการมีสวนรวมของจีนและพมา ซึ่งเปนประเทศริมฝงแมน้ําโขง จึงเชิญจีน และพมาเขารวมเจรจายกรางความตกลงฉบับใหมตั้งแตเริ่มแรก อยางไรก็ดี จีนและพมาปฏิเสธที่จะเขารวมการ เจรจา โดยแจงวาขอรอดูผลการประชุมระหวางประเทศสมาชิกทั้ง 4 ประเทศในแมน้ําโขงตอนลางรวมดําเนินการ ตามความตกลงฉบับใหม กอนที่จะตัดสินใจเขารวม ในป ค.ศ. 1995 หลังจากประเทศสมาชิกเจรจาอยางตอเนื่องถึง 3 ปโดยไดรับการสนับสนุนจาก UNDP ธนาคารโลกในการสงผูเชี่ยวชาญดานกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารจัดการแมน้ําระหวางประเทศมาชวยประสานงาน และทาทีในการเจรจาในที่สุด และดวยเจตนารมณทางการเมือง (political determination) ที่จะรวมดําเนินการเพื่อ การพัฒนาแมน้ําโขง เพื่อประโยชนรวมกันประเทศริมฝงแมน้ําโขงตอนลาง 4 ประเทศ ซึ่งประกอบดวยกัมพูชา สปป. ลาว ไทยและเวียดนามจึงไดลงนามในความตกลงความรวมมือวาดวยการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืนเมื่อ ค.ศ. 1995 (Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) ซึ่งใชเปนพื้นฐานทางกฎหมายในการดําเนินความรวมมือในการพัฒนาแมน้ําโขง และไดมีการกอตั้ง MRC ซึ่งเปน องคการระหวางประเทศ มีการประชุมของผูแทนระดับเจาหนาที่อาวุโสและระดับรัฐมนตรี และสํานักเลขาธิการ MRC เปนกลไกในการกําหนดนโยบายและการดําเนินความรวมมือในการดําเนินการตามความตกลงความรวมมือ วาดวยการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน โดยประเทศภาคีมีพันธกรณีในการใชน้ําอยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม (reasonable and equitable manner) การแจงขอมูล การปรึกษาหารือ และการใหความเห็นในการดําเนินโครงการ ใชน้ําจากแมน้ําโขงเพื่อจัดระบบการใชน้ํา การบริหารจัดการ การบํารุงรักษา และการพัฒนาแมน้ําโขงอยางยั่งยืน การปรับแกปฏิญญาวาดวยความรวมมือในการใชน้ําในแมน้ําโขงตอนลาง ค.ศ. 1975 มาเปนความตกลง ค.ศ. 1995 ทําใหมีความยืดหยุนในการใชน้ําของประเทศสมาชิกเพื่อตอบสนองความตองการและลดขอหวงกังวล ของแต ล ะประเทศ สาเหตุ เ นื่ อ งมาจากประเทศสมาชิ ก มี วั ต ถุ ป ระสงค ข องการใช น้ํ า ในแม น้ํ า โขงแตกต า งกั น โดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงหนาแลง ขณะที่ไทยตองการใชน้ําเพื่อการเกษตรสําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวง หนาแลง สปป. ลาว ตองการใชน้ําสําหรับการผลิตไฟฟาพลังน้ํา กัมพูชาตองการใชน้ําใน Tonle Sap สําหรับ การเกษตรและการประมง สวนเวียดนามมีขอหวงกังวลในผลกระทบจากโครงการโขง – ชี – มูล และ กก – อิง – นาน ของไทยที่จะสงผลตอระดับน้ําทะเลที่จะทวมมายังพื้นที่ปากแมน้ําโขงในเวียดนาม ซึ่งเปนพื้นที่เกษตรกรรมที่ สําคัญ รวมทั้งเพื่อปรับปรุงแกไขกฎกติกาในการใชประโยชนจากแมน้ําโขงที่เขมงวด ตามปฏิญญาการใชน้ําฉบับ 4


ความร่วมมือระหว่างประเทศในการพัฒนาลุ่มน้ําโขงอย่างยั่งยืน / กฤต ไกรจิตติ

ค.ศ. 1975 ที่ระบุวาการดําเนินโครงการใชน้ําที่สําคัญ (major use of water) จากแมน้ําโขงสายประธานจะตอง ไดรับความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกกอน สงผลใหประเทศสมาชิกมีสิทธิคัดคานการดําเนินโครงการพัฒนา ซึ่ง กอใหเกิดความไมไววางใจซึ่งกันและกันของประเทศสมาชิก

สาระสําคัญของความตกลง ขอที่ 1 – 7 ของความตกลง ค.ศ. 1995 กําหนดพันธกรณีใหประเทศสมาชิกในการดําเนินความรวมมือใน การใชน้ําอยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม (reasonable and equitable manner) รวมมือเพื่อจัดระบบการใชน้ํา การอนุรักษและการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดสําหรับการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเดินเรือ พลังงาน การขนสง และการทองเที่ยวของประเทศสมาชิก รวมมือเพื่อคุมครองทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของของแมน้ําโขงและความสมดุลของระบบนิเวศ หรือผลกระทบที่เปนอันตราย โดยประเทศภาคี ความตกลง ค.ศ. 1995 มีขอผูกพันที่จะตองแจงขอมูล ปรึกษาหารือประเทศภาคีอื่นๆ เกี่ยวกับการวางแผนและ ดําเนินโครงการใชน้ําจากลุมน้ําขนาดใหญที่จะตองใชน้ําจากลําน้ําสายประธานในชวงฤดูน้ําหลากและชวงหนาแลง และขอความเห็นชอบจากประเทศภาคีอื่นในกรณีที่มีการผันน้ําจากลําน้ําสายประธานขามลุมน้ําในชวงหนาแลง ทั้งนี้ เพื่อใหประเทศภาคีความตกลง ค.ศ. 1995 มีน้ําเพียงพอแกความตองการเพื่อวัตถุประสงคตางๆ ทั้ง การเกษตร การเดินเรือ ประมง และการปองกันผลกระทบจากน้ําโขงตอพื้นที่เกษตรกรรม ในหนาแลง ขอที่ 6 ได ระบุขอผูกพันที่ประเทศภาคีตองรักษาระดับต่ําสุดของน้ําตามธรรมชาติที่ยอมรับได (maintain the acceptable natural minimum flow) ในหนาแลง อยางไรก็ดี ขอที่ 6 นี้ตองการขอมูลดานเทคนิค ทําใหยังไมสามารถตกลงใน รายละเอียดได จึงมีการจัดตั้งคณะทํางานเพื่อดําเนินการศึกษาในรายละเอียดของการจัดทํารางกฎระเบียบในการใช น้ําในขอนี้ซึ่งมีทั้งเรื่องระดับปริมาณและคุณภาพน้ําที่ตองรักษาระดับไวตอไป

ความคืบหนาในการดําเนินความรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําโขงตามความตกลง ที่ผานมา MRC มีความคืบหนาในการดําเนินงานในหลายๆ ดาน อาทิ การรางแผนการพัฒนาลุมน้ํา และ ระเบียบปฏิ บั ติเ พื่ อ การใช น้ํ า ความสํ าเร็ จในการศึก ษาดา นประมงและโครงการพั ฒ นาและความคืบ หนา ด า น การศึกษาการเดินเรือในลุมน้ําโขงตอนลาง ความรวมมือระหวางกัมพูชาและเวียดนามในโครงการคุมครองและ รักษาสิ่งแวดลอม โครงการเสริมสรางศักยภาพบุคลากรจากประเทศสมาชิกที่ครอบคลุมหลากหลายสาขา ทั้ง เกษตรกรรม ประมง การเดินเรือ และการคุมครองสิ่งแวดลอม อยางไรก็ดี การดําเนินงานของคณะทํางานในการรางกฎระเบียบการใชน้ําตามขอที่ 6 มีความคืบหนานอย มาก เนื่องจากในอดีตที่มีการเจรจาจัดทําความตกลง เมื่อป ค.ศ. 1995 การพัฒนาโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในจีน และลาวยังกอสรางไมแลวเสร็จ การเก็บขอมูลระดับน้ําตามธรรมชาติอาจยอมกระทําได อยางไรก็ดี ในปจจุบันที่ โครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในจีนและลาวไดพัฒนาแลวเสร็จ จึงเปนที่สงสัยวาการเก็บขอมูลระดับน้ําตามธรรมชาติ จะยังกระทําไดอยูหรือไม ซึ่งเรื่องนี้ตองมีการทําความเขาใจความลําบากในการจัดเก็บขอมูลระดับน้ํากับประเทศ เวียดนามซึ่งเปนประเทศปลายน้ํา รวมทั้งตองสนับสนุนใหจีนเขารวมเปนภาคีความตกลง ค.ศ. 1995 อยางจริงจัง เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลสําหรับการกักและปลอยน้ํา อันจะชวยบรรเทาผลกระทบจากน้ําทวมในชวงน้ําหลากและรักษา ระดับต่ําสุดของน้ําในชวงหนาแลง เนื่องจากการที่จีนและพมายังไมไดเขารวมเปนสมาชิก MRC สงผลตอการ บริหารจัดการและการมีสวนรวมในการดําเนินโครงการเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาและการเดินเรือ ซึ่งสงผลใหเกิดผล 5


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ทิศทางประเทศไทยในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของลุ่มแม่น้ําโขง

กระทบตอปริมาณและระดับน้ําในประเทศสมาชิกมีความตองการเพื่อการใชน้ําสําหรับอุปโภคบริโภคตางๆ ทั้งดาน การเกษตร ประมง การเดินเรือ และความรวมมือในการใช การบริหารจัดการ การอนุรักษ และการพัฒนาลุมน้ําโขง อยางยั่งยืน

ความสําคัญของการประสานขอมูลเกี่ยวกับการใช และการบริหารจัดการน้ําในแมน้ําโขง จากประสบการณในการเดินทางไปรวมพิธีลงนามความตกลงวาดวยการใช การบริหารจัดการ การอนุรักษ และการพั ฒ นาลุ ม น้ํ า โขงอย า งยั่ ง ยื น เมื่ อ ป ค.ศ. 1995 ที่ จั ง หวั ด เชี ย งราย ผู แ ทนกรมพั ฒ นาพลั ง งาน กระทรวงวิทยาศาสตรซึ่งเปนผูแทนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงของไทยมีแผนที่จะเชิญรัฐมนตรีและคณะผูแทน ประเทศสมาชิกที่มารวมพิธีลงนามใหเดินทางทางเรือจากบริเวณสามเหลี่ยมทองคํา ที่อําเภอเชียงแสน จังหวัด เชียงรายขึ้นไปถึงเมืองเม็งลาใน สปป. ลาว ระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตรหลังจากพิธีลงนามความตกลง แตแผน นี้ จํ า เป น ต อ งถู ก ยกเลิ ก เนื่ อ งจากผู แ ทนบริ ษั ท นํ า เที่ ย วแจ ง ว า ไม ส ามารถนํ า เรื อ เดิ น ทางขึ้ น ไปเมื อ งเม็ ง ล า ได เนื่องจากระดับน้ําในแมน้ําโขงลดลงอยางมากจาก 150 เซนติเมตรเหลือเพียง 50 เซนติเมตรเพียงชั่วขามคืน เนื่องจากเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในจีนถูกปดเพื่อรักษาระดับน้ําสําหรับการผลิตไฟฟา จึงไมมีน้ําเพียงพอตอการเดินเรือ และไดรับแจงจากเจาหนาที่ประจําเขื่อนในจีนวา จะตองรอเวลาอีก 2 วันเพื่อปลอยน้ําจากเขื่อนมาถึงทาเรือเชียง แสนเพื่อใหสามารถเดินเรือไดตามปกติ ซึ่งเหตุการณนี้แสดงใหเห็นถึงความจําเปนที่จะตองมีความรวมมือในการ ประสานงานและขอมูลในการดําเนินโครงการในแมน้ําโขง ซึ่งจะมีผลกระทบตอระดับน้ํา ซึ่งมีความสําคัญอยางยิ่ง ตอการเกษตร การเดินเรือ และการประมงของประเทศที่อยูริมฝงแมน้ําโขง

การรวมมือของประเทศริมฝงแมน้ําโขงตอนบนและตอนลาง ประเทศภาคีความตกลง ค.ศ. 1995 มีความพยายามอยางตอเนื่องในการเชิญใหจีนและพมาเขารวม ประชุมคณะกรรมาธิการ MRC หลังจากที่ไดมีการลงนามความตกลงในการประชุมครั้งแรก H.E. Mr. Ing Kiet ประธานคณะกรรมาธิการ MRC มีหนังสือเชิญไปยังจีนและพมาใหเขารวมการประชุมของคณะกรรมาธิการแมน้ํา โขงในฐานะประเทศคูเจรจา (dialogue partner) เพื่อแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับแผนและโครงการใชน้ําจากลําน้ํา โดยไมมีขอผูกมัดทางกฎหมาย และเพื่อติดตามพัฒนาการของ MRC เพื่อเขารวมเปนสมาชิกในภายหลัง ซึ่งตอมา รัฐบาลจีนและพมายินดีสงผูแทนเขารวมการประชุมของคณะกรรมาธิการในระดับเจาหนาที่ทุกครั้ง และไดเชิญ ผูแทนคณะกรรมาธิการ MRC เยี่ยมชมโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําและแลกเปลี่ยนขอมูลการใชน้ําในแมน้ําลานชาง ความทาทาย โอกาส และประโยชนจากการดําเนินความรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน เพื่อใหการรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําโขงของประเทศริมฝงแมน้ําโขงทั้ง 6 ประเทศ ไดแก จีน สปป. ลาว กัมพูชา พมา ไทยและเวียดนามเปนไปใหเกิดประโยชนสูงสุดและสามารถปองกันและลดผลกระทบทางลบที่เกิด จากการใชและการพัฒนาลุมแมน้ําโขง มีขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้ 1) ในการพัฒนาลุมน้ําโขงควรใหมีการวางแผนการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบนและตอนลางรวมกัน เนื่องจาก ประเทศในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงมีพื้นที่กวางขวางและอุดมไปดวยทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรมนุษย ประกอบ กับมีประวัติศาสตรและวัฒนธรรมที่ยาวนานและหลากหลาย จึงมีศักยภาพสูงในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเพื่อ ขยายการคา การลงทุน และการทองเที่ยว ประกอบกับความคืบหนาของกระบวนการรวมตัวในภูมิภาค ทั้งกรอบ ความรวมมืออาเซียน ความตกลงการคาเสรี อาเซียน-จีน และกรอบความรวมมืออาเซียน+3 ซึ่งการรวมมือในการ 6


ความร่วมมือระหว่างประเทศในการพัฒนาลุ่มน้ําโขงอย่างยั่งยืน / กฤต ไกรจิตติ

ใช การบริหารจัดการ การอนุรักษและการพัฒนาลุมน้ําโขง รวมกันเพื่อการเกษตร อุตสาหกรรม พลังงาน การเดินเรือ การพัฒนาดานการทองเที่ยวที่เดินทางตามลําน้ําโขงจะเปนประโยชนตอการสงเสริมและขยายการคา การลงทุน และ การทองเที่ยวในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง อันจะสงผลตอการจางงานและการเพิ่มรายไดใหแกประชาชนและการ คมนาคมขนสงทางธุรกิจ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ยากจนที่สุดของอนุภูมิภาค โดยเฉพาะอยางยิ่งการเดินเรือเพื่อการ พาณิชยและการทองเที่ยวในลําน้ําโขงซึ่งมีทัศนียภาพตามลําน้ําสวยงามมากมีศักยภาพดานการทองเที่ยวสูง 2) การเดินเรือในแมน้ําโขง แมน้ําโขงเปนเสนทางคมนาคมขนสงที่มีศักยภาพอยางยิ่งสําหรับการเดินเรือ พาณิชยและการทองเที่ยว ในชวง 15 ปที่ผานมาหลังจากที่ไทย สปป.ลาว พมาและจีนไดลงนามในความตกลงวา ดวยความรวมมือในการเดินเรือพาณิชยในแมน้ําโขง สงผลใหปริมาณและมูลคาการคาระหวางไทยและจีนไดเพิ่มขึ้น เปนอยางมาก ทั้งนี้ การดําเนินการเพื่อประสานความรวมมือในการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบนและตอนลางเขาดวยกัน สามารถดําเนินการเปนลําดับขั้นได ดังนี้ 1) ยกระดับผูแทนของจีนและพมาจากระดับเจาหนาที่ใหเปนระดับรัฐมนตรีเพื่อสามารถแลกเปลี่ยน ขอคิดเห็นและตัดสินใจในระดับนโยบายได และยกระดับผูแทนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงใหเขารวมการประชุม ความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion, GMS) ใหเปนระดับรัฐมนตรี 2) ขยายการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานในกรอบความรวมมือ GMS ใหครอบคลุมการเดินเรือในลุมน้ําโขง โดยสนับสนุนใหมีความรวมมือเพื่อการเดินเรือในลุมน้ําโขงตอนบนและตอนลาง โดยใชกรอบความตกลงวาดวย ความรวมมือในเรื่องการเดินเรือพาณิชยจีน สปป. ลาว พมา และไทย และความตกลงวาดวยความรวมมือในการใช การบริหารจัดการ และอนุรักษแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ซึ่งประเทศภาคีตกลงที่จะเปดใหมีการเดินเรือโดยเสรีและ รวมมือในการพัฒนาแมน้ําโขง 3) สนับสนุนใหจีนและพมาเขารวมเปนสมาชิก MRC ซึ่งการเขารวมเปนสมาชิกของจีนและพมาจําเปน จะตองมีการเจรจาแกไขความตกลง ค.ศ. 1995 อีกครั้งหนึ่ง เพื่อใหจีนสามารถรับพันธกรณีในการรวมมือในการใช และการบริหารจัดการแมน้ําโขงอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรม และมีกฎระเบียบที่ไมรัดกุมจนเกินไป ทั้งนี้ เนื่องจากกฎระเบียบการใชน้ําทั้งที่ระบุในความตกลง ค.ศ. 1995 และที่อยูในระหวางการดําเนินการเจรจายกราง ยังมีความเขมงวดมากโดยเฉพาะในขอ 6 ซึ่งจะทําใหจีนอาจไมยอมรับที่จะถูกควบคุมโดยประเทศสมาชิก และเปน การจํากัดสิทธิในการใชอํานาจอธิปไตยเหนือแมน้ําโขงสวนที่ไหลผานดินแดนของตน 4) ใชความตกลงวาดวยความรวมมือในการเดินเรือพาณิชยในแมน้ําลานชาง-แมน้ําโขง ขอ 27 ในการ ดําเนินความรวมมือในการแจงขอมูลเกี่ยวกับระดับและปริมาณน้ํา และการจัดการใหปลายน้ํามีน้ําพอเพียงสําหรับ การเกษตรกรรมตลอดป เพื่อขยายความรวมมือในเรื่องการแจงขอมูลเกี่ยวกับโครงการกอสรางและบริหารจัดการ ในประเทศริมฝงแมน้ําโขง ซึ่งแมจะมีสวนชวยลดผลกระทบจากการมีภาวะน้ําทวมในหนาน้ําและชวยเพิ่มระดับน้ํา ในหนาแลง แตหากขาดการประสานขอมูลเกี่ยวกับระดับและปริมาณน้ํา และการหารือเกี่ยวกับผลกระทบจากการ เปด-ปดเขื่อน 7


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ทิศทางประเทศไทยในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของลุ่มแม่น้ําโขง

5) ควรสนับสนุนใหประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเขาเปนภาคีอนุสัญญาของสหประชาชาติวา ดวยการใชลําน้ําระหวางประเทศเพื่อวัตถุประสงคอื่นนอกจากการเดินเรือ เมื่อ ค.ศ. 1997 (The Convention on Non Navigational Use of Water from International River) ซึ่งจีนและพมาไดรวมเจรจาจัดทําดวย ซึ่งกําหนด พันธกรณีใหประเทศภาคีอนุสัญญาที่ใชน้ําจากแมน้ําระหวางประเทศรวมกันบนพื้นฐานของการใชน้ําที่สมเหตุสมผล และเปนธรรม โดยมีกลไกในการแจงขอมูล การปรึกษาหารือ และใหความเห็นชอบ สําหรับการใช การบริหาร จัดการ และอนุรักษลําน้ํา ซึ่งมีความยืดหยุนกวาความตกลง ค.ศ. 1995 มาใชในการปรับปรุงหลักการและกลไกใน การรวมมือเพื่อการใชและการบริหารจัดการแมน้ําระหวางประเทศ มาเปนพื้นฐานในการเจรจาปรับปรุงแกไข กฎระเบียบความตกลง ค.ศ. 1995 นาจะทําใหจีนและพมาสามารถยอมรับได 6) กระชับและขยายความรวมมือกับสถาบันการเงิน องคการระหวางประเทศ และรัฐบาลของประเทศที่ เปนหุนสวนเพื่อการพัฒนาในการพัฒนาลุมน้ําโขง ซึ่งใหการสนับสนุนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงซึ่งเปนองคการ ระหวางประเทศองคการแรกที่ทําหนาที่เปนหนวยประสานงานหลักของความรวมมือดานการพัฒนาในแมน้ําโขง ซึ่ง ที่ผานมา ไดมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและทรัพยากรมนุษยเพื่อสนับสนุนการใช การจัดการและการพัฒนา อย า งยั่ ง ยื น ของลุ ม น้ํ า โขง ด ว ยความร ว มมื อ จากประเทศหุ น ส ว นเพื่ อ การพั ฒ นา อาทิ สหภาพยุ โ รป ญี่ ปุ น ออสเตรเลีย ประเทศแถบแสกนดิเนเวีย และสถาบันการเงินตางๆ อาทิ ธนาคารโลก ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหง เอเชีย (Asian Development Bank : ADB) และ JBIC 7) ควรสงเสริมและสนับสนุนการดําเนินโครงการตางๆ ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงที่สอดคลองกับการ ดําเนินความรวมมือในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและทรัพยากรมนุษย ตลอดจนการคา การลงทุน การทองเที่ยว และการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในกรอบความรวมมือในอนุภูมิภาคที่มีอยูแลว อาทิ ความ รวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (GMS) ยุทธศาตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจาพระยา – แมโขง (Ayeyawady – Chao Phraya – Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS) อาทิ การพัฒนา ทาเรือเพื่อสนับสนุนการเดินเรือในลุมน้ําโขงตอนลาง การสงเสริมการบังคับใชกฎหมายสิ่งแวดลอมในประเทศ สมาชิก การพัฒนาการจัดการระบบน้ําใน Tonle Sap ในกัมพูชาเพื่อเพิ่มระดับน้ําสํารองสําหรับการเกษตรและการ ประมงในกัมพูชา และเพิ่มระดับน้ําในชวงหนาแลงเพื่อปองกันน้ําทะเลหนุนในปากแมน้ําโขงที่เวียดนาม ทั้งนี้ เพื่อ ยกระดับสถานะและความสําคัญของ MRC ในกรอบความรวมมือในอนุภูมิภาค 8) การสงเสริมและอํานวยความสะดวกใหแกการคาและการลงทุนของภาคธุรกิจเอกชนโดยเฉพาะในการ พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงและธุรกิจดานการผลิตและบริการสาขาตางๆ โดยเฉพาะเรื่องของการ ทองเที่ยว พลังงาน การคมนาคมขนสง ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในการจางงาน การขยายการคา การลงทุน และการ ทองเที่ยว และการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม โดยใชโอกาสจากกระบวนการเปดเสรีการคา การลงทุน และรวมตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงและอาเซียนในปจจุบัน ซึ่งทําใหมีการเคลื่อนยายผูโดยสาร สินคา บริการ การลงทุนไดอยางเสรีเพิ่มมากขึ้น

สรุป ตั้งแตมีการกอตั้งคณะกรรมการประสานงานสํารวจแมน้ําโขงตอนลาง (Committee of Investigations of the Lower Mekong Basin) เมื่อป ค.ศ. 1957 และตอมามีการปรับปรุงความตกลงรวมมือวาดวยการพัฒนาลุมน้ํา 8


ความร่วมมือระหว่างประเทศในการพัฒนาลุ่มน้ําโขงอย่างยั่งยืน / กฤต ไกรจิตติ

โขงอยางยั่งยืน เพื่อกอตั้งคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) ในป ค.ศ. 1995 ซึ่งถือ เปนองคการระหวางประเทศเพื่อความรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน มีวัตถุประสงคหลักเพื่อการใชน้ํา อยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม (reasonable and equitable manner) รวมมือเพื่อจัดระบบการใชน้ํา การบํารุงรักษาและใชน้ําอยางยั่งยืน อยางไรก็ดี จนถึงปจจุบันความพยายามในการรวมพัฒนาลุมน้ําโขงที่ผาน มาถึง 52 ป ยังมีไมมากเทาที่ควร สาเหตุอันเนื่องมาจากกฎระเบียบที่เขมงวดมากเกินไป และการไมเขารวมเปน สมาชิก MRC ของจีนและพมา ซึ่งสงผลใหไมสามารถรวมมือเพื่อพัฒนาลุมน้ําโขงไดอยางเต็มที่ จึงเห็นควรมุงเนน ใหเกิดความรวมมือระหวางการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบนและตอนลาง โดยทางออกของความรวมมือประเทศ ลุมน้ํา โขงควรเชิญใหจีนและพมาเขารวมโดยปรับปรุงความตกลงใหม โดยหากประเทศสมาชิก MRC เขาเปนภาคี อนุ สั ญ ญาของสหประชาชาติ ว า ด ว ยการใช ลํ า น้ํ า ระหว า งประเทศเพื่ อ วั ต ถุ ป ระสงค อื่ น นอกจากการเดิ น เรื อ ปพ.ศ. 2540 (The Convention on Non Navigational Use of Water from International River ค.ศ. 1997) ซึ่งจีน และพมาไดรวมเจรจาจัดทําดวย ที่กําหนดพันธกรณีใหประเทศภาคีอนุสัญญาที่ใชน้ําจากแมน้ําระหวางประเทศ รวมกันบนพื้นฐานของการใชน้ําที่สมเหตุสมผลและเปนธรรม โดยมีกลไกในการแจงขอมูล การปรึกษาหารือ และให ความเห็นชอบ สําหรับการใช การบริหารจัดการ และอนุรักษลําน้ํา ซึ่งมีความยืดหยุนกวาความตกลง ค.ศ. 1995 มาใชในการปรับปรุงหลักการและกลไกในการรวมมือเพื่อใชน้ําจากลําน้ําระหวางประเทศ เพื่อเปนพื้นฐานในการ เจรจาปรับปรุงแกไขกฎระเบียบในการยกรางความตกลงสําหรับ 6 ประเทศในลุมน้ําโขง เพื่อสอดคลองกับทาทีของ ประเทศจีน ประกอบกับใชประโยชนจากความรวมมือ MRC ใหมากที่สุดทั้งการดําเนินการใหสอดคลองกับกรอบ ความรวมมือในอนุภูมิภาคที่มีอยูแลวและการสนับสนุนใหภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของอนุภูมิภาค

เอกสารอางอิง ผกาวรรณ จุฟามาณี, 2552. ความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน. เอกสารประกอบการ บรรยายของสถาบันสิ่งแวดลอมไทย. Krit Kraichitti, 2005. The Past, Present and Future of Mekong Coperation. International Forum on Integrated Water Resources Management, Dusit Island Resort, Chiang Rai, Thailand.

9


บทที่ 2 ทิศทางประเทศไทยในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมแมน้ําโขง ดร. ศิริพงศ หังสพฤกษ อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา

ลุมแมน้ําโขงมีพื้นที่ประมาณ 795,000 ตารางกิโลเมตร เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ประเทศไทยแลวลุมน้ํา โขงมี พื้ น ที่ ม ากกว า ถึ ง 1.6 เท า โดยมี ป ระเทศลาวเป น ประเทศที่ ใ ห น้ํ า แก แ ม น้ํ า โขงมากที่ สุ ด ถึ ง รอยละ 35 เปอรเซ็นตของปริมาณน้ําทั้งหมด รองลงมาไดแกประเทศไทยและประเทศกัมพูชาโดยคิดเปนประเทศละ 18 เปอรเซ็นต ประเทศจีน 16 เปอรเซ็นต และประเทศพมา 2 เปอรเซ็นต ปริมาณน้ําในลุมน้ําโขงตลอดปประมาณ 475,000 ลูกบาศกเมตร มีประชากรอาศัยอยูประมาณ 80 ลานคน มีสายพันธุสัตวน้ําไมนอยกวา 1,300 ชนิด และ ใหผลผลิตสัตวน้ําประมาณ 1.5 ลานตันตอป โดย 17 เปอรเซ็นต มาจากการเพาะเลี้ยง (พื้นที่ลุมน้ําโขงตอนลาง) มี การผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ําได 1,600 เมกะวัตต จากศักยภาพรวม 30,000 เมกะวัตต (พื้นที่ลุมน้ําโขงตอนลาง) แตประเทศไทยกลับมีบทบาทหนาที่นอยมากในการนําศักยภาพของการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ําของลุม น้ําแมโขงมาใชประโยชน ทําใหประเทศไทยตองซื้อไฟฟาจากประเทศลาวเปนหลัก นอกจากนี้หากมองในแงของ การใชน้ําที่หลากหลายในลุมน้ําโขง ประเทศไทยยังไมไดพูดถึงน้ําที่ใชอยูในระบบนิเวศและน้ําที่ใชปองกันความเค็ม วาจะตองใชเทาไรและจัดการอยางไร และมีระบบควบคุมน้ําอยางไรใหสอดคลองกับการขึ้นลงของน้ําทะเล มีคําถามเกิดขึ้นมานานแลววา “ประเทศทายน้ําจะบริหารจัดการน้ําในลุมน้ําโขงใหเปนระบบไดอยางไร หากประเทศตนน้ํา (จีนและพมา) ไมเขารวมมือในการจัดการน้ําในลุมแมน้ําโขง” จากการประชุมเมื่อวันที่ 20-22 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 ที่โรงแรมสยามซิตี้ซึ่งจัดโดย United Nations Environment Programme (UNEP) รวมกับ กรมทรัพยากรน้ํา ไดพบขอมูลวามีลุมน้ําระหวางชาติประมาณ 273 ลุมน้ํา ครอบคลุม 145 ประเทศทั่วโลก มี ประเทศตางๆ ประมาณ 20 เปอรเซ็นต ที่ใหความรวมมือในลักษณะที่ทุกประเทศในลุมน้ํารวมกันเปนสมาชิก ซึ่ง ขอมูลนี้ชี้ใหเห็นวาการจัดการน้ําระหวางพรมแดนเปนเรื่องที่ยากมากและสิ่งที่เกิดขึ้นก็คือ การใชประโยชนในลุมน้ํา พรมแดนนอยมากในขณะที่น้ําพรมแดนมีประมาณถึง 60 เปอรเซ็นตของน้ําบนโลก ในขณะเดียวกันสหประชาชาติ เรงรัดวาภายในป พ.ศ. 2558 ทุกคนจะมีน้ําสะอาดใช และระบบสุขาภิบาลที่ดีตองมีมากขึ้น องคกรสหประชาชาติ ดานสิ่งแวดลอมพยายามผลักดันใหดูแลสิ่งแวดลอมมากขึ้น โดยไมเรงรัดการพัฒนาจนลืมไปถึงความยั่งยืนของการ ใชทรัพยากร (Bangkok Regulation Plan) และเนนไปที่ความรวมมือมากกวากฎระเบียบ ประเด็นทาทายตอการพัฒนาลุมน้ําโขง ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรในลุมน้ําและการตัดไมทําลายปาเปนตนเหตุที่ทําใหเกิดภัยแลงและน้ําทวม ประเทศสมาชิกในลุมน้ําแมโขงแตละประเทศจะมีวิธีบริหารจัดการอยางไรในการอนุรักษและฟนฟูตนน้ําลําธาร วิธีการพัฒนาลุมน้ําโขงที่สําคัญ คือวิธีการบริหารจัดการอยางไรในการอนุรักษและฟนฟูตนน้ําลําธาร? วิธีการในการ พัฒนาลุมน้ําโขงที่สําคัญ คือ วิธีการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ (Integrated Water Resource Management, IWRM) โดยตองดูแลใหครอบคลุมทั้งลุมน้ํา โดยเฉพาะระบบนิเวศน้ําใหมีความหลากลายทางชีวภาพอยางยั่งยืน ดูแลเรื่องการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินและเรื่องสิ่งแวดลอมของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใหการดูแล


บรรยายพิเศษ/ดร. ศิริพงศ์ หังสพฤกษ์

เรื่องลุมน้ําเริ่มตั้งแตป ค.ศ. 1957 และไดจัดทําออกมาเปนคูมือในป ค.ศ. 1995 การทําเปนคูมืออาจจะมีปญหาทํา ใหแตละประเทศไดรับโอกาสในการพัฒนาไมเทาเทียมกัน จึงทําใหเรื่องของการใชน้ํา เปนเรื่องที่เปนปญหามาโดย ตลอด สําหรับประเทศไทยการจัดการดานการใชน้ํายังคงเปนปญหาที่จัดการไดยาก ซึ่งเปนผลมาจากรัฐธรรมนูญ ป 50 เนื่องจากองคกรสูงสุดที่มีอํานาจในการจัดการ คือรัฐมนตรี ซึ่งแตเดิมนายกรัฐมนตรีเปนประธานแตตอมาได ลดระดับประธานเปนเพียงรัฐมนตรี ทําใหการประชุมเพื่อการแกไขปญหายังมีนอยมาก นอกจากนี้การทํางานของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) โครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion, GMS) และคณะกรรมการลุมน้ําแหงชาติของประเทศไทยเองก็ ยังทํางานไมเปนเอกภาพ นอกจากนี้ MRC ซึ่งมีสํานักงานใหญอยูที่กรุงเวียงจันทรและมีปญหาในการยายฐานที่ตั้ง ไปอยู พนมเปญ จึง ทําให ผูสนั บสนุ นมีค วามกั งวลเกี่ยวกับ การทํางานกับ MRC เนื่องจากไมคอ ยมั่น คง อีกทั้ ง ผูบริหารยังไมใชคนในภูมิภาคลุมน้ําโขงดันนั้นในอนาคตจึงควรมีผูบริหารที่มาจากประเทศลุมน้ํา ความสําเร็จแผนกลยุทธฉบับที่ 1 ระหวางป พ.ศ. 2544-2548 โดยเนนไปที่เรื่องของการจัดทําระเบียบ ปฏิบัติการใชน้ําอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรมดาตามความตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขง อยางยั่งยืนป พ.ศ. 2538 (1995 Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) การกําหนดกฎระเบียบที่มากขึ้นยิ่งทําใหการทํางานไดอยางอิสระมีนอยลง สงผลใหประเทศ จีนและพมาเขามารวมยากขึ้น ซึ่งในจุดนี้ตางกับ GMS ที่มีลักษณะของการทํางานโดยสมัครใจ การเชื่อมโยง ระหวาง GMS กับ MRC จึงนาจะเปนเรื่องที่ดี แตก็ยังไมมีการบรรจุวาระเรื่องน้ําเขาไปอยูใน GMS ในขณะเดียวกัน ประเทศจีนก็ไมเคยเขารวมกับองคกรความรวมมือ MRC ดังนั้นโอกาสในการปรึกษากันเรื่องการจัดการน้ําจึง เปนไปไดนอย นอกจากนี้ประเทศไทยก็คงตองพิจารณาวาแลวจุดยืนของไทยจะเปนอยางไรใน GMS เวลาพิจารณา ก็ จ ะสะดวกกว า เพราะมี ก ารต อ รองกั น ทั้ ง เรื่ อ งของการค า พลั ง งาน คมนาคม และสิ่ ง แวดล อ มด ว ย ซึ่ ง ข อ มู ล สิ่งแวดลอมทั้งหมดก็มาจาก MRC การเขาไปมีบทบาทจริงจังอยูใน GMS จึงเปนเรื่องที่มีประโยชนตอประเทศไทย แผนพัฒนาลุมน้ําของแตละประเทศที่นําเสนอสวนใหญจะเปนแผนที่พัฒนาเฉพาะลุมน้ําของประเทศตนเอง เป น หลั ก แต แ ผนพั ฒ นาที่ ดี ค วรเป น โครงการพั ฒ นาข า มลุ ม น้ํ า ให มี ก ารใช ป ระโยชน ร ว มกั น (transboundary project) ซึ่งโครงการเหลานี้มีนอยมาก ในบางครั้งมีการเสนอเขามาภายหลังแตไมไดเสนอเขามาในองคกร แสดงให เห็นถึงความไมเปนเอกภาพกัน ปญหาเรื่องความไมเปนเอกภาพของแตละประเทศจึงเปนปญหาสําคัญอีกประการ หนึ่ง

11


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ทิศทางประเทศไทยในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของลุ่มแม่น้ําโขง

รูปที่ 1 กลไกการวางแผนพัฒนาลุมน้ํา

จากรูปที่ 1 คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติดูแลทั้งหมด 25 ลุมน้ํา รวมแมน้ําโขง แมน้ําชี น้ํามูล แมน้ํากก เขาไปดวย สวนคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย ดูแลเฉพาะพื้นที่ในเขต 2T (กกและโขง) 3T (โขง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) และ 5T (ชีและมูล) อธิบดีกรมทรัพยากรน้ําดํารงตําแหนงเปนเลขาธิการ มีหนาที่ เชื่อมโยงระหวางคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติและคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทยเขาดวยกัน แผนการสร า งองค ค วามรู ใ นแม น้ํ า โขงมี ค อ นข า งมาก แต จุ ด ที่ สํ าคั ญ คื อ ต อ งมี ผู วิ เ คราะห อ งค ค วามรู เหลานั้นจึงจะเกิดประโยชน โดยแผนการพัฒนาลุมน้ํา (Basin Development Programme, BDP) ควรผลักดันให เป น แผนหลั ก ของกระบวนการทํ า งานในทุ ก ด าน นอกจากแผนงานพั ฒ นาลุ ม น้ํ ายั ง มี แ ผนงานอื่ น ๆ อี ก เช น แผนงานดานสิ่งแวดลอม (Environment Programme, EP) แผนงานการใชน้ํา (Water Utilization Programme, WUP) แผนงานบริหารจัดการและบรรเทาอุทกภัย (Flood Mitigation and Management Programme, FMMP) แผนงานการเดินเรือ (Navigation Programme, NP) แผนงานเกษตรกรรม ชลประทาน และปาไม (Agriculture, Irrigation and Forestry, AIFP) แผนงานประมง (Fisheries Programme, FP) โครงการไฟฟาพลังน้ํา (Hydropower project) แผนงานการพัฒนาบุคคลากรแบบบูรณาการ (Integrated Capacity Building Programme, ICBP) แผนงานการจัดการขอมูลและสนับสนุนการตัดสินใจ (Integrated Knowledge Management Programme, IKMP)

12


บทที่ 3 ทิศทางประเทศไทยในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมแมน้ําโขง อาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

การเขารวมของประเทศไทยในการเปนภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติเรื่องการจัดการลุมน้ําโขง นั้นสามารถ ดําเนินการได ในลักษณะของการจัดการที่เนนความรวมมือมากกวา กฎระเบียบ ในการดําเนินการภายใตกรอบ แผนงานการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion, GMS) นั้น ประเทศสมาชิกรวมมือกันบนพื้นฐานของศักยภาพตามแผนแมบทเชิงวิชาการที่ธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank, ADB) จัดทําขึ้นเปนแนวทางความรวมมือ และเห็นชอบรวมกันโดยการประกาศ เจตนารมณรวมกันของผูนําทั้ง 6 ประเทศ เปนขอผูกพันวาจะรวมมือกันพัฒนาอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงใหเจริญรุงเรือง โดยมีการจัดตั้งกลไกคณะทํางาน (Working Group) และมี ADB เปนฝายเลขานุการกลาง ประสานกับหนวยงาน หลักในการดําเนินงานแผนงาน GMS ของประเทศสมาชิก (National Coordinator, NC) ซึ่งในสวนของประเทศไทย มีสํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติทําหนาที่ดังกลาว ในส ว นที่ เ ป น กฎระเบี ย บเพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการดํา เนิ น งานในกรอบ GMS นั้ น ริ เ ริ่ ม เฉพาะการ พั ฒ นาที่ จํา เป น ต อ งร ว มมื อ และมี ส ว นเกี่ ย วข อ งกั บ กฎระเบี ย บของสากล เช น ความตกลงการขนส ง ข า มพรมแดนในอนุ ภูมภิ าคลุมแมน้ําโขง (Cross Border Transport Agreement, CBTA) ซึ่งเกี่ยวของกับการ อํานวยความสะดวกการเคลื่อนยายคนและสินคา การตรวจสอบมาตรฐานพืชและสัตวขามพรมแดน การผลักดันประเทศจีนใหเขามามีสวนรวมในการจัดการลุมน้ําโขงตอนลาง ควรทําทางออมโดยการ ประสานเชื่อมโยงระหวางคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) กับกรอบ GMS แต ความรวมมือในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงที่มีหลายกรอบยังขาดเอกภาพ นอกจากนี้องคกรและภาคสวนตาง ๆ ใน ประเทศไทยก็ ยั ง ไม เ ป น เอกภาพทํ า ให เ ป น อุ ป สรรคของการจั ด การลุ ม น้ํ า โขง กรอบความร ว มมื อ GMS ประกอบดวยหนวยงานปฏิบัติ 9 สาขาความรวมมือ ซึ่งบางสาขาก็มีการปฏิบัติงานที่คาบเกี่ยวกัน และความชัดเจน ของแต ล ะกรอบก็ ขึ้น อยู กั บ แผนและนโยบายของภาครัฐ ด ว ย หากมองภายใต ก รอบแผนชาติ ห รื อ แผนพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาตินั้น การจัดการลุมน้ําโขงไมไดมีการลงลึกถึงรายละเอียดในเรื่องของนโยบาย ทําให นโยบายตาง ๆ เปลี่ยนแปลงตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลแตละสมัยจะกําหนดนโยบายที่แตกตางกัน บาง สมัยมีการชี้แจงรายละเอียดในแตละกรอบของนโยบาย แตบางสมัยชี้แจงเพียงวาจะสงเสริมความรวมมือกับอนุ ภูมิภาคโดยไมไดระบุชี้ชัดไปที่กรอบใดกรอบหนึ่ง ดังนั้นกรอบความรวมมือ MRC และ กรอบความรวมมือ GMS จึงควรมีความรวมมือในเรื่องของวิธีการทํางานรวมกันมากขึ้น เชน เมื่อผูปฏิบัติรับคําสั่งจากผูนําก็แปลงไปสูการ ปฏิบัติ และเมื่อผูปฏิบัติมีความเห็นรวมกันก็อาจนําเสนอไปยังผูนําได การใหความรวมมือกันถือเปนสิ่งสําคัญที่ควร ทําเพื่อใหมีจุดมุงหมายประการเดียวกัน ที่ผานมาทิศทางการพัฒนาของกรอบความรวมมือ MRC ถูกผลักดันโดยผูสนับสนุนงบประมาณ (donor driven) มากกวาที่จะเปนการผลักดันโดยตรงจากกลุมประเทศผูเกี่ยวของ (country driven) ซึ่งประเทศไทยควรจะมี


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ทิศทางประเทศไทยในการส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของลุ่มแม่น้ําโขง

บทบาทมากกวานี้ในการริเริ่มองคความรูใหม เชน การประยุกตใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน แตโดยสวนใหญแลว หนวยงานผูใหทุนสนับสนุน (donor) มักจะคัดเลือกผูปฏิบัติใหตรงตามคุณสมบัติที่ตองการ ในสวนของกรอบ GMS เองก็ไมตางกัน ในฐานะผูประสานงาน สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จะเผยแพรขอมูล เชิญ ประชุมกับหนวยงานที่เกี่ยวของทราบกอน แตผลสุดทายก็ขึ้นอยูกับการตกลงรวมกันระหวางหนวยงานผูใหทุน สนับสนุนและประเทศสมาชิก แตสิ่งที่เปนปญหาสําคัญ คือ ความไมเปนเอกภาพของประเทศในกลุมสมาชิก โดย หนวยงานผูใหทุนสนับสนุนจะชี้แจงรายละเอียดแกประเทศสมาชิกในกรอบเดียวกัน แตขั้นตอนการตกลงระหวาง หนวยงานผูใหทุนสนับสนุนจะชี้แจงรายละเอียดแกประเทศแตกตางกัน โดยแตละประเทศอาจมีการปรับเปลี่ยน ขอตกลงใหเหมาะสมกับประเทศของตนเอง จึงเห็นไดวาความไมเปนเอกภาพมีทั้งภายในและระหวางประเทศดวย วิธีการทํางานของกรอบโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Sub-region, GMS) และคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) - กรอบความรวมมือ GMS กอตั้งในป ค.ศ.1992 เปนการกอตั้งหลังกรอบความรวมมือ MRC ซึ่งกอตั้ง ขึ้นเมื่อป ค.ศ.1957 - ขอบเขตของความรวมมือในกรอบ GMS เริ่มจาก 9 สาขา ไดแก คมนาคมขนสง โทรคมนาคม พลังงาน การอํานวยความสะดวกการคา การลงทุน เกษตร สิ่งแวดลอม การทองเที่ยว และการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยมีการริเริ่มการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการ กลางดานสิ่งแวดลอม (Environment Operation Center, EOC) และมีโครงการแนวเชื่อมตอเพื่อ อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ เปน Flagship Project ซึ่งอยูในชวงเริ่มตน จึงยังไมมี ความกาวหนามากนัก - กรอบความรวมมือ GMS มีทั้งกลไกระดับคณะทํางาน ระดับเจาหนาที่อาวุโส ระดับรัฐมนตรี และ ยกระดับขึ้นมาเปนการประชุมระดับผูนํา (Summit) และมีความรวมมือในภาคธุรกิจ (business forum) ซึ่งเปนเวทีสะทอนปญหาการทําธุรกิจและกระจายขอมูลขาวสารของภาคธุรกิจ ดังนั้นการพัฒนากรอบ ความรวมมือ (forum dialog) จึงควรพัฒนาควบคูไปทั้ง 3 สวน ไดแก ภาครัฐ , ภาคเอกชน และ ประเทศคูเจรจา (dialogue partner) - โครงการที่อยูใน GMS มีทั้งโครงการกอสรางแบบกูยืม และแบบการใหความชวยเหลือแบบใหเปลา ระบบการทํางานภายใตกรอบ GMS มีการกําหนดวิสัยทัศน (vision) การจัดเก็บขอมูล (data collection) การวิเคราะห การใหคําแนะนํา การทํายุทธศาสตร (strategy plan) การทําแผนปฏิบัติการ (action plan) ระบบการติดตาม (monitoring system) ทุกป พรอมทั้งรายงานผลไปยังการประชุมผูนํา ทิศทางการพัฒนาอนุภูมิภาคในอนาคต เนื่ อ งจากโลกในยุ ค ป จ จุ บั น มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปอย า งรวดเร็ ว และผลจากกระแสโลกาภิ วั ต น (globalization) ทําใหกรอบ GMS ไดปรับตัวและทบทวนทิศทางการพัฒนาใหเปนไปตามกระแสและกฎระเบียบ ตาง ๆ ที่ เกิด ขึ้น ใหมในโลกด วย แนวโนม การพั ฒนาของโลกไดเ ปดใหมี การเคลื่อ นย ายอยางเสรี ของสิ นค า ประชาชน ขอมูล และเทคโนโลยี ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบทางลบที่ตามมาก็คือการแพรกระจายของโรคติดตอ และโรคอุบัติใหม นอกจากนี้ก็ยังมีประเด็นในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงเขาสูสังคมของผูสูงอายุ และประเด็นที่กําลัง ไดรบั ความสนใจอยางมากและถือเปนวาระโลกในขณะนี้คือเรื่องของสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ (climate changes) เรื่องทรัพยากรน้ํา และความเกี่ยวของกับเรื่องความมั่นคงของอาหารกับพลังงาน 14


บรรยายพิเศษ/ อาคม เติมพิทยาไพสิฐ

ดังนั้นเพื่อตอบสนองทิศทางดังกลาว ประเทศไทยจึงควรใหความสําคัญในเรื่องของการจัดการความรวมมือใน อนุภาคลุมแมน้ําโขงใหเปนไปอยางยั่งยืน โดยประเทศสมาชิกควรตื่นตัวและรวมมือกันใหมากขึ้นเพื่อปรับตัวและ สร า งประโยชน จ ากกระแสโลกให เ กิ ด แก ป ระชาชนอย า งสู ง สุ ด ทิ ศ ทางที่ ห น ว ยงานภายในประเทศไทยและ หนวยงานระหวางประเทศควรทําความเขาใจรวมกัน ประกอบดวย 5 เรื่องดังนี้ 1. กรอบการพัฒนาตาง ๆ ที่จัดตั้งขึ้นมาเปนการดําเนินการที่ถูกทางแลว เนื่องจากแผนพัฒนาแตละแผน เนนการใหประชาชนเปนศูนยกลาง เพราะผูที่รับประโยชนโดยตรงจากการพัฒนา คือ ประชาชน ซึ่ง แผนพัฒนาก็จะสงผลกระทบตอวิถีการดําเนินชีวิตของคน โดยเฉพาะเรื่องการใชน้ํา หลักประกันในเรือ่ ง ของรายได และหลักประกันทางดานสังคม ซึ่งก็คือเรื่องของการสรางอาชีพและตลาดแรงงาน 2. การสร า งความมั่ น คงในอนุ ภู มิ ภ าคในด า นพลั ง งานและอาหาร เนื่ อ งจากพลั ง งานและอาหารใน อนุภูมิภาคนี้ถือวาเปนเรื่องที่สําคัญมาก และมีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศ 3. การดูแลในเรื่องของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ 4. การแลกเปลี่ยนองคความรูรวมกัน เชน วิสาหกิจขนาดยอม (SMEs) การศึกษา การเงิน สาธารณสุข โดยตองมีแนวทางปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมเพื่อใหองคความรูในเรื่องเหลานี้ และสรางขีดความสามารถ ของบุคลากรในอนุภูมิภาค 5. การเปนหุนสวนความรวมมือ ที่ตองมีความเห็นชอบรวมกันจึงจะปฏิบัติได เชน ความรวมมือ GMS ประเทศสมาชิกประเทศใดมีการเตรียมพรอมกอน ก็ลงมือปฏิบัติไดกอน กลาวโดยสรุปคือ การสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมแมน้ําโขงนั้นโดยหลักการแลว ถือไดวาเปน แนวคิ ด ที่ จ ะส ง เสริ ม ให ป ระเทศพั ฒ นาได อ ย า งสมดุ ล ทั้ ง ด า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล อ มอั น จะส ง ผลให ประชาชนได รั บ ประโยชน อ ย า งแท จ ริ ง แต ใ นความเป น จริ ง แล ว การดํ า เนิ น งานในส ว นนี้ ยั ง ขาดเอกภาพ ทั้ ง ภายในประเทศเองและความรวมมือในระดับอนุภูมิภาค ดังนั้นผูมีสวนเกี่ยวของทุกฝายจึงควรหันมาใหความสําคัญ อยางจริงจังกับการพัฒนาใหมีความรวมมือเกิดขึ้นอยางแทจริง

15



การจัดการน้ําในลุมน้ําโขง : โครงการขนาดใหญ



บทที่ 4 การบริหารจัดการระบบลุมน้ํา ประสิทธิ์ หวานเสร็จ สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 กรมทรัพยากรน้ํา

บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา โดยเนนพื้นที่ลุมน้ําโขงตอนลางที่อยูในสวนของประเทศ ไทย อันไดแกพื้นที่ทางภาคเหนือคือลุมน้ําโขง-กก พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือคือลุมน้ํา โขง-ชี-มูล และพื้นที่ ภาคตะวั น ออกคื อ ลุ ม น้ํ า โตนเลสาบ รวมพื้ น ที่ ลุ ม น้ํ า โขงที่ อ ยู ใ นส ว นของประเทศไทย 188,645 ตร.กม. การ ดําเนินการบริหารจัดการระบบลุมน้ํานี้ดําเนินการโดย 2 องคกรหลักอันไดแก คณะกรรมาธิการลุมน้ําแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) อันประกอบดวยสมาชิก 4 ประเทศ คือ ไทย ลาว เขมร และเวียดนาม และ รัฐบาลไทยซึ่งไดกําหนดวิสัยทัศนและนโยบายน้ําแหงชาติชัดเจนที่จะตองดําเนินการบริหารจัดการน้ําเปนระบบลุม น้ํา โดยผานกลไกคณะกรรมการลุมน้ําระดับตางๆ คณะกรรมาธิการลุมน้ําโขง ซึ่งมีการริเริ่มภายใตการอุปถัมภขององคการสหประชาชาติตั้งแตป พ.ศ. 2500 ตอมาไดมีการลงนามในธรรมนูญหรือความตกลงแมน้ําโขง (Mekong Agreement) ฉบับใหมเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2538 (ค.ศ.1995) และใชเปนกรอบในการดําเนินการมาถึงปจจุบัน มีการกําหนดแผนงาน/ โครงการตางๆ มากมาย ซึ่งทุกแผนงานฯ จะสอดคลองกับการทํางานเปนระบบลุมน้ําในพื้นที่ลุมแมน้ําโขงตอนลาง 4 ประเทศ นโยบายแผนการพัฒนาที่สําคัญ ตลอดจนองคกรและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา ไดถูกรวบรวมไวในบทความนี้ดวย สําหรับหัวขอนโยบายและแผนการพัฒนา องคกรและกฎหมายที่เกี่ยวของกับ การบริหารจัดการระบบลุมน้ําจะครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 25 ลุมน้ํา 254 ลุมน้ําสาขา และ 5,000 กวาลุมน้ําสาขายอยของ ประเทศไทย จะเห็นวาประสิทธิภาพการจัดการน้ําโขงในสวนของประเทศไทย โดยผานกลไกของคณะกรรมการ ลุมน้ําไดดําเนินการมาพอสมควรมีการจัดทําระบบฐานขอมูล GIS/MIS เพื่อใหเปนเครื่องมือในการทํางานของ คณะกรรมการลุมน้ํา มีการจัดฝกอบรมศึกษาดูงานเพิ่มศักยภาพคณะกรรมการลุมน้ําและองคกรเครือขายตางๆ มากมาย เนื่องจากรัฐบาลไดมีการกําหนดวิสัยทัศนน้ําแหงชาติและนโยบายแหงชาติ พรอมทั้งไดประกาศใหการ แกปญหาทรัพยากรน้ําเปนวาระแหงชาติดวย


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

บทนํา บทความการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา โดยเนนประสิทธิภาพการจัดการน้ําโขงในสวนของประเทศไทย และคณะกรรมการลุม น้ํ า รวบรวมโดยส ว นประสานและบริห ารจั ดการลุ มน้ํ าชี สํ านั ก งานทรั พ ยากรน้ําภาค 4 กรมทรัพยากรน้ํา เปนรายงานที่ไดจากการรวบรวมงานเขียนดานนโยบายเกี่ยวกับการพัฒนา ซึ่งคณะทํางาน แผนพัฒนาลุมแมน้ําโขงระดับชาติ (BDP-NWG) เปนผูจัดทําขึ้น ตลอดจนเอกสารเผยแพรของกรมทรัพยากรน้ําที่ เกี่ยวของกับการบริหารจัดการระบบลุมน้ําและประสบการณของผูเขียนเอง ที่มีสวนรวมในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับ การบริหารจัดการระบบลุมน้ําของกรมทรัพยากรน้ําและรวมเปนคณะทํางานในพื้นที่ลุมแมน้ําโขงตอนลางในสวน ของประเทศไทยดวย

วัตถุประสงค 1. เพื่อเผยแพรขอมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดระบบลุมน้ําในสวนของลุมแมน้ําโขงที่อยูในสวนของประเทศ ไทย 2. เพื่อใหทราบถึงความเปนมาของคณะกรรมาธิการลุมแมน้ําโขง (MRC) และนโยบายที่เกี่ยวกับการ พัฒนา อันไดแก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ มติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวของ ตลอดจน องคกรและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา 3. เพื่อใหทราบถึงขอมูลพื้นฐานพื้นที่ลุมน้ําโขงที่อยูในสวนของประเทศไทย อันไดแก ลุมน้ําโขง-กก- ลุม น้ําโขง-ชี-มูล และลุมน้ําโตนเลสาบ ซึ่งมีพื้นที่ลุมน้ํารวมกันกวา 188,645 ตร.กม. 4. เพื่ อ ให ท ราบความก า วหน า เกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การระบบลุ ม น้ํ า ในประเทศไทยตลอดจน ประสิท ธิ ภาพ ป ญ หาและอุ ปสรรคต างๆ อั น ได แ ก กฎหมายที่ ยั ง ไม ได บู ร ณาการและปรั บปรุ ง ให ทันสมัย รวมถึงจะตองมีการเพิ่มศักยภาพ คณะกรรมการลุมน้ํา คณะอนุกรรมการและคณะทํางานลุม น้ํา และเครือขายตางๆ ใหมีองคความรูทัดเทียมกันดวย

1. ความเปนมาและนโยบายที่เกี่ยวของ 1.1 แมน้ําโขงและคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง แมน้ําโขงเปนลําน้ําสากล มีจุดกําเนิดในประเทศจีน ไหลผานพมา ไทย ลาว เขมร และเวียดนาม กอนไหล ลงทะเลที่บริเวณสามเหลี่ยมปากแมน้ําโขงของเวียดนาม รวมความยาวของแมน้ําทั้งสิ้น 4,173 กิโลเมตร ประมาณ ครึ่งหนึ่งของลําน้ํา (2,373 กิโลเมตร) อยูในสวนที่เรียกวา “ลุมน้ําโขงตอนลาง” ไหลผาน 4 ประเทศ คือ ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม พื้นที่ลุมน้ําในสวนนี้มีประมาณ 606,000 ตารางกิโลเมตร ซึ่งเปนที่อยูอาศัยของผูคนของ 4 ประเทศจํานวนประมาณ 62 ลานคน เทาๆกับ ประชากรในปจจุบันของประเทศไทย งานพัฒนาลุมน้ําโขงตอนลางเริ่มมีขึ้นตั้งแตปพ.ศ. 2500 ภายใตการอุปถัมภขององคการสหประชาชาติ และการดําเนินงานของคณะกรรมการพัฒนาลุมแมน้ําโขง (Mekong Committee) ซึ่งประกอบดวย ผูแทนผูมีอํานาจ เต็มของ 4 ประเทศดังกลาว ในชวงป พ.ศ. 2518-2538 คณะกรรมการฯ นี้รูจักกันดีในชื่อของ คณะกรรมการพัฒนา ลุมน้ําโขงชั่วคราว (หรือเฉพาะกาล: Interim Mekong Committee) ดวยเหตุแหงสงครามและผลการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองในหลายประเทศลุมน้ําและทําใหเขมรไมสามารถเขารวมงานของคณะกรรมการฯ ไดตามปกติ ทําให เหลือประเทศสมาชิกเพียง 3 ประเทศ อยางไรก็ตามงานแผนพัฒนาลุมน้ํา(Indicative Basin Plan, IBP) ฉบับป 20


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

พ.ศ. 2513 และแผนการทํางานเปนรายป (Annual Work Programme) ของคณะกรรมการฯ โดยไดรับความชวย เหลือดานการเงินจากองคการสหประชาชาติและจากประเทศที่ใหความชวยเหลือตางๆ มากกวา 10 ประเทศ ตลอดจนองคกร/สถาบันการเงินสากล เชน ธนาคารโลก และธนาคารพัฒนาเอเชีย เปนตน ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2538 (ค.ศ.1995) ภาคีสมาชิก เดิมทั้ ง 4 ประเทศของคณะกรรมการพั ฒนาลุมแมน้ํ าโขง ไดทํ าการลงนามใน ธรรมนูญ หรือความตกลงแมน้ําโขงฉบับใหมเปนการกอกําเนิด คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงแทนคณะกรรมการฯเดิม ที่ถูกยุบเลิกไปปจจุบันสํานักงานใหญของคณะกรรมาธิการตั้งอยูที่กรุงเวียงจันทนประเทศลาว ความตกลงแมน้ําโขงไดกําหนดกรอบและหลักการตางๆ สําหรับการใชทรัพยากรน้ําจากระบบของ แมน้ําโขง รู ปแบบองค กร การบริ หารองค กรและโดยเฉพาะการประสานงานระหว างประเทศสมาชิ กเพื่ อให มี การอนุ รั กษ สิ่งแวดลอมและการพัฒนาอยางยั่งยืน และทําใหประเทศสมาชิกมีความเทาเทียมกันในดานโอกาสแหงการพัฒนา จากการใชทรัพยากรรวมกันที่มีอยู เพื่อสงเสริมคุณภาพชีวิตและความเปนอยูที่ดีของประชาชน ความตกลงแมน้ํา โขงถือเปนพื้นฐานสําคัญที่ทําใหความรวมมือระดับภูมิภาคดําเนินตอไปไดอยางเปนรูปธรรมยิ่งขึ้น มีการกําหนด แผนงานหลักเพื่อการดําเนินงานไว 3 แผนงาน คือ 1) แผนพัฒนาลุมน้ําโขง (Basin Development Plan, BDP) ซึ่งมีกิจกรรมหลักในดานการวางแผนพัฒนา และ จัดทําขอเสนอแนะเกี่ยวกับการใชน้ําในลุมน้ํารวมทั้งการพัฒนาเครื่องมือสําหรับการวางแผน และจัดการเพื่อใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน 2) แผนงานการใชน้ําในลุมน้ําโขง (Water Utilization Programme, WUP) มีกิจกรรมหลักในการจัดทํา กฎเกณฑการใชน้ําและการผันน้ํา 3) แผนงานดานสิ่งแวดลอม (Environment Programme, EP) มีกิจกรรมหลักในการศึกษา พิจารณา จัดทําและทบทวนงานดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหสอดคลองและเกื้อกูลแผนงานการใชน้ําและแผนพัฒนาลุ มน้ําขาง ตน เพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนในระยะยาว นับตั้งแตไดมีการลงนามในความตกลงดังกลาว การดําเนินงานเพื่อจัดทําแผนงานตางๆ ขางตนไดรุดหนาไปแลวระดับหนึ่งและนอกจากแผนงาน หลักขางตน ยังมีการดําริและจัดทําแผนงานอื่นๆ เพิ่มขึ้นอีกหลายแผนงานและโดยเฉพาะแผนงาน การบริหารจัดการอุทกภัย ซึ่งถือเปนแผนงานหลักแผนที่ 4 แผนงานที่เหลือจะมีลักษณะเปนแผนงาน สนับสนุนและแผนงานเฉพาะดาน เชน แผนงานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย คณะกรรมาธิการแมน้ํา โขง โดยความตกลงป พ.ศ. 2538 ไดทําใหงานวางแผนพัฒนา ลุมน้ําโขงตอนลางโดยภาคีสมาชิก ทั้ง 4 ประเทศ (BDP) เปนไปไดอยางเต็มรูปแบบอีกครั้งหนึ่ง 1.2 แผนพัฒนาลุมน้ําโขง ในฐานะ 1 ใน 3 แผนงานหลักของคณะกรรมาธิการฯ BDP มีแนวคิดและสาระเกี่ยวกับกระบวนการการ จัดทําที่ตางจากแผนชี้นํา (IBP) อยูหลายประการ ที่สําคัญคือ 1) เปนแผนพัฒนาฯ ที่เนนหลักการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดทํา และตามกระบวนการ 5 ขั้นตอนที่กําหนดและเปนที่ยอมรับแลวของทุกฝาย คือ การวิเคราะหขอมูลลุมน้ํา และพื้นที่ยอย (subarea, SA) การจัดทําภาพฉายการพัฒนาของลุมน้ํา (scenarios) การจัดทํายุทธศาสตรลุมน้ํา การ 21


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

กําหนดโครงการศักยภาพระดับกวาง (long-list of programmes and projects) และการกําหนด โครงการศักยภาพเรงดวน (short-list of programmes and projects) 2) มีการแบงพื้นที่สําหรับการจัดทําแผนออกเปน 10 พื้นที่ลุมน้ํา (SA) บนพื้นฐานของลุมน้ํายอยลักษณะ ทางอุทกวิทยาลุมน้ํา ทั้งนี้ SA ในสวนของประเทศไทย ลุมน้ําและขอบเขตการปกครอง ประกอบดวย พื้นที่ 2T (คือ ลุมน้ํากกและลุมน้ําโขงภาคเหนือ) พื้นที่ 3T (ลุมน้ําโขงภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ) พื้นที่ 5T (ลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล) และพื้นที่ 9T (ลุมน้ําโตนเลสาบ) 3) BDP มีกิจกรรมที่ตองดําเนินการไปพรอมๆ กัน 3 กิจกรรม คือ (1) การวางแผนพัฒนา (2) การ ปรึกษาหารือและการมีสวนรวมของประชาชน และ (3) การเสริมสรางขีดความสามารถขององคกร และผูเกี่ยวของในงานดานนี้ ดังนั้น BDP จะเปนแผนพัฒนาลุมน้ําที่เกิดจากการมีสวนรวมของผูมีสวนไดเสียในทุกระดับ กลาวคือ ระดับพื้นที่ลุมน้ํายอย ระดับภาค/ประเทศ และระดับนานาชาติซึ่งเปนขั้นที่แผนโครงการตางๆที่ไดรับการเสนอ จาก ประเทศภาคีสมาชิกทั้ง 4 ประเทศ จะไดรับการพิจารณารวมกันเปนขั้นสุดทาย กอนถูกนําไปปฏิบัติโดยความชวย เหลือของสากลภายใตการบริหารอํานวยการของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง หรือโดยประเทศสมาชิกเองตามความ เหมาะสมตอไป 1.3 การวางแผนพัฒนาลุมน้ําโขงในประเทศไทย ในฐานะประเทศสมาชิกกอตั้งของทั้งคณะกรรมการพัฒนาลุมน้ําและคณะกรรมาธิการพัฒนาลุมน้ําโขงใน อดีตลุมน้ําโขงในปจจุบัน ประเทศไทย โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาลุมน้ําโขงฝายไทยและสวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของ ไดมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาลุมน้ํานี้อยางใกลชิดมาโดยตลอด ผลไดที่สําคัญคือ การเกิดโครงการ พัฒนาตางๆ จํานวนมากในพื้นที่ลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย โดยการชวยเหลือดานเงินทุนและดานวิชาการ จากสากล ผานคณะกรรมการฯ/คณะกรรมาธิการลุมน้ําโขง ซี่งถือเปนองคการระหวางประเทศที่สําคัญในภูมิภาคนี้ องคการหนึ่ง ในการรวมจัดทํา BDP ฉบับปจจุบัน คณะกรรมการลุมแมน้ําโขงฝายไทย (TNMC) ไดมีการจัดตั้งกองการ วางแผนพัฒนาลุมน้ําโขง (BDP Unit) เปนการเฉพาะเพื่อรับผิดชอบดําเนินการ และนอกจากนี้ ดังที่กลาวถึงแลวใน หัวขอ 1.1 ไดมีการแตงตั้งคณะทํางานระดับชาติ (BDP-NWG) และระดับพื้นที่ (SAWG) ซึ่งประกอบขึ้น ดวย สมาชิกที่มาจากหนวยงานและหรือเอกชนจํานวนมาก เพื่อรวมกันศึกษาทํางาน อันเปนการสงเสริมการมีสวนรวม อยางใกลชิดและกวางขวางตามแนวคิดหลักของ BDP อยางไรก็ตาม เปนที่ตระหนักและทราบกันดีวา กระบวนการวางแผนพัฒนาเปนรายลุมน้ํา (River Basin Planning) โดยยึดหลักการการมีสวนรวมของประชาชน (public participation) ในประเทศไทย ไดมีการ ดําเนินการ ไปแลวอยางกวางขวาง รวมทั้งในพื้นที่ลุมน้ํายอย (SA) ตางๆที่กําหนดตามกรอบ BDP (กลาวถึงแลวใน 2.2) ดังนั้นการประสานงานอยางใกลชิดกับองคกรตางๆที่อาจมีการจัดตั้งอยููแลวในทุกระดับ เพื่อการเรียนรูขอมูล และ หรือ การหลีกเลี่ยงการทํางานที่จะมีลักษณะซ้ําซอนเพื่อประโยชนสูงสุดแหงการทํางานนับวาเปนสิ่งที่มีความจําเปน

22


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

1.4 นโยบายและแผนการพัฒนาที่สําคัญ ปจจัยที่จะชวยใหสามารถมีสวนรวมในการพิจารณาหรือกําหนดโครงการตางๆ สําหรับ BDP ไดอยาง เปนผลที่สุดประการหนึ่งคือ การทราบนโยบายและแผนการพัฒนาที่เกี่ยวของทั้งในระดับพื้นที่(ภาค) และระดับชาติ ตัวอยางเชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตินโยบายการบริหารจัดการลุมน้ํา มติคณะรัฐมนตรีแผน ยุทธศาสตรการพัฒนากลุมจังหวัดและหรือจังหวัด ที่เพิ่งไดมีการจัดทําขึ้นในประเทศไทย เปนตน 1.4.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติและการพัฒนาระยะยาว ประเทศไทยไดมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (แผน 5 ป) ตั้งแตป พ.ศ. 2504 ปจจุบันเปน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 ซึ่งใหความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรปาและดินมากที่สุด กอนหนานั้น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4-5 ไดเคยมีนโยบายเกี่ยวของกับการอนุรักษและจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยูบางแลว และในชวงฉบับที่ 6 ไดเนนเรื่องการจัดการและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติที่ยังคงเหลืออยูใหเปนระบบและมีความชัดเจนมากขึ้น แผนพั ฒ นาฯ ฉบั บ ที่ 8 ได ป รั บ นโยบายการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ เป น การพั ฒ นาที่ มี ค นเป น ศู น ย ก ลาง โดยอาศั ย การบูรณาการทุกดานใหเชื่อมโยงเขาดวยกันทั้งดานทรัพยากรธรรมชาติชุมชนและสิ่งแวดลอม การประเมิ น ผลการพั ฒ นาในช ว ง 4 ทศวรรษที่ ผ  า นมา ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง การพั ฒ นาโดยพึ่ ง พา ทรัพยากรธรรมชาติเปนหลักแตเพียงอยางเดียว ความสําเร็จที่เกิดขึ้นพบวาเปนเพียงดานเศรษฐกิจ ขาดความ สมดุลของทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม และขาดการบริหารจัดการอยางเหมาะสม ผลการพัฒนาเปน เพียงการพัฒนาเฉพาะสวนของสังคมเทานั้น ขณะที่ประชาชนสวนใหญยังตองพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการยัง ชีพ ยังคงมีฐานะยากจน ดวยเหตุผลดังกลาว แผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 ไดกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาที่เปนภารกิจรวมกันของคนใน ชาติเปน 3 เรื่องหลักคือ • การมุงขจัดปญหาความยากจนของประเทศ • การสรางฐานรากของสังคมใหเขมแข็งใหคนสวนใหญของประเทศอยูดีมีสุข • การปรับตัวทางเศรษฐกิจใหสามารถแขงขันและพึ่งตนเองไดพรอมไปกับการผนึกพลังความรวมมือ ของทุกฝายในการปฏิรูประบบบริหารจัดการที่ดีใหเกิดขึ้นในทุกระดับของสังคมไทย นอกจากขางตน มีการกําหนดยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืนไว 7 ประการดังนี้ 1) การบริหารจัดการที่ดี 2) การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม 3) การพัฒนาชนบทและเมืองอยางยั่งยืน เกื้อหนุนการสรางรายไดมีการพัฒนาชุมชนและเมืองใหนาอยู เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี 4) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน สรางชุมชนใหมีจิตสํานึกและมีสวนรวม ดูแลรักษาอนุรักษ ฟนฟูและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติอยางเหมาะสม 5) การบริหารและเรงฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศใหเขมแข็งและวางรากฐานการขยายตัวอยางมีคุณภาพ ในระยะยาว 23


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

6) การเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศ พัฒนาคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรโดยการพัฒนางานฝมือ พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ทักษะการตอรอง ทางการคา และอื่นๆ 7) การพัฒนาความเขมแข็งทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสงเสริมการวิจัยและพัฒนา เปนตน เห็นไดวาในระยะยาว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยใหความสําคัญอยางมากตอเรื่องการ พั ฒ นาอย า งยั่ ง ยื น ซึ่ ง หมายถึ ง การมี ส  ว นร ว มอย า งเพี ย งพอ การธํ า รงรั ก ษาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสภาพ สิ่งแวดลอม เพื่อความอยูดีกินดีของประชาชนเปนสําคัญ 1.4.2 นโยบาย มาตรการ และการบริหารจัดการลุมน้ําของประเทศ การบริหารจัดการพื้นที่ลุมน้ําจะมีความแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับขนาดพื้นที่ ลักษณะทางกายภาพลุมน้ํา จะ มีความแตกตางทางดานทรัพยากรธรรมชาติตลอดจนสภาพเศรษฐกิจและสังคมของราษฎร ดังนั้น การบริหาร จัดการลุุมน้ําที่จําเพาะเจาะจงในแตละลุมน้ําจึงอาจตองใชเวลาในการศึกษาวางแผน อยางไรก็ดี หลักการในเบื้องตน ที่สําคัญ มีดังนี้ 1) การฟนฟูสภาพปาไมในพื้นที่ลุมน้ํา คือการตองปลูกปาหรือฟนฟูสภาพปาไมใหสมบูรณเพียงพอ โดย เลือกพื้นที่ที่จะใชในการปลูกปา รวมทั้งชนิดของพันธุไมที่เหมาะสม 2) การบริหารจัดการน้ํา อาจโดยการสรางอางเก็บน้ําเพื่อสามารถเก็บกักน้ําไวในฤดูฝน และสามารถ นํา น้ํามาใชในฤดูแลงไดรวมทั้งการปรับปรุงระบบบริหารจัดสรรน้ํา เชน การควบคุมอางเก็บน้ํา การ บริหารจัดการสงน้ําบํารุงรักษาระบบชลประทาน ใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เปนตน 3) การพัฒนาน้ําใตดิน เพื่อการพัฒนานํามาใชประโยชนในดานตางๆ จําเปนตองมีการพิจารณาสภาพ ความสมดุลอาจจะเปลี่ยนแปลงไปในลักษณะที่ไมเหมาะสมได เชน ระดับน้ําเค็ม ซึ่งอาจจะขึ้นมา สูงกวาระดับเดิมและเปนอันตรายตอสภาพแวดลอมในอนาคตไดดังนั้นการติดตั้ง เครื่องสูบน้ําใตดินใน บางพื้นที่จําเปนที่จะตองมีการดําเนินการเพื่อรักษาความสมดุลระหวางน้ําจืดกับน้ําเค็ม เปนตน 4) การอนุรักษน้ํา นอกเหนือจากการบริหารจัดการน้ําที่มีอยูภายในลุมน้ําใดลุมน้ําหนึ่งแลว การอนุรักษ น้ํามีความจําเปนที่จะตองดําเนินการควบคูไป ทั้งนี้เพราะทรัพยากรน้ํามีจํากัด ปจจุบันมีการใชน้ําตอ หน ว ยผลิ ต (โดยเฉพาะผลผลิ ต ทางการเกษตร) สู ง เกิ น ความจํ า เป น ดั ง นั้ น จึ ง จํ า เป น ที่ จ ะต อ ง ดําเนินการจูงใจและการมีสวนรวมของราษฎร รวมทั้งการนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในกระบวนการ ผลิต การปรับเปลี่ยนชนิดและรูปแบบการปลูกพืช เปนตน 5) การผันน้ําจากลุมน้ํา ไดแก การผันน้ําจากลุมน้ําขางเคียง มาตรการสุดทายที่จะเปนแนวทางในการ จัดการผันน้ําจากลุมน้ํา (ซึ่งรวมทั้งการผันน้ําจากแมน้ําโขง) ซึ่งจะตองคํานึงถึงความเปนไปไดในดาน กายภาพของพื้นที่ระหวางลุมน้ําทั้งสองที่จะมีการดําเนินการผันน้ําเปนอยางมาก กรณีที่ไมมีความ เหมาะสมฯ การผันน้ําขามลุมน้ําจะตองใชงบประมาณเปนจํานวนมหาศาล และอาจจะกอใหเกิดผล กระทบสิ่งแวดลอมได

24


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

1.4.3 มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวของ ตัวอยางสําคัญของมติรัฐมนตรีที่เกี่ยวของกับการจัดการลุมน้ํา โดยเฉพาะลุมน้ําในภาคเหนือ และภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเกี่ยวของงานการพัฒนาลุมน้ําโขง มีดังนี้ 1) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 เรื่องโครงการศึกษาเพื่อกําหนดชั้นคุณภาพลุมน้ํา ของประเทศ ตามหลักเกณฑและมาตรการในการใชประโยชนทรัพยากรในแตละชั้นของลุมน้ํา โดย ดําเนินการศึกษาวิจัยลุมน้ําทางภาคเหนือ (ปง วัง ยม และนาน) พ.ศ. 2525 – 2528 ลุมน้ําภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ (ชี และ มูล) พ.ศ. 2528 – 2530 2) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2530 เรื่องหลักเกณฑและเงื่อนไขในการกําหนดสภาพปา เสื่อมโทรม ซึ่งไมรวมถึงพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 A ชั้นที่ 1 B และชั้นที่ 2 และในการกําหนดพื้นที่ใด เปนปา เสื่อมโทรมตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ. 2507 จะไมมีผลผูกพันกับราษฎรที่เขาไปทํา ประโยชนอยูแลว และมีคุณสมบัติตามที่กําหนดไวในระเบียบกรมปาไม 3) มติ ค ณะรั ฐ มนตรี เมื่ อ วั น ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 เรื่ อ ง การกํ า หนดชั้ น คุ ณ ภาพลุ ม น้ํ า และ ขอ เสนอแนะลุ มน้ํ ามู ล และลุม น้ําชี โดยใหก ระทรวงวิทยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี แ ละการพลั ง งาน มาตรการการใชที่ดินในเขตลุมน้ําโดยใหกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและการพลังงานไปกํากับ และเรงรัดใหมีการจัดทําแผนปฏิบัติการ (action plan) ใหสอดคลองกับขอเสนอแนะมาตรการการใช ที่ดินในเขตลุมน้ําปง วัง ยม นาน 4) มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2532 เรื่อง แนวทางการปฏิบัติงานตามขอเสนอแนะ มาตรการการใช ที่ ดิ น ในเขตลุ  ม น้ํ า เพื่ อ ใช เ ป น กรอบในการจั ด การอนุ รั ก ษ แ ละการใช ป ระโยชน ทรัพยากรธรรมชาติ ในบริเวณพื้นที่ลุมน้ําอยางเหมาะสมถูกตองตามหลักวิชาการ 5) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2535 เรื่อง การจําแนกเขตการใชประโยชนทรัพยากรและ ที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติและวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2535 เรื่องผลการจําแนกเขตการใช ประโยชนทรัพยากรและที่ดินปาไมในพื้นที่ปาสงวนแหงชาติเพิ่มเติม โดยไดแบงพื้นที่ปาสงวนแหง ชาติออกเปน 3 เขต คือ เขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ เขตพื้นที่ปาเพื่อเศรษฐกิจ และเขตพื้นที่ปาที่ เหมาะสมตอการเกษตร โดยเขตพื้นที่เพื่อการอนุรักษ ไดแบงออกเปน 2 ประเภท คือ • พื้นที่ปาอนุรักษตามกฎหมายและมติคณะรัฐมนตรีหมายถึง พื้นที่ในเขตรักษาพันธุสัตวปา อุทยานแหงชาติและพื้นที่ลุมน้ําชั้นที่ 1 • พื้นที่ปาอนุรักษเพิ่มเติม หมายถึง พื้นที่ที่ควรสงวนไวเพื่อรักษาสภาพแวดลอมและระบบ นิเวศแหลง ธรรมชาติอันควรอนุรักษพื้นที่ที่เปนเอกลักษณทองถิ่น เปนตน 6) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 เรือ่ งแนวทางการปฏิบัติงานการปฏิรูปที่ดินในเขต ปาสงวนแหงชาติและเขตปาไมถาวร กลาวคือ ในกรณีที่ราษฎรทําประโยชนอยูกอนทางราชการ 25


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ประกาศเขตปาไมโดยการออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน และกรณีที่ราษฎรบุกรุก ภายหลัง จะไดสิทธิโดยผานกระบวนการปฏิรูปที่ดิน 7) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ พ.ศ. 2537 เปนมติเรื่องการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมใน พื้นที่ปาสงวนแหงชาติในเขตเศรษฐกิจที่เสื่อมโทรม 8) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2538 เห็นชอบกับมติคณะกรรมการสิ่งแวดลอม แหงชาติ เรือ่ ง การกําหนดชั้นคุณภาพลุุมน้ําภาคตะวันตก ภาคกลาง และลุมน้ําปาสัก และการกําหนด ชั้น คุณภาพลุุมน้ําภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนอื่นๆ (ลุม น้ําชายแดน) 9) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2538 ใหยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2536 เรือ่ ง การแกไขปญหาเกี่ยวกับที่ดินในเขตปาไม ในกรณีที่ราษฎรทําประโยชนอยูกอนทาง ราชการประกาศเขตปาไมโดยการออกเอกสารสิทธิตามประมวลกฎหมายที่ดิน และกรณีที่ราษฎรบุก รุกภายหลังจะไดสิทธิโดยผานกระบวนการปฏิรูปที่ดิน 10) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2540 ในการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรที่วังน้ําเขียว นครราชสีมา เปนมติที่เกี่ยวกับมาตรการและแนวทางการแกไขปญหาเกี่ยวกับพื้นที่ปาไม 11) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 เรือ่ งการแกไขที่ดินในพื้นที่ปาไม เปนการกําหนด รายละเอียดเพิ่มเติมจากมติรัฐมนตรีที่วังน้ําเขียว ที่สําคัญคือใหกรมปาไมประสานงานกับหนวยงานที่ เกี่ยวของ เพื่อตรวจสอบและดําเนินการจําแนกแยกแยะความรับผิดชอบพื้นที่ปาไมพื้นที่สาธารณประ โยชน และพื้นที่ที่อยูในความดูแลของราชการ โดยใหกรมปาไมพิจารณาโดยความรอบคอบวาไดจัด สาธารณูปโภคพื้นฐานหรือสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ในพื้นที่เขตอนุรักษที่ราษฎรครอบครองอยู หรือไม 12) มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2541 เรื่องหลักเกณฑการผอนผันการดําเนินการตาม ขอสังเกตตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ พ.ศ. 2538 เรือ่ ง กําหนดหลักเกณฑพื้นที่ที่ ควรผอนผันใหมีการอยูอาศัยและ/หรือใชพื้นที่ไดหากพิสูจนไดวาชุมชนหรือหมูบานไดครอบครองเปน การถาวร หรือไดจัดตั้งขึ้นโดยถูกตองตามกฎหมาย โดยใชภาพถายทางอากาศในแตละชวงเวลาของ แตละพื้นที่ หรือเอกสารหลักฐานขอเท็จจริง ตางๆ ประกอบวาราษฎรหรือชุมชนได ครอบครองพื้นที่ ดังกลาวโดยถูกตองตามกฎหมาย ตัวอยางที่สําคัญอีกประการหนึ่งคือ มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ พ.ศ. 2547 ซึ่งอนุมตั ิ 5 ยุทธศาสตรในการพัฒนาขีดความสามารถการแขงขันเพือ่ ยกเครื่องเศรษฐกิจภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ประกอบดวยดังนี้ • ยุทธศาสตรที่ 1: การยกระดับฐานการผลิตหลักของภาค 26


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

• ยุทธศาสตรที่ 2: การรวมมือกับกลุมอินโดจีนขยายฐานอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจพื้นทีช่ ายแดนของ ภาค • ยุทธศาสตรที่ 3: การสรางศักยภาพและโอกาสใหคนจน • ยุทธศาสตรที่ 4: การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืนเพือ่ คืนสมดุลสู ธรรมชาติ • ยุทธศาสตรที่ 5: การสรางคนเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน 1.4.4 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด/กลุมจังหวัด นอกจากขางตน ปรากฏการณเกี่ยวกับการพัฒนาลาสุดที่เพิ่งเกิดมีการจัดทําขึ้นในประเทศไทยในชวง 1-2 ปที่ผานมาคือ การกําหนดใหผูวาราชการจังหวัดทําหนาที่ประดุจหัวหนาคณะบริหาร (Chief Executive Officer, CEO) ในพื้นที่จังหวัดของตนเองแบบเบ็ดเสร็จ มีการกําหนดจังหวัดที่อยูบริเวณใกลเคียงกันและมีสภาพพื้นฐานทางกายภาพและอื่นๆใกลเคียงกันให เปนกลุมจังหวัด สามารถกําหนดวิสัยทัศนพันธกิจ ตลอดจนยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาตางๆ ของตนเองอยางเต็มที่ ตัวอยางเชน • วิสัยทัศนของจังหวัดเชียงรายคือ “ประตูทองของวัฒนธรรมลานนาและการคาสูสากล” • วิสยั ทัศนของกลุมจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ซึ่งประกอบดวยจังหวัดอุดรธานีหนองคาย หนองบัวลําภู และเลย คือ “แหลงพํานักแหงที่สองของนักลงทุนและนักทองเที่ยว” • วิสัยทัศนของกลุมจังหวัดสกลนคร นครพนม มุกดาหาร และกาฬสินธุ คือ “สะพานการคาและการทอง เที่ยวอินโดจีน” • วิสัยทัศนกลุมจังหวัดรอยเอ็ด ขอนแกน และมหาสารคาม คือ “ศูนยกลางทางการคา การลงทุน และ การบริการในภูมิภาคสูสากล” • วิสัยทัศนกลุมจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร และอํานาจเจริญ คือ “หุนสวนเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบาน” • วิสัยทัศนกลุมจังหวัดนครราชสีมา สุรินทร ชัยภูมิ และบุรรี ัมย คือ “ประตูสูอีสาน” เปนที่สังเกตไดวา วิสัยทัศนกลุมจังหวัด/ จังหวัดขางตน จะมีลักษณะเปนวิสัยทัศนระยะยาว ซึ่งตองการ กําหนดยุทธศาสตรและแผนงานรองรับอีกเปนจํานวนมาก การใชทรัพยากรน้ําเพื่อสนับสนุนการพัฒนาเหลานั้นจะ เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงได และดวยเหตุนี้ การกําหนดโครงการ BDP ใหสอดคลองกับความตองการตางๆ ตามที่สะทอน อยูในวิสัยทัศนขางตน และหรือยุทธศาสตรรายจังหวัด จะเปนการชวยทําใหบทบาทของ BDP ในการมีสวนรวม พัฒนาพื้นที่ลุมน้ําโขงในประเทศไทยที่มีความชัดเชนมากยิ่งขึ้นไปอีก

27


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

2. ภาพรวมพื้นที่แมน้ําโขงในประเทศไทย 2.1 สภาพทางภูมิศาสตรและภูมิอากาศ พื้นที่ลุมน้ําโขงที่อยในเขตประเทศไทยมีทั้งหมด 188,645 กม. สามารถพิจารณาแบงออกไดเปน 3 สวน คือสวนที่อยููในภาคเหนือ สวนที่อยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสวนที่อยูในภาคตะวันออกของประเทศไทย สภาพพื้นที่และสภาพทางภูมิศาสตรโดยสังเขปของแตละพื้นที่เปน ดังนี้ พื้นที่สวนที่อยูในภาคเหนือ เปนที่ตั้งของลุุมน้ํากกลุมน้ําอิงและลุมน้ําเล็กๆ อื่นๆ อีกจํานวนหนึ่ง อยูในเขตจังหวัดเชียงใหม เชียงราย และพะเยา สําหรับแมน้ํากกมีความยาวประมาณ 285 กม. ชวงแรกของแมน้ํากกมีพื้นที่ลุมน้ําประมาณ 8,160 กม. แมน้ํา (ประมาณ 128 กม.) อยูในเขตรัฐฉานประเทศเมียนมารมีตนน้ําอยูที่ระดับความสูงประมาณ +1,500 ม.รทก. ไหลลงสูแมน้ําโขงที่ระดับประมาณ +350 ม.รทก. ในเขตประเทศไทย พื้นที่สวนใหญเปนภูเขาสูงชัน เปนตนน้ํา ลําธาร แตพื้นที่ราบที่เหมาะแกการเพาะปลูกจะอยูในเขตจังหวัดเชียงรายเปนสวนใหญ สําหรับลุมน้ําอิงอยูในเขต จังหวัดพะเยาและเชียงราย แมน้ําอิงมีความยาวประมาณ 300 กม. พื้นที่ตนน้ําเปนภูเขาสูงระดับประมาณ +500 ถึง +450 ม.รทก. แหลงทรัพยากรน้ําที่สําคัญของลุมน้ําอิงไดแก กวานพะเยา และหนองเล็งทราย จังหวะพะเยา พื้นที่ ตอนปลายของลุมน้ําอิงชวงที่จะไหลลงแมน้ําโขงมักประสบปญหาเรื่องน้ําทวมในฤดูฝนอยูเสมอๆ เพราะการอัดเออ ของน้ําจากแมน้ําโขง พื้นที่ยอย (Sub-area) 2T ซึ่งกําหนดตามกรอบการแบงของ BDP ที่กลาวถึงแลวในตอนตนครอบคลุม พื้นที่ลุมน้ํากก สวนหนึ่งของพื้นที่ลุมน้ําอิงและลุมน้ําโขงภาคเหนือตามคําจํากัดความของการแบงลุมน้ําของประเทศ ไทย มีพื้นที่โดยรวม 18,859 ตร.กม. พื้นที่สวนที่อยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครอบคลุมพื้นที่ที่เปนภาคตะวันออกเฉียงเหนือโดยทั้งหมด ซึ่งประกอบดวย 19 จังหวัด คิดเปนพื้นที่ ประมาณ 168,854 ตร.กม. หรือ 105,533,750 ไร พื้ นที่ ส วนใหญมี ลักษณะเปน ที่ร าบสู งลั กษณะกะทะหงาย ประกอบดวยเนินเขาเตี้ย ๆ กระจายอยูทั่วไป มีความลาดเอียงจากทิศตะวันตกของภาคไปทางทิศตะวันออก สูง จาก ระดับน้ําทะเลปานกลาง ประมาณ 100 – 300 เมตร มีเทือกเขาภูพานแบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน คือ สวนที่ เปนที่ราบสูงโคราชทางตอนใตและสวนที่เปนที่ตั้งของจังหวัดตามแนวแมน้ําโขง แมน้ําสําคัญที่ไหลผาน คือ แมน้ํา โขง และแมน้ําสงครามทางทิศเหนือ แมน้ําชีไหลผานตอนกลาง และแมน้ํามูลอยูทางตอนลางของภาค ดังที่กลาว แลววา ตามกรอบ BDP ไดแบงพื้นที่นี้ออกเปน 3 พื้นที่ยอยดังนี้ • พื้นที่ยอย 3T ครอบคลุมพืน้ ที่ 8 จังหวัด อยูในเขตลุมน้ําโขง-อีสาน ไดแก จังหวัดอุดรธานี สกลนคร เลย หนองบัวลําภู หนองคาย นครพนม มุกดาหาร และอํานาจเจริญ ซึ่งมีอดุ รธานี สกลนคร หนองคาย อํานาจเจริญ และมุกดาหาร เปนเมืองสําคัญทางเศรษฐกิจ มีพนื้ ที่รวมกัน 46,460 ตร.กม. • พื้นที่ยอย 5T ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ 11 จังหวัดในภาพตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และมีพื้นที่ รวมกันกวา 119,000 ตร.กม. ตามสภาพลุมน้ํายอยและเพื่อความสะดวกในการศึกษาและหรือ ดําเนินงาน พืน้ ที่ยอย 5T สามารถแบงออกเปน 2 สวนสําคัญคือ 28


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

1. พื้นที่ยอย 5T-1 เปนสวนของเขตลุมน้ําชีมีพื้นที่ทั้งหมด 49,476 ตร.กม.ครอบคลุม 6 จังหวัดคือ ชัยภูมิขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด กาฬสินธุ และยโสธร สําหรับขอนแกน นับเปนศูนยกลาง ทางเศรษฐกิจของอนุภาคและของภาคโดยรวมดวย 2. พื้น ที ย อ ย 5T-2 เป นส วนของเขตลุ  ม น้ํามู ล มี พื้ นที่ ทั้ ง หมดถึง 69,700 ตร.กม. ครอบคลุ ม 5 จั ง หวั ด ประกอบด ว ย นครราชสี ม า บุ รี รั ม ย สุ ริ น ทร ศรี ส ะเกษ และอุ บ ลราชธานี โดยมี นครราชสีมาและอุบลราชธานีเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจ พื้นที่สวนที่อยูในภาคตะวันออก พื้นที่นี้เปนสวนหนึ่งของ “ลุมน้ําทะเลสาบเขมร (เขมรเรียกทะเลสาบและแมน้ําสายสําคัญที่เชื่อมทะเลสาบ แหงนี้กับแมน้ําโขงวาโตนเลสาบ)” สวนที่อยูในประเทศไทยเปน พื้นที่ตนน้ําดานทิศตะวันตกของลุมน้ําฯ เนื่องจาก สภาพพื้นที่สวนใหญเปนภูเขาสูงสลับที่ราบริมลําน้ํา และมีความลาดเทจากทิศตะวันตกไปสูทิศตะวันออก ลําน้ํา สายตางๆ จึงไหลออกไปทางประเทศกัมพูชาและลงทะเลสาบเขมร เรียกพื้นที่สวนนี้วา พื้นที่ลุมน้ําโตนเลสาบใน ประเทศไทย หรือ พื้นที่ยอย 9T ซึ่งมีพื้นที่ประมาณ 4,150 ตร.กม. ในด า นภู มิ อ ากาศ พื้ น ที่ ลุ  ม น้ํ า โขงในส ว นของประเทศไทยมี ลั ก ษณะทั่ ว ไปคล า ยคลึ ง กั น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งมีพื้นที่ใหญที่สุดและเปนที่ตั้งของพื้นที่ลุมน้ํายอย 3T 5T-1 และ 5T-2 มีปริมาณน้ําฝน ที่ตก ตอประหวาง 800-2,000 มิลลิเมตร ในชวงเดือนพฤษภาคมและเดือนตุลาคม หรือเฉลี่ยปละ 1,400 มิลลิเมตร ซึ่ ง ไม น  อ ยกว า ปริ ม าณน้ํ า ฝนที่ ต กในภาคเหนื อ และภาคตะวั น ออก แต เ นื่ อ งจากดิ น ในภาคนี้ ส  ว นใหญ เ ป น ดินปนทรายซึ่งไมอุมน้ําและฝนมักจะตกหนักในชวงระยะเวลาสั้น ๆ ตอนปลายฤดูฝน จึงทําใหมีปญหาความ แหงแลงรุนแรงกวาบริเวณที่มีฝนตกชุกคือ บริเวณริมฝงแมน้ําโขงและคอยๆลดนอยลงเมื่อหางออกไปทางตะวันตก ของภาค ภาพรวมของพื้นที่ยอยของลุมน้ําโขงในประเทศไทยที่แบงตามกรอบของ BDP สรุปไดอีกครั้ง ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 พื้นที่ยอ ยของลุมน้ําโขงในประเทศไทย ชื่อพื้นที่ (Sub-area)

ขนาดพื้นที่ (ตร.กม.)

2T

18,859

ลุมน้ํากก ลุมน้าํ อิงและ ลุมน้ําโขงบางสวน, ภาคเหนือ

3T

46,460

ลุมน้ําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

5T-1

49,476

ลุมน้ําชี, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

5T-2

69,700

ลุมน้ํามูล, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

9T

4,150

ลุมน้ําโตนเลสาบ, ภาคตะวันออก

29

ที่ตั้งสังเขป


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

2.2 ทรัพยากรดินและการใชที่ดิน 2.2.1 ทรัพยากรดิน ในที่นี้จะกลาวถึงทรัพยากรดินที่มีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อการเกษตรและการชลประทานเปนสําคัญ พื้นที่ยอย 2T จากพื้นที่ทั้งหมดของลุมน้ํากกที่มีอยูประมาณ 5.10 ลานไร พื้นที่ที่มีศักยภาพในการผลิต ทางการเกษตรและมีความเหมาะสมตอการพัฒนาการเกษตรในระบบชลประทานมีประมาณ 0.61 ลานไร เปนพื้น ที่ดินดอนที่มีศักยภาพสูงถึงคอนขางสูงทางการเกษตรมีอีกประมาณ 0.92 ลานไร นอกนั้น ลุมน้ํากกมีหนวยที่ลาด ชันเชิงซอน กวางขวางกวา 3.16 ลานไร (ประมาณ 62 %ของพื้นที่ทั้งหมด) ซึ่งสมควรอนุรักษไวเปนพื้นที่ปาไมตน น้ํา ลําธาร มากกวาการใชทางดานการเกษตร พื้นที่ที่ที่เหลือเปนภูเขาและที่สาธารณะอื่นๆ สําหรับในลุมน้ําอิงและ ลุมน้ําโขง สวนที่เหลือ ทรัพยากรดินที่มีศักยภาพคอนขางสูงตอการทําการเกษตรและการพัฒนาระบบชลประทาน มีอีกประมาณ 2.50 ลานไร (ประมาณ 40% ของพื้นที่ลุมน้ํา) พื้นที่ยอย 3T 5T-1 และ 5T-2 ทรัพยากรดินที่มีศักยภาพในการทําการเกษตรมีประมาณ 58 ลานไร แต สภาพดินสวนใหญ เปนดินรวนปนทราย มีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ํา เชน เปนพื้นที่ดินเค็มประมาณ 17.80 ลานไร (30.7 %ของ พื้นที่เกษตรขางตน) ในจํานวนนี้เปนดินเค็มจัดไมสามารถเพาะปลูกไดจํานวน 1.50 ลานไรดิน เค็มปานกลาง 3.70 ลานไร และดินเค็มนอย 12.60 ลานไร นอกจากนี้พื้นที่ที่มีโอกาสจะเปนดินเค็มยังมีอีกประมาณ 19.60 ลานไร ซึ่งสวนใหญอยูในจังหวัดนครราชสีมา มหาสารคาม และอุดรธานี ดินในพื้นที่การเกษตร แบงออกได เปน 4 กลุมใหญคือ (1) กลุมดินไร ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 43% โดยมากอยูบริเวณทิศตะวันออกเปนแนวยาวลงไปทาง ใตและบางสวนในตอนกลางของภาค (2) กลุมดินนา ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 27% สวนมากอยูตอนกลางและตอนใตของภาค (3) กลุมดินคละ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 18% โดยมากอยูบริเวณดานตะวันออกเปนแนวยาวลงไป ทางใตและทางตอนกลางของภาค (4) กลุมดินภูเขา ครอบคลุมพื้นที่ 12% สวนมากอยูบริเวณทิศตะวันตก พื้นที่ยอย 9T โดยเปรียบเทียบพื้นที่ลุมน้ํายอยนี้มีสัดสวนของพื้นที่ดินที่เหมาะกับการเพาะปลูก โดยเฉพาะพืชไรในระดับสูง กลาวคือ จากจํานวนพื้นที่ทั้งหมด 2.60 ลานไรเปนพื้นที่ที่เหมาะแกการปลูกพืชไรและ ไมผล ประมาณ 1.05 ลานไร (40.4%) รองลงมาคือพื้นที่ที่เหมาะแกการปลูกขาว ประมาณ 0.78 ลานไร (29.9%) โดยกลุมดินซึ่งมีความเหมาะสมสําหรับปลูกขาว และพืชอื่น ๆ สวนใหญจะอยูบริเวณที่ราบสองฝงลําน้ํา พื้นที่ที่ เหลืออื่นๆ เปนที่ปาตนน้ําลําธาร และที่สาธารณประโยชน 2.2.2 การใชที่ดิน พื้นที่ยอย 2T ในลุมน้ํากก มีการใชที่ดินทํานาถึง 0.82 ลานไรพื้นที่ที่เหลือเปนพื้นที่พืชไรในที่ดอนซึ่ง ประกอบดวย พืชเศรษฐกิจที่สําคัญ เชน ขาวโพด ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ยาสูบ ไมผล และพืชผักตางๆ ไมผลที่ สําคัญ ประกอบ ดวยมะมวง ลําไย ลิ้นจี่ มะพราว มะขาม และกลวย พืชผักที่สําคัญมีกระเทียม หอมแดง ขิง พริก และผักกินใบตางๆ รวมทั้งไมผลเมืองหนาวและพืชผักเมืองหนาว ซึ่งเริ่มมีการนํามาปลูกในพื้นที่สําหรับในพื้นที่ 30


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

ลุมน้ําอิงมีลักษณะคลายคลึงกันคือ กลาวคือ มีพื้นที่ปลูกขาวถึง 1.31 ลานไรที่เหลือเปนพื้นที่พืชไร และปาไมใน ลักษณะ ตางๆ ซึ่งมีความลาดชันอยูในพื้นที่ลาดชันเชิงซอน และมีความซับซอนของสภาพภูมิประเทศสูง พื้นที่ยอย 3T 5T-1 และ 5T-2 ลักษณะการใชที่ดิน 105.5 ลานไรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในปจจุบัน ประกอบดวยพื้นที่ชุมชนและเมือง ประมาณ 5.0 ลานไร พื้นที่ปา 13.1 ลานไร พื้นที่ชลประทาน 4.9 ลานไร พื้นที่ ชนบทประมาณ 60.0 ลานไร พื้นที่ภูเขา ถนน และที่เหลือเพื่อการอื่นๆ ประมาณ 20.8 ลานไร พื้นที่ยอยกลุมนี้มี ผลผลิตขาวมากที่สุดของประเทศคือประมาณ 9.6 ลานตัน คิดเปน 37.1% ของประเทศแตผลผลิตตอไรเพียง ประมาณ 300 กิโลกรัมตอไรเทานั้น เมื่อเทียบกับภาคกลางที่ผลิตไดประมาณ 500 กิโลกรัม ตอไรจึงนับวาต่ําอยู มาก บริเวณที่มีการเพาะปลูกขาวกันมากคือ พื้นที่ยอย 5T-2 (อีสานตอนลาง) คิดเปนประมาณ 40% ของการ เพาะปลูกในภาค ไดแก อุบลราชธานี (3.4 ลานไร) นครราชสีมา (3.2 ลานไร) บุรีรัมย (2.7 ลานไร) และ ศรีสะเกษ (2.3 ลานไร) พื้นที่ยอย 9T การใชประโยชนที่ดินในพื้นที่ยอยในเขตลุมน้ําโตนเลสาบพบวาสวนใหญเปนพื้นที่ปาไม คือ ประมาณ 1.0 ลานไร (47.6% ของพื้นที่ทั้งหมด) สวนใหญจะอยูบริเวณตนน้ํารองลงมาคือพื้นที่การเกษตร ซึ่งอยูบริเวณที่ราบสองฝงลําน้ํามีประมาณ 0.9 ลานไร (42.7%) พื้นที่อยูอาศัยประมาณ 0.082 ลานไร (3.9%) และที่เหลือคือแหลงน้ําและที่สาธารณประโยชนอื่นๆ พืชที่ปลูกกันมากในสวนของพื้นที่ลุมน้ําโตนเลสาบนี้คือ พืชไร และขาว กลาวคือเปนพื้นที่ปลูกพืชไร 47% ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด สวนใหญอยูบริเวณที่ราบแต หางไกลแหลงน้ํา เชน ในเขตอําเภอโปงน้ํารอนและเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรีสําหรับพื้นที่ปลูกขาวมีประมาณ 45.0% อยูบริเวณที่ราบลุมตอนบนของลุมน้ํา เชน ที่หวยตะเคียน และหวยพรหมโหด พื้นที่การเกษตรที่เหลือ ทั่วไปใชปลูกไมผลไมยืนตน 2.3 ทรัพยากรน้ํา 2.3.1 น้ําบนดิน พื้นที่ยอย 2T ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยของ 2 ลุมน้ําหลักคือลุมน้ํากก และลุุมน้ําอิง เทากับ 5,200 ลาน ลบ.ม./ป และ 2,350 ลาน ลบ.ม./ปตามลําดับ พื้นที่ยอย 3T 5T-1 และ 5T-2 ปริมาณน้ําทาที่ไหลผานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีทั้งสิ้นประมาณ 61,513 ลานลบ.ม. ตอปโดยมาจาก ลุมน้ําประธาน 3 ลุมน้ํา ไดแก (1) ลุมน้ําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มี ปริมาณน้ําทาเฉลี่ย 30,769 ลานลูกบาศกเมตร ตอป (2) ลุุมน้ํามูล ปริมาณน้ําทา 19,500 ลาน ลุมน้ําชีปริมาณน้ํา ทาเฉลี่ย 11,244 ลานลูกบาศกเมตรตอปและ (3) ลูกบาศกเมตรตอป พื้นที่ยอย 9T พื้นที่ยอยในเขตลุมน้ําโตนเลสาบมีปริมาณน้ําทาตามธรรมชาติรายปเฉลี่ยทั้งหมด 2,394 ลานลบ.ม. โดย เปนปริมาณน้ําทาเฉลี่ยในชวงฤดูฝน คิดเปนรอยละ 83.65 ของปริมาณน้ําทารายปเฉลี่ย และคิด เปนปริมาณน้ําทา รายปเฉลี่ยตอหนวยพื้นที่รับน้ําฝนเทากับ 18.30 ลิตร/วินาที/ตร.กม.

31


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

2.3.2 น้ําใตดิน ทรัพยากรน้ําใตดินในพื้นที่ลุมน้ําโขงในประเทศไทยมีอยูมาก และมีการนํามาใชประโยชนโดยเฉพาะ เพื่อ การอุปโภค บริโภค และการอุตสาหกรรม อยูบางในหลายพื้นที่ ตัวอยางเชน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดมี การเจาะสํารวจเพื่อศึกษาปริมาณของน้ําใตดินที่สามารถนําเพื่อเปนแหลงน้ําดื่ม น้ําใชใหแกราษฎรในเขต ชนบท ตั้งแตป พ.ศ. 2495 โดยมีหลายหนวยงานรวมดําเนินงานทั้งที่เปนหนวยราชการและสถาบันนานาชาติ หลังจากนั้น กลาวคือ ตั้งแตป พ.ศ. 2498 เปนตนมา รัฐบาลไดสนับสนุนใหมีการพัฒนาแหลงน้ําใตดินมาใชเพื่ออุปโภคบริโภค ได อยางไรก็ตามการนําน้ําใตดินมาใชในระบบชลประทานยังอยูในขอบเขตจํากัด เนื่องจากมีศักยภาพในการพัฒนา คอนขางต่ํา ทั้งในดานของปริมาณและคุณภาพน้ํา 2.4 ทรัพยากรปาไม ทรัพยากรปาไมของลุมน้ําโขงในประเทศไทยมีคอนขางสมบูรณในพื้นที่ยอย 2T และ 9T แตเปนปญหา สําคัญของพื้นที่ยอย 3T และ 5T โดยรวม ปาไมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดลดลงอยางมากในชวงเวลา 4 ทศวรรษที่ผานมา กลาวคือ ในปพ.ศ. 2503 พื้นที่ปาไมในภาคนี้มีอยูถึง 44.3 ลานไร หรือรอยละ 42 ของพื้นที่ภาค แตไดลดลงเหลือเพียง 13.1 ลานไร ในปจจุบัน คิดเปนรอยละ 12.4 ของพื้นที่ภาคเทานั้น ทั้งนี้มาจากสาเหตุการ ลักลอบตัดไมและการถางปาบุกรุกพื้นที่เพื่อทําการเกษตร เปนสําคัญ 2.5 สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม สภาพสังคมของประชาชนสวนใหญที่อาศัยอยูในพื้นที่ลุมน้ําโขงของประเทศไทย เปนสังคมชนบทหรือ สังคมเกษตรกรรม อาศัยน้ําฝนตามธรรมชาติทําการเกษตรเปนสําคัญ โดยมากจะอยูรวมกันเปนกลุมตามหมูบาน ตางๆ มีความรักสงบและรักษาจารีตประเพณีดั้งเดิม แตเนื่องจากปญหาการขาดความรูความเขาใจที่เพียงพอ เกี่ยวกับการอนุรักษดินและน้ํา ประกอบสภาพทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดินและน้ําที่ไมเอื้ออํานวยตอการทํา การเกษตร (ดังที่กลาวถึงแลวเปนบางสวนขางตน) ทําใหพื้นที่ฯยังยากจนมากกวาพื้นที่อื่น ๆโดยทั่วไป พิจารณาขอมูลป พ.ศ. 2544 ของพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (พื้นที่ยอย 3T และ 5T) เปนตัวอยาง พบวา มีประชากรทั้งสิ้น 21.5 ลานคน ความหนาแนนคิดเปน 127.3 คนตอ ตร.กม. แบงเปนประชากรวัยเด็ก 5.5 ลานคน วัยแรงงานจํานวน 14.2 ลานคน และวัยสูงอายุ 1.8 ลานคน คิดเปนรอยละ 25.6, 66.0 และ 8.4 ของ ประชากรภาค ตามลําดับ รอยละ 83.2 ของประชากรทั้งหมด (17.9 ลานคน) อาศัยอยูในเขตชนบทในจํานวนนี้ เปนประชากรที่ถูกจัดวายากจนถึง 5.2 ลานคน คิดเปนรอยละ 24.2 ของประชากรในภาค พิจารณารายไดเฉลี่ยของ ชาวชนบทในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพียงประมาณ 5,000 บาท ตอคน ตอป (ขอมูลป พ.ศ. 2541) ซึ่งต่ํากวา รายไดเฉลี่ยของประเทศ ดานแรงงาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีกําลังแรงงาน ทั้งหมด 11.1 ลานคน ในจํานวนนี้รอยละ 61.3 (หรือ 6.8 ลานคน) ทํางานอยูในภาคการเกษตร การอพยพของแรงงานในชนบทเพื่อไปทํางานนอกภาค โดยเฉพาะ กรุงเทพฯ ยังคงมีมาก สวนใหญไปประกอบอาชีพที่ใชแรงงาน ทําใหเกิดปญหาชุมชนแออัดในเมืองและอื่นๆ การศึกษาของประชากรสวนใหญจบระดับประถมศึกษา โดยเฉพาะประชากรวัยแรงงานอยูในระบบ โรงเรียนเฉลี่ย เพียง 6.3 ป 32


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

เศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือขึ้นอยูกับการผลิต 4 สาขาหลัก ไดแก สาขาการเกษตร สาขา การคา อุตสาหกรรมและบริการ ขอมูลป พ.ศ. 2545 ระบุวา มูลคาผลผลิตภัณฑรวมของภาคจากทั้งสี่สาขาเปนดังนี้ สาขา การเกษตร 1.15 แสนลานบาท สาขาการคา 1.23 แสนลานบาท สาขาอุตสาหกรรม 1.05 แสนลานบาท และ สาขา บริการ 1.19 แสนลานบาท การผลิตภาคอุตสาหกรรมมาจากอุตสาหกรรมประเภทอาหารและเครื่องดื่ม รองลงมาเปนอุตสาหกรรม ประเภทเครื่องจักร อุปกรณขนสง และอุปกรณไฟฟา ตามลําดับ จํานวนโรงงานสวนใหญเปนโรงงานแปรรูปผลผลิต การเกษตรประเภทอาหารและเครื่องดื่ม อาทิ โรงสีขาว โรงงาน แปงมันสําปะหลังและมันอัดเม็ด กวยเตี๋ยวและ โรงงานน้ํ า ตาล เกื อ บทั้ ง หมดของโรงงานในภาคน้ํ า (97.7%) เป น โรงงานขนาดเล็ ก ที่ มี เ งิ น ลงทุ น ไม เ กิ น 10 ลานบาท โรงงานขนาดกลางที่มีเงินลงทุนไมเกิน 100 ลานบาท มีสัดสวนเพียง 2.1% ที่เหลือเปนโรงงานขนาดใหญ ที่มีเงิน ลงทุนเกิน 100 ลานบาท ซึ่งสวนใหญตั้งอยูในเขตจังหวัดนครราชสีมา ขอนแกน อุดรธานี อุบลราชธานี สุรินทร และรอยเอ็ด การคาชายแดนระหวางไทยกับ สปป.ลาวในปพ.ศ. 2545 มีจํานวน 19,006.6 ลานบาท แบงเปนมูลคา การสง ออกจํานวน 15,260.8 ลานบาท และนําเขาจํานวน 3,745.8 ลานบาท สินคาออกที่สําคัญ ไดแก สินคา อุปโภค บริโภค เครื่องใชไฟฟา น้ํามันเชื้อเพลิง รถยนต จักรยานยนต อะไหล และวัสดุกอสราง สําหรับสินคานําเขา ไดแก ไมแปรรูป สินแรโลหะและเศษโลหะ การคากับกัมพูชาผานทางดานจังหวัดสุรินทรและศรีสะเกษ มีมูลคา 315.5 ลานบาท (ขอมูลป 2545 เชนเดียวกัน) เปนการสงออก 295.0 ลานบาท และนําเขา 20.5 ลานบาท สินคาสงออกที่ สําคัญ ไดแก สินคา อุตสาหกรรม การเกษตร ยานพาหนะและอุปกรณ น้ํามันเชื้อเพลิง วัสดุกอสราง เครื่องดื่ม และ ของใชประจําวัน ด า นการท อ งเที่ ย วและบริ ก ารกล า วได ว  า มี ค วามสํา คั ญ มากยิ่ ง ขึ้ น เรื่ อ ยๆแหล ง ท อ งเที่ ย วของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือมีเอกลักษณเฉพาะตัว ไดแก การทองเที่ยวเกีย่ วกับอารยธรรมโบราณ เชน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินพนมรุง และบานเชียง เปนตน สวนแหลงทองเที่ยวดานธรรมชาติ ไดแก อุทยานแหงชาติเขาใหญ ภูหลวง ภูเรือ ภูกระดึง ดานศิลปวัฒนธรรม ไดแก ประเพณีแหเทียนพรรษา และบุญบั้งไฟ นอกจากนี้ยังสามารถเชื่อมโยง กั บ แหล ง ท อ งเที่ ย วของกลุ  ม ประเทศในอนุ ภ าคลุ  ม แม น้ํา โขง ข อ มู ล ป พ .ศ. 2544 ระบุ ว  ามี ผู ม าเยื อ น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือจํานวนถึง13.6 ลานคน แยกเปนนักทองเที่ยว 8.6 ลานคน และนักทัศนาจร 5 ลานคน ในจํานวนนี้เปนชาวตางประเทศ จํานวน 6.8 แสนคน คิดเปนรอยละ 5.0 ของผูมาเยี่ยมเยือน รายไดจากการทอง เที่ยวประมาณ 19,678 ลานบาท การขยายตัวของสาขาบริการ เปนผลมาจากการขยายตัวของการทองเที่ยวเปนสําคัญ ทําใหธุรกิจดาน โรงแรม ภัตตาคาร และการบริการอื่น ๆ ขยายตัวขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัดหลักของภาค เชน นครราชสีมา ขอนแกน อุดรธานี และอุบลราชธานี เปนตน

33


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

3.การบริหารจัดการลุมแมน้ําโขงตอนลางในสวนของประเทศไทยและคณะกรรมการลุมน้ํา 3.1 การบริหารจัดการระบบลุมน้ํา คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงไดกําหนดแผนงานในการดําเนินการ เพื่อนําไปสูผลสําเร็จตามเจตนารมณของ ความตกลงความรวมมือ ค.ศ. 1995 ดังนี้ 1.แผนพัฒนาลุมน้ํา (Basin Development Plan, BDP) เพื่อจัดทําเครื่องมือและกระบวนการวางแผน (Planning Process) ในการกําหนดกรอบกลยุทธและโครงการพัฒนาตางๆ ภายใตพื้นที่ลุมน้ํา 2.แผนงานการใชน้ํา (Water Utilization Programe, WUP) เพื่อจัดทํากฎเกณฑการใชน้ําระหวางประเทศ สมาชิก 3.แผนงานสิ่งแวดลอม (Environment Programme, EP) เพื่อติดตามประเมินระบบนิเวศของลุมน้ํา 4.แผนงานการจัดการอุทกภัย (Flood Management and Mitigation Programme, FMMP) เพื่อบริหาร จัดการและบรรเทาอุทกภัยในลุมน้ําโขง 5.แผนงานดานประมง (Fisheries Programme) 6.แผนงานดานการเกษตร (Agriculture Irrigation and Forestry Programme) การชลประทาน และการ ปาไม 7.แผนงานการเดินเรือ (Navigation Programme) 8.แผนงานการทองเที่ยว (Tourism Programme) 9.แผนงานการจัดการความแหงแลง (Drougth Management) 10.แผนงานไฟฟาพลังน้ํา (Hydropower Programme) 11.แผนงานดานพัฒนาบุคลากรแบบบูรณาการ (Intergrated Capacity Building Programme, ICBP) เพื่อ ปรับปรุงศักยภาพของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงใหสามารถปฏิบตั ิงานตามพันธกิจ

34


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

รูปที่ 1 การบริหารจัดการระบบลุมน้ําในสวนลุมแมน้ําโขงของประเทศไทย การบริหารจัดการระบบลุมน้ํ าในส วนลุ มแม น้ําโขงของประเทศไทย ได มีการดําเนินการคอ นขางเป น รูปธรรมชัดเจนโดยยึดกรอบขอตกลงวาดวยความรวมมือในการพัฒนาลุมแมน้ําโขงเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2538 มีการจัดทําระบบฐานขอมูลลุมน้ํา มีการจัดตั้งคณะทํางานภายใตกรอบความรวมมือคณะกรรมาธิการลุมแมน้ําโขง มีพื้นที่นํารองการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา สนับสนุนงบประมาณโดยคณะกรรมาธิการลุมแมน้ําโขงไดแก พื้นที่ 2T นํารองในลุมน้ําสาขาแมรองชาง พื้นที่ 3T นํารองในพื้นที่ลุมน้ําพุงและพื้นที่ 5T นํารองในลุมน้ําหวยสามหมอ โดยทั้ง 3 พื้นที่นํารองไดมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับอีก 3 ประเทศเมื่อประมาณเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 นี้ 3.2 องคกรและกฎหมาย 3.2.1 องคกร (การปฏิรูปองคกรในป พ.ศ. 2545) กอนการปฏิบัติระบบราชการเดือนตุลาคม พ.ศ.2545 ประเทศไทยมีองคกรทํางานเกี่ยวของกับการจัดการ ทรัพยากรน้ําในดานตางๆ มีจํานวนถึง 9 กระทรวง รวมทุกกระทรวงแลวประกอบดวยหนวยงานระดับกรมและ รัฐวิสาหกิจเปนจํานวนหลายสิบหนวยงานดวยกัน หากวิเคราะหในเชิงการปฏิบัติงานของแตละหนวยงานที่สังกัด ตางกระทรวงกันนั้น ยอมตางคนตางทําโดยไมมีหนวยงานใดรับผิดชอบกําหนดทิศทางการบริหารจัดการใหเปน เอกภาพรวมได ตัวอยาง เชน การจัดการน้ําเพื่ออุปโภคบริโภค ดวยระบบประปา และการขุดบอน้ําบาดาล มี หนวยงานในหลายกระทรวงดําเนินการถึง 14 หนวยงาน แตกลับปรากฏวา ประชาชนตามชนบทจํานวนมากก็ยัง ขาดแคลนน้ําอุปโภคบริโภคในหนาแลงอยูทั่วไป สวนเมื่อพิจารณาถึงภารกิจในการแกไขปญหาอุทกภัยน้ําทวม รุนแรงกลับยังไมมีหนวยงานใดทําหนาที่รับผิดชอบเปนเจาภาพอยางจริงจังใด ดังนั้น องคการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําที่มีอยูจํานวนมากมายไมสามารถทําหนาที่แกไขปญหาทรัพยากรน้ําที่มีใหสัมฤทธิ์ผลไดตามที่ควร

35


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ในปจจุบันหลักจากการปฏิรูประบบราชการเดือนตุลาคม พ.ศ.2545 องคกรทําหนาที่เกี่ยวของกับการ จัดการทรัพยากรน้ําในดานตางๆ ก็ไดมีการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมทําใหลดภารกิจที่ซ้ําซอนของกรมที่สังกัด กระทรวงตางๆ โดยเฉพาะการการจัดหาน้ําเพื่อการอุปโภคและบริโภคแตก็ยังคงมีกระทรวงหนวยงานที่ทํางาน เกี่ยวกับทรัพยากรน้ําซึ่งประกอบดวย หนวยงานระดับกรมและรัฐวิสาหกิจเปนจํานวนมากกวาสิบหนวยงานเชนกัน ดังแสดงในตารางที่ 1 หากวิเคราะหในเชิงปฏิบัติงานแลวคาดวาจะยังไมมีความสอดคลองและประสานการบริหาร จัดการอยางมีเอกภาพเทาที่ควร เนื่องจากอยูตางกระทรวงกัน นอกจากนั้น หลักจากที่พระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 ประกาศใชแลว ตาม พระราชบัญญัติกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 กําหนดให สวนราชการที่ทํางานเกี่ยวกับของกับการจัดการทรัพยากรน้ํา ตองถายโอนภารกิจในการจัดหาแหลงน้ําและงาน ซอมแซมปรับปรุงบํารุงรักษาใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินการ รูปแบบขององคกรที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการลุมน้ํา รูปแบบองคกรบริหารจัดการ ประกอบดวยหนวยงานในระดับตางๆ ดังแสดงในรูปที่ 2 แยก เปนองคกร ตางๆ ดังนี้

สัญลักษณ การกํากับดูแล การประสานงาน

รูปที่ 2 โครงสรางองคกรการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําของชาติ 1) องคกรในรูปแบบของระบบราชการ จากการประกาศการปฏิรูประบบราชการเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ไดมีการจัดตั้งกระทรวงใหม ใหมีหนาที่บริหารจัดการทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆ ที่เกี่ยวของ 36


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

กับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ประกอบดวยหนวยงานระดับกรมใน 9 กระทรวง กรุงเทพมหานคร สํานักงาน คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ และหนวยงานรัฐวิสาหกิจ ดังแสดงในตารางที่ 2 2) องคกรในรูปแบบของคณะกรรมการทําหนาที่การบริหารทรัพยากรน้ําของรัฐ การนําองคกรแบบ คณะกรรมการมาใช ใ นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า กล า วได ว า เป น ส ว นหนึ่ ง ของระบบประชาธิ ป ไตย คณะกรรมการประกอบดวยกลุมบุคคลซึ่งมีหนาที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําที่กําหนดขึ้นเพื่อใหดําเนินการบริหาร จัดการ การทํางานจะเปนการกระทําของกลุม มีการแลกเปลี่ยนความคิดระหวางกรรมการดวยกัน เปนรูปแบบที่ นํามาใชกันอยางกวางขวาง เมื่อมีการตั้งคณะกรรมการแลวควรกําหนดอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการใหชัดเจน คุ ณ ลั ก ษณะของแต บุ ค คลจะต อ งเป น ข อ พิ จ ารณาเบื้ อ งต น ฉะนั้ น เวลาเลื อ กกรรมการควรคํ า นึ ง ถึ ง หน า ที่ คณะกรรมการดวย ควรกําหนดวิธีพิจารณาเพื่อใหมีการปฏิบัติที่รวดเร็ว การเลือกหรือการแตงตั้งประธานให ถูกตอง คณะกรรมการทํ า งานภายใต ก ระบวนการกลุ ม การพิ จ ารณาและการตั ด สิ น ของกลุ ม ซึ่ ง กลุ ม จะ ประกอบดวย ประสบการณของบุคลากรอยางกวางขวาง มีความชํานาญ เกิดจากการแลกเปลี่ยนความคิด ซึ่งจะ นํา ไปสู ค วามเข าใจที่ ก ระจ าง กลุม สามารถหลี ก เหลี่ ย งการใช อํ า นาจของบุ ค คลเดีย วตั ด สิ น ใจในป ญ หาสํ า คั ญ คณะกรรมการจะประกอบดวยตัวแทนของกลุมที่มีสวนไดสวนเสียอยูในการพิจารณาปญหาตางๆ จะทําใหเกิด การเรียนรูรวมกันในกลุมน้ํากระตุนสมาชิกกลุมใหเกิดการมีสวนรวมมากขึ้น และขอสําคัญสามารถหลีกเหลี่ยง การปฏิ บัติ ก ารที่ ไม ต อ งการได เนื่องจากอิ ท ธิพ ลของกลุ ม กอ ใหเ กิ ดอํ า นาจและพลั ง ในการดํา เนิน การมากขึ้ น การดําเนินการในรูปแบบคณะกรรมการตองใชเวลาและคาใชจายสูง จึงตองมีการพิจารณาดําเนินการการจัดเตรียม งบประมาณใหเพียงพอ ตารางที่ 2 หนวยงานของรัฐที่มีหนาที่เกี่ยวของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา กระทรวง กรมทีท่ ํางานเกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 1.สํานักนายกรัฐมนตรี • สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ • สํานักงบประมาณ • สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน 2.กระทรวงเกษตรและสหกรณ • สํานักงานปลัดกระทรวง • สํานักฝนหลวงและการบินเกษตร • กรมชลประทาน • กรมประมง • กรมพัฒนาที่ดิน • กรมสงเสริมสหกรณ • กรมสงเสริมการเกษตร • สํางานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร 3.กระทรวงคมนาคม • กรมขนสงทางน้ําและพานิชยนาวี 37


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

กระทรวง 4.กระทรวงมหาดไทย

5.กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 6.กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม

7.กระทรวงอุตสาหกรรม 8.กระทรวงกลาโหม 9.กระทรวงพลังงาน 10.กรุงเทพมหานคร 11.สวนราชการอิสระ 12.รัฐวิสาหกิจ

กรมทีท่ ํางานเกี่ยวของกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา • กรมการปกครอง • กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย • กรมโยธาธิการและผังเมือง • กรมอุตุนิยมวิทยา • • • • • • • • • • • • • • •

สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม กรมควบคุมมลพิษ กรมทรัพยากรน้ํา กรมทรัพยากรน้ําบาดาล กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช กรมโรงงานอุตสาหกรรม หนวยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารสูงสุด กรมอุทกศาสตร กองทัพเรือ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน สํานักการระบายน้ํา สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย การประปานครหลวง การประปาสวนภูมิภาค การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย

สําหรับการแตงตั้งคณะทํางานลุมน้ําสาขา คณะทํางานระดับอําเภอ และคณะทํางานระดับตําบล จะเปน การสงเสริมการจัดตั้งองคกรจากระดับลางสุดคือระดับหมูบานขึ้นมาสูระดับสาขา ซึ่งองคประกอบขององคกรจะ ประกอบดวยสวนราชการ สวนการปกครองสวนทองถิ่น สวนประชาชน และสวนผูทรงคุณวุฒิหรือปราชญทองถิ่น หรือผูที่ไดรับการยอมรับจากชุมชน องคกรบริหารจัดการลุมน้ําในระดับตางๆ องคกรการบริหารจัดการน้ําแบงเปน 3 ระดับ คือ องคกรระดับชาติ องคกรระดับลุมน้ํา และองคกรระดับ พื้นที่ (รูปที่ 2) รวมจํานวนองคกรในระดับลุมน้ําและระดับพื้นที่ใน 25 ลุมน้ํา ดังนี้ 1) องคกรระดับชาติ ไดแก คณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ (กทช.) 1 คณะ จํานวน 35 คน เปน องคกรระดับชาติที่จัดตั้งขึ้นตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 มีนายกรัฐมนตรีเปนประธานและบุคคลซึ่งนายกรัฐมนตรีแตงตั้งเปนกรรมการประกอบดวย นายกรัฐมนตรี 1 คน ที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายใหเปนประธานกรรมการ รัฐมนตรี ปลัดกระทรวง อธิบดี หัวหนาสวนรัฐวิสาหกิจ 38


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

ผูแทนองคกร ผูใชน้ําภาคสวนตางๆ นักวิชาการ ผูทรงคุณวุฒิ ผูแทนองคกรพัฒนาเอกชน ฯลฯ โดยมีอธิบดีกรม ทรัพยากรน้ําเปนกรรมการและเลขานุการ รองอธิบดีกรมทรัพยากรน้ําที่ไดรับมอบหมาย และผูอํานวยการสํานัก นโยบายและแผนทรัพยากรน้ําเปนผูชวยเลขานุการ 2) องคกรระดับลุมน้ํา ไดแก คณะกรรมการลุมน้ํา รวม 25 คณะ และคณะกรรมการลุมน้ําดานวิชาการ ดังนี้ (1) คณะกรรมการลุ ม น้ํ า ประกอบด ว ย 2 ส ว นหลั ก คื อ ภาคราชการและภาคเอกชน ซึ่ ง มี สั ด ส ว นที่ ใกลเคียงกัน • ผูแทนภาคสวนราชการที่เกีย่ วของในพื้นทีล่ ุมน้ําตามความจําเปนและเหมาะสม ไดแก • ขาราชการ และผูแทนรัฐวิสาหกิจ • ผูแทนภาคประชาชน ไดแก ผูแ ทนผูใชน้ําภาคเกษตรกรรม ผูแทนผูใชน้ําภาคอุตสาหกรรม/ธุรกิจ/ การทองเที่ยวและบริหาร ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิน่ (อบจ./อบต./เทศบาล) ผูแทน สถาบันการศึกษา/ผูทรงคุณวุฒิดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ผูแทนองคกรประชาชน/ องคกรพัฒนาเอกชน (NGOs) และผูแทนสถาบันการศึกษาในพื้นที่ลุมน้ํา (2) คณะกรรมการลุมน้ําดานวิชาการ คือ บุคคลที่คณะกรรมการลุมน้ําไดแตงตั้งขึ้นมาเพื่อหนาที่เฉพาะ ดานอาจจะมาจากกรรมการลุมน้ํา หรือจากบุคคลอื่นที่คณะกรรมการลุมน้ําเห็นเหมาะสม แตจะตองมี ผูแทนเกษตรกรระดับอําเภอเขามาเปนคณะทํางานแตละดาน ซึ่งคณะทํางานเฉพาะดาน ประกอบดวย คณะทํางานดานแผนบูรณาการลุมน้ํา ดานขอมูล และด านประชาสัม พันธและการมีสวนรวมของ ประชาชน หรือดานอื่นๆ ตามความจําเปน 3) องค ก ระดั บ พื้ น ที่ ได แ ก คณะกรรมการลุ ม น้ํ า ระดั บ จั ง หวั ด คณะทํ า งานระดั บ ลุ ม น้ํ า สาขา ซึ่ ง คณะทํางานระดับจังหวัด ระดับลุมน้ําสาขา ประกอบดวย ผูแทนหนวยราชการ ผูแทนกลุมผูใชน้ําภาคสวนตางๆ ไดแก ภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พานิชยกรรม การทองเที่ยว ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อบจ./อบต./ เทศบาล) ผูแทนสถาบันการศึกษา/ผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ องคกรพัฒนาเอกชนที่ไดรับการคัดสรรและแตงตั้งจาก คณะกรรมการลุมน้ําในจํานวนที่เหมาะสม ทั้งนี้ องคกรการบริหารจัดการลุมน้ํา โดยภาพรวมของทั้ง 25 ลุมน้ําจะมีความเชื่อมโยงกับกลุมเครือขาย ตางๆ ในชุมชน เชน กลุมเครือขายดูแลอนุรักษทรัพยากรน้ําระดับหมูบาน กลุมเครือขายเยาวชน นักเรียน กลุม เครือขายผูใชน้ําในโครงการตางๆ และกลุมเครือขายองคกรภาคประชาชน ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุมองคกรผูใชน้ําใน โครงการตางๆ และกลุมเครือขายองคกรภาคประชาชน ซึ่งสวนใหญจะเปนกลุมองคกรผูใชน้ํา โดยแบงออกเปนสอง ประเภท คือ องคกรผูใชน้ําที่ไมมีสภาพนิติบุคคล และองคกรผูใชน้ําที่มีสภาพนิติบุคคล กลาวคือ • องคกรผูใชน้ําที่ไมมีสภาพนิติบุคคลนั้น ไมสามารถดําเนินกิจกรรมตางๆ ในนามตนเองเวนแตสมาชิก ขององคกรจะดําเนินการเปนสวนตัว

39


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

• องคกรผูใชน้ําที่มีสภาพนิติบุคคลนั้น ยอมสามารถดําเนินการตางๆ ไดในนามตนเองพรอมทั้งมีสิทธิ หนาที่และความรับผิดชอบของตนเองแยกตางหากจากสมาชิก องคกรผูใชน้ําดังกลาวอาจถูกตั้งขึ้นใน รูปแบบตางๆ ขึ้นอยูกับผูใชน้ําจะเห็นวารูปแบบใดเหมาะสมกับกลุมตนเอง บทบาทและอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการลุมน้ํา คณะทํางานระดับพื้นที่ คณะกรรมการลุมน้ํา คณะทํางานระดับพื้นที่มีบทบาทอํานาจหนาที่ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา ดวยการบริหารทรัพยากรน้ํา พ.ศ.2550 ดังนี้ (1) เสนอความเห็นตอ กทช. เกี่ยวกับการกําหนดนโยบายแผนงาน โครงการและแนวทางแกไขปญหาและ อุปสรรคในการพัฒนา การใช การอนุรักษ และการดําเนินการอื่นใดอันจําเปนเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากร น้ํา รวมทั้งการดําเนินงานใดๆ ของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของในพื้นที่ลุมน้ํา (2) จัดทําแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา (3) ประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการของสวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของในพื้นที่ลุมน้ําใหเปนไปตาม แผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา (4) ใหความเห็นชอบแผนงานงบประมาณในเชิงบูรณาการ “การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําทั้งระบบ” พิจารณาจัดลําดับความสําคัญพรอมกําหนดปริมาณการใชน้ําและมาตรการเพื่อใหการจัดสรรน้ําดําเนินไปโดยความ เหมาะสมเปนธรรมและมีประสิทธิภาพ (5) ติดตามและประเมินผล การปฏิบัติงานของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา (6) ขอเอกสารขอมูลและขอเท็จจริงตางๆ เกี่ยวกับทรัพยากรน้ําเพื่อรวบรวมสถิติ ขอมูล ความคิดเห็น ขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา การพัฒนาและอนุรักษแหลงน้ํา การปองกัน แกไขการ ขาดแคลนน้ํา ปญหาน้ําทวม และการดูแลแกไขคุณภาพน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา 3.2.2. กฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวของกับดานทรัพยากรน้ําทั้งดานการใชและอนุรักษทรัพยากรน้ํามีอยูอยางกระจัดกระจาย กฎหมายบางฉบับเกี่ยวของกับเรื่อ งน้ําโดยตรง แตบางฉบับไมคอยเกี่ยวของมากนัก จึงทําใหเกิดปญหาและ อุปสรรคทางกฎหมาย เปนเหตุใหการจัดการทรัพยากรน้ําไมบรรลุความสําเร็จตามเปาหมายเทาที่ควร นอกจากนั้น การที่มีหนวยงานจํานวนมากทํางานเกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําหนวยตางๆ ก็จะมีกฎหมายที่ใหอํานาจในการ ดําเนินงานไวมีสภาพแตกตางกันบาง คลายกันบางอยูในกฎหมายตางฉบับกัน ซึ่งการบังคับใชกฎหมายและวิธีการ ปฏิบัติอาจมีความแตกตาง อีกทั้งกฎหมายบางฉบับใชมานาน ขาดการพิจารณาปรับปรุงแกไขทําใหมีความทันสมัย เหมาะสมกับสภาพแวดลอมขอเท็จจริงที่เปลี่ยนแปลงไปอยางมากในปจจุบัน และที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต กฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําในปจจุบัน พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําสามารถแยกออกไดวา เปนกฎหมายทั่วไปและ กฎหมายเฉพาะ ดังแสดงในตารางที่ 2 และสามารถจําแนกตามกิจกรรมหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ได ดังนี้ • การพัฒนาและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา • การจัดสรรทรัพยากรน้ํา 40


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

• การปองกันแกไขปญหาอุทกภัย • การปองกันและแกไขปญหามลพิษทางน้ํา จากการที่มีหนวยงานจํานวนมากทํางานเกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําและมีอํานาจในการดําเนินงานในสภาพ ที่คลายคลึงกันบางแตกตางกันบาง อยูในกฎหมายตางฉบับกัน ทําใหมีการบังคับใชกฎหมายและวิธีการปฏิบัติอาจ มีความแตกตางกัน กอใหเกิดปญหาในทางปฏิบัติ อีกทั้งกฎหมายบางฉบับใชมานานไมมีความทันสมัยและไม สอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปอยางมากในปจจุบัน กอใหเกิดปญหาในความเทาเทียมและเสมอภาคใน สังคม ทําใหจําเปนตองมีการปรับปรุงกฎหมายที่มีอยูใหมีความสอดคลองกัน กฎหมายที่มีอยูไมครอบคลุมใหมีการจัดการน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพ กฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําในปจจุบันมีหลายฉบับ และกลาวถึงทรัพยากรน้ําในหลายประเด็นไดกลาว แลว ประเด็นสําคัญที่มีอยูในหลายกฎหมาย และยังไมครอบคลุมใหการจัดการน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดแก (1) สิทธิในการใชน้ํา น้ําที่อยูในแมน้ําลําคลองทั่วไปนั้นเปนสาธารณสมบัติของแผนดินประเภทหนึ่งเพราะ น้ําที่อยูในทางน้ํายอมมีไวสําหรับพลเมืองใชรวมกัน ผลทางกฎหมายที่ตามมาก็คือทุกคนมีสิทธิใชน้ําในแมน้ํา ลําคลองทั่วไป ไมมีความแตกตางกันวาเปน ผูใชน้ําภาคเอกชน หนวยราชการ หนวยงานของรัฐไมมีอํานาจในการ สั่งหามมิใหประชาชนใชน้ําจากทางน้ํา เพราะทุกคนมีสิทธิในการใชน้ําเทาเทียมกัน เพราะขณะที่มีการตรากฎหมาย นั้น ประชากรมีจํานวนไมมาก น้ํามีปริมาณเหลือใชไมตองควบคุมการใชน้ําอยางเขมงวดนัก (2) มลพิ ษ ทางน้ํ า ป ญ หามลพิ ษ ทางน้ํ า มิ ไ ด อ ยู ใ นความรั บ ผิ ด ชอบของกรมควบคุ ม มลพิ ษ กระทรวง ทรัพยากรน้ําธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพียงหนวยงานเดียว มีหลายหนวยงานที่เกี่ยวของในทางปฏิบัตินั้นเมื่อ ปญหาใดอยูในความรับผิดชอบของหลายหนวยงาน มีแนวโนมวาปญหานั้นมิไดรับการแกไขอยางทันการณและ เหมาะสม เพราะคิดวาหนวยงานของตนเองมิใชผูรับผิดชอบหลัก (3) องคกร ในอดีตกอนการปฏิรูประบบราชการเมื่อป พ.ศ.2545 มีหนวยงานระดับชาติหลายหนวยงานที่ มีอํานาจหนาที่เกี่ยวของกับการพัฒนา การบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา แตในปจจุบันลดลงในสวนที่ เกี่ยวของกับการพัฒนา การบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรน้ํา แตในปจจุบันลดลงในสวนที่จะเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําจะมีเฉพาะในสวนขององคกรเพื่อการบริหารจัดการ ไดแก คณะกรรมการทรัพยากรน้ํา แหงชาติ คณะกรรมการลุมน้ํา คณะกรรมการลุมน้ํายอย โดยจะกําหนดใหในเรื่องขององคประกอบและอํานาจหนาที่ (4) การปองกันน้ําทวม โดยปกติการดําเนินการปองกันน้ําทวม ดําเนินการโดยหนวยงานทั้งสวนกลางและ สวนทองถิ่น โดยอาศัยมาตรการตามที่ตนเองเห็นสมควร เชน การสรางคันกั้นน้ําเขาสูพื้นที่ การขุดขยายคลองเพิ่ม การระบายน้ํา แตสิ่งที่เปนปญหา คือ การประสานงานของหนวยงานตางๆ ในการปองกันน้ําทวม เนื่องจากไมมี หนวยงานใดรับชอบโดยตรง ดังนั้นควรจะมีการมอบหมายใหหนวยงาน เชน กรมชลประทาน หรือกรมทรัพยากร น้ํารับผิดชอบและเปนหนวยงานในการประสานงาน (5) การพัฒนาอนุรักษแหลงน้ํา มีกฎหมายหลายฉบับและอยูในความรับผิดชอบของหลายหนวยงาน แมวาจะมีกฎหมายหลายฉบับที่เกี่ยวกับการพัฒนาและอนุรักษแหลงน้ํา แตมิได หมายความวา การพัฒนาแหลงน้ํา จะดําเนินการไปอยางเหมาะสมและแหลงน้ําจะไดรับการคุมครองอยางพอเพียงเสมอไป ดวยเหตุนี้จึงตองมีปรับปรุง กฎหมายและองคกรที่เกี่ยวของกับการพัฒนาและอนุรักษแหลงน้ําใหมีความสอดคลองกันในดานบทบาทหนาที่ใน การพัฒนาเพื่อใหมีการอนุรักษแหลงน้ําไดอยางมีประสิทธิผล (6) ปรับปรุงแกไข กฎหมายที่เกี่ยวของทรัพยากรน้ําใหสอดคลองกับพระราชบัญญัติทรัพยากรน้ํา 41


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ํา ลําดับ กฎหมาย วัตถุประสงคที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา 1 พ.ร.บ.รักษาคลอง ร.ศ.121 - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การใชน้ําเพื่อการเกษตร - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม - การควบคุมมลพิษทางน้ํา 2 พ.ร.บ.สําหรับกําจัดผักตบชวา - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค พ.ศ.2456 - การควบคุมมลพิษทางน้ํา 3 พ.ร.บ.การเดินเรือในนานน้ําไทย - การปองกันอุทกภัย พ.ศ.2456 - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม 4 พ.ร.บ.ลั ก ษณะการปกครอง - การควบคุมมลพิษทางน้ํา ทองที่พ.ศ.2457 - การปองกันอุทกภัย - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การอนุรักษพันธุสัตวน้ํา 5 พ.ร.บ.เรือไทย พ.ศ.2481 - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม 6 7

8

9

10 11

12

- การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การใชน้ําเพื่อการเกษตร - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การใชน้ําเพื่อการเกษตร - การใชน้ําเพื่อการผลิตพลังงาน - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม - การควบคุมมลพิษทางน้ํา โดยทั่วไปและภาคอุตสาหกรรม พ.ร.บ.การประมง พ.ศ.2490 - การใชน้ําเพื่อการประมง - การรักษาปริมาณน้ํา - การรักษาสิ่งแวดลอมทางน้ํา - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม พ.ร.บ.การท า เรื อ แห ง ประเทศ - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม ไทยพ.ศ.2494 โดยเฉพาะการจราจรและ การขนสงในทองที่เฉพาะ พ.ร.บ.สุขาภิบาล พ.ศ.2495 - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 - การใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม พ.ร.บ.การชลประทานราษฎร พ.ศ.2482 พ.ร.บ.การชลประทานหลวง พ.ศ.2485

ประกาศของคณะปฏิ วั ติ ฉ บั บ ที่ - การใชน้ําเพื่อการคมนาคม 42

พื้นที่บังคับใช ทางน้ํ า ลํ า คลอง ลํ า คู ทั่วไป

ทางน้ํา ลําคลอง ทั่วไป นานน้ําไทย คลอง แมน้ํา บึง อางเก็บน้ํา ทะเลสาบ หมูบาน ตําบล อําเภอ

นานน้ําไทย เขตพื้นที่ชลประทาน ทางน้ํา แหลงน้ําที่ราษฎร จัดทําขึ้น เขตพื้นที่ชลประทาน

แมน้ํา ลําคลองทั่วไป

เขตการทาเรือ

เขตสุขาภิบาล เทศบาล (เทศบาลตํ าบล เทศบาลเมื อ ง เทศบาล นคร) แมน้ําลําคลอง


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

ลําดับ 13 14 15

กฎหมาย 68 เรื่องการควบคุมการจอดเรือ พ.ร.บ.อุ ท ยานแห ง ชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ.คันและคูน้ํา พ.ศ.2505 พ.ร.บ.ป า สงวนแห ง ชาติ พ.ศ. 2507

วัตถุประสงคที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา - การรักษาสิ่งแวดลอมทางน้ํา - การควบคุมมลพิษทางน้ํา - การใชน้ําเพื่อการเกษตร - การรักษาสิ่งแวดลอมทางน้ํา

พื้นที่บังคับใช เขตอุทยานแหงชาติ คันคูน้ํา เขตปาสงวนแหงชาติ

บทสรุป การบริหารจัดการระบบลุมน้ําเปนสวนหนึ่งการพัฒนาอยางยั่งยืน โดยยึดหลักความสัมพันธของมนุษยกับ ระบบนิเวศวิทยา ทั้งสองสวนนี้จะตองสงเสริมกันและกันโดยใชแนวทางความยังยืนเปนตัวกําหนด วัตถุประสงค การจัดการระบบลุมน้ํา เพื่อใหไดน้ําปริมาณที่เหมาะสม มีคุณภาพดีและมีระยะเวลาในการไหลตลอดทั้งปอยาง สม่ําเสมอ รวมทั้งสามารถควบคุมเสถียรภาพของดินและการใชทรัพยากรอื่นฯในพื้นที่นั้นดวย มีการประกาศเขต การใชประโยชนที่ดิน ใหมีเขตกิจกรรม เขตพัฒนาและเขตที่ตองสงวน โดยอาศัยมาตรการกําหนดชั้นคุณภาพ ลุมน้ําที่วางอยูบนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร การดําเนินการตองจัดการใหมีน้ําใชตลอดเวลา โดยมีปริมาณ คุณภาพ และชวงเวลาการไหลเหมาะสม การบริหารจัดการระบบลุมน้ําเปนการบริหารจัดการเพื่อใหมนุษยอยูรวมกันไดกับสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ดังนั้นรัฐบาลซึ่งเปนผูบริหารประเทศจะตองกําหนดเปนนโยบายโดยมีกฎหมายคอยควบคุมและกํากับ มีกลไกใน การบริหารจัดการ มีคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ ซึ่งจะเปนหนวยงานคอยควบคุมและกําหนดนโยบาย ระดับประเทศ มีคณะกรรมการลุมน้ํา 25 คณะคอยดูแลกํากับลุมน้ําของตนเอง นอกจากนี้ยังตองมีคณะอนุกรรมการ ลุมน้ํา คณะทํางานลุมน้ําสาขา คณะทํางานอื่นๆ และกลุมเครือขายตางๆ ตามความเหมาะสมของแตละลุมน้ํา จึงจะ สามารถบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําได ปจจุบันประเทศไทยยังประสบปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําในดานตางๆ ไมวาจะเปนปญหาขาดแคลนน้ํา ปญหาน้ําทวมและปญหาน้ําเสีย ลวนแตเปนปญหาที่สรางความเสียหายและสงผลกระทบตอระบบเศรษฐกิจและ วิถีชีวิตของประชาชนเปนอยางมาก ในการพิจารณาแกไขปญหาดังกลาวไดแบงพื้นที่ประเทศไทยออกเปน 25 ลุมน้ําหลักและ 254 ลุมน้ําสาขา 5,000 ลุมน้ําสาขายอย คิดพื้นที่ลุมน้ํารวมทั้งประเทศประมาณ 514,017 ตร.กม. ซึ่งเปนพื้นที่ที่มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยตลอดทั้งปประมาณ 1,573 มม. คิดเปนปริมาณน้ําฝนรวมในแตละป 775,539 ลาน ลบ.ม. โดยปริมาณน้ําทาหรือน้ําที่ไหลตามแมน้ําลําคลองเฉลี่ยตอป 213,353 ลาน ลบ.ม. เฉลี่ย ตอคนตอปเทากับ 3,457 ลบ.ม. สําหรับพื้นที่ลุมแมน้ําโขงที่อยูในสวนประเทศไทยมีทั้งหมด 188,645 ตร.กม. สามารถแบงพื้นที่ออกเปน 3 สวนไดแก สวนที่หนึ่งอยูในภาคเหนือเรียกพื้นที่ยอย 2T ครอบคลุมพื้นที่ลุมน้ํากก สวนหนึ่งของพื้นที่ลุมน้ําอิง และลุมน้ําโขงภาคเหนือ มีพื้นที่ประมาณ 18,859 ตร.กม. สวนที่สองอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแกพื้นที่ ยอย 3T อยูในเขตลุมน้ําโขงอีสานมีพื้นที่รวมกัน 46,460 ตร.กม. และพื้นที่ยอย 5T อยูในเขตลุมน้ําชีและลุมน้ํา 43


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

มูล โดยลุมน้ําชีมีพื้นที่ 49,476 ตร.กม. ลุมน้ํามูลมีพื้นที่ 69,700 ตร.กม. และสวนที่สามในภาคตะวันออกไดแก พื้นที่ยอย 9T อยูในเขตลุมน้ําโตนเลสาบมีพื้นที่ประมาณ 4,150 ตร.กม. การบริหารจัดการระบบลุมน้ําในสวนลุมน้ําโขงของประเทศไทย ไดมีการดําเนินการคอนขางเปนรูปธรรม โดยยึดกรอบขอตกลงวาดวยความรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําแมโขงเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2538 มีการจัดทํา ระบบฐานข อ มู ล ลุ ม น้ํ า มี ก ารจั ด ตั้ ง คณะทํ า งานภายใต ก รอบความร ว มมื อ คณะกรรมาธิ ก ารลุ ม แม น้ํ า โขงซึ่ ง คณะทํางานดังกลาวแตงตั้งโดยคณะกรรมการลุมน้ําตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2550 มีพื้นที่นํารองการบริหารจัดการระบบลุมน้ํา แตการบริหารจัดการระบบลุมน้ําก็มี อุปสรรคหลายอยางที่จะตองรีบแกไขเชนการออกพ.ร.บ.น้ําหรือกฎหมายน้ําเพื่อใหเปนเครื่องมือกลไกในการบริหาร จัดการในระบบลุมน้ํา การพัฒนาระบบฐานขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอและเปนที่ยอมรับของทุกหนวยงาน การเพิ่ม ศักยภาพคณะกรรมการลุมน้ํา คณะอนุกรรมการลุมน้ํา คณะทํางานลุมน้ําและเครือขายตางๆจะตองดําเนินการอยาง เขมขนและตอเนื่อง รัฐบาลตองสนับสนุนงบประมาณใหเพียงพอ องคกรลุมน้ําจะตองมีสวนรวมในการคิด กําหนด นโยบายและกําหนดโครงการในทุกขั้นตอน สวนราชการจะตองยอมรับประชาชนในพื้นที่เปนผูที่มีสวนไดสวนเสียที่ แทจริงไมใชมีแตสวนราชการเหมือนในอดีต

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรน้ํา, 2546. บันทึกกาวแรก พ.ศ. 2546. กรุงเทพฯ: บริษัท ดาวฤกษ จํากัด. กรมทรัพยากรน้ํา, 2547. การศึกษาศักยภาพของคณะทํางานในกรอบการพัฒนาลุมน้ําโขง ของประเทศไทยภายใตแผนงาน BDP. คณะทํางานภายใตกรอบความรวมมือลุมแมน้ําโขง, 2547. รายงานการศึกษาและวิเคราะหพื้นที่ยอย 2T. คณะอนุกรรมการลุมน้ําโขงสวนที่ 1 และ กก. คณะทํางานภายใตกรอบความรวมมือลุมแมน้ําโขง, 2547. รายงานการศึกษาและวิเคราะหพื้นที่ยอย 3T-1. คณะอนุกรรมการลุมน้ําโขงสวนที่ 2. คณะทํางานภายใตกรอบความรวมมือลุมแมน้ําโขง, 2547. รายงานการศึกษาและวิเคราะหพื้นที่ยอย 3T-2. คณะอนุกรรมการลุมน้ําโขงสวนที่ 3. คณะทํางานภายใตกรอบความรวมมือลุมแมน้ําโขง, 2547. รายงานการศึกษาและวิเคราะหพื้นที่ยอย 5T. คณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนลาง และมูลตอนลาง. ประสิทธิ์ หวานเสร็จ, 2552. ประสิทธิภาพการจัดการน้ําโขงในสวนของประเทศไทยและคณะกรรมการลุม น้ํา. ขอนแกน: สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4. 44


การบริหารจัดการระบบลุ่มน้ํา / ประสิทธิ์ หวานเสร็จ

ศิริพงศ หังสพฤกษ และคณะ, 2550. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ.2550. กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรน้ํา. สํานักสงเสริมและประสานมวลชน, 2546. กรมทรัพยากรน้ํากับการบริหารจัดการน้ําของประเทศไทย. สํานักสงเสริมและประสานมวลชน, 2551. การบริหารจัดการลุมน้ํา. สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย, 2547. ระดับประเทศ. กรุงเทพฯ: กรมทรัพยากรน้ํา.

45

รายงานภาพรวมสาขาการพัฒนาใน


บทที่ 5 การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงและศักยภาพ การพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉวี วงศประสิทธิพร สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน

บทคัดยอ พื้น ที่ อี ส านมี พื้ น ที่ ร าบทํ า การเกษตรประมาณเกื อ บครึ่ ง ของพื้ น ที่ เ กษตรของประเทศ และมี จํ า นวน ประชากรมากถึงประมาณ 37% ของจํานวนประชากรของประเทศไทย พื้นที่อีสานจึงมีศักยภาพดานการเกษตรสูง ทั้งในดานทรัพยากรที่ดินและมนุษย อยางไรก็ตาม การพัฒนาเกษตรกรรมมีขอจํากัดในดานปริมาณน้ํา แมวาพื้นที่ อีสานจะมีปริมาณฝนตกอยูในเกณฑเฉลี่ยของประเทศ แตก็มีปญหาฝนกระจายในพื้นที่ไมสม่ําเสมอ เกิดปญหาฝน ตกน อ ยและฝนทิ้ ง ช ว งนานในพื้ น ที่ ต น น้ํ าชี แ ละต น น้ํ า มู ล ซึ่ ง เป น พื้ น ที่ ที่ มี ภู มิ ป ระเทศเป น แหล ง เก็ บ กั ก น้ํ า และ ประชากรอยูอาศัยเปนจํานวนมาก ทําใหพื้นที่ดังกลาวกลายเปนพื้นที่วิกฤติเสี่ยงภัยแลง ดวยเหตุที่มีภูมิประเทศ ที่แบนราบทําใหขาดแหลงเก็บกักน้ํา ทําใหในฤดูฝนมีปญหาน้ําทวมหลาก และในฤดูแลงมีปญหาขาดแคลนน้ํา ทั่วไปในพื้นที่ เกษตรกรสามารถทําการเกษตรไดเฉพาะในฤดูฝน และปญหาฝนทิ้งชวงทําใหผลผลิตเกษตรตกต่ํา จะเห็นวารายไดเกษตรกรในอีสานอยูที่ระดับประมาณครึ่งหนึ่งของรายไดเฉลี่ยของประเทศเทานั้น ขณะที่เมื่อ เปรียบเทียบแลว พื้นที่เกษตรชลประทานจะมีผลผลิตขาวสูงกวาพื้นที่เกษตรน้ําฝนประมาณ 1.8-2 เทา ดังนั้นหาก มีการพัฒนาเกษตรน้ําฝนซึ่งมักประสบปญหาฝนทิ้งชวงใหกลายเปนพื้นที่เกษตรชลประทานมากขึ้น จะเปนการเพิ่ม ผลผลิตตอพื้นที่ไดมากขึ้นและลดความเสี่ยงของเกษตรกร ในปจจุบันพื้นที่เกษตรชลประทานในลุมน้ําชีและมูลได พัฒนาแลวประมาณ 10% (4.68 ลานไร) ของพื้นที่เกษตร จึงมีความจําเปนตองเรงรัดพัฒนาชลประทานในอีสานให มากขึ้น เพื่อยกระดับรายไดและลดปญหาชองวางระหวางรายได กรมชลประทานจึงไดศึกษาจัดทําแผนแมบทพัฒนาลุมน้ําชีและมูลโดยพิจารณาใชยุทธศาสตรที่เขมขนเพื่อ พัฒนาแหลงน้ําภายในลุมน้ําชีมูลใหไดเต็มศักยภาพสูงสุด ผลการศึกษาพบวาสามารถพัฒนาพื้นที่ชลประทานโดย ใชน้ําภายในลุมน้ําชีมูลไดอีกประมาณ 5.82 ลานไร รวมพื้นที่ชลประทานปจจุบันและอนาคตภายใตการพัฒนา ภายในลุมน้ําชีมูลประมาณ 10.5 ลานไร ( 25% ของพื้นที่เกษตร) ยังคงเหลือพื้นที่ 75% ที่ยังคงเปนพื้นที่เกษตร น้ําฝนที่ยังมีความเสี่ยงการขาดน้ําในชวงฝนทิ้งชวง จึงจําเปนตองพิจารณาแหลงน้ําอื่นเพิ่มเติม จึงไดพิจารณา ยุทธศาสตรพัฒนาน้ําระหวางประเทศเปนยุทธศาสตรเพิ่มเติม ในอดีตไดมีการศึกษาแนวทางผันน้ําโขงเปนน้ํา ตนทุนเขามาพัฒนาพื้นที่อีสานไวหลายรูปแบบซึ่งโดยมากเปนการสูบน้ําโขงเปนน้ําตนทุน อีกทั้งการกระจายน้ําเขา สูพื้นที่ชลประทานโดยมากเปนการสูบน้ํา ดวยขอจํากัดของคาพลังงานในการสูบน้ําซึ่งมีราคาสูงขึ้นเรื่อยๆ จึง จําเปนตองพิจารณาแนวทางที่ประหยัดพลังงานในการผันน้ําโขง กรมชลประทานไดรับเรื่องเสนอแนวความคิดเบื้องตนในการผันน้ําโขงดวยแรงโนมถวงจากมูลนิธิน้ําและ คุณภาพชีวิตในการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงที่ปากน้ําเลย จึงไดทําการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตนพบวามี ความเปนไปไดทางวิศวกรรมและมีความคุมทุนในการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงที่ปากน้ําเลยผานอุโมงคมายังตน น้ําชี และสามารถพัฒนาระบบชลประทานทั้งแบบสงน้ําดวยแรงโนมถวงและสูบน้ําใหพื้นที่ลุมน้ําชีมูลทั้งตอนตนถึง


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

ตอนทายของลุมน้ํา คาดวาจะสามารถพัฒนาพื้นที่ชลประทานในลุมน้ําชีและมูลไดประมาณ 15-18 ลานไร รวมพื้นที่ ชลประทานทั้งหมดที่จะพัฒนาไดประมาณ 68% โดยการผันน้ําโขงนี้นอกจากจะเปนการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวง แลว ยังสามารถกระจายน้ําโขงเขาสูพื้นที่ชลประทานโดยแรงโนมถวงผานคลองชลประทานที่ขุดขึ้นใหม ซึ่งโดย ปกติในอีสานมีขอจํากัดในการพัฒนาพื้นที่ชลประทานแบบแรงโนมถวง เนื่องจากพื้นที่แบนราบทําใหสวนมากตอง พัฒนาเปนระบบชลประทานแบบสูบน้ําเปนสวนใหญ ในประเด็นการใชน้ําโขงและประเทศเพื่อนบานนั้น ปจจุบันประเทศไทยยังมีสัดสวนการนําน้ําโขงมาใช ประโยชนนอยเมื่อเทียบกับปริมาณน้ําทาในไทยที่ไหลลงแมน้ําโขงและเมื่อเทียบการใชน้ําโขงของประเทศเพื่อน บาน ตามขอตกลงในการใชน้ํารวมกัน 4 ประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง การนําน้ําโขงมาใชเพื่อใชประโยชนในลุม น้ําโขงนั้นจะเปนการแจงใหทราบหรือหารือลวงหนาทั้งนี้ขึ้นกับใชน้ําโขงจากแมน้ําโขงโดยตรง หรือใชผานลําน้ํา สาขา และขึ้นกับฤดูกาล จึงไมใชขอจํากัดหรือขอหามในการนําน้ําโขงมาใชประโยชน แตเปนการสงเสริมใหพัฒนา ใชประโยชนอยางเปนธรรมและยั่งยืน สวนการพัฒนาเขื่อนในตนน้ําโขงของประเทศจีนนั้นเปนการพัฒนาเพื่อผลิต กระแสไฟฟา ซึ่งจะเก็บกักน้ําในฤดูฝนและระบายน้ํามาผลิตกระแสไฟฟาตลอดทั้งป มีผลทําใหอัตราการไหลใน แมน้ําโขงในฤดูฝนลดลงและเพิ่มขึ้นในฤดูแลง ซึ่งจะชวยลดปญหาน้ําทวมริมแมน้ําโขงในฤดูฝนสวนในฤดูแลงการมี ปริมาณน้ําระบายมากขึ้นก็จะชวยเหลือปญหาภัยแลงได ปริมาณการไหลมากเกินความตองการของแตละประเทศ

บทนํา บทความนี้อางอิงจากผลการศึกษาแผนแมบทการพัฒนาแหลงน้ําในลุมน้ํามูลและชีของกรมชลประทานป พ.ศ. 2551 ซึ่งไดพิจารณายุทธศาสตรการพัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศใหเต็มศักยภาพกอนแลวจึงพัฒนาโดยใช น้ํ า ระหว า งประเทศ (แม น้ํ า โขง) ทั้ ง นี้ โดยได พิ จ ารณากลยุ ท ธพิ เ ศษและเข ม ข น กว า ปกติ เ พื่ อ พั ฒ นาแหล ง น้ํ า ภายในประเทศใหเกิดศักยภาพสูงที่สุด สวนการพัฒนาโดยใชน้ําระหวางประเทศนั้น ไดอางอิงจากผลการศึกษา ความเหมาะสมเบื้องตน (pre-feasibility study) ของรายงานวางโครงการผันน้ําโขงเลยชีมูลป พ.ศ.2551 โดยไดรับ แนวคิดเบื้องตนจากโครงการโขงชีมูล (เดิมของกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน) และแนวความคิดเบื้องตนในการ ผัน น้ํ าโขงโดยแรงโน มถ ว งของมูล นิ ธิ น้ํา และคุ ณ ภาพชี วิต ตั วเลขที่แ สดงในเอกสารนี้ เ ปน เพีย งตั วเลขจากผล การศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน ซึ่งกรมชลประทานจะดําเนินการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอม และผลกระทบดานสังคมตอไป ขอมูลเชิงตัวเลขอาจจะเปลี่ยนแปลงไปจากนี้

วัตถุประสงค การศึกษานี้มีวัตถุประสงคเพื่อทําการศึกษาศักยภาพและรูปแบบการผันน้ําโขงที่ประหยัดพลังงาน เพื่อ ผันน้ําโขงมาใชเทาที่จําเปนในพื้นที่ลุมน้ําชีและมูล โดยพิจารณาการผันน้ําโขงเปนปริมาณน้ําเพิ่มเติมจากการ พัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศใหเต็มศักยภาพเสียกอนรวมทั้งการปรับปรุงประสิทธิภาพชลประทาน การพัฒนา ชลประทานขนาดเล็กและการขุดสระน้ําในไรนา ทั้งนี้พิจารณาการรูปแบบการเพาะปลูกที่ใชน้ํานอยและประหยัด โดยเฉพาะในฤดูแลง

ขอบเขตการศึกษาและวิธีการศึกษา ขอบเขตพื้นที่ศึกษาไดแก พื้นที่ลมุ น้ําโขง ชี มูล ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีการศึกษาศักยภาพ ปริ ม าณน้ําที่ จ ะผั น น้ํา รายวั น เป น ระยะเวลาประมาณ 13 ป ย อ นหลั ง โดยพิ จ ารณาให ค รอบคลุ ม ทั้ ง ป น้ํา มาก 47


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

น้ําปานกลาง และน้ํานอย โดยศึกษาสมดุล (water balance simulation) รายวันระหวางระดับน้ําโขง ที่อําเภอเชียง คาน และปริมาณความตองการน้ําทั้งดานเกษตร อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม และอื่นๆ

ผลการศึกษา 1. ทําไมอีสานจึงแลง เปนคํากลาวที่คุนเคยวาอีสานแลง และในขณะที่ฤดูฝนก็จะมีปญหาน้ําทวมเสมอในพื้นที่ริมแมน้ํา และจะ ไดยินคํากลาววา อีสานไมไดแลง ปริมาณฝนในอีสานมีมากพอ เพียงแตไมไดพัฒนาแหลงน้ําใหมีประสิทธิภาพ คํากลาวเหลานี้เปนความจริง แตเมื่อนํามาพิจารณาขอเท็จจริงรวมกัน จะพบวาอีสานพบกับปญหาน้ําทวมในฤดู ฝน และแลงจัดในฤดูแลง แมวาปริมาณฝนเฉลี่ยในภาคอีสานประมาณ 1,200 มิลลิเมตรตอปนั้น จะเทากับปริมาณ ฝนเฉลี่ยของประเทศไทย แตทําไมอีสานจึงประสบปญหาทวม และแลงมากกวาพื้นที่อื่นๆ สภาพภูมิประเทศเปนคําตอบที่สําคัญ ดวยเหตุที่อีสานเปนพื้นที่ราบสูง กลาวคือเปนพื้นที่แบนราบแตยกตัว สูงขึ้นทั้งผืนเมื่อเทียบกับพื้นที่ภาคกลาง ทําใหอีสานมีพื้นที่ที่จะเก็บกักน้ําไดนอย ในฤดูฝนที่มีปริมาณฝนตกหนัก ปริมาณน้ําจะหลากและบาเปนแนวกวาง และในฤดูแลงปริมาณน้ําก็นอยมาก เพราะไหลลงแมน้ําโขงเกือบทั้งหมด ยกตัวอยางเชน ลุมน้ําก่ํา ในฤดูฝนมีปญหาการน้ําทวมมากแตในฤดูแลงมีปริมาณน้ํานอยมากและเกือบแหง ใน สวนของแมน้ําชี บางครั้งปลายฤดูฝนก็เริ่มมีปญหาน้ําประปาแลว สวนในแมน้ํามูลยังมีฝายธรรมชาติ เชน แกง สะพือ และแกงตะนะ ซึ่งชวยรักษาปริมาณน้ําในลําน้ํามูลในฤดูแลงไวได นอกจากนี้ ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,200 มิลลิเมตรตอปนั้น เมื่อพิจารณาเปนพื้นที่ พบวาปริมาณฝนกระจายไม สม่ําเสมอ (ดังรูปที่ 1) โดยปริมาณฝนจะมากสุดในพื้นที่จังหวัดหนองคาย นครพนม ประมาณ 3,000-4,000 มิลลิเมตร ขณะที่มุกดาหารและอุบลราชธานีประมาณ 1,800 มิลลิเมตร เนื่องจากไดรับฝนจากอิทธิพลมรสุมจาก อาวตังเกี๋ยผานชองเขาขาดตามเสนถนนหมายเลข 8 และหมายเลข 9 ระหวางประเทศลาวและเวียดนาม แตเมื่อ ถัดเขามาในพื้นที่ตอนกลาง เชน สุรินทร บุรีรัมย ปริมาณฝนจะลดลงเหลือประมาณ 1,400-1,600 มิลลิเมตร ในขณะที่เมื่อขยับถัดเขามายังตนน้ําชีและมูลที่ ชัยภูมิ หนองบัวลําภู นครราชสีมา ปริมาณฝนลดลงเหลือเพียง 800-1,000 มิลลิเมตรเทานั้น เนื่องจากอยูหางไกลจากอิทธิพลพายุจากอาวตังเกี๋ยและเปนเขตเงาฝนของลมมรสุม จากตะวันออกเฉียงใต ในทางกลับกัน พื้นที่ที่มีฝนตกนอยกลับมีสภาพภูมิประเทศที่จะสามารถสรางอางเก็บกักน้ําได เชน ตนน้ํา ชีและมูล ที่จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ จึงเกิดปญหาน้ํามักไมเต็มอาง สวนพื้นที่ปลายน้ํา ริมแมน้ําโขง เชน หนองคาย นครพนม อุบลราชธานี มีปริมาณฝนตกมาก แตมีภูมิประเทศเก็บกักน้ําไดนอย ปริมาณฝนที่ตกมากมัก ทําใหเกิดปญหาน้ําทวม

48


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

รูปที่ 1 ปญหาการกระจายตัวของฝนไมสม่ําเสมอ (เสนชั้นปริมาณน้ําฝนรายปของภาคอีสาน) นอกจากปญหาการกระจายตัวของฝนในพื้นที่ตางๆ ไมสม่ําเสมอแลว ยังมีปญหาฝนทิ้งชวง โดยจํานวนวัน ฝนทิ้งชวงในแตละพื้นที่ยังมีความแตกตางกันมาก จํานวนวันฝนทิ้งชวงจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆจากพื้นที่ริมแมน้ําโขง จนถึงพื้นที่ตนน้ํามูลและชีจะมีฝนทิ้งชวงยาวนานถึง 20 วัน ซึ่งจํานวนวันฝนทิ้งชวงที่ยาวนานนั้นมีผลกระทบตอ ผลผลิตดานเกษตร สําหรับชวงปลายฤดูฝนและในฤดูแลงนั้น ปริมาณน้ําซึมน้ําซับจากภูเขาก็มีนอยเมื่อเทียบกับพื้นที่อื่นๆ เพราะพื้นที่รับน้ําตอนตนน้ํานอย และปาถูกบุกรุกเปนพื้นที่ทํากิน ซึ่งในชวงฤดูแลง ตนน้ํามูลและตนน้ําชี ในเขต จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ หนองบัวลําภู จะมีความแหงแลงมาก และจัดเปนพื้นที่วิกฤติภัยแลง เมื่อตนทุนและปจจัยไมเอื้ออํานวย ทัง้ จากปริมาณฝนกระจายตัวไมสม่ําเสมอ จํานวนวันฝนทิ้งชวงนาน พื้นที่ตนน้ํานอยและไมอุดมสมบูรณและชุมชื้น ภูมิประเทศแบนราบ ไมสามารถเก็บกักน้ําไดเหมือนภาคเหนือและ ภาคกลาง ในขณะที่มีภาคอีสานมีจํานวนประชากรและพืน้ ที่ที่สามารถทําการเกษตรไดเปนจํานวนมาก จึงทําให เกิดปญหาอีสานแลงทั้งดานน้าํ เพื่อการเกษตรและน้ําอุปโภคบริโภค 2. ความยากจนของคนอีสาน ภาคอีสานมีพื้นที่เกษตรประมาณ 44% ของพื้นที่เกษตรของประเทศไทย จํานวนประชากรในภาคอีสาน 37% ของประชากรของประเทศไทย ขณะที่รายไดของประชากรในภาคอีสาน 128,464 บาท/ครัวเรือน/ป เมื่อ เทียบกับรายไดเฉลี่ยทั้งประเทศประมาณ 247,352 บาท/ครัวเรือน/ป (52%) หากสามารถเพิ่มรายไดของคน อีสานไดใหใกลเคียงคาเฉลี่ยของรายไดเฉลี่ยทั้งประเทศ ก็จะชวยลดชองวางระหวางรายไดของคนจํานวนประมาณ 40% ของประเทศ (ดังตารางที่ 1) 49


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 1 ชองวางรายไดคนอีสานกับคาเฉลี่ยของรายไดทั้งประเทศ รายได รายไดเฉลี่ย (บาท/ครัวเรือน/ป) รายไดเฉลี่ยภาคอีสาน 128,464 รายไดเฉลี่ยทั้งประเทศ 247,352 รอยละ 52% 3. ความแตกตางระหวางเกษตรน้ําฝนและเกษตรชลประทาน ปจจุบันเกษตรกรในอีสานสามารถใชที่ดินไดเพียงในฤดูฝนระยะเวลา 3-4 เดือนตอป ปญหาการกระจายตัว ของฝนที่ไมสม่ําเสมอและจํานวนวันฝนทิ้งชวงยาวในพื้นที่ตางๆ และฝนมักทิ้งชวงในชวงเวลาที่ขาวออกรวงซึ่งเปน ชวงที่จําเปนตองไดน้ํา ทําใหผลผลิตในเขตนาน้ําฝนลดลงต่ํากวาในพื้นที่เกษตรชลประทานซึ่งสามารถสงน้ําได ในชวงที่ฝนทิ้งชวง ทําใหผลผลิตในเขตเกษตรชลประทานจึงสูงกวาในเขตเกษตรน้ําฝน หากสามารถพัฒนา ชลประทานในฤดูแลงซึ่งอาจจะเปนพืชไร พืชเศรษฐกิจ ก็จะเพิ่มรายไดและสามารถใชประโยชนทรัพยากรดินได หลายเดือนตอปทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 ผลผลิตขาวนาปของเกษตรกรในเขตเกษตรน้ําฝนและเกษตรชลประทาน รายการ พื้นที่บริเวณเขื่อนลําปาว พื้นที่บริเวณเขื่อนอุบลรัตน ผลผลิตขาวเกษตรชลประทาน 439 468 (กิโลกรัม/ไร/ฤดู) ผลผลิตขาวเกษตรน้ําฝน-มหาสารคาม 286 286 (กิโลกรัม/ไร/ฤดู) สัดสวน 1.54 1.64 และเมื่อเทียบรายไดของเกษตรกรในเขตน้ําฝนในพื้นที่ใกลเคียงกับเขตชลประทานที่สําคัญในภาคอีสาน ไดแก พื้นที่เขตชลประทานเขื่อนลําปาวและเขื่อนอุบลรัตน (ตารางที่ 3) จะพบวาผลผลิตและรายไดมีความแตกตาง อยางชัดเจน ตารางที่ 3 รายไดของเกษตรกรในเขตเกษตรน้ําฝนและเกษตรชลประทาน (บาท/ครัวเรือน/ป) รายการ ลําปาว รายไดในเขตเกษตรชลประทาน 191,341 รายไดในเขตเกษตรน้ําฝนพืน้ ที่ใกลเคียง 102,233 สัดสวน 1.87

อุบลรัตน 166,687 79,291 2.1

ดวยเหตุที่ภาคอีสานมีศักยภาพของทรัพยากรมนุษย ทรัพยากรดินและสภาพภูมิประเทศเปนที่ราบที่ สามารถทําการเกษตรได หากมีการพัฒนาแหลงน้ําที่เหมาะสม ก็จะสามารถพัฒนาเกษตรชลประทานทําใหให ประชากรมีรายไดสูงขึ้น จะชวยใหราษฎรมีรายไดมากขึ้นประมาณ 2 เทา และเปนการลดชองวางระหวางรายได อยางเปนรูปธรรม 50


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

4. การพัฒนาแหลงน้ําในปจจุบันของลุมน้ําชีและมูล กรมชลประทานไดพัฒนาการเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งในรูปโครงการขนาดใหญ กลาง และเล็ก โดยเฉพาะโครงการขนาดเล็กนั้นไดพัฒนาเพื่อสนองนโยบายรัฐบาลในการลดชองวางระหวางรายได จึงไดสรางโครงการชลประทานขนาดเล็กกระจายไปในพื้นที่ตางๆ ในภาคอีสาน โดยมีรายละเอียดดังนี้ พื้นที่ชลประทานโครงการขนาดใหญ กลาง และสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาในลุมน้ําชีและมูล สําหรับลุมน้ํามูลและชี พื้นที่ชลประทานขนาดใหญและกลางไดพัฒนาแลวในพื้นที่ที่มีศักยภาพ ไดแก เขื่อนมูลบน เขื่อนลําตะคอง เขื่อนลําพระเพลิง เขื่อนอุบลรัตน เขื่อนลําปาว เขื่อนสิรินธร เปนตน ซึ่งเปนเขื่อนเก็บ กักน้ํา สามารถเก็บกักน้ําไวใชในฤดูแลง จึงสามารถเพาะปลูกไดทั้งในฤดูฝนและฤดูแลง และมีการพัฒนาฝาย ตางๆ ในตอนกลางแมน้ํามูลและชีตามโครงการโขงชีมูลระยะที่ 1 รวมทั้งโครงการสูบน้ําดวยไฟฟาที่ไดรับโอนมา จากกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน (เดิม) ซึ่งเปนลักษณะฝายที่เก็บกักน้ําในลําน้ําและทดน้ําใหสูงขึ้น โดยมี จํานวนโครงการขนาดใหญรวม 17 โครงการ เก็บกักน้ําประมาณ 7,338 ลานลูกบาศกเมตร โครงการขนาดกลาง 259 โครงการ เก็บกักน้ําประมาณ 2,063 ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ชลประทานรวมประมาณ 4.68 ลานไรในฤดู ฝน และ 1.32 ลานไรในฤดูแลง รายละเอียดดัง ตารางที่ 4 และ ตารางที่ 5 พื้นที่รับประโยชนโครงการขนาดเล็กในลุมน้ําชีและมูล เนื่องจากโครงการขนาดเล็กเปนโครงการที่สรางตามคํารองขอของราษฎร ซึ่งจะเปนการสรางหัวงานและ ถายโอนในองคกรทองถิ่นซึ่งยังไมมีงบประมาณในการพัฒนาระบบชลประทาน เพราะตองสรางคลองชลประทาน และสถานีสูบน้ําเปนสวนมาก ดังนั้นพื้นที่รับประโยชนจึงเปนพื้นที่มีศักยภาพที่จะใชประโยชนจากโครงการ จึง พิจารณาเปนพื้นที่รับประโยชน หากในอนาคตมีการพัฒนาระบบชลประทาน พื้นที่รับประโยชน จึงจะนับเปนพื้นที่ ชลประทาน ในปจจุบัน กรมชลประทานไดพัฒนาโครงการขนาดเล็ก จํานวน 3,830 โครงการ เก็บกักน้ําประมาณ 7,338 ล านลบ.เมตร โครงการขนาดกลาง 259 โครงการ เก็บ กัก น้ําประมาณ 698 ลานลบ.เมตร พื้น ที่รั บ ประโยชนรวมประมาณ 1.99 ลานไรในฤดูฝน และ 1.32 ลานไรในฤดูแลง รายละเอียดดังตารางที่ 4 และ ตารางที่ 6 (โครงการขนาดเล็กโดยมากเปนการสรางหัวงานเก็บกักน้ําแลวถายโอนใหราษฎร แตไมมีการพัฒนา ระบบสงน้ําและกระจายน้ําเชน คู คลอง จึงเรียกเปนพื้นที่รับประโยชน แตไมจัดเปนพื้นที่ชลประทาน อยางไรก็ตาม ในยุทธศาสตรการพัฒนาแหลงน้ําในลุมน้ําชีมูลไดมียุทธศาสตรการพัฒนาพื้นที่ชลประทานของหัวงานโครงการ ขนาดเล็กที่สรางแลว เพื่อเพิ่มศักยภาพในการใชน้ํา)

51


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 4 จํานวนโครงการและปริมาณน้ําที่เก็บกักในการพัฒนาชลประทานลุมน้ํามูลและชี ปริมาณน้ําเก็บกัก (ลาน ลบ.ม.)

จํานวนโครงการ (แหง) ประเภทโครงการ

ประเภทโครงการ ชี

ขนาดใหญ

อาง ฝาย ระบบสงน้ํา รวม ขนาดกลาง อาง ฝาย ระบบสงน้ํา เขื่อนทดน้ํา ปตร./ฝาย รวม ขนาดเล็ก อาง ฝาย ระบบสงน้ํา ปตร./ทรบ. อาคารระบายน้ํา ทํานบ ขุดลอก ปรับปรุงอาง สระ รวม รวม สูบน้ําดวยไฟฟา รวม

3 1 2 6 80 8 1 2 5 96 713 570 11 4 0 10 2 1 3 1,314 1,416 447 1,863

มูล 8 1 2 11 121 39 1 0 2 163 1525 950 2 6 1 29 0 0 3 2,516 2,690 274 2,964

รวม 11 2 4 17 201 47 2 2 7 259 2238 1520 13 10 1 39 2 1 6 3,830 4,106 721 4,827

ชี 3,881.00 102.00 81.00 4,064.00 561.19 173.86 15.50 2.50 753.05 186.70 31.01 0.28 0.60 0.10 5.62 224.32 5,041.36

มูล รวม 3,260.90 7,141.90 12.80 114.80 81.00 3,273.70 7,337.70 998.39 1,559.57 296.91 470.77 15.50 14.40 16.90 1,309.69 2,062.74 430.15 616.84501 41.25 72.260214 0 0.283 0.01 0.01 1.83 2.433 0.1 0 0.61 6.226 473.84 698.16 5,057.23 10,098.60

5,041.36

5,057.23 10,098.60

ตารางที่ 5 พื้นที่ชลประทานที่พัฒนาในปจจุบันในลุมน้ําชีและมูล พื้นที่ชลประทาน (ไร) ประเภทโครงการ ขนาดใหญ

ชี 315,098.00 55,600.00 261,500.00 632,198.00 410,639.00 260,025.00 6,900.00 60,000.00 33,000.00 770,564.00

ฤดูฝน มูล 478,860.00 335,854.00 814,714.00 656,980.00 346,371.00 5,000.00 10,000.00 1,018,351.00

รวม 793,958 55,600 597,354 1,446,912.00 1,067,619 606,396 11,900 60,000 43,000.00 1,788,915.00

ชี 197,000.00 170,000.00 367,000.00 60,080.60 45,284.00 6,900.00 11,300.00 123,564.60

ฤดูแลง มูล 187,060.00 55,851.00 242,911.00 141,720.80 47,174.00 188,894.80

รวม 384,060.00 225,851.00 609,911.00 201,801 92,458 6,900 11,300 0.00 312,459.40

1,402,762.00 1,068,572.00 2,471,334.00

1,833,065.00 379,011.00 2,212,076.00

0.00 3,235,827.00 1,447,583.00 4,683,410.00

490,564.60 333,189.00 823,753.60

431,805.80 66,992.00 498,797.80

0.00 922,370.40 400,181.00 1,322,551.40

ประเภทโครงการ

อาง ฝาย ระบบสงน้ํา รวม ขนาดกลาง อาง ฝาย ระบบสงน้ํา เขื่อนทดน้ํา ปตร./ฝาย รวม ขนาดเล็ก อาง ฝาย ระบบสงน้ํา ปตร./ทรบ. อาคารระบายน้ํา ทํานบ ขุดลอก ปรับปรุงอาง สระ รวม รวม สูบน้ําดวยไฟฟา รวม

52


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

ตารางที่ 6 พื้นที่รับประโยชนโครงการขนาดเล็กในปจจุบันของลุมน้ํามูลและชี พื้นที่รับประโยชน (ไร) ประเภทโครงการ

ประเภทโครงการ ชี

อาง ฝาย ระบบสงน้ํา รวม ขนาดกลาง อาง ฝาย ระบบสงน้ํา เขื่อนทดน้ํา ปตร./ฝาย รวม ขนาดเล็ก อาง ฝาย ระบบสงน้ํา ปตร./ทรบ. อาคารระบายน้ํา ทํานบ ขุดลอก ปรับปรุงอาง สระ รวม รวม สูบน้ําดวยไฟฟา รวม

มูล

รวม

ขนาดใหญ

257,745.00 351,129.60 5,905.00 12,100.00 2,977.00 1,500.00 1,000.00 10,800.00 643,156.60 643,156.60

682,097.00 656,846.00 2,000.00 3,950.00 1,500.00 7,004.00 300.00 1,353,697.00 1,353,697.00

939,842.00 1,007,975.60 7,905.00 16,050.00 1,500.00 9,981.00 1,500.00 1,000.00 11,100.00 1,996,853.60 1,996,853.60

643,156.60

1,353,697.00

1,996,853.60

เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่เกษตรประมาณ 42 ลานไรในลุมน้ํามูลและชี แลวจะพบวาปจจุบันพื้นที่เกษตร ชลประทานสามารถพัฒนาไดเพียงประมาณ 10% ของพื้นที่เกษตร อีก 90% ยังเปนพื้นที่เกษตรน้ําฝนที่มีความ เสี่ยงของเกษตรกรในการลงทุน และทรัพยากรดินสามารถใชประโยชนไดเพียง 3-4 เดือนตอปเทานั้น 5. ยุทธศาสตรที่เขมขนและแผนแมบทพัฒนาแหลงน้ํามูลและชี เนื่องจากความจํากัดของสภาพภูมิประเทศ ภาคอีสานสามารถพัฒนาโครงการขนาดใหญและกลางไดเพียง 200-300 โครงการ และในอนาคตโครงการขนาดใหญและกลางที่มีศักยภาพยังเหลือเพียงตนน้ําชี ไดแก โครงการ ชีบน โปรงขุนเพชร และยางนาดี สวนในลุม น้ํามูล ไดแก โครงการลําโดมใหญ ศักยภาพที่จะพัฒนาระบบชลประทานที่สงน้ําโดยแรงโนมถวงจะมีในพื้นที่ตนน้ํามูลและชีเทานั้น เนื่องจาก เก็บกักน้ําในอางที่มีระดับสูงกวาพื้นที่ชลประทาน นอกจากนั้นแลวจะเปนการเก็บกักในลําน้ําซึ่งเปน “อางจม” หมายถึง อางเก็บกักน้ําที่มีระดับต่ํากวาพื้นที่ชลประทาน ทําใหในภาคอีสานสวนใหญตองพัฒนาพื้นที่ชลประทาน แบบสูบน้ํา ดวยขอจํากัดดานภูมิประเทศในการเก็บกักน้ํา การพัฒนาที่ผานมาสวนใหญจึงเปนโครงการขนาดเล็ก ถึงประมาณเกือบ 4,000 โครงการ ในปพ.ศ.2551 กรมชลประทานจึงไดศึกษาจัดทําแผนแมบทพัฒนาแหลงน้ําลุมน้ําชีและมูล โดยพิจารณา ยุทธศาสตรการพัฒนาแหลงน้ําที่เขมขนกวาพื้นที่อื่นๆ กลาวคือ นอกเหนือจากการสรางอาง ฝาย โดยปกติแลว ได พิจารณายุทธศาสตร การเพิ่มประสิทธิภาพชลประทาน การพัฒนาเพื่อเปลี่ยนพื้นที่รับประโยชนของโครงการขนาด 53


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

เล็กเปนพื้นที่ชลประทาน การพัฒนาโครงขายน้ําโดยเชื่อมโยงการผันน้ําจากจากอางที่มีน้ําลนมายังอางที่ขาดน้ํา การผันน้ําจากทายอางมาเก็บกักในอาง การพัฒนาสระน้ําในไรนา การปลูกพืชใชน้ํานอย การปรับระยะเวลาการ เริ่มเพาะปลูกใหมเหมาะสม เกษตรทฤษฎีใหม การประหยัดน้ําโดยการสงเสริมกลุมผูใชน้ํา เปนตน ทั้งนี้เนนการ พัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศใหเต็มศักยภาพ หากไมเพียงพอจึงพิจารณาศักยภาพการใชน้ําระหวางประเทศ และจัดทําแผนแมบทในการพัฒนาลุมน้ําชีและมูล สรุปผลไดดังนี้ กลยุทธปกติ ปรับปรุงแหลงน้ําเดิม พัฒนาแหลงน้ําใหม (ใหญ กลาง เล็ก สถานีสูบน้ํา) พื้นที่ชลประทานตามกลยุทธปกติรวม กลยุทธพิเศษ พัฒนาพื้นที่ชลประทานในพื้นที่รับประโยชนชลประทานขนาดเล็ก เพิ่มประสิทธิภาพชลประทาน โครงขายน้ํา พื้นที่ชลประทานตามกลยุทธพิเศษรวม พื้นที่ชลประทานรวมที่จะพัฒนาในอนาคต

0.92 1.95 2.87

ลานไร ลานไร ลานไร

0.20 2.68 0.07 2.95 5.82

ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร

เมื่อรวมกับพื้นที่ชลประทานในปจจุบันและในอนาคตตามาแผนพัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศ ซึ่งอาจใช ระยะเวลาพัฒนาประมาณ 20-30 ป พื้นที่ชลประทานจะเพิ่มขึ้นเปน 10.50 ลานไร หรือประมาณ 25% ยังคง เหลือพื้นที่เกษตรอีก 75% ที่ตองพึ่งพาน้ําฝน พื้นที่ชลประทานในแผนพัฒนาใชน้ําภายในประเทศ พื้นที่ชลประทานปจจุบัน รวมพื้นที่ชลประทานปจจุบันและในแผนแมบท พื้นที่เกษตร คงเหลือพื้นที่เกษตรน้ําฝน

5.82 4.68 10.50 41.84 31.34

ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร ลานไร

13.91% 11.19% 25.09% 74.9%

6. จําเปนหรือไมที่ตองผันน้ําโขง จากการพัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศพบวา จะสามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานไดประมาณ 5.82 ลานไร สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานเปน 25% ของพื้นที่เกษตร ในดานการพัฒนาประเทศและเพื่อยกระดับรายได คุณภาพชีวิต กระจายรายไดและลดชองวางระหวางรายไดของคนอีสาน ยังมีความจําเปนตองพิจารณายุทธศาสตร การพัฒนาแหลงน้ําเพิ่มเติม จึงจําเปนตองพิจารณาการผันน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําระหวางประเทศมาใช ประโยชน 7. แนวคิดเดิมในการผันน้ําโขง ในอดีตไดมีการศึกษาการผันน้ําโขงมาใชภายใตโครงการโขงชีมูล ซึ่งปจจุบันไดพัฒนาในระยะที่ 1 (ขั้น 1 และ 2) ซึ่งเปนการใชน้ําในประเทศโดยการสรางฝายตางๆ ในแมน้ํามูลและชี สวนการผันน้ําโขงมาใชนั้นเปน การสูบน้ําโขงผานอางหวยหลวง – อางหนองหานกุมภวาป มายังอางลําปาว และกระจายน้ําตามลําน้ําชีและมูลเพื่อ 54


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

สงน้ําในพื้นที่ลุมน้ําชีและมูลตอนลาง และสูบน้ําโขงอีกแหงที่จังหวัดเลย เพื่อสงน้ําชวยพื้นที่ตนน้ําชี อยางไรก็ตาม การสูบน้ําโขงดวยปริมาณที่มาก มีขอจํากัดในดานคาใชจายในการสูบน้ําขนาดใหญและคาพลังงานสูง ทั้งในการ สูบน้ําโขงเขามาเปนน้ําตนทุนผันลงสูลําน้ําธรรมชาติและการสูบน้ําจากลําน้ําธรรมชาติเพื่อสงเขาพื้นที่ชลประทาน 8. แนวคิดใหมในการผันน้ําโขง กรมชลประทานไดรับเรื่องรองเรียนใหพิจารณาแนวทางผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงจากมูลนิธิคุณภาพเพื่อ ชีวิต จึงไดทําการศึกษาวางโครงการเบื้องตน พบวาในดานวิศวกรรมมีความเปนไปได จึงไดทําการศึกษาความ เหมาะสมเบื้องตน พบวามีความเปนไปไดทางวิศวกรรมและความคุมทุน ในขณะนี้จะเริ่มดําเนินการศึกษาความ เหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอม เมื่อมีศักยภาพที่จะนําน้ําโขงมาใชโดยแรงโนมถวง จึงมีความเปนไปไดมากขึ้น ที่จะพัฒนาชลประทานโดยใชน้ําโขงเพิ่มเติมจากการพัฒนาแหลงน้ําในลุมน้ําชีและมูลซึ่งเปนการพัฒนาแหลงน้ํา ภายในประเทศ ผลการศึก ษาในการศึก ษาความเหมาะสมเบื้อ งตน โดยพิจ ารณาศัก ยภาพน้ํา โขงซึ่ง เปน น้ําตน ทุน ที่ ปากน้ําเลย และศักยภาพที่ผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงโดยผันผานปากแมน้ําเลย ผานอุโมงค และกระจายน้ําโขง ตนทุนที่ผันมานั้นเขาสูตนน้ําชีและมูล อางเก็บน้ําตางๆ ในตนน้ําชีและมูล และผานคลองชลประทานสายใหญ 2 สาย จากตนน้ําเขื่อนอุบลรัตนไปตามแนวคลองที่ขุดขึ้นผานตนน้ําเขื่อนลําปาว ไปยังลุมน้ําเซบาย เซบก และลงสู แมน้ํามูล และอีกสายจากตนน้ําเขื่อนอุบลรัตนไปยังตนน้ําชี ตนน้ํามูล ลอดผานตนน้ํามูล ไปยังพื้นที่ฝงขวาแมน้ํา มูล วางแนวคลองขนานแมน้ํามูลฝงขวา จากนครราชสีมาไปถึงอุบลราชธานี โดยสามารถสงน้ําใหพื้นที่ชลประทาน ทั้งโดยแรงโนมถวงและพื้นที่ชลประทานแบบสูบน้ําอีกประมาณ 17.9 ลานไร ในลุมน้ําชีและมูล จะทําใหพัฒนา พื้นที่ชลประทานทั้งหมดรวมปจจุบันและอนาคต เปน 28.9 ลานไร หรือประมาณ 68% (ดังรูปที่ 2) พื้นที่ชลประทานปจจุบัน พื้นที่ชลประทานในแผนพัฒนาใชน้ําภายในประเทศ พื้นที่ชลประทานในแผนพัฒนาใชน้ําโขง พื้นที่ชลประทานปจจุบันและในอนาคตทั้งหมด พื้นที่เกษตร คงเหลือพื้นที่เกษตรน้ําฝน

4.68 5.82 17.9 28.4 41.84 13.44

ลานไร (11.19%) ลานไร (13.91%) ลานไร (42.54%) ลานไร (67.64%) ลานไร ลานไร (32.36%)

โดยพื้นที่เกษตรน้ําฝนที่ไมสามารถพัฒนาไดจากการพัฒนาแหลงน้ําภายในประเทศและผันน้ําโขง ซึ่ง โดยมากจะเปนพื้นที่ตามเชิงเขา หางไกลจากแหลงน้ําแมน้ําลําธาร ไดพิจารณาแนวทางพัฒนาในรูปของสระน้ําใน ไรนา

55


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

พื้นที่ชลประทานเมื่อพัฒนาน้ําภายในประเทศและผันน้ําโขง

พื้นที่ชลประทานปจจุบัน

พื้นที่วิกฤติ ภัยแลง

รูปที่ 2 พืน้ ที่ชลประทานตามแผนพัฒนาโดยผันน้ําโขงดวยแรงโนมถวงที่ปากน้ําเลย 9. คํานึงถึงเพื่อนบานลุมแมน้ําโขง 9.1 สัดสวนของปริมาณน้ําทาและปริมาณการใชน้ําโขงและลําน้ําสาขาของแตละประเทศ ปจจุบันไทยยังไมมีการพัฒนาใชน้ําโขงโดยตรง ในพื้นที่ภาคอีสานจะเปนการพัฒนาลุมน้ําสาขาของโขง เปนหลัก จากผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการลุมแมน้ําโขง (Mekong River Committion, MRC) หากพิจารณา สัดสวนปริมาณน้ําทา และการพัฒนาชลประทานของแตละประเทศ แลวจะพบวา ดานปริมาณน้ําทา หากพิจารณาสัดสวนปริมาณน้ําทาของแตละประเทศที่ไหลลงโขง (รูปที่ 3) ประเทศ ลาวใหปริมาณน้ําทาที่ไหลลงแมน้ําโขงมากที่สุด 35% รองลงมาเปนไทยและเขมร 18% และเวียดนามประมาณ 11% (ขณะที่ปริมาณน้ําทาของจีนและพมา 16 และ 2% ตามลําดับ)

56


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

รูปที่ 3 สัดสวนปริมาณน้ําทาที่ไหลลงแมน้ําโขงของแตละประเทศ ด า นการพั ฒ นาชลประทาน (รวมการใช น้ํ า จากแม น้ํ า สาขาและแม น้ํ า โขงโดยตรง) สั ด ส ว นพื้ น ที่ ชลประทานตอพื้นที่เกษตรของแตละประเทศ ตารางที่ 7) พบวา ประเทศไทยและลาวตางก็พัฒนาชลประทานได 8% ของพื้ น ที่ เ กษตรกรรม ประเทศเขมรพั ฒ นาชลประทานได 10% ประเทศเวีย ดนามในส ว นของพื้ น ที่ สามเหลี่ยมปากแมน้ําโขง 87% และในสวนของพื้นที่ดอนพัฒนาชลประทานได 37% ของพื้นที่เกษตรกรรม ตารางที่ 7 สัดสวนพื้นที่ชลประทานที่พัฒนาตอพื้นที่เกษตรของแตละประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง พื้นที่ดิน

ลาว

กัมพูชา

ไทย

พื้นที่ปาไม พื้นที่ไมและทุงหญา (wood& grassland)

41.22 42.07

56.18 15

15.74 3.47

พื้นที่เกษตรกรรม (% พื้นที่ชลประทาน)

14.01 (8%)

23.41 (10%)

79.28 (8%)

57

เวียดนาม (สามเหลี่ยม ปากน้ําโขง) 1.09 0.34 83.99 (87%)

เวียดนาม (ที่ดอน) 47.46 22.65 29.46 (36%)


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 7 สัดสวนพื้นที่ชลประทานที่พัฒนาตอพื้นที่เกษตรของแตละประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง (ตอ) พื้นที่ดิน พื้นที่ชุมน้ําและพื้นที่ ผิวน้ํา (wetland & water) อื่นๆ รวม

ลาว

กัมพูชา

ไทย

0.96

5.15

1.4

เวียดนาม (สามเหลี่ยม ปากน้ําโขง) 10.34

1.74 100

0.26 100

0.12 100

4.24 100

เวียดนาม (ที่ดอน) 0.27

0.16 100

ดานพื้นที่ชลประทานฤดูฝนและฤดูแลง พื้นที่ชลประทานฤดูฝนของลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม (ปากแมน้ําโขง) ประมาณ 1.4, 4.8, 1.6 และ 10.5 ลานไร ตามลําดับ พื้นที่นาปรัง (นาครั้งที่ 2) ของลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม (ปากแมน้ําโขง) 0.95, 0.45, 1.13 และ 8.86 ลานไร ตามลําดับ และพื้นที่นาปรัง (นาครั้งที่ 3) ของลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม (ปากแมน้ําโขง) 0, 0, 0 และ 2.20 ลานไร ตามลําดับ (ดังตารางที่ 8) จะ เห็นวาปริมาณการใชน้ําโขงและสาขาในการพัฒนาชลประทานของประเทศไทยเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบานยัง เปนสัดสวนที่นอยกวามาก ตารางที่ 8 พื้นที่ชลประทานฤดูฝนและฤดูแลงเทียบกับพื้นที่เกษตรของประเทศตางๆ ในลุมน้ําโขงตอนลาง เวียดนาม พื้นที่ ลาว ไทย (อีสาน) กัมพูชา (สามเหลี่ยมปาก แมน้ําโขง) พื้นที่เกษตรกรรม (ไร) 3,943,000 30,000,000 11,538,000 9,063,000 นาป (ครั้งที่ 1) 544,000 862,000 1,456,000 12,088,000 นาปรัง (ครั้งที่ 2) 0 0 0 3,769,000 นาปรัง (ครั้งที่ 3) พื้นที่ชลประทาน (ไร) 2,532 8,764 1,012 85 จํานวนโครงการ 1,401,000 4,800,000 1,555,000 10,519,000 นาป (ครั้งที่ 1) 950,000 451,000 1,134,000 8,860,000 นาปรัง (ครั้งที่ 2) 0 0 0 2,197.000 นาปรัง (ครั้งที่ 3) ผลผลิต 2,094 9,507 4,041 16,281 ผลผลิต (ตัน) 467 315 310 653 ผลผลิตตอไร (กก/ไร)

58


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

9.2 ขอตกลงในการใชน้ําโขงตอนลางและสาขา ในกลุมประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง 4 ประเทศ ไดแก ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ไดมีขอตกลง รวมกัน “Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin” เมื่อ เดือนเมษายน 2538 ในมาตรา 5 เรื่องการใชน้ําอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรม การนําน้ําโขงสายหลักมาใช ภายในลุมน้ําโขงในฤดูฝน จะเปนการแจงใหทราบ (notification) สวนในฤดูแลง หากนําน้ําโขงสายหลักมาใชจะ เปนการหารือลวงหนา (prior consultation) ตามตารางที่ 9 อยางไรก็ตาม หากพิจารณาวาการผันน้ําโขงจากปากน้ําเลย (ระยะทางประมาณ 20 กม) จากปากน้ําเลย เนื่องจากน้ําโขงไหลยอนเขาไปในแมน้ําเลย เปนกรณีเดียวกับการผันจากลําน้ําสาขาหรือใกลเคียงกับลุมน้ําโตนเล สาบที่ปริมาณน้ําโขงไหลยอนเขาไปในโตนเลสาบ การใชน้ําโขงผานปากน้ําเลยทั้งในฤดูฝนและฤดูแลงก็จะเปน เพียงการแจงใหทราบ (notification) ตารางที่ 9 ขอตกลงในการใชน้ําของกลุมประเทศษลุมน้ําโขงตอนลาง มาตรา 5 การใชน้ําอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรม

การใชน้ํา 1. ลําน้ําสาขาและทะเลสาบในกัมพูชา 2. แมน้ําโขงสายประธาน 2.1 ฤดูน้ํามาก 2.1.1 ใชในลุมน้ําแมโขง 2.1.2 ผันน้ําขามลุมน้ํา 2.1 ฤดูแลง 2.2.1 ใชในลุมน้ําแมโขง 2.2.2 ผันน้ําขามลุมน้ํา

การแจง notifiction /

กรณีพิจารณาวาใชน้ําจากปากน้ําเลยที่ เป นสาขาของแมน้ํา โขง เป นการแจงใหทราบทั้ งฝนและแลง

การปรึกษาหารือลวงหนา ขอตกลง Agreement Prior Consultation

/ / / /

•การแจง คือการบอกใหทราบ ภาคีสมาชิกเพียงแตรับทราบ

กรณีพิจารณาวาเปนการใชน้ําจากแมน้ําโขงโดยตรง

•การหารือกันกอน คือการบอกใหทราบโดยใหภาคีสมาชิกมีโอกาสแสดงความคิดเห็น แตไมใชพิจารณา เห็นชอบหรือยับยั้งโครงการ 9.3 การพัฒนาเขื่อนตนน้ําโขงของจีน Mekong River Committee ไดประเมินเบื้องตนถึงความเปลี่ยนแปลงในแมน้ําโขงอันเกิดจากการพัฒนา เขื่อนตนน้ําโขงของจีน พบวา ประเทศจีนพัฒนาเขื่อนตางๆ ในตนน้ําโขง เพื่อการผลิตกระแสไฟฟา โดยไมได พัฒนาเพื่อการชลประทานหรืออุปโภคบริโภค รายละเอียดดังตารางที่ 10 ดังนั้นปริมาณน้ําจะเปนเพียงการถูก เก็บกักไวในเขื่อนในฤดูฝนและระบายลงทายน้ําผานเทอรไบนเพื่อผลิตกระแสไฟฟา ซึ่งจะมีผลทําใหลดอัตราการ ไหลของแมน้ําโขงในฤดูฝนและเพิ่มอัตราการไหลในฤดูแลง และอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงนี้จะมากในชวงตน น้ําโขงและลดลงในตอนกลางและตอนลาง ดังรูปที่ 4 เนื่องจากประเทศจีนมีสัดสวนพื้นที่ลุมน้ําในแมน้ําโขงเพียง ประมาณ 16% และปริมาณน้ําที่เก็บกักในเขื่อนตางๆ ประมาณ 30-40% ของปริมาณน้ําทาทั้งหมดในประเทศจีน 59


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 10 โครงการกอสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในตนน้ําโขงของจีน

การเปลี่ ยนแปลงปริมาณน้ําโขงที่ อ.เชียงแสน จากการกอสรางเขื่ อนในจีน

cumec

6,000

Baseline(ไมมีเขื่อนในจีน) ScenarioA(มีเขื่อนManwan,Dachaosan,Xiaowan) ScenarioF(มีเขื่อนManwan,Dachaosan,Xiaowan,Nuozhadu)

5,000 4,000 3,000

2.ปริมาณการไหลในฤดูแลงของ D/S เพิ่มขี้น

2,000

1.ปริมาณการไหลในฤดูฝนของ D/S ลดลง

1,000

3.ลดความแตกตางของปริมาณน้ําสูงสุดในฤดูฝนและต่ําสุดในฤดูแลง

0 ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ.

มี.ค.

เม.ย.

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

รูปที่ 4 กราฟแสดงการเปลี่ยนปริมาณน้ําโขงที่ อ.เชียงแสน จากการสรางเขื่อนในจีน

60

ต.ค.

พ.ย.


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

10. ผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงไดอยางไร แมน้ําโขงไหลผานภาคอีสานเริ่มจากจังหวัดเลยและสิ้นสุดที่จ.อุบลราชธานี มีระดับน้ําโขงจาก 210 ทม. รทก. ไปจนถึงระดับประมาณ 1055 ม.รทก. พบวาที่บริเวณปากน้ําเลย อ.เชียงคาน แมน้ําโขงมีระดับต่ําสุด ประมาณ 197 ม.รทก. ในฤดูแลง และประมาณ 211 ม.รทก. ในฤดูฝน ในขณะที่ทองน้ําที่ปากน้ําเลย อ.เชียงคาน ระดับประมาณ 197 ม.รทก. ดังนั้นจะเห็นวาแมน้ําโขงจะไหลยอนเขาไปในปากน้ําเลยเกือบตลอดทั้งป โดยเฉพาะ ฤดูฝนไหลยอนเขาไปประมาณ 40 กม. และในแมน้ําโขงดานทายน้ําของปากน้ําเลยมีแกงคุดคู ซึ่งชวยทดน้ําโขงให สูงกวาแมน้ําโขงในตอนลางแมในฤดูแลง ดังรูปที่ 5 จุดที่มีศักยภาพพีจ่ ะผันน้ําโดยแรงโนมถวงโดย การเจาะอุโมงค

ระดับน้ําสูงสุด (ม.รทก.) เฉลี่ย สูงสุด ต่ําสุด 208.10 211.24 203.78 204.03 206.77 199.76

400

500

600

700

อ.โขงเจียม

300

อ.เขมราฐ

200

DATUM MAX MIN AVG AVG APR

อ.เมืองมุกดาหาร

100

อ.เมืองนครพนม

0

อ.เมือง หนองคาย

ระดับน้ําโขงสูงสุด

อ.เชียงคาน

215 205 195 185 175 165 155 145 135 125 115 105 95 85

800

ระดับน้ําเฉลีย (ม. ระดับน้ําต่ําสุด (ม.รทก.) รทก.) เฉลี่ย สูงสุด ต่ําสุด ทัง้ ป เมษายน 196.63 197.38 195.90 200.65 196.99 191.32 192.95 189.22 196.90 192.45

รูปที่ 5 ระดับน้ําโขงที่ไหลผานภาคอีสานของไทย หากเจาะอุโมงคจากปากน้ําเลยมายังตนน้ําเขื่อนอุบลรัตนที่ระดับประมาณ 182 ม.รทก. จะสามารถผันน้ํา โขงมาในพื้นที่ลุมน้ําชีและมูลโดยแรงโนมถวง โดยในฤดูฝนจะเปนการไหลของน้ําภายใตแรงดัน และในฤดูแลงจะ เปน ไหลผ านอุโ มงค แ บบทางน้ําเป ด (น้ํา ไหลไมเ ต็ม ทออุ โมงค ) จะเปน การพัฒ นาน้ําตน ทุน โดยแรงโนม ถว ง (รูปที่ 6)

61


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

รูปที่ 6 ระดับพื้นที่ในภาคอีสานเทียบกับระดับน้ําโขง 11. กระจายน้ําโขงเขาสูพื้นที่ชลประทานโดยแรงโนมถวง การพัฒนาระบบชลประทานเมื่อสามารถผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงไดแลว สามารถผันน้ําโขงลงสูแมน้ํา ธรรมชาติ ไดแก ลําน้ําพอง แมน้ําชี แมน้ํามูล ซึ่งจะขยายพื้นที่ชลประทานริมฝงแมน้ํามูลและชี เพิ่มศักยภาพ โครงการฝายตางๆ ในแมน้ํามูลและชี สงน้ําโขงเขาสูพื้นที่ชลประทานโดยแรงโนมถวงผานระบบคลองชลประทาน ที่ขุดขึ้นใหม ซึ่งโดยปกติแลวในพื้นที่อีสานที่แบนราบนั้น การพัฒนาแหลงน้ําโดยมากจะเปนอางจม ตองสูบน้ําเขา สูพื้นที่ชลประทานเปนสวนมาก แตการผันน้ําโขงมายังตนน้ําพอง เขื่อนอุบลรัตน จะสามารถวางแนวคลอง ออกเปนสองแนว คือ 1) แนวคลองชลประทานจากเขื่อนอุบลรัตน – เขื่อนลําปาว – ลุมน้ําเซบายเซบก - มูลฝงซายที่ อุบลราชธานี 2) แนวคลองชลประทานจากเขื่อนอุบลรัตน – ตนน้ําชี – ตนน้ํามูล – ฝงขวาแมน้ํามูลไปจนถึง อุบลราชธานี (กอนจุดบรรจบลําโดมใหญ) ทําใหสามารถสงน้ําใหพื้นที่ชลประทานไดโดยแบบแรงโนมถวงสําหรับพื้นที่ขนาดใหญ และพื้นที่ตามริม ขอบคลองที่สู ง กว า คลองดั ง กล าว สามารถพั ฒ นาพื้ น ที่ช ลประทานแบบสู บ น้ํ าเพิ่ ม เติ ม ได ด ว ย รวมเป น พื้ น ที่

62


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

ชลประทานประมาณ 17.9 ลานไรในฤดูฝน และฤดูแลงประมาณ 7-12 ลานไร (เพิ่มพื้นที่ฤดูแลง โดยพิจารณาปลูก พืชไรและมีแหลงสํารองน้ําในอาง สระน้ําในไรนาในชวงปลายฤดูฝนไวใชในฤดูแลง) (ดังรูปที่ 7)

รูปที่ 7 แนวคลองและพื้นที่ชลประทานโดยแรงโนมถวงและสูบน้ําของการผันน้ําโขงที่ปากน้ําเลย อัตราผันน้ําสูงสุดในฤดูฝนประมาณ 1,700 ลบ.ม/วินาที ปริมาณน้ําที่ผันทั้งปประมาณ 29,375 ลานลบ.ม กรณีควบคุมการผันน้ําทั้งปไมเกิน 18% ตามสัดสวนปริมาณน้ําทาที่โขงเจียมจะผันน้ําในฤดูฝน ประมาณ 20% และ ในฤดูแลงประมาณ 30% ของแมน้ําโขง (ดังรูปที่ 8)

63


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

กรณีผันน้ําไมเกิน 18 % ที่โขงเจียม

ผันน้ําฤดูฝน 19.65 %(23,032 ลานลบม.)

ฤดูฝน 17.9 ลานไร

ผันน้ําฤดูแลง 30.73 %(6,343 ลานลบม.)

ฤดูแลง 8.77 / 7.16 ลานไร CI. 1.49 / 1.40

รวมทั้งป

21.31 %(29,375 ลานลบม.)

30,000

20,000

60

50

40

29,375 ลาน ลบ.ม./ป

15,000

30

10,000

20

5,000

10

-

% การผันน้ํา

ปริมาณน้ําทา (ลานลบม.)

25,000

%การผันน้ํา inflow เชียงคาน ผัน น้ําไมเกิน 18 %

ปริมาณน้ําเฉลี่ย 137,846 ลาน ลบ.ม./ป

-

เม.ย

พ.ค.

มิ.ย.

ก.ค.

ส.ค.

ก.ย.

ต.ค.

พ.ย.

ธ.ค.

ม.ค.

ก.พ

มี.ค.

รูปที่ 8 ศักยภาพปริมาณการผันน้ําโขงที่ปากน้ําเลย อย างไรก็ตามปริ มาณน้ํ าที่ ผัน นี้เ ปน ตัว เลขเบื้อ งต นแสดงศั กยภาพที่ จะผัน ได ในการศึก ษาความ เหมาะสมที่จะดําเนินการตอไป จะมีการศึกษาศักยภาพไวหลายๆ กรณี โดยคํานึงถึงสัดสวนการใชน้ําแตละประเทศ ประกอบดวย 12. ผันน้ําโขงชวยแกปญหาฝนทิ้งชวงในภาคอีสาน เนื่องจากแมน้ําโขงมีตนน้ําจากจีน ทําใหชวงเวลาที่มีระดับน้ําสูงสุดไมตรงกับชวงเวลาระดับน้ําสูงสุดใน แมน้ํามูลและชี โดยแมน้ําโขงจะสูงสุดในชวงเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม ซึ่งเปนชวงที่ภาคอีสานมีปญหาฝนทิ้ง ชวง และในชวงเดือนกันยายน-ตุลาคม ระดับน้ําในแมน้ําโขงชวงภาคอีสานจะลดลง นอกจากนี้ เมื่อสิ้นสุดฤดูฝนในเดือนตุลาคม ระดับน้ําโขงจะสูงสุดในพื้นที่ปากแมน้ําโขงที่เวียดนามในชวง พฤศจิกายน-ธันวาคม ดังนั้นในชวงปลายฤดูฝนและตนฤดูแลงของไทย จะเปนชวงที่น้ําหลากสูงสุดในปากแมน้ําโขง จึงมีโอกาสที่ไทยจะนําน้ําโขงมาใชในตนฤดูแลงโดยไมเกิดปญหาน้ําเค็มรุกล้ําที่ปากน้ําโขงที่เวียดนาม 13. แนวผันน้ําโขงที่ปากน้ําเลยและการชวยเหลือวิกฤติภัยแลงพื้นที่ตน น้ํามูลและชี การผันน้ําโขงมาลงตนน้ําพอง คลองชลประทานจะวางแนวผานตนน้ําพอง ตนน้ําชี และตนน้ํามูล (เหนือ น้ําทุงสัมฤทธิ์) สามารถสูบน้ําจากคลองชลประทานเขาไปเติมอางลําเชียงไกร อางลําตะคอง ฯลฯ เพื่อชวยพื้นที่ ตนน้ํามูลและชีที่ชัยภูมิ ขอนแกน และนครราชสีมาซึ่งเปนพื้นที่วกิ ฤติภัยแลงและเปนชุมชนขนาดใหญ หรือแหลงน้ํา โดยตรงใหพื้นที่ชลประทานของอางเหลานั้น ที่ผานมา ไดมีการศึกษาหาแนวทางผันน้ําเพื่อชวยเหลือพื้นที่ตนน้ํา มูลและชี โดยการผันน้ําจากเขื่อนปาสัก แตก็สามารถผันน้ําไดชวงสั้นๆ ที่มีน้ําลนผานเขื่อน และระดับที่สูบน้ําเพื่อ ผันขามลุมน้ําสูงถึงประมาณ 380 เมตร หากมีการพัฒนาผันน้ําโขงจากปากน้ําเลย จะสามารถผันน้ําในปริมาณน้ํา ที่มากกวา สูบน้ําดวยระยะยกที่ต่ํากวามาก (ประมาณ 60-100 ม.) รวมทั้งระยะทางสั้นกวา และหากผันน้ําโขงที่

64


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

ปากน้ําเลยจะสามารถชวยเหลือพื้นที่ตนน้ํา กลางน้ําไปจนถึงทายน้ําของลุมน้ําชีและมูล สวนแนวผันน้ําเดิมที่หวย หลวงนั้นจะสามารถชวยเหลือพื้นที่ตอนลางของลุมน้ําชีและมูล 14. ผลประโยชนของการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงที่ปากน้ําเลย ภาพรวมของการพัฒนาโครงการผันน้ําโขง-เลย-ชี-มูล โดยการสงน้ําใหพื้นที่ชลประทานตามคลองสงน้ํา สําหรับพื้นที่ชลประทานเปดใหมฤดูฝน 17.9 ลานไร และฤดูแลง 10.7 ลานไร ในพื้นที่ชลประทานเปดใหมและพื้นที่ ชลประทานเดิม ตลอดจนการจัดหาน้ําอุปโภคบริโภคสําหรับชุมชน ทองเที่ยว อุตสาหกรรม ปศุสัตว การบรรเทาน้ํา ทวม การประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ฯลฯ พื้นที่สวนใหญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไดแก จังหวัดเลย ชัยภูมิ กาฬสินธุ ขอนแกน นครราชสีมา มหาสารคาม ยโสธร รอยเอ็ด ศรีสะเกษ อุบลราชธานี หนองบัวลําภู อุดรธานี บุรีรัมย สุรินทร และอํานาจเจริญ รวมทั้งสิ้น 15 จังหวัด 228 อําเภอ 1,760 ตําบล คาดวาจะกอใหเกิดผลประโยชนตอครัวเรือนเกษตรกรไมนอยกวา 895,000 ครัวเรือน หรือคิดเปนประชากร 3,580,000 คน โดยทําใหเกิดรายรับสุทธิเฉลี่ยทางดานการเกษตรเพิ่มขึ้น ในพื้นที่โครงการไมนอยกวา 40,438 ลานบาท/ป จากเดิมถาไมมีการพัฒนาโครงการ 6,478 ลานบาท/ป หรือเพิ่ม จากเดิมประมาณ 6.24 เทา โดยผลผลิตเกษตรในพื้นที่โครงการ เพิ่มขึ้นเปน 42.54 ลานตัน/ป เทียบกับผลผลิต 20.30 ลานตัน/ป กรณีไมมีการพัฒนาโครงการ ผลประโยชน ชวงเวลา 1) เปนคลองสงน้ําชลประทานใหแกพื้นที่ชลประทานเปดใหม ฝน แลง 2) เติมน้ําใหอางเก็บน้ํา หนองน้ํา แกมลิงตางๆ ปลายฝน - แลง (โดยเฉพาะพื้นที่ตนน้ําชีและมูล-วิกฤตภัยแลง) 3) เติมน้ําใหแมน้ํามูล แมน้ําชี และลําน้ําสาขา ปลายฝน - แลง 4) พัฒนาสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาตามลําน้ํามูล ชี ปลายฝน - แลง 5) บรรเทาอุทกภัยในลุมน้ํามูลและชี โดยทําหนาที่เปนคลองดักน้ํา ฝน 6) การผลิตไฟฟาพลังน้ําในทายอุโมงคผันน้ํา และอางเก็บน้ําตางๆ ฝน แลง 7) เปนแหลงน้ําสําหรับการประปา การอุปโภคบริโภค ปลายฝน - แลง 8) ดานประมง อุตสาหกรรม ทองเที่ยว ปลายฝน - แลง 9) ดานคมนาคมทางน้ํา ฝน แลง 10) เพิ่มศักยภาพน้ําใตดิน และอื่น ๆ ฝน แลง ประโยชนอื่นๆ : สามารถพรองอางเพื่อบรรเทาอุทกภัยไดอยางมั่นใจมากขึ้น โดยไมตองกังวลฝนไมมา น้ําในอางนอย เพราะสามารถเติมน้ําจากโขงได เพิ่มการใชประโยชนที่ดิน สรางรายได และลดการอพยพแรงงาน 15. ความคุมทุนของการผันน้ําโขง โดยพิจารณาแบงการลงทุนออกเปน 6 ระยะในชวง 10 ป เจาะอุโมงคพรอมพัฒนาพื้นที่ชลประทานแตละ ระยะ พิจารณาคากอสรางหัวงาน (อุโมงค) และระบบชลประทานรวมคลองสายใหญและคลองซอย รวมทั้ง คาใชจายในการสูบน้ําในระหวางขั้นดําเนินงาน ซึ่งการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตร พิจารณา 3 กรณี คือ 65


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

- กรณีใชน้ําโขงในฤดูแลงเต็มศักยภาพ - กรณีใชน้ําโขงในฤดูแลงไมเกิน 18% (พิจารณาจากสัดสวนปริมาณน้ําทาที่ไหลลงโขงจากประเทศไทย) - กรณีใชน้ําโขงในฤดูแลงเต็มศักยภาพและพิจารณาผลประโยชนทางออมในการจางงาน ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจประมาณ 14-21% ขึ้นกับกรณีในการพัฒนา (สูงสุดเมื่อมีการปลูกพืชไรในฤดู แลงและมีการสํารองน้ําในอางเก็บน้ําและสระน้ําในไรนาในปลายฤดูฝนไวใชในฤดูแลง) ตารางที่ 11 ผลการศึกษาผลตอบแทนทางเศรษฐศาสตรโครงการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงที่ปากน้ําเลย ผลการวิเคราะหทางเศรษฐศาสตรของแผนพัฒนาโครงการ กรณีใชนา้ํ โขงฤดูแลง กรณีใชนา้ํ โขงฤดูแลง กรณีใชนา้ํ โขงฤดูแลง เต็มศักยภาพ ไดไมเกิน18% เต็มศักยภาพและ พิจารณาผลประโยชน ทางออมจากการจาง งาน

ดัชนีชวี้ ดั

มูลคาปจจุบนั สุทธิ (NPV)

(ลานบาท)

608,873

สัดสวนผลประโยชนตอ คาลงทุน (B/C Ratio)

(สัดสวน)

2.08

(รอยละตอป)

19.29

อัตราผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ (EIRR)

301,112 1.53 14.21

727,500 2.29 21.18

สรุป ในการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือนั้น มีขอจํากัดในดานภูมิประเทศที่เปนแหลง เก็บกักน้ํา แตมีพื้นที่ราบทําการเกษตรขนาดใหญ หากมีการพัฒนาแหลงน้ําที่เหมาะสม โดยพัฒนาแหลงน้ํา ภายในประเทศทั้งโครงการขนาดใหญ กลาง และเล็ก เพื่อกระจายการเก็บกักน้ําไปใหทั่วถึงในระดับชุมชนหรือ แปลงนา การพัฒนาระบบชลประทานใหกับหัวงานโครงการขนาดเล็กซึ่งองคกรบริหารสวนทองถิ่นไมมีงบเพียง พอที่จะดําเนินการได การเพิ่มประสิทธิภาพชลประทาน การปรับเปลี่ยนการเพาะปลูกเปนพืชใชน้ํานอย การปรับ ชวงเวลาเพาะปลูกใหสอดคลองกับการกระจายของฝน จะชวยเพิ่มพื้นที่ชลประทานในลุมน้ําชีและมูลจากปจจุบัน 4.68 ลานไร เปน 10.50 ลานไร ในชวงระยะเวลา 20-30 ป (ขึ้นกับงบประมาณรายป) เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตร ลุมน้ําชีและมูลแลวพื้นที่ชลประทานที่พัฒนาตามกลยุทธการพัฒนาแหลงน้ําในประเทศใหเต็มศักยภาพจะเพิ่มพื้นที่ ชลประทานเปนประมาณ 20% ในกรณีที่ยังเห็นวาจําเปนตองพัฒนาพื้นที่เกษตรน้ําฝนที่เหลือ 80% ใหเปนพื้นที่ เกษตรชลประทานจําเปนตองพัฒนานําน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําระหวางประเทศมาใช ในการศึกษานี้ไดพิจารณาวิธีการผันน้ําที่ประหยัดพลังงาน โดยพิจารณาการผันน้ําโขงซึ่งเปนน้ําตนทุน โดยแรงโนมถวง และกระจายน้ําตนทุนเขาสูพื้นที่ชลประทานโดยแรงโนมถวงเชนกัน ผานคลองชลประทานที่ขุด ขึ้นใหม อุโมงคที่เจาะเพื่อผันน้ําจากปากน้ําเลยมายังตนน้ําเขื่อนอุบลรัตนนั้นเปนเสมือนคาลงทุนในการสรางหัว งาน (ในสวนของแมน้ําโขงนั้น มีแกงคุดคูชวยทดระดับน้ําโขงใหอยูแลว) สวนคาลงทุนในการขุดคลองชลประทาน นั้ น มี ลั ก ษณะเดี ย วกั บ การขุ ด คลองส ง น้ํ า ชลประทานทั่ ว ไป มี ข นาดการลงทุ น เป น ไปตามสั ด ส ว นของพื้ น ที่ ชลประทาน 66


การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโน้มถ่วงและศักยภาพการพัฒนาเกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ/ฉวี วงศ์ประสิทธิพร

จากการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน พบวามีความเปนไปไดในทางวิศวกรรม และมีความคุมทุน ซึ่งใน ขั้นตอนตอไปตองทําการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตนและผลกระทบสิ่งแวดลอม รวมทั้งการพิจารณาการมีสวน รวมจากทุกภาคสวน การวางแผนเพาะปลูกพืชที่ ประหยัดน้ํา เหมาะสมกับสภาพดิน และการตลาด รวมทั้งการ พิจารณาระบบชลประทานและระบายน้ําที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ดินเค็มเพื่อปองกันการแพรกระจายของดินเค็ม อย า งไรก็ ต ามในภาคอี ส าน มี พื้ น ที่ ดิ น เค็ ม หลายระดั บ เป น ที่ ท ราบกั น ดี ว า แอ ง ที่ ร าบลุ ม ที่ มี ค วามเค็ ม เช น ทุงสัมฤทธิ์ ทุงกุลารองไห ลําเสียวใหญ เปนพื้นที่ที่เหมาะสมในการปลูกขาวหอมมะลิ และจากขอมูลของศูนยวิจัย ขาวพบวาดิน เค็มเป นปจ จัยที่ ทําให เกิดความหอมของขาวหอมมะลิดั งนั้น พื้นที่ดิ นเค็ มในภาคอี สานจึง เปนทั้ ง ขอจํากัดและโอกาสในการพัฒนาการเกษตรชลประทาน จึงตองการการพิจารณาวางแผนการใชที่ดินอยางเหมาะสม และรอบคอบจะทําใหสามารถพัฒนาพื้นที่ภาคอีสานใหความอุดมสมบูรณ ราษฎรมีรายไดและคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และลดปญหาชองวางระหวางรายได อยางไรก็ตาม ตัวเลขทั้งหมดที่แสดงในเอกสารนี้ เปนตัวเลขจากการศึกษา เบื้องตน ซึ่งอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอมในขั้นตอไป

กิตติกรรมประกาศ สําหรับแนวความคิดในการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวง กรมชลประทานไดรับแนวความคิดริเริ่มมาจาก มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ซึ่งไดนํามาศึกษาและพิจารณารวมทั้งพิจารณารับฟงความคิดเห็นจากการมีสวนรวมใน ภาคสนาม ปรับปรุงในรายละเอียดจึงมีอาจมีแนวคลองสงน้ําและพื้นที่ชลประทานแตกตางไปจากความคิดริเริ่มเดิม ในบางสวน ในการวางระบบชลประทานทั้งโดยแรงโนมถวงและสถานีสูบน้ํานั้น กรมชลประทานไดรับแนวคิดของ โครงการโขงชีมูล (ที่ศึกษาโดยกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน (เดิม)) และแนวความคิดจากมูลนิธิน้ําและคุณภาพ ชีวิต ในระหวางดําเนินการศึกษาจัดทําแผนแมบทและศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน ไดรับความรวมมือและเอื้อเฟอ ข อ มู ล จากส ว นราชการท อ งถิ่ น ในส ว นกลาง ร ว มทั้ ง การจั ด การมี ส ว นร ว มของราษฎรในพื้ น ที่ ต า งๆ และการ สัมภาษณเกษตรกร รวมทั้งไดรับความรวมมือจากเจาหนาที่ของจังหวัดที่เกี่ยวของและเจาหนาที่กรมชลประทาน สวนทองถิ่น ในระหวางการศึกษา โครงการไดรับการสนับสนุนและความสนใจจากผูบังคับบัญชาทุกระดับ ตั้งแตระดับ สํานัก กรม กระทรวงเกษตรและสหกรณและรัฐบาล ซึ่งไดใหแนวคิดตางๆ นําไปไปศึกษาเพิ่มเติม นอกจากนี้ ยัง ไดรับความคิดเห็นและความสนใจจากจากราษฎร องคกรเอกชน องคกรบริหารสวนทองถิ่น ซึ่งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรในพื้นที่วิกฤติภัยแลง (ตนน้ําชีและตนน้ํามูล) ไดจัดประชุมระดมความคิดเห็นของผูแทนองคกรสวนทองถิ่น ผูแทนเกษตรกรและอาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวของในภาคอีสาน เพื่อแสดงความคิดเห็นตอการศึกษาแนวทางผันน้ําโขง รวมทั้งนักวิชาการตางๆ อยางกวางขวาง เนื่องจากเปนแนวคิดใหมในการผันน้ําโขงประกอบกับมีขนาดโครงการ ใหญมาก จึงทําใหมีโอกาสนําความคิดเห็นตางๆ จากการนําเสนอขอมูลในการศึกษาตอที่สาธารณะมาปรับปรุง แนวทางการศึกษามาโดยตลอด นอกจากนี้แลว ในการศึกษาขั้นความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดลอมและดาน สังคมที่จะดําเนินการตอไป จะใหความสําคัญและจัดใหมีขั้นตอนของการมีสวนรวมของราษฎรมากขึ้น

67


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

เอกสารอางอิง กรมชลประทาน, 2551. รายงานแผนหลักบรรเทาอุทกภัยและแกไขปญหาภัยแลงในลุมน้ําชีและมูล. กรุงเทพมหานคร. กรมชลประทาน, 2551. รายงานศึกษาวางโครงการผันน้ํา (โขง-เลย-ชี-มูล). กรุงเทพมหานคร. กรมชลประทาน, 2548. รายงานศึกษาความเหมาะสมงานจางบริหารโครงการที่แลวเสร็จ (ภายใต โครงการโขงชีมูล). กรุงเทพหานคร. กรมชลประทาน, 2550. รายงานศึกษาผลกระทบเพิ่มเติมและจัดทําแผนปฏิบัติการลดสิ่งแวดลอมตาม แผนพัฒนาโครงการโขง-ชี-มูลระยะที่ 1. กรุงเทพมหานคร. สุวิทย ธโนภานุวัฒน, 2550. การใชน้ําโขงบนหลักการผลประโยชนแหงชาติ. เอกสารวิจัยสวนบุคคล วิทยาลัย ปองกันราชอาณาจักรปการศึกษา 2549-2550. Mekong River Committee, 2003. The State of the Basin Report. Thai National Mekong Committee (TNMC). Mekong River Committee, 2005. Strategy Directions for Integrated Water Resources Management in the Lower Mekong Basin: Draft version. MTRC – Halgrow. Powerpoint presentation. MRC Basin Development Plan Unit, 2004. Integrated National Sector Review: Draft Final Report.

68


บทที่ 6 การมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสว นเสีย และความโปรงใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบานกุม (จ. อุบลราชธานี) มนตรี จันทวงศ โครงการฟนฟูนิเวศในภูมิภาคแมน้ําโขง

บทคัดยอ ในปจจุบันแนวความคิดเรื่องการมีสวนรวมของประชาชนในสังคมไทย ตอนโยบายการพัฒนาประเทศหรือ การพัฒนาโครงการตางๆของภาครัฐ เปนแนวคิดที่ไดรับการยอมรับอยางกวางขวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งการพัฒนา โครงการขนาดใหญในอดีต ซึ่งมีบทเรียนเรื่องการละเลยกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน หรือกลุมผูมีสวนได สวนเสียในโครงการนั้นๆ และไดนําไปสูปญหาตางๆที่ติดตามมาและยากที่จะเยียวยาแกไข เมื่อโครงการตางๆ จํานวนมากนั้นไดดําเนินการไปแลว กระบวนการมีสวนรวมของประชาชนหรือกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในปจจุบัน ได รับรองไวโดยกฎหมายรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2550 ในมาตรา 57, 67 และอีกหลายมาตราที่รับรองโดยทางออมผาน ตัวแทนของประชาชนในกลไกของรัฐสภา เชน มาตรา 190 นอกจากนี้การดําเนินการของรัฐบาลและเจาหนาที่ของ รัฐ ก็ ถู ก กํ า หนดให มี ก ระบวนการทํ า งานที่โ ปร ง ใส มี ธรรมาภิ บ าลภายใต พ ระราชกฤษฎี ก าการบริ ห ารจั ด การ บานเมืองที่ดี ในกรณีของการลงนามในบันทึกความเขาใจเพื่อศึกษาโครงการเขื่อนบานกุม ระหวางประเทศไทยกับ ประเทศ สปป.ลาว ของรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 ที่ผานมานั้น กลาวไดวาเปน การเริ่มตนกระบวนการพัฒนาโครงการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขง ซึ่งเปนพรมแดนระหวางประเทศทั้งสองนี้อยางเปน ทางการแหงแรกของประเทศไทย สําหรับในสวนของประเทศไทย ทั้งกอนและหลังการลงนามในบันทึกความเขาใจ นั้น กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดริเริ่มศึกษาความเหมาะสมและ ความเปนไปไดเบื้องตน โครงการเขื่อนบานกุม มาตั้งแตป พ.ศ. 2548 แตยังไมไดเปดเผยและเผยแพรใหประชาชน และกลุมผูมีสวนไดสวนเสียจากโครงการไดรับรูขอมูลในดานตางๆ โดยเฉพาะกลุมประชาชนในพื้นที่โครงการที่จะ ไดผลกระทบโดยตรง ยังคงเปนกลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่รับรูขอ มูลการพัฒนาโครงการนอยที่สุดจนถึงทุกวันนี้ ในบทความชิ้นนี้ จะไดทําการตรวจสอบ และชี้ใหเห็นประเด็นปญหาของ การขาดกระบวนการมีสวนรวม ของประชาชน และความโปรงใสในกระบวนการดําเนินการของภาครัฐและราชการ ที่เกิดขึ้นทั้งกอนและหลังการลง นามบันทึกความเขาใจที่กลาวไวขางตน เพื่อเปนบทเรียนและการปรับปรุงกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนและ ความโปรงใส โดยเฉพาะในโครงการเขื่อนบนแมน้ําระหวางประเทศและมีผลกระทบขามพรมแดนตอไป


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

บทนํา เหตุการณที่คณะรัฐมนตรีที่มีนายสมัคร สุนทรเวชเปนนายกรัฐมนตรี ไดอนุมัติรางบันทึกความเขาใจ เรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย - ลาว (โครงการเขื่อนบานกุม) ที่เสนอโดย กระทรวงการตางประเทศในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 และไดอนุมัติใหนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงตางประเทศ ไปรวมลงนามกับรัฐบาล สปป.ลาว โดยมีการลงนามกันที่กรุงเวียงจันทน ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 ทั้งๆที่เพิ่งจัดตั้งรัฐบาลไดไมถึง 1 เดือน ในขณะที่กระทรวงที่เกี่ยวของและศึกษาเรื่องนี้มากอนอยาง กระทรวงพลังงาน ก็ปดปากเงียบ และปฏิเสธที่จะเขามาเกี่ยวของกับโครงการเขื่อนบานกุมจนถึงบัดนี้ เหตุการณตอมา นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ไดกลาวถึงเขื่อนบานกุมในรายการ สนทนาประสา สมัคร เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 วา ไดดําเนินการทําขอตกลงศึกษารวมกับรัฐบาลลาวแลว และจะ ผลักดันใหมีการสรางเขื่อนบานกุมใหไดโดยเร็ว รวมทั้งไมควรเรียกเขื่อนบานกุมวา เขื่อน แตควรเรียกวา Check Dam หรือฝายแมว ความจริงแลวเพียงสองเหตุการณนี้ ก็มากเพียงพอที่จะสรุปไดวา การตัดสินใจผลักดันโครงการเขื่อน บานกุมในสมัยรัฐบาลนายสมัครรวมกับรัฐบาล สปป.ลาวนั้น ไมมีอะไรเลยที่เรียกไดวา เปนการตัดสินใจบน หลักการเรื่องการมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โดยเฉพาะประชาชนที่จะไดรับผลกระทบในจังหวัด อุบลราชธานี และเรื่องความโปรงใสในกระบวนการผลักดันโครงการของรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช เขื่อนบานกุมไมไดเพิ่งจะมีการริเริ่มศึกษาในรัฐบาลสมัคร แตมีการศึกษาในภาพรวมของการพัฒนาเขื่อน ไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงมานานรวม 4 ทศวรรษ เพียงแตที่ผานมา ยังไมเคยเกิดความรวมมือในการศึกษารวมกัน อยางเปนทางการ ระหวางสองประเทศนี้ การผลักดันโครงการเขื่อนบานกุมอยางปจจุบันทันดวน นาจะสะทอนให เห็นถึงพลังผลักดันภายนอกที่มองไมเห็น ผานกลไกทีส่ ลับซับซอนและตรวจสอบไดยากของทั้งสองประเทศ เพื่อ บุกเบิกโครงการเขื่อนบานกุมที่มีมูลคาเกือบหนึ่งแสนลานบาท โดยไมไดสนใจวาพลังงานไฟฟาสํารองของไทยนัน้ จะทวมลนเกินอยูในระบบมากนอยเพียงใด สถานการณขางตนนี้ ไดนําไปสูการตรวจสอบจากองคกรและหนวยงานตางๆของประเทศไทย อาทิเชน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ, คณะกรรมาธิการสิ่งแวดลอม วุฒิสภา, คณะกรรมาธิการตรวจสอบการทุจริต และเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา คณะกรรมาธิการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย สภาผูแทนราษฎร รวมทั้ง องคกรภาคประชาสังคมอื่นๆ เชน เครือขายประชาสังคมไทยเพื่อแมน้ําโขง และเครือขายประชาสังคมใน จังหวัด อุบลราชธานี ผลการตรวจสอบโดยรวมชี้ใหเห็นแนวโนมที่ชัดเจน ในเรื่องการขาดกระบวนการมีสวนรวมของกลุมผู มีสวนไดสวนเสียและขาดความโปรงใส แตผลในทางปฏิบัติในอันที่จะนําไปสูการยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 และการยกเลิกบันทึกความเขาใจระหวางประเทศนั้น ก็อาจจะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นไดยากและมี ความออนไหวตอความสัมพันธระหวางประเทศ ถึงแมวาในปจจุบันจะมีการเปลี่ยนรัฐบาล รัฐบาลในปจจุบันเคย วิพากษวิจารณโครงการนี้เมื่อยังคงเปนฝายคานในสภา ปจจุบันเมื่อเขามาเปนกุมอํานาจฝายบริหาร ก็ยังมิได ดําเนินการใดๆ ที่จะทําใหเกิดการมีสวนรวมของประชาชนและความโปรงใสมากกวารัฐบาลชุดที่ผานมา

70


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

ขอบเขตการศึกษาและวิธีการศึกษา การศึกษานี้ จะเนนในเรื่อง กระบวนการมีสวนรวมของกลุม ผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ และความโปรงใสของ การพัฒนาโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงสายหลัก ซึ่งไดมีการพัฒนาโครงการมานานกวา 3 ทศวรรษ โดยจะดูในขอบเขตของประเทศไทยเปนหลัก สําหรับในสวนของประเทศ สปป.ลาวนั้น ซึ่งมีรูปแบบทางการเมือง การปกครองทีแ่ ตกตางไปนั้น ขอบเขตการศึกษาจะไมครอบคลุมถึงในสวนนี้ ขอบเขตการศึกษาที่กําหนดไวไดแก 1. ความเปนมาของโครงการ และสถานะปจจุบัน ของการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม 2. กระบวนการมีสวนรวมและบทบาทของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ตอการพัฒนาโครงการเขื่อน บานกุมทั้งกอนและหลัง การลงนามบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลไทยกับสปป.ลาว 3. ความโปรงใสและธรรมาภิบาล ของกระบวนการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม วิธีการศึกษา เปนการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของ จากเอกสารรายงานการศึกษาตางๆ ที่มีการเผยแพรขอมูล จากเว็บไซดที่เกี่ยวของและขาวในสื่อมวลชน นํามาประมวลและวิเคราะหตามกรอบการศึกษาขางตน

ผลการศึกษา 1. ความเปนมาของโครงการ และสถานะปจจุบัน ของโครงการเขื่อนบานกุม 1.1 เขื่อนบานกุมกับแผนการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลักตอนลาง เขื่ อ นบ า นกุ ม เป น หนึ่ ง ในแผนพั ฒ นาเขื่ อ นไฟฟ า พลั ง น้ํ า ที่ จ ะถู ก สร า งกั้ น แม น้ํ า โขงสายหลั ก โดย คณะกรรมการแมน้ําโขงไดนําเสนอแผนการสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําและการชลประทาน ในป พ.ศ.2513 ซึ่งมีกําลัง ผลิตไฟฟารวมกันถึง 23,300 เมกกะวัตต และโครงการหนึ่งที่เปนที่รูจักกันในขณะนั้นคือ โครงการเขื่อนผามอง ขนาด 4,800 เมกกะวัตต จะมีพื้นที่อางเก็บน้ํามากถึง 3,700 ตารางกิโลเมตร และตองอพยพประชาชนในขณะนั้น มากถึง 250,000 คน อยางไรก็ตามผลกระทบจากสงครามอินโดจีน ไดสงผลใหโครงการเขื่อนไฟฟาบนแมน้ําโขง ตอนลางทั้งหมดตองยุติลงชั่วคราว เมื่อสงครามอินโดจีนสิน้ สุดลง ในป พ.ศ. 2537 สํานักงานเลขาธิการ คณะกรรมการแมน้ําโขง ไดเผยแพร การศึกษาโครงการเขื่อน ไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงขึ้นมาใหมรวม 11 เขื่อน (Mekong Secretariat Study Team, 1994) โดยไดเปลี่ยนแบบเขื่อนเปนเขื่อนแบบ Run-of-river ทั้งหมด มีความสูงระหวาง 30-60 เมตร เขื่อนไฟฟาชุด ใหมนี้จะสรางอางเก็บน้ํามีความยาวรวมกันกวา 600 กิโลเมตร โดยมีกาํ ลังผลิตติดตั้งทั้งหมดประมาณ 13,350 เมกกะวัตต และไฟฟาสวนใหญที่ผลิตไดจะขายใหแกประเทศไทย ในป พ.ศ. 2538 สี่ประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง ไดแก ไทย ลาว กัมพูชาและเวียดนาม ไดรวมกันลงนาม ในความตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน (Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) และจัดตั้งคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ที่ผานมา คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงยังคงพยายามพัฒนาขอเสนอการสรางเขื่อนไฟฟาบนแมน้ําโขงใหเกิดขึ้นเปนรูปธรรม ลาสุดคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ไดจัดการประชุม Regional Multi-Stakeholder Consultation on the MRC Hydropower Programme ที่นครเวียงจันทน ระหวางวันที่ 25-27 กันยายน พ.ศ. 2551 การประชุมในครั้งนี้ได 71


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ยืนยันใหเห็นวา ขอเสนอการสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําบนแมน้ําโขงสายหลักตอนลางที่มีมากวาสามทศวรรษ และ เคยถูกละทิ้งไปแลวในอดีต ไดฟนคืนชีพขึ้นแลว โดยมีบริษัทเอกชนสัญชาติไทย มาเลเซีย เวียดนาม รัสเซีย และ จีน ไดรับไฟเขียวจากรัฐบาลในลุมแมน้ําโขงตอนลาง ใหเดินหนาศึกษาความเปนไปไดของโครงการ ในขณะนี้มี การศึกษาอยูดวยกัน 11 เขื่อน โดย 7 เขื่อนอยูในประเทศ สปป.ลาว สองเขื่อนอยูระหวางพรมแดนไทย-สปป.ลาว และอีก 2 เขื่อนอยูในประเทศกัมพูชา ในสวนของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงนั้น ไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณจากประเทศฟนแลนด สําหรับใชใน The MRC Hydropower Programme ป ค.ศ. 2008 ถึง 286,000 ดอลลาหสหรัฐ เปรียบเทียบกับกอน หนานี้ใน MRC ไดเงินจากรัฐบาลญี่ปุนในป ค.ศ. 2007 สําหรับโครงการ Initial Analysis of Hydropower Potentials in LMB จํานวน 500,000 ดอลลาหสหรัฐ และชวงป ค.ศ. 2003 ค.ศ. 2004 และค.ศ.2005 รัฐบาลญี่ปุน ไดสนับสนุนงบประมาณในโครงการ Formulation of Hydropower Development Strategy จํานวน 3,884 และ 8,355 และ 2,862 ดอลลาหสหรัฐ ตามลําดับ (Mekong River Commission 2008) โครงการเขื่อนขนาดใหญบนแมน้ําโขงสายหลัก ถูกผลักดันภายใตขอกลาวอางถึงความตองการไฟฟาใน ภูมิภาคที่สูงขึ้นตลอดเวลา ทําใหรัฐบาลในภูมิภาคแมน้ําโขงตางใชมันเปนเครื่องมือในการผลักดันโครงการเขื่อน ขนาดใหญมูลคามหาศาล โดยมีประเทศไทยและประเทศเวียดนามรับบทเปนผูซื้อรายใหญของภูมิภาค และมี ประเทศลาวประกาศวาเปน “แบตเตอรี่” ที่จะปอนพลังงานใหกับภูมิภาค โดยมิไดพิจารณาวาจะมีไฟฟาลนเกิน ความตองการเพียงใด และมิไดใหความสําคัญกับพลังงานทางเลือกอื่น ๆ ที่มีประสิทธิภาพและยั่งยืนโดยที่ไมตอง ทุมทุนมหาศาล 1.2 การศึกษาเขื่อนบานกุม โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ในสวนของประเทศไทย ในป พ.ศ. 2548 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวง พลังงาน ไดวาจาง บริษัท ปญญา คอนซัลแตนท จํากัด และ บริษัท มหานครคอนซัลแตนท จํากัด ศึกษาศักยภาพ การกอสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําแบบขั้นบันไดในแมน้ําโขง ผลการศึกษาไดเสนอโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําที่มี ความเหมาะสมทางวิศวกรรมและทางเศรษฐกิจ 7 โครงการไดแก เขื่อนไฟฟาพลังน้ําคอนฟอล (ลาว) เขื่อนไฟฟา พลังน้ําบานกุมขนาด 2,175 เมกะวัตต (พรมแดนไทย-ลาว) เขื่อนไฟฟาพลังน้ําไชยบุรี (ลาว) เขื่อนไฟฟาพลังน้ําผา มอง (พรมแดนไทย-ลาว) เขื่อนไฟฟาพลังน้ําหลวงพระบาง (ลาว) เขื่อนไฟฟาพลังน้ําปากเบง (ลาว) และเขื่อน ไฟฟาพลังน้ําสามบอ (กัมพูชา) ในป พ.ศ. 2550 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงาน ไดจาง บริษัท ปญญา คอนซัลแตนท จํากัด และบริษัท แมคโครคอนซัลแตนท จํากัด ทําการศึกษา “รายงานกอนรายงานความ เหมาะสมและรายงานสิ่งแวดลอมเบื้องตน” ในโครงการเขือ่ นไฟฟาปากชม และเขื่อนไฟฟาบานกุม (ซึ่งไดเปลี่ยนชื่อ เขื่อนใหมวา โครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายบานกุมตามลําดับ) การศึกษานี้แลว เสร็จในเดือนเมษายน พ.ศ. 2551 สรุปลักษณะโครงการที่สําคัญไดดังนี้

72


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

1) รายละเอียดดานเทคนิค เขื่อนบานกุม ไดแก 1. ติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด 1,872 เมกะวัตต และมีกําลังการผลิตพึ่งได 375.68 เมกะวัตต (ประมาณ 20% ของกําลังผลิตติดตั้ง) 2. มีระดับเก็บกักสูงสุดที่ 115 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง (ม.รทก.) 3. เกิดอางเก็บน้ํายาว 110 กิโลเมตร มีความจุขนาด 2,111 ลาน ลูกบาศกเมตร 4. มีพื้นที่น้ําทวม 98,806 ไร จําแนกเปนพื้นทีน่ ้ําทวมตลิ่งฝงประเทศไทย 5,490 ไรและตลิง่ ฝง ประเทศลาว 8,368 ไร 5. ติดตั้งประตูระบายน้ําจํานวน 22 บาน ขนาด กวาง 20 เมตร สูง 25.50 เมตร 6. ชองเดินเรือ 2 ชอง ขนาด กวาง 20 เมตร ยาว 200 เมตร และชองทางปลาผาน (Fish way) หรือ บันไดปลาโจน 7. พลังงานไฟฟาสุทธิเฉลี่ยปละ 8,012.17 ลานหนวยและพลังงานไฟฟาพึ่งไดสุทธิเฉลี่ยปละ 3,078.74 ลานหนวย 8. ตนทุนโครงการรวม 95,348 ลานบาท และตนทุนโครงการเมื่อรวมเงินเฟอและดอกเบีย้ รวม 120,390 ลานบาท 9. ตนทุนพลังงานไฟฟา 1.37 บาทตอหนวย (คิดจาก พลังงานไฟฟาสุทธิเฉลี่ยปละ 8,012.17 ลาน หนวย) 2) รายงานการศึกษาเขื่อนบานกุม ไดคํานวณผลประโยชนในดานตางๆไวดังนี้ 1. รายไดจากการขายไฟฟาไฟฟา 14,181 ลานบาท (คิดจากพลังงานไฟฟาสุทธิเฉลี่ยปละ 8,012.17 ลาน หนวย) 2. ดานคมนาคมทางน้ํา 135 ลานบาท 3. ดานประมง 270 ลานบาท 4. ลดคารบอนไดออกไซด 5.49 ลานตัน/ป หรือ ลดการนําเขาน้ํามันเตา 24,168 ลานบาท/ป 5. สามารถพัฒนาโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา 17 โครงการ ทั้งฝง ไทยและลาว ในพื้นที่ 56,600 ไร ดวยงบประมาณลงทุนรวม 422.842 ลานบาท 3) รายงานการศึกษาฯไดสรุปผลกระทบและแนวทางการลดปญหาผลกระทบไวดังนี้

73


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 1 ตารางสรุปผลกระทบและแนวทางการลดปญหาผลกระทบโครงการเขื่อนบานกุม ผลกระทบ แนวทางการลดปญหาผลกระทบ 1. น้ําทวมหมูบาน 4 หมูบานจํานวน 239 ครัวเรือน กอสรางคันปองกันน้ําทวม โดยไมตอง อพยพบานเรือนในไทยและลาว • ไทยมี 1 หมูบานคือ บานคันทาเกวียน อ.โขงเจียม จ. อุบลราชธานี จํานวน 29 หลังคาเรือน • ลาวมี 3 หมูบาน คือ บานกุมนอย บานคําตื้อ บานคันทุงไชย จํานวน 44 , 93 , 73 หลังคาเรือนตามลําดับ 2. เวนคืนพื้นทีห่ ัวงานเขื่อน ทีบ่ านทาลง และบานกุมนอย ชดเชยคาที่ดินและบานเรือน 3. พื้นที่น้ําทวมตลิ่งแมน้ําโขง ซึง่ เปนพืน้ ที่เกษตรกรรมริมแมน้ําโขง รวม ชดเชยคาที่ดินและพื้นที่เพาะปลูก 13,858 ไร ซึง่ เปนพื้นที่ปลูกพืชระยะสั้นในฤดูแลง เพือ่ เปน อาหาร (12,000 บาท/ไร) การทอผาและรายไดของชุมชน แบงเปน ตลิ่งฝงไทยจํานวน 5,490 ไร และตลิ่งฝงลาว สปป.ลาวจํานวน 8,368 ไร 4. อาชีพประมงของชุมชนดานเหนือเขื่อน ซึ่งมีรายไดหลักจากการ ชดเชยคาเสียโอกาสในการทํากิน ประมง เชน เทียบเทาการลงทุนเปลี่ยนอาชีพเปน เลี้ยงปลาในกระชัง (160,000 บาท/ • ไทย เชน บานคันทาเกวียน, ปากลา, ดงนา, ผาชัน, สําโรง, ปากหวยมวง, สองคอน, คันพะลาน, ดอนงิว้ , บุงแซะ, ปากแซง, ครัวเรือน) นาทราย, นาหินโงน, ลาดหญาคา, นาแวง, บุงของ, นาเมือง, หนองวิไล, บานเหนือ, นาสนาม, แกงเกลี้ยง, อุบมุง, หวยยาง, บุงซวย, บุงเขียว • ลาว เชน บานกุมนอย, คําตื้อ, คันกกมวง, คันทุงไซย, ปากหวยเดื่อ, หาดสะโน, แสนพัน 5. น้ําทวมเขตอุทยานแหงชาติผาแตม รวมพื้นที่ 480 ไร กอนเริ่มโครงการ ตองขอเพิกถอน พื้นที่อุทยานแหงชาติกอน 6. การปดกั้นการอพยพของปลาในแมน้ําโขง สรางบันไดปลาโจน และเพาะพันธุปลา ที่ผานไมได นํามาปลอยทั้งเหนือเขื่อน และใตเขื่อน 7. ผลกระทบดานอาชีพประมงดานใตเขื่อน เชน บานทาลง, บานตามุย, ไมระบุในการศึกษาฯ บานกุม, บานเวินบึก อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี 8. ผลกระทบดานการสูญเสียระบบนิเวศและแหลงทองเทีย่ วของ จ. ไมระบุในการศึกษาฯ อุบลราชธานี เชน ผาชัน, แกงสามพันโบก, แกงสะเลกอน-ดอนใหญ, หาดสลึง, หาดบานปากแซง, วังปลา ฯลฯ รวมทั้ง เถาวัลยยักษ และ น้ําตกแสงจันทร(น้ําตกลอดรู) ในเขตอุทยานแหงชาติผาแตม 9. ผลกระทบดานการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําและอัตราการไหลของแมน้ํา ไมระบุในการศึกษาฯ โขงดานเหนือเขื่อนและทายเขื่อน 10. ผลกระทบตอระบบนิเวศแมน้ําโขงโดยรวม นอกพืน้ ที่โครงการเขือ่ น ไมระบุในการศึกษาฯ บานกุม 74


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

รูปที่ 1 แผนทีแ่ สดงหมูบานดานเหนือและดานใต ของเขื่อนบานกุม

รูปที่ 2 ภาพตัดขวางแมน้ําโขง แสดงขอบเขตพื้นที่น้ําทวม และผลกระทบตอการจับปลา และการปลูกพืชริมตลิ่ง 75


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

4) รายงานการศึกษาฯ ไดเสนอแนวทางการบริหารโครงการ 3 แนวทาง ไดแก 1. การจัดตั้งคณะกรรมการรวม (joint committee) โดยกรรมการรวมจะทํา MOU เพื่อกําหนด เงื่อนไขและรายละเอียดของการเชิญชวนและคัดเลือกผูลงทุนพัฒนาโครงการ รวมถึงมูลคาการ ลงทุน การใหสิทธิประโยชน ภาระภาษี คาสิทธิหรือคาสัมปทานแกรัฐบาลทั้งสองประเทศ 2. การจัดตั้งบริษัทรวมทุนระหวางประเทศสองประเทศ (holding company) เพื่อใหสัมปทานแก บริษัทผูดําเนินการ เปนผูมีสิทธิเพียงผูเดียวในการพัฒนาโครงการ โดยมีรูปแบบของการรับโอน สิทธิในสัมปทาน ในระยะเวลา 25-30 ป และบริษัทผูดําเนินการอาจเชิญผูรวมลงทุนอื่นๆมารวม พัฒนาโครงการได 3. รัฐบาลทั้งสองประเทศดําเนินการโครงการโดยตรง โดยจัดตั้งบริษัทรวมทุนเพื่อดําเนินการเอง (Joint Operating Committee) ในสัดสวน 50:50 รายงานการศึกษาระบุวา ขั้นตอนการจัดตั้งคณะกรรมการรวมตามรูปแบบที่ 1 สามารถทําไดทันที แตใน กรณีมีการทํา MOU ตองดําเนินการรัฐธรรมนูญมาตรา 57 และ 190 กอน ในสวนการรับฟงความคิดเห็นจาก ประชาชน และการไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภาในเนื้อหา เงื่อนไข รวมถึงรายละเอียดของขอตกลงตามบันทึก ความเขาใจในการพัฒนาโครงการรวมกันของทั้งสองประเทศ โดยหนวยงานหลักของไทยควรอยูในความรับผิดชอบ ของกระทรวงพลังงาน 5) รายงานการศึกษาระบุเรือ่ งการมีสวนรวมของประชาชนไวดังนี้ บริษัทที่ดําเนินการศึกษาฯ ไดจัดการประชุมเพื่อใหผูมีสวนไดเสียในพื้นที่โครงการ มีสวนรวมอยางเต็มที่ ในการศึกษาโครงการดานตางๆ โดยไดแบงการประชุมเปน 2 ระดับ คือ 1. การประชุมระดับพื้นที่โครงการ 2 ครั้ง ไดแก 1.1 การประชุมปฐมนิเทศโครงการ จํานวน 5 ครั้ง ที่อําเภอเขมราฐ อําเภอนาตาล อําเภอโพธิ์ไทร อําเภอ โขงเจียมและอําเภอศรีเมืองใหม จ.อุบลราชธานี ระหวางวันที่ 24-25 กันยายน และ 4-9 ตุลาคม พ.ศ. 2550 1.2 การประชุมระดับพื้นที่โครงการครั้งที่ 2 จํานวน 5 ครัง้ ที่อําเภอเขมราฐ อําเภอนาตาล อําเภอโพธิ์ไทร อําเภอโขงเจียมและอําเภอศรีเมืองใหม จ.อุบลราชธานี ระหวางวันที่ 11-14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 2. การประชุมระดับประเทศ 2 ครั้ง (สปป.ลาว และประเทศไทย) ดังนี้ 2.1 การประชุมปรึกษาหารือ ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมดอนจันทน กรุงเวียงจันทน สปป. ลาว เปนการประชุมรวมระหวางหนวยงานราชการและเอกชนของประเทศไทยและสปป.ลาว 2.2 การสัมมนาโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและฝายบานกุม ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ โรงแรมเดอะทวิน ทาวเวอร กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เปนการประชุมชี้แจงรายละเอียดและแนวทางการ ดําเนินงานโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและฝายบานกุมใหแกหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน และ บริษัทดานการลงทุน

76


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

รูปที่ 3 สวนมันเทศ บนหาดทรายแมน้ําโขง ในฤดูแลง ทีบ่ านสองคอน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี

รูปที่ 4 การทําประมงของชาวบานผาชัน อ.โพธิ์ไทร จ.อุบลราชธานี

77


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

1.3 สถานะปจจุบันของเขื่อนบานกุมในประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 เปนตนมา ในสวนของประเทศไทยมีการเคลื่อนไหวของภาคประชา 1 สังคม และกลไกตรวจสอบอิสระอยางตอเนือ่ ง2 ตอเหตุผลความจําเปนของโครงการ และกระบวนการที่รวบรัดตัด ตอนของฝายรัฐบาล อยางไรก็ตามรัฐบาลไดชี้แจงเรือ่ งการลงนามบันทึกความเขาใจเขื่อนบานกุม อยางเปนทางการ เพียงครัง้ เดียวเทานั้น การตอบกระทูถามสดของสภาผูแทนราษฎร ของนายเตช บุญนาค รมต.ตางประเทศใน ขณะนั้น ในวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2552 สรุปประเด็นสําคัญในเรือ่ งการใหบริษัทเอกชนเขามาเปนผูดําเนินการ ศึกษาความเปนไปไดวา (กระทรวงการตางประเทศ 2552) “...สําหรับประเด็นเรื่องการใหการสนับสนุนบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท เอเชียคอรปโฮลดิ้ง ลิมิเต็ด เปนผูทําการศึกษาความเปนไปไดของโครงการนั้น เปนขอเสนอของรัฐบาล สปป.ลาว ที่เสนอใหภาคเอกชนที่จะทําการศึกษาความเปนไปไดของโครงการฯ ควรเปนผูที่มีประสบการณ และความนาเชื่อถือรวมถึงประสบการณดานการลงทุนประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว.....อีกทั้งพิจารณาเห็นวา การเขามาลงทุนทําการศึกษาของบริษัทฯ ดังกลาว มิไดมีเงื่อนไขผูกพันรัฐบาล ทั้งในดานงบประมาณและ การดําเนินโครงการในระยะตอไป...” รวมทั้งไดชี้แจงในเรื่องการปฏิบัติตามกฎหมายของประเทศไววา “.....หากตัดสินใจที่จะพัฒนาโครงการทั้งสองฝายตองดําเนินการตามระเบียบและขอกฎหมายภายในที่ เกี่ยวของ โดยในสวนของไทยที่สําคัญ ไดแก - รัฐธรรมนูญมาตรา 57 วาดวยสิทธิในขอมูลขาวสารซึ่งบุคคลยอมมีสิทธิไดรับขอมูล คําชี้แจงและ เหตุผลจากหนวยงานของรัฐ กอนการอนุญาตหรือการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบตอ คุณภาพสิ่งแวดลอมสุขอนามัย คุณภาพชีวิตหรือสวนไดเสียสําคัญอื่นใดที่เกี่ยวกับตนหรือชุมชนทองถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนตอหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อนําไปประกอบการพิจารณาในเรื่อง ดังกลาว - รัฐธรรมนูญมาตรา 67 ซึ่งกําหนดวาการดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบ ตอชุมชนอยางรุนแรงทั้งทางดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะตองมีการศึกษา และประเมินผลกระทบตอคุณภาพสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดใหมีกระบวนการ รับฟงความคิดเห็นของประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน - การดําเนินการตามกฎหมายอื่นๆ ไมวาจะเปนพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 รวมทั้งความ

1

การตรวจสอบของภาคประชาสังคม เชน การออกแถลงการณของเครือขายประชาสังคมไทยเพื่อแมน้ําโขง วันที่ 26 มีนาคม 2551 และวันที่ 27 พฤษภาคม 2551 , เวทีสาธารณะ : คนอุบลและสังคมไทยกับโครงการเขือ่ นไฟฟาบานกุม จัดโดย ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง คณะ ศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รวมกับ ภาควิชาการปกครองทองถิ่น คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฐ อุบลราชธานี ในวันที่ 6 กันยายน 2551 2 กลไกตรวจสอบอิสระที่เขามาตรวจสอบไดแก กรรมาธิการตรวจสอบการทุจริตและเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา, กรรมาธิการสิ่งแวดลอม วุฒิสภา, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

78


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

ตกลงระหวางประเทศเกี่ยวกับระเบียบปฏิบัติของการใชน้ําในแมน้ําโขงในฐานะที่ไทยและลาวเปนสมาชิก คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) - นอกจากนี้ เมื่อจะตองเจรจาจัดทําความตกลงกับฝายลาวเพื่อดําเนินโครงการดังกลาว ก็จะตอง ดําเนินการตามรัฐธรรมนูญมาตรา 190 ดวย” (เพิ่งอาง) ถึงแมวากระทรวงตางประเทศจะชี้แจงวา รัฐบาลไทยไมขัดของตอขอเสนอของรัฐบาลสปป.ลาว ที่ให บริษัทเอกชนเขามาดําเนินการศึกษา ไดแก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชีย คอรปโฮลดิ้ง ลิมิเต็ด แตในสวนของประเทศไทยนั้น การมอบหมายใหบริษัทเอกชนทั้งสองแหงดังกลาวนี้ เขามา ดําเนินการศึกษาอยางเปนทางการยังไมเกิดขึ้นจนถึงปจจุบันนี้ กระทรวงพลังงาน ซึ่งเปนกระทรวงที่ดูแลเรื่อง พลั ง งานไฟฟ า โดยตรง ได ชี้ แ จงตอกย้ํ า ในประเด็ น ที่ ค ณะรั ฐ มนตรี ยั ง มิ ไ ด ม อบหมายให เ อกชนรายใดเข า มา ทําการศึกษา ตลอดชวงป พ.ศ. 2551 และตอเนื่องมาจนถึงป พ.ศ. 2552 เชน กรณีที่ 1 นายพานิช พงศพิโรดม อธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ไดชี้แจงใน หนังสือพิมพ มติชน ในคอลัมน บ.ก. ฟอรัม่ กรณีเขื่อนกัน้ แมน้ําโขง (จดหมายถึงบก.) วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ในสองประเด็นสําคัญไดแก ประเด็นที่ 1 พพ.-อิตาเลียนไทยฯ แอบเรงศึกษาความเปนไปไดสรางเขื่อนกั้นแมน้ําโขงที่อุบลฯ ขอชี้แจง จากมติ ครม. เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 ใหภาคเอกชนเปนผูศึกษาความเปนไป ได ดังนั้น พพ.จึงไมไดดําเนินการศึกษาโครงการฝายบานกุมตอ ซึ่งการศึกษาขั้นตอไปจะตองศึกษาความ เหมาะสม (feasibility) และศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับ EIA ดวย สําหรับกรณีบริษัท อิตาเลียนไทยฯ และบริษัท เอเชียคอรปฯ เรงการศึกษาโครงการฝายบานกุม นั้น พพ.มิไดมีสวนเกี่ยวของแตอยางใด แตคาดวาบริษัทดังกลาวดําเนินการตาม MOU ที่ไดลงนามรวมกับ สปป.ลาว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 ศึกษาความเปนไปไดของโครงการฝายบานกุม (feasibility) และเสนอใหรัฐบาล สปป.ลาว พิจารณา ซึ่งมิไดเกี่ยวของกับกระทรวงพลังงานและ พพ.แตอยางใด ประเด็นที่ 2 รัฐบาลไทย โดย อดีต รมว.ตางประเทศ (นายนพดล ปทมะ) และผูแทน สปป.ลาว ไดลงนาม ความรวมมือ (MOU) ที่นครเวียงจันทนโดยมอบให บริษัทอิตาเลียนไทยฯ และบริษัทเอเชียคอรป ศึกษา ความเปนไปไดในการสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ํากั้นแมน้ําโขง ที่ชายแดนไทย-ลาว ระหวางบานทาลง อ.โขง เจียม จ.อุบลฯ กับแขวงจําปาสัก สปป.ลาว ข อ ชี้ แ จง รั ฐ บาลไทย โดยกระทรวงการต า งประเทศ ได มี ก ารลงนามใน MOU ระหว า ง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ ของ สปป.ลาว และไทย เรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงาน ไฟฟาระหวาง 2 ประเทศ เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 โดยจะสนับสนุนใหภาคเอกชนดําเนินการศึกษา ความเปนไปไดของโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายบานกุม ซึ่งใน MOU ดังกลาว ไมไดมีการมอบหมายให เอกชนรายใด เปนผูดําเนินการศึกษาโครงการฯ

79


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

กรณีที่ 2 จดหมายของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน โดยนายบุญสง เกิดกลาง (รอง อธิบดี รักษาราชการแทน) ถึงผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี ลงวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ชี้แจงใน ประเด็นบริษัทเอกชนตามมติครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 วา “.....เนื่องจากมติครม.เมื่อวันที่ 11 มี.ค. 2551 ใหภาคเอกชนเปนผูศึกษาความเปนไปได (feasibility) ซึ่งจะ รวมถึงผลกระทบสิ่งแวดลอมระดับ EIA ดวย ดังนั้น พพ.จึงไมไดดําเนินการศึกษาในโครงการนี้...” กรณีที่ 3 คําชี้แจงของ นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงาน 3 เรื่องบทบาท ของ พพ. ตอโครงการเขือ่ นบานกุม หลังมติ ครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 สรุปสาระสําคัญดังนี้ • มติ ครม. วันที่ 11 มีนาคม ซึ่งเสนอโดยกระทรวงตางประเทศ มีมติมอบหมายใหเอกชนศึกษาความ เปนไปได ดังนั้น พพ. จึงตองปฏิบัติตามมติ ครม. โดยไดหยุดการดําเนินการการศึกษาโครงการ เขื่อนบานกุมทั้งหมด • พพ. ไมไดรับแจงอยางเปนทางการจากกระทรวงการตางประเทศ หรือจากรัฐบาลไทย วามอบหมาย ใหเอกชนรายใดเปนผูศึกษา สําหรับ บริษัท อิตาเลียนไทย ที่เขามาดําเนินการศึกษาอยางไมเปน ทางการ กระทรวงพลังงานหรือ พพ. ไมไดรับทราบ ไมไดรับการติดตอมาวาจะเปนผูดําเนินการ ศึกษา • สําหรับกรณีประเทศไทย ถาเปนโครงการลักษณะที่กอใหเกิดผลกระทบ โดยปกติขั้นตอนศึกษา EIA สวนราชการจะเปนผูของบประมาณศึกษา เพราะรัฐจะเปนหนวยงานกลาง รัฐควรจะเปนผูรูขอมูล เพื่อที่จะควบคุมเอกชนซึ่งเปนผูดําเนินการได • การใหเอกชนเปนผูศึกษา อาจเกิดการบิดเบือนตัวเลขดานผลกระทบ หรือดานคาลงทุนหรือการแบง ผลประโยชน นอกจากนี้มติครม. ที่มอบหมายใหภาคเอกชนเปนผูศึกษานั้น ในสวนของไทย ตองดูใน เรื่องความถูกตองกับระเบียบพัสดุการจัดซื้อจัดจางดวย เพื่อปองกันความผูกพันตอเนื่องระหวาง บริษัทที่กําลังเขามาศึกษาความเปนไปไดในขณะนี้ กับการไดรับสัมปทานในอนาคต • กรมฯจะรางหนังสือตอบจังหวัดอุบลราชธานีวา กระทรวงพลังงานหรือรัฐบาลยังไมไดมอบหมายให เอกชนรายใดเปนผูดําเนินการศึกษา อยางไรก็ตามทามกลางความไมชัดเจนนี้ บริษัท อิตาเลียนไทยฯ ไดมีจดหมายถึงผูวาราชการจังหวัด อุบลราชธานี ขออนุญาตเขาทํางานเพื่อสํารวจดานธรณีวิทยาโครงการเขื่อนบานกุม เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 โดยระบุในจดหมายวาเปนบริษัทเอกชนที่ไดรับมอบหมายตามมติ ครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 อยางไรก็ ตาม ผูวาราชการจังหวัดอุบลราชธานี ไดมีจดหมายตอบกลับไปยังบริษัท อิตาเลียนไทยฯ ลงวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2551 มีสาระสําคัญคือ 3

การชี้แจงโดย นายสุเทพ เหลี่ยมศิริเจริญ ผูอํานวยการสํานักพัฒนาพลังงาน (แทนอธิบดีกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน) ตอ คณะอนุกรรมาธิการศึกษาตรวจสอบโครงการไฟฟาพลังน้ําเขื่อนบานกุม จังหวัดอุบลราชธานี โดยไดรับมอบหมายจากคณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริต และเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ณ หองประชุม ศูนยศิลปวัฒนธรรมกาญจนา ภิเษก มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

80


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

“...เนื่องจากทางจังหวัดยังไมไดรับแจงการดําเนินการตามโครงการดังกลาว จากหนวยงานของทางราชการ จึงไมสามารถพิจารณาไดวา บริษัท อิตาเลียนไทยฯ คือ ภาคเอกชน ที่ไดรับมอบหมายใหศึกษาความ เปนไปได ตาม มติ ครม. 11 มีนาคม 2551 ดังนั้นเพื่อไมไหเกิดความสับสนของประชาชนในพื้นที่ จึงขอ ความรวมมือบริษัท อิตาเลียนไทยฯ ชะลอการสํารวจดานธรณีวิทยาออกไปกอน จนกวาจังหวัดจะไดรับแจง จากหนวยงานที่รับผิดชอบตอไป...” ดั ง นั้ น ในส ว นของประเทศไทย ข อ มู ล ที่ ถู ก เผยแพร ท างสาธารณะนั้ น สรุ ป ได ว า รั ฐ บาลหรื อ คณะรัฐมนตรี ยังมิไดมอบหมายใหบริษัทเอกชนรายใด เขามาดําเนินการศึกษาอยางเปนทางการ รวมทั้ง ยังมิไดมอบหมายใหหนวยงานใด รับผิดชอบควบคุมดูแล การศึกษาความเปนไปไดของบริษัทเอกชนทั้ง สองแหง ซึ่งนาจะสะทอนใหเห็นถึงปญหาบางประการที่เกิดขึ้นระหวางฝายการเมืองกับระบบราชการ ที่ไมมี หนวยงานใดรับอาสาเปนเจาภาพดูแลการศึกษาโครงการเขื่อนบานกุม แมแตกระทรวงการตางประเทศอันเปนตน เรื่องของมติ ครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 ก็มิไดแสดงตัวรับผิดชอบดําเนินการตอแตอยางใด 1.4 สถานะปจจุบันของเขื่อนบานกุมในประเทศลาว นอกจากรัฐบาลสปป.ลาวจะมีบันทึกความเขาใจศึกษาความเปนไปไดในโครงการเขื่อนบานกุมกับรัฐบาล ไทย เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 แลว ในวันเดียวกันรัฐบาลสปป.ลาวยังไดดําเนินการลงนามในบันทึกความ เขาใจกับ บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชียคอรปโฮลดิ้ง ลิมิเต็ด เพื่อศึกษา ความเปนไปไดและผลกระทบสิ่งแวดลอมของโครงการเขื่อนบานกุมดวย คาดวาจะใชเวลาศึกษาประมาณ 30 เดือน ขาวความเคลื่อนไหวของบริษัทอิตาเลียนไทยและบริษัทเอเชียคอรปฯที่ดําเนินการในประเทศสปป.ลาวนั้น ไมคอย เปดเผยเปนขาวมากนัก แตบริษัทฯทั้งสองยังคงดําเนินการสํารวจออกแบบอยางตอเนื่อง ขอมูลการออกแบบเขื่อนบานกุม ไมไดถูกเปดเผยออกมาจนถึงปจจุบัน คงมีเพียงขอมูลที่เผยแพรโดย เจาหนาที่ของรัฐบาลสปป.ลาว ในการประชุม Regional consultation on MRC’s Hydropower Programme โดย Mr.Viraphonh Viravong, Director General; Department of Electricity, Ministry of Energy & Mines เมื่อวันที่ 25-27 กันยายน พ.ศ. 2551 ที่กรุงเวียงจันทนวา เขื่อนบานกุมจะมีกําลังติดตั้งรวม 2,330 MW ซึ่งมากกวาที่ พพ. ไดออกแบบไวถึง 458 เมกะวัตต อยางไรก็ตามในระยะสั้นนี้ดูเหมือนวา แผนการขายไฟฟาจากเขื่อนบานกุมมายังประเทศไทย จะยังไมใช โครงการเรงดวนของรัฐบาลสปป.ลาว เนื่องจากรัฐบาลสปป.ลาวไดวางแผนขายไฟฟาจากเขื่อนไฟฟาพลังน้ําและ โรงไฟฟาลิกไนต ใหแกประเทศไทย โดยไดแสดงแผนดังกลาวในการประชุม 2008 Greater Mekong Subregion (GMS): Seventh Meeting of the Focal Group (FG-7) and Seventh Meeting of the Regional Power Trade Coordination Committee (RPTCC-7) ที่นครโฮจิมินห ซิติ้ ประเทศเวียดนาม เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ไว ดังตารางที่ 2 ตอไปนี้

81


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ตารางที่ 2 โครงการโรงไฟฟาที่จะขายสงออกใหประเทศไทย โครงการ กําลังผลิตสงออกใหประเทศไทย (MW) 1. เขื่อนน้ําเทิน 2 920 2. เขื่อนน้ํางึม 2 597 3. เขื่อนน้ําบาก 1 80 4. เขื่อนเทินนินบูนสวนขยาย 220 5. เขื่อนน้ํางึม 3 440 6. เขื่อนน้ําเทิน 1 523 7. เขื่อนน้ําเงียบ 1 260 8. โรงไฟฟาหงสาลิกไนต 1,570 9. เขื่อนน้ําอู 843 10. เขื่อนดอนสะโฮง 300 11. เขื่อนเซเปยน-เซน้ํานอย 390 12. เขื่อนเซกอง 4 300 13. เขื่อนน้ํากอง 1 150 14. เขื่อนไซยะบุรี/เขื่อนปากแบง 1,000 รวม 7,893 ที่มา: Presentation of Power Development Plans & Transmission Interconnection Projects Lao PDR 2008 2. กระบวนการมีสวนรวมและบทบาทของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ตอการพัฒนาโครงการเขือ่ นบานกุมทั้ง กอนและหลัง การลงนามบันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลไทยกับสปป.ลาว 2.1 ใครคือผูม ีสวนไดสวนเสียในโครงการเขื่อนบานกุม การจําแนกกลุม ผูมีสวนไดสวนเสีย ซึง่ ใชกันอยูโดยทั่วไป สามารถจําแนกได 6 กลุมไดแก (King, Bird, and Haas March 2007) 1. องคกรระดับภูมิภาค เชน คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง, ASEAN, GMS 2. รัฐบาลและกลไกของรัฐทุกระดับ เชน รัฐมนตรีดานพลังงาน-น้ํา-อุตสาหกรรม, หนวยงานกํากับดูแล, คณะกรรมการลุมน้ํา 3. กลุมผูสรางเขื่อน เชน การไฟฟาของประเทศไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม, บริษัทเอกชน 4. ชุมชน เชน ชุมชนที่ไดรับผลกระทบจากโครงการ, ชุมชนอื่นๆในลุมน้ํา, กลุม ผูใชไฟฟาในเมืองหรือ อุตสาหกรรม 5. สถาบันการเงิน 6. กลุมที่เกี่ยวของอื่นๆ เชน NGO, องคกรชุมชน, นักวิชาการ, กลุมที่ปรึกษา, สถาบัน ในกรณีโครงการเขื่อนบานกุม เราสามารถจําแนกกลุมผูมสี วนไดสวนเสียกับโครงการ ตามการจําแนก ขางตน ก็จะไดกลุมที่มีความหลากหลายดังนี้ 82


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

1) องคกรระดับภูมิภาค องคกรระดับภูมิภาค ที่มีความเกี่ยวของมาโดยตลอดตั้งแตการริเริ่มการศึกษาสรางเขื่อนบนแมน้ํา โขงมารวม 4 ทศวรรษ คือ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) ในปจจุบันหนวยงานระหวางประเทศที่ใหความ ชวยเหลือทางวิชาการเรื่องเขือ่ นไฟฟาพลังน้ําแก MRC ไดแก ประเทศญี่ปุน และฟนแลนด นอกจากนี้แผน GMS ซึ่งริเริ่มโดยธนาคารพัฒนาเอเซีย (ADB) ไดเสนอแผนพัฒนาสายสงไฟฟาระดับภูมิภาคแมน้ําโขง และเขื่อนไฟฟา บนแมน้ําโขงก็จะถูกเชื่อมโยงเปนสวนหนึง่ ของแผนดังกลาวนี้ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง พยายามสรางกรอบการนิยามความหมายของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียใน โครงการพัฒนาตางๆในลุมน้ําโขงนั้น ซึ่งเปนที่นาสังเกตวา ไดนําไปผูกติดกับระดับของการมีสวนรวมในการพัฒนา โครงการ ดังเชน ที่ปรากฏในเอกสาร The Current Status of Environmental Criteria for Hydropower Development in the Mekong Region: A Literature Compilation by Peter King, Jeremy Bird, Lawrence Haas, March 2007, หนา 57 หรือ Initiative on Sustainable Hydropower Work Plan, March 2009 โดย คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง หนา 18, 19 โดยพยายามชี้ใหเห็นวา ชุมชนไมมีขีดความสามารถเพียงพอที่จะมีสวน รวมในระดับการตัดสินใจโครงการ ซึ่งตองการผูเชี่ยวชาญและการตัดสินใจในระดับนโยบายเปนหลัก และละเลยที่ จะกลาวถึงขอจํากัดดานสังคมการเมือง ซึ่งแตกตางกันมากในประเทศลุมแมน้ําโขง ดังนั้นการสรางกระบวนการมี สวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ภายใตการนิยามเชนวานี้ จึงเปนกระบวนการที่ทําไปเพื่อรักษาสถานะของ การตัดสินใจโครงการ ใหแยกออกมาจากการมีสวนรวมของชุมชน 2) รัฐบาลและกลไกของรัฐ 2.1 รัฐบาลและกลไกของรัฐ ในสวนประเทศไทย ไดแก • รัฐบาลไทย ไดแก นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี และนายนพดล ปทมะ รัฐมนตรีวาการ กระทรวงการตางประเทศ เปนผูเกี่ยวของโดยตรง ในฐานะเปนฝายตกลงกับรัฐบาลสปป.ลาว และนํามาสูการมีมติ ครม.เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2551 • หนวยงานระดับกระทรวงที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงพลังงาน (โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทน และอนุรักษพลังงาน) ในฐานะที่เปนหนวยงานรับผิดชอบศึกษาเขื่อนบานกุมมากอน และดูแลนโยบายพลังงานของ ประเทศและความรวมมือดานพลังงานกับประเทศเพื่อนบาน, กระทรวงการตางประเทศ(โดย กรมเอเชียตะวันออก) ในฐานะเปนตนเรื่องนําเสนอรางบันทึกความเขาใจ การศึกษาความเปนไปไดโครงการเขื่อนบานกุมรวมกับรัฐบาล ลาว • คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ เปนหนวยงานกํากับดูแลนโยบายพลังงานของประเทศ และกําหนดกรอบโครงการการรับซื้อไฟฟาจากประเทศเพื่อนบาน • คณะอนุกรรมการประสานความรวมมือดานพลังงานไฟฟาระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน เปน หนวยงานระดับปฏิบัติการเพื่อประสานงานกับประเทศเพื่อนบานในระดับโครงการ กอนนําเสนอสูการพิจารณาของ กรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ • คณะกรรมการแมน้ําโขงฝายไทย เปนหนวยงานที่ดูแลการใชแมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย ตามพันธะกรณีจากขอตกลงการใชแมน้ําโขงพ.ศ.2538

83


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

• สวนราชการใน จ.อุบลราชธานี ไดแก ผูวาราชการจังหวัด, พลังงานจังหวัด, นายอําเภอในพื้นที่ 5 อําเภอ (โขงเจียม, ศรีเมืองใหม, โพธิ์ไทร, นาตาล, เขมราฐ) เกี่ยวของกับโครงการเขื่อนบานกุม ในฐานะที่เปน หนวยงานในระดับพื้นที่ ที่ตองปฏิบัติตามนโยบายรัฐบาล, การรับทราบขอมูลโครงการ, การชี้แจงโครงการแก ประชาชน และการอํานวยความสะดวกในกระบวนการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ • กํานันผูใหญบานใน 5 อําเภอที่ติดแมน้ําโขง เปนกลไกระดับลางสุดของระบบราชการในจังหวัด ที่ จะตองทําหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากอําเภอหรือจังหวัด อยางไรก็ตามกํานันผูใหญบาน ก็เปนกลไกที่สามารถ สะทอนความคิดเห็นของประชาชนไดเชนกัน • องคกรปกครองสวนทองถิ่น คือ องคการบริการสวนตําบล ใน 5 อําเภอที่ติดแมน้ําโขง เปนองคกร ที่มีฐานะเปนตัวแทนของประชาชนในทองถิ่น ซึ่งมีอํานาจหนาที่ที่มีกฎหมายรองรับเฉพาะ อยางไรก็ตามการ ดําเนินงานบางสวนยังคงอยูในการกํากับดูแลของจังหวัดและอําเภอ 2.2 รัฐบาลและกลไกของรัฐทุกระดับ ในสวนประเทศสปป.ลาว • รัฐบาล สปป.ลาว ไดแก นายบัวสอน บุบผาวัน นายกรัฐมนตรี สปป. ลาว ในฐานะที่เปนผูเสนอ รัฐบาลไทย ในความรวมมือการศึกษาความเปนไปไดเขื่อนบานกุม และการเสนอใหบริษัทอิตาเลียนไทย และบริษัท เอเซียคอรปฯ เปนผูไดสิทธิศึกษาโครงการนี้ นายทองลุน สีสุลิด รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวง การตางประเทศสปป.ลาว ในฐานะที่เปนผูลงนามในบันทึกความเขาใจของสปป.ลาว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2551 • หนวยงานระดับกระทรวงที่เกี่ยวของ ไดแก กระทรวงพลังงานและเหมืองแร (Ministry of Energy & Mines), กระทรวงวางแผนและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment) ทั้งสองกระทรวงเกี่ยวของ โดยตรงในเรื่องการวางแผนดานพลังงานไฟฟาของสปป.ลาว และการกํากับดูแลการศึกษาความเปนไปไดของ บริษัททั้งสองแหง 3) กลุมผูพัฒนาโครงการและกลุมผูสรางเขื่อน • บริษัทผูไดรับสัมปทานการศึกษาความเปนไปไดกับประเทศลาว ไดแก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด (Asiacorp Holdings Ltd.) • การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย เปนหนวยงานที่รับซื้อไฟฟาจากประเทศลาว ภายใตกรอบ ของแผนพัฒนาพลังงานของประเทศไทย รวมทั้งเปนผูลงทุนสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในประเทศสปป.ลาวดวย ไดแก เขื่อนน้ําเทิน 2 4) ชุมชน • ชุมชนที่ตั้งริมน้ําโขงหรือชุมชนที่มีอาชีพที่ผูกพันกับแมน้ําโขง ในขอบเขตอางเก็บน้ํา เหนือเขื่อน บานกุม ฝงไทย และ ลาว ที่ไดรับผลกระทบโดยตรง 1. ฝงประเทศไทย ไดแก บานทาลง, ทุงนาเมือง, คันทาเกวียน, ปากลา, ดงนา, ผาชัน, บานนอย, ปากหวยมวง,สําโรง, คําจาว, โปงเปา, จอมปลวกสูง, ปากกะหลาง, สองคอน, คันพะลาน, ดอนงิ้ว, บุงแซะ, ปากแซง, นาทราย, นาหินโงน, ลาดหญาคา, นาแวง, บุง ของ, นาเมือ, หนองวิไล, บานเหนือ, นาสนาม, แกงเกลี้ยง, อุบมุง, หวยยาง, บุงซวย, บุงเขียว 84


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

น้ําทวมหมูบาน ไทยมี 1 หมูบานคือ บานคันทาเกวียน อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี จํานวน 29 หลังคาเรือน 2. ฝงประเทศลาวไดแก Ban Koum Noy, Ban Tha Kouian, Ban Keng-Gnaphet, Ban Khan Soum Sao, Ban Mae Keua, Ban Khon Kene, Ban Don Khieo, Ban Taphan, Ban Pak Se Nouan, Ban Hinkhok, Ban Phahang, Ban Nakho, Ban Thaphe, Ban Na Pak Soun, Ban Nongdeum, Ban Thadua, Ban Sabouxai, Ban Na Pho น้ําทวมหมูบาน ลาวมี 3 หมูบาน คือ บานกุมนอย บานคําตื้อ บานคันทุงไชย จํานวน 44 , 93 และ73 หลังคา เรือนตามลําดับ • ชุมชนที่ต้งั ริมน้ําโขงหรือชุมชนที่มีอาชีพทีผ่ ูกพันกับแมนา้ํ โขง ใตเขื่อนบานกุม ฝงไทย และ ลาว 1. ฝงประเทศไทยไดแก บานตามุย, บานกุม, บานหวยไผ, บานถ้ําตอง, บานหวยสะคาม, บาน หวยมาก, บานเวินบึก 2. ฝงประเทศลาวไดแก บานกุม • ชุมชนที่มีอาชีพประมง เหนืออางเก็บน้ําเขือ่ นบานกุม ในแมน้ําโขงและแมน้ําสาขา ในไทยและลาว 1. ฝงประเทศไทยไดแก ชุมชนตลอดแนวแมน้ําโขง ตั้งแตเขตอําเภอชานุมาน จ.อํานาจเจริญ ตอเนื่องใน จ.นครพนม, มุกดาหาร, สกลนคร, หนองคายและเลย และชุมชนในลุมน้ําสงคราม 2. ฝงประเทศลาวไดแก ชุมชนตลอดแนวแมน้ําโขง และในลุมน้ําสาขาโดยเฉพาะ แมน้ําเซบั้ง เหียง, แมน้ําเซบั้งไฟ • เจาของที่นา ที่จะไดรับน้ําจากโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา ซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการเขื่อน บานกุม ที่ศึกษาโดย พพ. ถือวาเปนผูไดรับประโยชนจากโครงการ • องคกรภาคประชาสังคมในไทย เปนองคกรที่ติดตามการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลัก และ เรียกรองใหรัฐบาลไทย, MRC และกลุมประเทศผูบริจาค ทบทวนแผนการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขงที่ผานมา เชน เครือขายประชาสังคมไทยเพื่อแมน้ําโขง, เครือขายคนฮักน้ําของ จ.อุบลราชธานี 5) สถาบันการเงิน สถาบันการเงินที่ปรากฏชัดเจนในขณะนี้ เปนเพียงสถาบันการเงินในประเทศที่ใหเงินกูแก บริษัทอิตาเลียน ไทยฯ ในการศึกษาโครงการจํานวน 200 ลานบาท (บริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด 2552) 6) กลุมที่เกี่ยวของอืน่ ๆ • บริษัทผูศึกษาโครงการ คือ ปญญา คอนซัลแตนท จํากัด, บริษัท มหานคร คอนซัลแตนท และ บริษัท แมคโคร คอนซัลแตนท เปนกลุมบริษัทที่ปรึกษาที่รับศึกษาโครงการเขื่อนบานกุมให พพ. และเปนผูจัดทํา รายงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน • องคกรการตรวจสอบในไทย ไดแก กรรมาธิการตรวจสอบการทุจริตและเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา, กรรมาธิการสิ่งแวดลอม วุฒิสภา, คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ องคกรเหลานี้เขามาเกี่ยวของใน 85


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

การตรวจสอบโครงการเขือ่ นบานกุม ภายหลังจากมีประชาชนและเครือขายองคกรภาคประชาสังคมรองเรียนถึง หนวยงานเหลานี้ ใหตรวจสอบในประเด็นตางๆ เชน ความโปรงใส, ธรรมาภิบาล, ผลกระทบตอชุมชนและ สิ่งแวดลอมในดานตางๆ • สถาบันการศึกษาในจังหวัดอุบลราชธานี ไดแก มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุบลราชธานี • คณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ เขามาเกี่ยวของภายหลังจากองคกรพัฒนาเอกชน จ.อุบลราชธานี ขอใชสิทธิตาม พรบ. สุขภาพแหงชาติ ยื่นเรือ่ งตอคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ เพือ่ จัดสมัชชาสุขภาพเชิงประเด็น เรื่องการพัฒนาแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ซึ่งในกระบวนการจัดสมัชชาสุขภาพเชิงประเด็น จะตองมีการรวบรวมขอมูลที่ จะใหชุมชน สามารถวิเคราะหเปรียบเทียบใหเห็นความแตกตางระหวางกอนและหลังมีเขื่อนบานกุมดวย • องคกรพัฒนาเอกชน ที่ทํางานในชุมชนริมแมน้ําโขง จ.อุบลราชธานี และที่ทํางานดานติดตาม นโยบายการพัฒนาพลังงานไฟฟาของไทยและประเทศเพื่อนบาน และดานการพัฒนาลุม น้ําโขง 2.2 การมีสวนรวมและบทบาทของผูมีสว นไดสวนเสียในโครงการเขื่อนบานกุม การพิจารณาถึงกระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ในโครงการเขื่อนบานกุม สามารถแบง ชวงเวลากวางๆได 3 ชวงเวลา ไดแก 1. ช ว งการนํ า เสนอแผนการสร า งเขื่ อ นบนแม น้ํ า โขงสายหลั ก ตั้ ง แต พ.ศ.2513 ถึ ง พ.ศ.2551 ซึ่ ง ดําเนินการโดย คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง 2. ชวงการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน โดย กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ระหวาง พ.ศ. 2548 ถึงพ.ศ. 2551 3. ชวงเวลาที่ ครม.อนุมัติบันทึกความเขาใจเรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย ลาว (โครงการเขื่อนบานกุม)ในวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 และการลงนามในบันทึกความเขาใจกับ รัฐบาลสปป.ลาว ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 จนถึงปจจุบัน (พฤษภาคม พ.ศ.2552) ในแตละชวงเวลาดังกลาวขางตน กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสว นเสีย มีความแตกตางกันไปดังนี้ 1. กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ในชวงการนําเสนอแผนการสรางเขือ่ นบนแมน้ํา โขงสายหลักตั้งแต พ.ศ.2513 ถึง พ.ศ.2551 ซึ่งดําเนินการโดย คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง การศึกษาเพื่อพัฒนาโครงการเขื่อนบนแมนา้ํ โขงสายหลัก โดยคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงตั้งแต พ.ศ.2513 จนถึงปจจุบนั ยังเปนกระบวนการศึกษาภายใน ที่รับรูเพียงสํานักงานคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง และขาราชการ ระดับสูงของประเทศสมาชิกเทานั้น ถึงแมวาในระยะหลังสํานักงานคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง จะพยายามเปดเผย ขอมูล และเปดใหฝายตางๆไดรวมประชุมเพื่อเสนอแนะตอโครงการเขื่อนบนแมน้ําโขง แตยังคงเปนเพียงการสราง ภาพลักษณใหดูดีขึ้นเทานั้น กลุมผูมีสวนไดสวนเสียโดยตรง โดยเฉพาะที่เปนประชาชนในพื้นทีข่ องประเทศลุม แมน้ําโขง ยังคงไมมโี อกาสรับรูขอ มูลใดๆที่เปนทางการ และไดเขาไปมีสวนรวมอยางจริงจัง ในกระบวนรับฟง ความเห็นและกระบวนการตัดสินใจจากคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ปญหานี้ในดานหนึง่ อาจเกิดจากสภาพดานการ เมืองของประเทศที่แตกตางกัน อยางไรก็ตามในสวนของประเทศไทย ที่ถือวามีความกาวหนาในการรับรูขอมูล ขาวสารมากที่สุดแลว คณะกรรมการแมนา้ํ โขงของประเทศไทยเองก็ยังไมสามารถสรางกระบวนการมีสวนรวมของ ประชาสังคมไทย ในกรณีเขือ่ นบนแมน้ําโขงสายหลักได 86


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

กลุ ม ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย ที่ สํ า คั ญ อี ก กลุ ม หนึ่ ง ในที่ นี้ คื อ กลุ ม ประเทศผู บ ริ จ าค ซึ่ ง ประเทศที่ บ ริ จ าคให คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง เพื่อใชในการศึกษาและพัฒนาโครงการเขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลัก ที่สําคัญในปจจุบัน คือ ประเทศฟนแลนดและญี่ปุน 2. กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ชวงการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน โดย กรม พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ระหวางพ.ศ.2548 ถึงเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2551 จากเอกสารรายงานความเหมาะสมเบื้องตน บริษัทที่ปรึกษาไดจัดชี้แจงโครงการเขื่อนบานกุม เพียงระดับ อํา เภอเท า นั้ น โดยผ า นการประชุ ม กํานั น ผู ใ หญ บ าน แบ ง เป น 2 ครั้ ง ครั้ ง แรกในช ว งเดื อ นกั น ยายน-ตุ ล าคม พ.ศ. 2550 และครั้งที่สองในเดือนกุมภาพันธ 2551 การชีแ้ จงระดับอําเภอแตละครั้งใชเวลาเพียงวันเดียวเทานั้น ซึ่ง กระบวนการเชนนี้เปนไปไมไดที่จะทําให “ผูม ีสวนไดเสียในพื้นทีโ่ ครงการ มีสวนรวมอยางเต็มที่ในการศึกษา” ดังที่ ระบุไวในรานงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน (หนา 3-11) โดยเฉพาะผูมีสวนไดสวนเสียที่เปนประชาชนใน หมูบานริมแมน้ําโขงไมนอยกวา 30 หมูบ าน ไมมโี อกาสไดรับฟงการชี้แจงขอมูลโดยตรงจากเจาหนาที่ของ พพ. หรือบริษัทที่ปรึกษาเลย แตในเอกสารรายงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน (หนา 3-11, 3-12) กลับระบุวา สวนใหญมีความเห็นดวยในการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม ซึ่งเปนการสรุปเพียงฝายเดียวของบริษัทที่ปรึกษาใน ขณะที่ พพ. เองก็ไมมีขีดความสามารถเพียงพอที่จะตรวจสอบ การจัดกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่ และตรวจสอบขอสรุปในรายงานที่บริษัทไดจัดทําขึ้น วาถูกตองมากนอยเพียงใด ในทางกลับกัน พพ. จะใชขอมูล จากรายงานฯนี้มาสนับสนุนการดําเนินการในขั้นตอนตอไปคือ การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและผล กระทบดานสุขภาพ (เปนการสะทอนใหเห็นถึง ความไมโปรงใสของการดําเนินการภายใน พพ.) ซึ่งพพ. ไมสามารถ ดําเนินการตอได เพราะมี มติครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 ใหเอกชนเขามาดําเนินการแทน แต พพ. ไดดําเนินการ ตอในกรณีเขื่อนปากชม สําหรับประชาชนในชุมชนริมแมน้ําโขงฝงประเทศไทยทั้งหมด ไมเคยไดรับทราบการชี้แจงขอมูลโครงการ อยางเปนทางการ ในระดับชุมชนจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานและบริษัททีป่ รึกษา ขอมูลที่ รับทราบมีเพียงคําบอกเลาผานผูใหญบานทีไ่ ดรวมประชุมในระดับอําเภอเทานั้น ซึ่งสวนใหญเปนขอมูลเพื่อการ ประชาสัมพันธโครงการเทานัน้ อยางไรก็ตามในบางหมูบานเชน บานผาชัน อ.โพธิ์ไทร ชาวบานบางคนไดพบกับ ทีมสํารวจปกหมุดริมแมน้ําโขงในเขตของหมูบานโดยบังเอิญ และไดรบั รูจากเจาหนาที่ที่มาปกหมุดเพียงวา เปน หมุดแสดงระดับน้ําทวมจากเขื่อนบานกุม โดยไมไดทราบรายละเอียดอื่นใดเพิ่มเติมหลังจากนั้น ดังนั้นในชวงการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน กลุมผูมีสวนไดสวนเสียที่มีบทบาทหลักมีเพียง กรมพัฒนา พลังงานทดแทนฯ และบริษัทที่ปรึกษาเทานั้น กระบวนการจัดการประชุมชี้แจงในระดับพื้นที่ ยังไมสามารถเรียกได วา เปนกระบวนการที่ใหผูมีสว นไดเสียในพืน้ ที่โครงการ มีสวนรวมอยางเต็มที่ในการศึกษาโครงการเขือ่ นบานกุม 3. กระบวนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย ในชวงเวลาที่ ครม.อนุมัติบันทึกความเขาใจ เรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย - ลาว (โครงการเขือ่ นบานกุม) เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2551 กลาวไดวา ในขั้นตอนนี้เกิดขึ้นอยางรวดเร็วมาก ในชวงเวลาที่ นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี เดินทางเยือนประเทศสปป.ลาว ในโอกาสที่เขารับตําแหนงใหม ในวันที่ 28 ก.พ. – 1 มี.ค. พ.ศ. 2551 ชวงเวลา 87


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ดังกลาวนี้ นายบัวสอน บุบผาวัน นายกรัฐมนตรี สปป. ลาว ไดมีขอหารือในการพัฒนาโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา บนแมน้ําโขงรวมกัน คือเขือ่ นบานกุม และเสนอใหบริษัท บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด (Asiacorp Holdings Ltd.) เปนผูดําเนินการศึกษาความเปนไปได และ หลังจากนั้นอีกเพียง 10 วัน คณะรัฐมนตรีกไ็ ดอนุมัติรางบันทึกความเขาใจเรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงาน ไฟฟาระหวางไทย - ลาว (โครงการเขื่อนบานกุม) ซึ่งเสนอโดยกระทรวงการตางประเทศ และลงนามในบันทึกความ เขาใจกับรัฐบาลสปป.ลาว ในวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 การดําเนินการของรัฐบาลอยางรวบรัดตัดตอนเชนนี้ และตอกย้ําดวยเจตนาที่แนวแนในการผลักดันให โครงการนี้เกิดขึ้นใหได ของนายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ผานรายการสนทนาประสาสมัคร กลาวไดวาเปน การตัดสินใจที่ไมไดตระหนักถึงการมีสวนรวมของประชาชนโดยเฉพาะในพื้นที่ จ.อุบลราชธานีที่กําหนดไวใน รัฐธรรมนูญมาตรา 57 และ 67 แตอยางใด กรณีดงั กลาวนี้จึงติดตามมาดวยคําถามในเรื่องความโปรงใสและ หลักการธรรมาภิบาลของการดําเนินการของรัฐบาล ถึงแมวาขอชี้แจงของกระทรวงตางประเทศในภายหลังตอสภา ผูแทนราษฏรจะระบุวา โครงการเขื่อนบานกุมตองปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวของทั้งหมด หากผลการศึกษารวมกับ รัฐบาลสปป.ลาวระบุวาโครงการมีความเปนไปได แตก็ไมอาจลบลางคําถามขางตนได เพราะอยางนอยที่สุด ขั้นตอนการปฏิบัติกอนหลังสําหรับโครงการเขื่อนบนพรมแดนไทย-ลาวนี้ ควรจะใหผูมีสวนไดสวนเสียได เขาถึงขอมูลโครงการประเมินผลกระทบในดานตางๆอยางรอบคอบบนกรอบของระเบียบกฎหมายที่ กําหนดไวใหสามารถหาขอยุติไดกอนทีจ่ ะลงนามใดๆ กับรัฐบาลสปป.ลาว เพราะการลงนามในลักษณะของ MOU นั้น จะสงผลผูกพันตอเนื่องไปยังรัฐบาลชุดตอๆ ไป ในขณะเดียวกันผลของมติ ครม. 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 ไดสรางชองวางของการกํากับดูแลโครงการเขื่อน บานกุม กระทรวงพลังงานและกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน ปฏิเสธความเกี่ยวของในขณะนี้ ทั้งหมด รวมทัง้ หากเปดเผยขอมูลรายงานการศึกษาเบื้องตน ซึง่ แลวเสร็จในเดือน เมษายน พ.ศ.2551 เรื่องนี้สง ผล โดยตรงตอประชาชนที่จะไดรับผลกระทบทัง้ หมดในพืน้ ที่ จ.อุบลราชธานี รวมทั้งสวนราชการและองคการปกครอง สวนทองถิ่นที่ติดแมน้ําโขงใน จ.อุบลราชธานี ที่จะตองรับทราบขอมูลและชี้แจงโครงการนี้ดวย เนื่องจากไม สามารถเขาถึงขอมูลโครงการใดๆไดทั้งๆที่เขื่อนบานกุมไมวาจะออกแบบโดย พพ. หรือ บริษัท อิตาเลียนไทยฯ ประเด็นปญหาผลกระทบสําคัญๆ จะไมแตกตางกันและมีขอมูลจากประเทศสปป.ลาววา บริษัท อิตาเลียนไทยฯ กําลังออกแบบเขื่อนบานกุมใหญกวาที่ พพ. ไดออกแบบไว ซึ่งจะสรางปญหาผลกระทบมากกวาดวยเชนกัน ดังนั้นการไมเปดเผยรายงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตนของ พพ. จึงเทากับเปนการปดบัง ขอมูลผลกระทบตอประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียสําคัญใน จ. อุบลราชธานี ผลต อ เนื่ อ งที่ สํ าคั ญ ประการหนึ่ ง ในกระบวนการศึ ก ษาเขื่ อ นบ า นกุ ม ซึ่ ง ได กี ด กั น การมี ส ว นร ว มของ ประชาชนออกไปนั้น คือ ภาคประชาสังคมตางๆและชุมชนริมแมน้ําโขงใน จ.อุบลราชธานี ไดรองเรียนตอองคกร อื่นๆใหเขามาตรวจสอบโครงการเขื่อนบานกุม ไดแก กรรมาธิการตรวจสอบการทุจริตและเสริมสรางธรรมาภิบาล วุฒิสภา กรรมาธิการสิ่งแวดลอม วุฒิสภา และคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการใช สิทธิตามรัฐธรรมนูญ ในการตรวจสอบโครงการเขื่อนบานกุม นับเปนชองทางสําคัญที่ภาคประชาสังคมตางๆและ ชุมชนริมแมน้ําโขงใน จ.อุบลราชธานี จะไดเขามารวมตรวจสอบโครงการเขื่อนบานกุม 88


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

ในสวนของประเทศสปป.ลาวนั้น ยังไมปรากฏชัดเจนวา ทําไมนายบัวสอน บุบผาวัน นายกรัฐมนตรี สปป. ลาว จึงไดเลือก ใหบริษัท บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลล็อปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัทเอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด เปนผูดําเนินการศึกษาความเปนไปได เพราะเหตุผลที่อางวาเปนบริษัทที่มีความพรอมและมี ประสบการณในโครงการลงทุนขนาดใหญในลาว ไดแก การลงทุนพัฒนาและกอสรางโครงการไฟฟา “น้ําเทิน 2” ซึ่ง เปนโครงการไฟฟาพลังน้ําที่มีกําลังผลิตใหญที่สุดในปจจุบัน (920 MW) กําหนดเสร็จในป พ.ศ. 2552 อยางไรก็ตาม เขื่อนน้ําเทิน 2 บริษัทอิตาเลียนไทย มีสัดสวนการลงทุนเพียง 15 % เทานั้น ในขณะที่มีบริษัทเอกชนจากไทยเขา ไปลงทุนสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําและสามารถจายไฟฟาเขาระบบไดแลวอีก 2 บริษัทใหญคือ บริษัท ช.การชาง จํากัด (มหาชน) และบริษัท เอ็ม ดี เอ็กซ จํากัด (มหาชน) ไมมีขอมูลที่ชัดเจนวา รัฐบาลสปป.ลาวไดพิจารณาสอง บริษัทนี้หรือไมอยางไร นอกจากนั้นในเดือนถัดมาคือ เมษายน พ.ศ. 2551 รัฐบาลสปป.ลาว ไดใหสัมปทานศึกษาความเปนไปได ในโครงการเขือ่ นลาดเสือ ขนาด 800 เมกะวัตต ซึ่งเปนโครงการเขื่อนกัน้ แมน้ําโขง ในแขวงจําปาสัก แกเครือบริษัท ซีพี จากประเทศไทย คือ Charoen Energy and Water Asia Co. ทั้งๆที่บริษัทนี้ไมมีประสบการณการสรางเขื่อน ไฟฟาพลังน้ําในประเทศ สปป.ลาว มากอนแตอยางใด รวมทั้งกรณีของ บริษัทเอเชียคอรป โฮลดิ้ง จํากัด ก็ยังไม ปรากฏวาเคยมีงานในอดีตดานโครงการเขือ่ นไฟฟาพลังน้ํา ในประเทศ สปป.ลาว เชนกัน 4. ความโปรงใสและธรรมาภิบาล ของกระบวนการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม โดยรัฐบาลนาย สมัคร สุนทรเวช การยกระดับการศึกษาโครงการเขื่อนบานกุม ทั้งที่ศึกษาโดยคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงที่มีมาเดิม และ โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน (พพ.) ใหเปนความรวมมืออยางเปนทางการของสองประเทศ ระหวางไทยกับสปป.ลาว ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2551 ถือวาเปนจุดเปลี่ยนที่สําคัญของกระบวนการพัฒนาโครงการ เขื่อนบานกุม และไดสรางคําถามอยางมากมายตอในสังคมไทย ตอกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติของฝายรัฐบาล ไทยในประเด็นตางๆ ดังนี้ 1. ราง MOU ที่ สํานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม (ก.ต.) เสนอใหครม.อนุมัติเมื่อ วันที่ 11 มีนาคม 2551 นั้น ไมสามารถอางอิงที่มาตามขั้นตอนปกติได เนื่องจากขั้นตอนปกติของ โครงการดานพลังงานกับประเทศเพื่อนบานนั้น จะตองผานคณะอนุกรรมการประสานความรวมมือดาน พลังงานไฟฟาระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน และไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการนโยบาย พลังงานแหงชาติ (กพช.) กอน ซึ่งไมปรากฏวา กพช. ไดเคยพิจารณาเรื่องเขื่อนบานกุมและราง MOU กอนหนาวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551 แตอยางใด (การประชุม กพช. ครั้งสุดทายกอนหนานี้คือ การ ประชุมครั้งที่ 1/2551 (ครั้งที่ 120) วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2551 ในรัฐบาลของ พลเอกสุรยุทธ จุลานนท และแมแตการประชุม กพช. หลังวันที่ 11 มีค. พ.ศ. 2551 คือ การประชุมครั้งที่ 2/2551 (ครั้งที่ 121) วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2551 ก็ไมมีวาระเรื่องเขื่อนบานกุมแจงในที่ประชุมแตอยางใด (คณะกรรมการนโยบาย พลังงาน 2550; 2551) และนอกจากนี้ ในแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟาของประเทศไทย 2550 - 2564 ของกระทรวง พลังงานและการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งเริ่มใชเมื่อเดือนมิถนุ ายน พ.ศ. 2550 ก็ไมปรากฏ 89


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

แผนการสรางเขื่อนบานกุมแตอยางใด ถึงแมวาในปจจุบันจะมีการปรับปรุงแผนพัฒนากําลังการผลิตไฟฟา มาถึง 2 ครั้งแลวเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2551 และเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ก็ยังไมปรากฏชื่อโครงการ เขื่อนบานกุม (การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย 2550; 2551; 2552) 2. การดําเนินการของก.ต. อาจเขาขายเปนการกระทําที่เอื้อประโยชนใหกับบริษัทเอกชน ไวอยางชัดเจน โดยเห็นไดจากการดําเนินการตางๆดังนี้ (กระทรวงการตางประเทศ 2551) 2.1 ราง MOU ไดระบุชื่อบริษัทที่ใหดําเนินการศึกษาไดแก บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) และบริษัท Asiacorp Holdings Ltd. โดยยังไมปรากฏวามีขั้นตอนการประกาศใหเอกชน เขารวมเสนอโครงการและไดผานการคัดเลือกแลวอยางถูกตองตามขั้นตอนของกฎหมายที่เกี่ยวของ 2.2 ราง MOU ขอ 3 ระบุวา เมื่อการศึกษาความเปนไปไดแลวเสร็จ ใหรัฐบาลทั้งสองประเทศ พิจารณาตกลงตอ ไป ซึ่งหมายความวา เปนการร างโดยจงใจที่จ ะไมปฏิบั ติตามกฎหมายรัฐธรรมนู ญ (เชน มาตรา 57, 67 และ 190) และกฎหมายอื่นๆที่เกี่ยวของ เชน กฎหมายสิ่งแวดลอม พ.ศ.2535 2.3 ในขณะที่ยังไมมีมติครม.มอบหมายใหเอกชนรายใดดําเนินการอยางเปนทางการนั้น ขาว สารนิเทศของ กต. ที่เผยแพรทางเว็บไซดในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2551 กลับระบุชื่อบริษัท บริษัท อิตา เลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด(มหาชน) และบริษัท Asiacorp Holdings Ltd. เปนบริษัทที่เขามา ดําเนินการศึกษาไวอยางชัดเจน 2.4 ถึงแมวาขาวสารนิเทศของกต. วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2551 จะใหเหตุผลวาเปนความ ตกลงเบื้องตนระหวางนายกรัฐมนตรีทงั้ สองฝาย ในโอกาสที่นายกรัฐมนตรีไทยไปเยือนประเทศลาวเมื่อ วันที่ 29 กุมภาพันธ พ.ศ. 2551 และบริษทั เอกชนที่เขามาศึกษาเปนผูรับภาระคาใชจายทั้งหมด ไมมีขอ ผูกพันใดๆรวมทั้งหากตัดสินใจพัฒนาโครงการในภายหลังก็จะตองดําเนินการตามขอกฎหมายของประเทศ ไทยนั้น ยิ่งสะทอนการกระทําที่เอื้อประโยชนใหกับบริษัทเอกชน กลาวคือ (1) กต. ผลักภาระความรับผิดชอบของการเลือกภาคเอกชนไปใหแก สปป.ลาว (2) การยอมรับขอเสนอของฝายสปป.ลาวใหบริษัททั้งสองมาทําการศึกษา และสรุปวาเปน การศึกษาโดยไมมีขอผูกพันใดๆนั้น ขอยืนยันในเรือ่ งนี้ที่ดที ี่สุด คือ การเปดเผย บันทึก ความเขาใจที่ รัฐบาลสปป.ลาว ลงนามกับบริษัททั้งสองแหงนี้ (3) การที่บริษทั เอกชนทั้งสองแหงไดสิทธิเขามาศึกษาโครงการกอนนั้น เปนการเอื้อประโยชน โดยตรง และสรางความไมเทียมกันในการแขงขันประมูลโครงการเขือ่ นบานกุมในอนาคต กับบริษัทเอกชนรายอื่นๆซึ่งไมไดสิทธิดําเนินการศึกษา ตาม MOU ที่ลงนามเมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2551 3. การเสนอราง MOU ของกระทรวงการตางประเทศนั้น มีตนเรื่องจากกองเอเชีย ตะวันออก อาจจะพิจารณาไดวาเปนการดําเนินการที่อยูน อกเหนืออํานาจหนาที่ของหนวยงาน และอาจ เขาขายปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ เอื้อประโยชนตอบริษัทเอกชนเปนการเฉพาะหรือไม 4. การอนุมัตริ าง MOU ของกระทรวงตางประเทศ อาจเขาขายขัดรัฐธรรมนูญพ.ศ. 2550 มาตรา 190 ทั้งในเรือ่ งของการเปลี่ยนแปลงแนวเขตแดนระหวางประเทศ และการทําสัญญาระหวาง ประเทศ ทั้งนี้รายงานการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตนโครงการเขือ่ นบานกุมที่ศึกษาโดย พพ. ระบุไว 90


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

อยางชัดเจนวา กอนการลงนาม MOU นั้น ตองดําเนินการรัฐธรรมนูญมาตรา 57 และ 190 กอน ถึงแมวา จะเปนเพียงการลงนามเพื่อศึกษาความเปนไปไดก็ตาม เนื่องจากถือวาเปนขั้นตอนเริม่ ตนของการพัฒนา โครงการทั้งหมด 5. กรณีการลงนาม MOU กับประเทศสปป.ลาวนี้ จะเปนบรรทัดฐานใหมไดหรือไม วาใน อนาคตนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีกระทรวงการตางประเทศ สามารถลงนามใน MOU โครงการตางๆที่มี ผลกระทบขามพรมแดนกับประเทศเพื่อนบาน โดยไมจําเปนตองปรึกษาหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรง และไมจําเปนตองเคารพกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนไทย ตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญที่ได กําหนดไว สรุปการมีสวนรวมของกลุม ผูมีสวนไดสวนเสีย ในโครงการเขื่อนไฟฟาบานกุม การสรางเขื่อนบานกุมบนแมน้ําโขง ในมุมมองของฝายนโยบายหรือรัฐบาล อาจกลาวไดวาเปนการจัดการ ใชน้ําโขงที่มีประสิทธิภาพ เชน ไดพลังงานไฟฟาราคาถูก ใชประโยชนจากน้ําโขงอยางเต็มที่ดีกวาปลอยใหไหลผาน ไปโดยไมไดใชประโยชน (ซึง่ ยังคงมีขอ ถกเถียงอยูมาก วาเปนการจัดการที่มีประสิทธิภาพไดจริงหรือไม) หากแต การคิดเฉพาะเรื่องประสิทธิภาพเปนหลักก็จะนําไปสูการจํากัดหรือละเลยหรือกีดกัน การมีสวนรวมของกลุมผูมีสวน ไดสวนเสียโดยเฉพาะประชาชนที่จะไดรับผลกระทบในพื้นทีโ่ ครงการและยังเปนการละเลยหลักการที่สําคัญที่จะตอง พิจารณาควบคูกันไปดวยอีก 2 หลักการใหญ คือ หลักการเรื่องความเปนธรรม ซึ่งหมายถึง “โอกาสที่ประชาชน จะเขาถึงทรัพยากร และเปนโอกาสที่ไดรับการคุมครองจากรัฐ ในระบบการเขาถึงโดยเสรีที่เปนอยูในประเทศไทยใน ปจจุบัน” โดยการบริหารเพื่อใหเกิดความเปนธรรมนั้น ตองอยูบนพื้นฐานของ “หลักธรรมาภิบาล กลไกลดความ ขัดแยง และไมขัดแยงกับจารีตประเพณีเดิมที่ดีงามที่สังคมยอมรับอยูแ ลว” และ หลักการเรื่องความยั่งยืน คือการ รักษาความเปนธรรมระหวางผูใชน้ําปจจุบันและในอนาคต โดยมีหลักการสําคัญคือ การปกปองผลประโยชนของ ลูกหลานในอนาคตและการรักษาระบบนิเวศ (มิ่งสรรพและคณะ 2544) ปจจุบันในประเทศไทย พัฒนาการของกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนที่จะไดรับผลกระทบในพื้นที่ โครงการและภาคประชาสังคม ไดพัฒนาไปมากถึงในระดับการมีสวนรวมในการตรวจสอบนโยบายที่เกี่ยวของ (เชน การตรวจสอบนโยบายพลังงานไฟฟาและการเสนอแผนการพัฒนาพลังงานไฟฟาของประเทศใหม) และการมี สวนรวมในการตัดสินใจในระดับโครงการ (เชน โรงไฟฟาถานหินบอนอก หินกรูด) นอกจากนี้ประชาชนและภาค ประชาสังคมสามารถใชเครื่องมือทางกฎหมายที่หลากหลาย เพื่อพัฒนากระบวนการมีสวนรวมใหไดมากที่สุด ใน การตรวจสอบความถู ก ต อ ง ความโปร ง ใสและธรรมาภิ บ าลของโครงการ ดั ง นั้ น กระบวนการมี ส ว นร ว มของ ประชาชนและภาคประชาสังคมนี้ จะเปนหลักประกันในการสรางความเปนธรรมและความยั่งยืนของการใชแมน้ํา โขง มากกวาหลักคิดเรื่องประสิทธิภาพเพียงประการเดียว การริเริ่มจากฝายรัฐบาลและหนวยงานที่เกีย่ วของ เชน การยกเลิกมติครม.เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2551, การเปดเผยรายงานการศึกษาเบื้องตน โครงการเขื่อนบานกุม ของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน, การพัฒนากระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอยางจริงจัง เพื่อพัฒนาการใชแมน้ําโขงบนฐานของความ เปนธรรมและความยั่งยืนของระบบนิเวศแมน้ําโขง ทั้งในสวนของประเทศไทยและประเทศอื่นๆในลุมน้ําโขง ฯลฯ การริเริ่มเชนนีจ้ ากภาครัฐ จะนําไปสูการสงเสริมกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน และสงเสริมดานธรรมาภิบาล 91


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

ของการพัฒนาโครงการเขื่อนบานกุม โดยเฉพาะอยางยิ่งในปนี้เปนปที่ประเทศไทยมีฐานะเปนประธานของอาเซียน ดวยแลว ก็จะยิ่งสงเสริมบทบาทของรัฐบาลไทย ในเวทีระหวางประเทศดวยเชนกัน

เอกสารอางอิง กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน รวมกับบริษัทปญญา คอนซัลแตนท จํากัด และ บริษัทแมคโครคอนซัลแตนท จํากัด, 2551. รายงานกอนรายงานความเหมาะสมและรายงาน สิ่งแวดลอมเบื้องตน ของโครงการไฟฟาพลังน้ําฝายปากชมและฝายบานกุม. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน, 2551. จดหมายกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ พลังงาน ที่ พน 0506/42005, 21 สิงหาคม 2551 ขอเท็จจริงความเปนมาโครงการโรงไฟฟาพลังน้ํา ฝายบานกุม. กรมเอเชียตะวันออกกระทรวงการตางประเทศ, 2551. กรอบอํานาจหนาที่ตามกฎหมาย. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.mfa.go.th/web/847.php?id=1222. (30 มิถุนายน 2551) กระทรวงการตางประเทศ, 2551. ขาวกระทรวงการตางประเทศที่ 154/2551 วันที่ 27 มีนาคม 2551, 25 สิงหาคม 2551. รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเปนผูแทนรัฐบาลไทยลงนามบันทึก ความเขาใจเรือ่ งความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาว. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.mfa.go.th/web/463.php?id=19608&lang=th. (30 มิถุนายน 2551) กระทรวงการตางประเทศ, 2551. ขาวกระทรวงการตางประเทศ วันที่ 28 มีนาคม 2551, 22 สิงหาคม 2551 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศเปนผูแทนรัฐบาลไทยลงนามบันทึกความเขาใจเรื่อง ความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาว. กระทรวงการตางประเทศ. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.mfa.go.th/web/2662.php?id=24318. (30 มิถนุ ายน 2551) กระทรวงการตางประเทศ, 2551. ขาวสารนิเทศของกระทรวงการตางประเทศที่ 421/2551 วันที่ 14 สิงหาคม 2552, 22 สิงหาคม 2551 รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศตอบกระทูถ ามสดเรื่องโครงการ ไฟฟาพลังน้ําฝายบานกุม. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.mfa.go.th/web/463.php?id=20502&lang=th. (30 มิถุนายน 2551) กระทรวงการตางประเทศ, 2551. จดหมายกระทรวงการตางประเทศ ที่ กต 1303/655, 10 มีนาคม 25511 ขอ อนุมัติลงนามบันทึกความเขาใจเรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางไทย-ลาว.

92


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, 2550. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2550 – 2564 (PDP2007). การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, 2551. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2550 – 2564 (PDP2007 – ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย, 2552. แผนพัฒนากําลังผลิตไฟฟาของประเทศไทย พ.ศ. 2550 – 2564 (PDP2007 – ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2550. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 7/2550 (ครั้งที่ 116) วันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2550. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-116.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2550.มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 8/2550 (ครั้งที่ 117) วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-117.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2550.มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 9/2550 (ครั้งที่ 118) วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2550. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-118.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2550. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 10/2550 (ครั้งที่ 119) วันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2550. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-119.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2551. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 1/2551 (ครั้งที่ 120) 17 มกราคม พ.ศ. 2551. [ระบบออนไลน]. http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-120.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2551. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 2/2551 (ครั้งที่ 121) วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2551. [ระบบออนไลน]. http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-121.htm. (1 สิงหาคม 2551) คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2551. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ที่ 3/2551 (ครั้งที่ 122) วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551. [ระบบออนไลน]. http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-122.htm. (30 มกราคม 2552) 93


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ่

คณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ, 2552. มติคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ ครั้งที่ 1/2552 (ครั้งที่ 123) วันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2552. [ระบบออนไลน]. http://www.eppo.go.th/nepc/kpc/kpc-123.htm. (30 มกราคม 2552) จดหมายถึงบรรณาธิการกรณีเขื่อนกัน้ แมน้ําโขง. หนังสือพิมพ มติชน. วันที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ปที่ 31 ฉบับที่ 11110. บริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน), 2551. จดหมายบริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) 18 มิถุนายน 2551 การขออนุญาตเขาทํางานสํารวจธรณีวิทยาในโครงการไฟฟา พลังน้ําฝายบานกุม. บริษัทอิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน), 2551. หมายเหตุประกอบงบการเงิน งบการเงินประจําป สิ้นสุด ณ.วันที่ 31ธันวาคม 2551. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.itd.co.th/files/financial-y/th/itdt08_3.pdf. (วันที่ 25 พฤษภาคม 2552) ผูวาราชจังหวัดอุบลราชธานี , 2551. จดหมายผูวาราชจังหวัดอุบลราชธานี ที่ อบ 0016.1/16070, 22 สิงหาคม 2551 บันทึกความเขาใจระหวางรัฐบาลแหงราชอาณาจักรไทย กับ รัฐบาลแหงสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เรื่อง ความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวางสองประเทศ. มิ่งสรรพ ขาวสะอาด และคณะ, 2544. แนวนโยบายการจัดการน้ําสําหรับประเทศไทย. สํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2551. จดหมายสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506/4564, 14 มีนาคม 2551 ขออนุมตั ิลงนามบันทึกความเขาใจเรื่องความรวมมือในการพัฒนาพลังงานไฟฟาระหวาง ไทย-ลาว. สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ทําเนียบรัฐบาล, 2551 มติคณะรัฐมนตรี ขาวที่ 01/03 วันที่ 11 มีนาคม 2551. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.thaigov.go.th. (12 มีนาคม 2551) King, P. Bird, J. and Haas, L., 2007. The Current Status of Environmental Criteria for Hydropower Development in the Mekong Region. Mekong River Commission, 2004. Expenditure Incurred and Fund Balances by Development Partner for the Year Ended, 2004, December 31. [online] available http://www.mrcmekong.org/download/finance/Statement_of_Contribution_Received_Donor2004.pdf ( 25 May 2009)

94


การมีส่วนร่วมของกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และความโปร่งใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟ้าพลังน้ําบนแม่น้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบ้านกุ่ม (จ. อุบลราชธานี) / มนตรี จันทวงศ์

Mekong River Commission, 2005. Expenditure Incurred and Fund Balances by Development Partner for the Year Ended, 2005, December 31. [online] available http://www.mrcmekong.org/download/finance/Statement_of_Contribution_Received_Donor2005.pdf ( 25 May 2009) Mekong River Commission, 2007. Expenditure Incurred and Fund Balances by Development Partner for the Year Ended, 2007, December 31. [online] available http://www.mrcmekong.org/download/finance/Statement_of_Contribution_Received_Donor2007.pdf. ( 25 May 2009) Mekong River Commission, 2008. Expenditure Incurred and Fund Balances by Development Partner for the Year Ended, 2008, December 31. [online] available http://www.mrcmekong.org/download/finance/Statement_of_Contribution_Received_Donor2008.pdf. ( 25 May 2009) Mekong Secretariat Study Team, 1994. Mekong Mainstream Run-of-river Hydropower. Bangkok, Thailand. Sourigna, V., 2008 Power Development Plans & Transmission Interconnection Projects. Department of Energy Promotion & Development, Ministry of Energy & Mines. [online] available http://www.adb.org/Documents/Events/Mekong/Proceedings/FG7-RPTCC7-Annex3.3-LaoPDRPresentation.pdf. ( 25 May 2009) Viravong, V., 2008. Regional consultation on MRC’s Hydropower Programme. Department of Electricity, Ministry of Energy & Mines. [online] available http://www.mrcmekong.org/download/programmes/hydropower/presentations/2.2%20MRCconsultation_LAOPDR.pdf. (25 May 2009)

95



การจัดการน้ําในลุมน้ําโขง : การมีสว นรวมของประชาชน



บทที่ 7 ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบ วิโรจนกูฎ1, ฤกษชัย ศรีวรมาศ2, กฤษณ ศรีวรมาศ3 1 ศาสตราจารย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 2 ผูชวยศาสตราจารย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 3 ผูชวยศาสตราจารย คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทคัดยอ บทความนี้นําเสนอผลการวิเคราะหปริมาณและลักษณะการกระจายของน้าํ ฝนและน้ําทา รวมทั้งสภาพ ปญหาและแนวทางการจัดการทรัพยากรน้าํ โดยใชขอมูลปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายวันจากสถานีวัดน้ําฝนของกรม อุตุนิยมวิทยาที่กระจายอยูทั่วทั้งพื้นที่จํานวน 51 สถานี ในชวงปค.ศ.1985-1995 และขอมูลปริมาณน้ําทาเฉลี่ยราย เดือนจากสถานีวัดน้ําทาของกรมชลประทานและกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน จํานวน 69 สถานี ในชวง ปค.ศ.1950-1995 ผลการศึกษาพบวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 1,200 มิลลิเมตรตอ ป ในชวงฤดูฝน (พ.ค.–ต.ค.) มีปริมาณน้ําฝนประมาณ 84% ของปริมาณฝนทั้งป โดยมีปริมาณฝนสูงสุด 200 มิลลิเมตร ในฤดูแลง (พ.ย.–เม.ย.) มีปริมาณน้ําฝนประมาณ 16% ของปริมาณน้ําฝนทั้งป ลําน้ําขนาดเล็กจะมีน้ํา ไหลเฉพาะในชวงฝนตก สวนลําน้ําขนาดกลางและขนาดใหญจะมีน้ําไหลตลอดทั้งป น้ําทาประมาณ 92% เกิดขึ้น ในชวง 6 เดือนของฤดูฝน (พ.ค.–ต.ค.) น้ําทารายเดือนสูงสุดเกิดขึ้นในเดือนกันยายนหรือตุลาคม ประมาณ 2930% ของน้ําทาเฉลี่ยรายป เมื่อหมดฤดูฝนปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือนมีคานอยมากคือประมาณ 1-2% ของน้ําทา เฉลี่ยรายป และเนื่องจากพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะคลายแองกระทะเมือ่ มีปริมาณฝนตกจํานวนมาก จึงทําใหเกิดน้ําทวมในชวงฤดูฝน พอเขาสูฤ ดูแลงประสบปญหาการขาดแคลนน้ําเนื่องจากมีปริมาณฝนตกคอนขาง นอยรวมทั้งขาดการกักเก็บน้ําฝนที่มปี ริมาณมากในชวงฤดูฝนไวใชในฤดูแลง นอกจากนี้การจัดการน้ําของภาครัฐ เพื่อแกปญหายังขาดการมีสวนรวมแบบบูรณาการของทุกภาคสวนโดยเฉพาะภาคประชาชนที่ไดรับผลกระทบจาก การจัดการน้ําโดยภาครัฐที่ไมตอบสนองความตองการของประชาชนในทองถิ่นอยางแทจริง ดังนั้นแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงควรพิจารณาถึงการจัดการทั้ง 4 ดาน ไดแก 1) การจัดการองคกรรับผิดชอบขอมูลและระบบฐานขอมูลดานทรัพยากรน้ํา 2) การสรางและปรับปรุงแหลงน้ําให สามารถสนับสนุนกิจกรรมการใชน้ําใหไดอยางพอเพียงตลอดป 3) การบริหารและจัดการน้ําแบบบูรณาการทั้ง ความเชี่ยวชาญ แหลงงบประมาณและภูมิปญญาทองถิ่น และ4) การสรางจิตสํานึกที่ดีในการฟนฟูและอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติของชุมชน


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

บทนํา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ “ภาคอีสาน” ของประเทศไทยมีขนาดพื้นที่ประมาณ 176,600 ตาราง กิโลเมตร ทิศเหนือและตะวันออกของภาคติดกับแมน้ําโขงที่ใชเปนเสนพรมแดนระหวางประเทศไทยกับประเทศ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทิศใตมีเทือกเขาพนมดงรักกั้นพรมแดนระหวางภาคอีสานของไทยกับ ประเทศกัมพูชาประชาธิปไตยและประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เทือกเขาพนมดงรักมีความสูง เฉลี่ยประมาณ 400-700 เมตร จากระดับน้ําทะเลปานกลาง (รทก.) มียอดเขาเขียวเปนยอดเขาที่สูงที่สุดสูงประมาณ 1,292 เมตร รทก. ทิศตะวันตกของภาคอีสานติดกับภาคกลางและภาคเหนือโดยมีเทือกเขาเพชรบูรณ เทือกเขาดงพระยาเย็น และเทือกเขาสันกําแพงเปนแนวแบงเขต เทือกเขาทิศตะวันตกมีความสูงเฉลี่ยประมาณ 500-1,000 เมตร รทก. มี ยอดเขาที่สูงที่สุดในภาคอีสานคือ ยอดภูหลวง มีความสูงประมาณ 1,570 เมตร รทก. และภูกระดึงสูงประมาณ 1,330 เมตร รทก. เปนแหลงตนน้ําของแมนา้ํ หลายสาย ไดแก แมน้ําเลย แมน้ําพรม แมน้ําพอง แมน้ําชี เปนตน สวนตอนกลางของภาคมีเทือกเขาภูเกาและภูพานทอดตัวจากทิศเหนือลงสูทิศใตแบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน ก็คือ แองสกลนครและแองโคราช ลักษณะพื้นที่ในแองสกลนครจะมีความลาดเอียงจากเทือกเขาภูพานไปยังแมน้ําโขง ใน สวนแองโคราชจะมีลักษณะคลายกะทะคือมีภูเขาลอมรอบบริเวณตรงกลางคอนขางราบลาดเอียงไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงใต ดังรูปที่ 1 สําหรับพื้นที่ราบโดยทัว่ ไปของภาคอีสานมีความสูงเหนือระดับน้ําทะเลปานกลาง ประมาณ 140 - 200 เมตร ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีประชากรประมาณ 21.4 ลานคน หรือประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศ แบงพื้นที่ การปกครองออกเปน 19 จังหวัด ประกอบดวย จังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร สกลนคร อุดรธานี หนองบัวลําภู ชัยภูมิ มหาสารคาม ขอนแกน กาฬสินธุ รอยเอ็ด ยโสธร อํานาจเจริญ นครราชสีมา บุรีรัมย สุรินทร ศรีสะเกษ และอุบลราชธานี ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม พืชที่สําคัญไดแก ขาว มันสําปะหลัง ปอ ขาวโพด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนภาคที่มีพื้นที่เพาะปลูกมากกวาภาคอื่นๆ แตผลผลิตตอไรต่ําเพราะการ ทําเกษตรสวนใหญอาศัยน้ําฝนซึ่งไมคอยแนนอน บางปมีน้ํามาก บางปไมมีน้ําเลย พอถึงฤดูฝนก็ประสบปญหาน้ํา ทวมนองพื้นที่ ภาครัฐและประชาชนไมไดเตรียมการเก็บกักน้ําฝนไวใชเพื่อการเกษตรกรรม เวนแตเก็บน้ําฝนไว ดื่มกินเทานั้น พอถึงฤดูแลงปริมาณน้ําในแมน้ําลําธารจะเหือดแหงไปทําใหภูมิภาคนี้ไมคอยมีการปลูกพืชหลังการ เก็บเกี่ยวขาว เปนเหตุใหประชากรบางสวนตองเดินทางไปจังหวัดในภูมิภาคอื่นเพื่อขายแรงงานในชวงฤดูแลง นอกจากนี้ภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังประสบปญหาความขัดแยงเรื่องการใชน้ําของกลุมตางๆ ที่มีปริมาณ เพิ่มมากขึ้นทุกป อันเนื่องมาจากการขยายตัวทางสังคมและเศรษฐกิจ กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอมที่ ทําใหปริมาณน้ําจืดที่หมุนเวียนในกระบวนการอุทกวิทยาตามธรรมชาติลดนอยลง ซึ่งเปนผลจากการตัดไมทําลาย ปาเพื่อบุกเบิกหาที่ทํากินใหม การใชน้ํายังขาดประสิทธิภาพและคุณภาพน้ําในบางสวนก็เสื่อมลงจนยากตอการ นํามาใชประโยชนอัน เนื่องมาจากการปลอยน้ํ าเสีย จากแหลงชุ มชน อุตสาหกรรม ตลอดจนสารเคมีจากพื้น ที่ เกษตรกรรม ทําใหเกิดการแยงชิงน้ําเพื่อนํามาใชประโยชนกันมากขึ้นทั้งในระดับชุมชนจนถึงระดับประเทศ

100


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

ระดับความสูง 100-200 เมตร รทก. 200-500 เมตร รทก. 500-700 เมตร รทก.

รูปที่ 1 สภาพภูมิศาสตรของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แนวทางการจัดการทรัพยากรน้ําเพื่อการจัดหาน้ําใหเพียงพอตอความตองการใชน้ํา รวมทั้งการควบคุม การใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพจึงมีความสําคัญยิ่งตอการอนุรักษคุณภาพชีวิตของประชาชนและการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคม การศึกษานี้จะวิเคราะหปริมาณและการกระจายของทรัพยากรน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งไดแกปริมาณและลักษณะการกระจายของน้ําฝนและน้ําทา พรอมทั้งนําเสนอสภาพปญหาและแนวทางการ จัดการทรัพยากรน้ําเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม 1. ปริมาณและการกระจายตัวของน้ําฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูเหนือเสนศูนยสูตรเล็กนอย ปริมาณฝนที่ตกสวนใหญเกิดจากลมมรสุ ม ตะวันตกเฉียงใตซึ่งเปนลมจากมหาสมุทรอินเดียที่พัดพาฝนมาตกระหวางเดือนพฤษภาคมถึงปลายเดือนตุลาคม และลมพายุใตฝุนที่เกิดในทะเลจีนใตเปนครั้งคราวทําใหเกิดฝนตกมากสุดในเดือนสิงหาคมและกันยายน จากการ วิเคราะหปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายปโดยใชขอมูลสถานีวัดน้ําฝนที่กระจายอยูทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือจํานวน 51 สถานี ในชวงปค.ศ.1985-1995 พบวามีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 1,200 มิลลิเมตรตอป พื้นที่สวนบนของภาค บริเวณริมแมน้ําโขงในเขตจังหวัดหนองคายและนครพนมเปนเขตชุมชื้นมีฝนตกชุก โดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณ บนสุดของจังหวัดหนองคายที่อยูติดแมน้ําโขงในเขตอําเภอบึงกาฬ บุงกลา ศรีวิลัย และบึงโขงโหลง ที่ถือวาเปนเขต ฝนตกชุก ซึ่งมีฝนเฉลี่ยมากกวา 2,400 มิลลิเมตรตอป ดังแสดงในรูปที่ 2 อยางไรก็ตามปริมาณฝนที่ตกลงมาก็จะ 101


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

เกิดการสูญหายเนื่องจากการระเหย การซึมลงใตดิน การคายระเหยของพืช การเก็บกักบนผิวดิน ปริมาณน้ําฝนที่ เหลือก็จะไหลกลายเปนน้ําทาตอไป

รูปที่ 2 เสนชั้นน้ําฝนเฉลี่ยรายปของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากการวิเคราะหหาปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยในแตละเดือนดังรูปที่ 3 พบวาฝนเริ่มตกประมาณปลายเดือน เมษายนและมีปริมาณน้ําฝนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนถึงเดือนตุลาคมหลังจากนี้ฝนจะเริ่มมีปริมาณลดลง ฝนตกมากที่สุด ประมาณเดือนสิงหาคมและกันยายนมีคาประมาณ 200 มิลลิเมตร ในชวงฤดูฝน (พ.ค.–ต.ค.) มีปริมาณน้ําฝน ประมาณ 84% ของปริมาณฝนทั้งป ในฤดูแลง (พ.ย.–เม.ย.) มีปริมาณน้ําฝนประมาณ 16% ของปริมาณน้ําฝนทั้ง ป ดังนั้นจึงสรุปไดวาปริมาณฝนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปริมาณคอนขางมากในชวงฤดูฝน

102


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

รูปที่ 3 ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยรายเดือนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อยางไรก็ตามในความเปนจริงปริมาณน้ําฝนเหลานี้มิไดกระจายใหเกิดการใชประโยชนอยางทั่วถึง ฉะนั้น ขอมูลเกี่ยวกับน้ําที่ไหลในลําน้ําในสวนตางๆ ของลุมน้ําจึงมีความจําเปนตอการจัดการทรัพยากรน้ํา เพื่อใชเปน ประโยชนสําหรับทุกฝายโดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับชุมชนทองถิ่น 2. ลักษณะการไหลของน้ําทาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ น้ําฝนที่ตกลงมาจะไหลผานผิวดินลงสูรองน้ําเล็กๆ หรือเรียกวาตนน้ําลําธาร รองน้ําขนาดเล็กก็จะไหล รวมกันเปนลําน้ําที่ใหญขึ้นเรื่อยๆ จนสุดทายจะไหลออกสูทะเล ลําน้ําแตละลําน้ําจะมีรหัสที่บอกใหรูลักษณะการ เชื่อมโยงของลําน้ําเปนระบบเครือขายลําน้ําประกอบดวย ลําน้ําลําดับ 1 เปนลําน้ําเล็กสุด เมื่อลําน้ําลําดับ 1 ไหล รวมตัวกันก็จะเปนลําน้ําลําดับ 2 และถาลําน้ําลําดับ 2 ไหลรวมตัวกันก็จะเปนลําน้ําลําดับ 3 ซึ่งจะไหลรวมตัวกันใน ลักษณะนี้เรื่อยๆ จนกลายเปนลําน้ําลําดับที่ใหญขึ้นไปเรื่อยๆ โดยที่ลําน้ําลําดับ 1 (ตนน้ําลําธาร) ถึงลําดับ 4 ถือวา เปนลําน้ําขนาดเล็ก ลําน้ําลําดับ 5-6 เปนลําน้ําขนาดกลาง และลําน้ําลําดับ 7 ขึ้นไปถือวาเปนลําน้ําขนาดใหญ ลําน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถแบงตามสภาพพื้นที่รับน้ําหรือลุมน้ําหลักได 3 ลุมน้ําหลัก ไดแก ลุมน้ําโขง อยูในพื้นที่บริเวณแองสกลนคร ประกอบไปดวยลําน้ําสาขาตางๆ มากมายที่เกิดจากเทือกเขา ภูพานและเทือกเขาเพชรบูรณ น้ําในลําน้ําสาขาตางๆ จะไหลลงแมน้ําโขงโดยตรง ลุมน้ําชี อยูในพื้นที่บริเวณ แองโคราชมีลําน้ําสาขาตางๆ ที่เกิดจากเทือกเขาภูพานและเทือกเขาทางทิศตะวันตกของภาค น้ําในลําน้ําตางๆ ไหลรวมตัวลงสูลําน้ําชีแลวไหลลงลําน้ํามูลบริเวณรอยตอจังหวัดศรีสะเกษกับจังหวัดอุบลราชธานี ลุมน้ํามูล อยูใน พื้นที่แองโคราชเชนเดียวกันมีลําน้ําสาขาตางๆ ที่เกิดจากเทือกเขาดงพญาเย็น สันกําแพง และเทือกเขาพนมดงรัก น้ําในลําน้ําสาขาตางๆ ไหลรวมลงสูลําน้ํามูลแลวไหลลงลําน้ําโขงบริเวณอําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ใน พื้นที่ลุมน้ําชี ลุมน้ํามูล และลุมน้ําโขงยังประกอบดวยลุมน้ําขนาดกลางและขนาดใหญประมาณ 59 ลุมน้ํา ดังแสดง ในรูปที่ 4 คุณสมบัติพื้นฐานของลุมน้ําขนาดกลางและขนาดใหญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งไดแกขนาดพื้นที่ 103


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

รับน้ําของลุมน้ําแตละลําดับ ความชันของลุมน้ํา ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยที่ตกในแตละลุมน้ํา รวมถึงปริมาณน้ําทาที่ไหล ออกจากลุมน้ําในแตละลําดับ แสดงไวในตารางที่ 1

ลุมน้ําโขง

ลุมน้ําชี

ลุมน้ํามูล

รูปที่ 4 ลุมน้ําขนาดกลางและขนาดใหญในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตารางที่ 1 คุณสมบัติพื้นฐานของลุมน้ําแตละลําดับในลุมน้ําโขง ลุมน้ําชี และลุมน้ํามูล ปริมาณ ลําดับ ชื่อลุมน้ํา ลําดับ พื้นที่ลุมน้ํา ความชัน น้ําฝน ลุม (ตร.กม.) (ลุมน้ํา) (มม.) น้ํา ลุมน้ําโขง 1 หวยน้ําหมัน 5 658 0.00576 1,090 2 น้ําสาน 5 1,674 0.01084 1,180 3 ลําน้ําเลย 5 2,608 0.01386 1,260 4 หวยดาน 5 666 0.00007 1,470 5 หวยมุก 5 814 0.00713 1,600 6 หวยบางทราย 5 1,428 0.00351 1,600 7 หวยน้ําอูน 5 1,432 0.00370 1,340

104

ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั้งป (ลาน ลบ. ม.) 294 545 1,024 214 262 464 500


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

ลําดับ

ชื่อลุมน้ํา

ลําดับ

8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18

หวยบังฮี หวยชม หวยน้ําก่ํา ลําน้ําสงคราม แมน้ําเลย หวยน้ําโมง หวยหลวง หวยสวย หวยน้ําอูน ลําน้ําสงคราม แมน้ําสงคราม

ลุม น้ํา 5 5 5 5 6 6 6 6 6 6 7

19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38

น้ําพรม ลําชี ลํากระจวน ลําเจา ลําเชิญ หวยสะทด น้ําพวย ลําปาว หวยสังกะ ลําพะยัง ลําชี ลําคันฉู ลําเชิญ ลําน้ําพอง ลําปาว ลําน้ํายัง ลําพันชาด ลําน้ําชี ลําน้ําพอง แมน้ําชี

5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 6 6 6 6 6 6 6 7 7 8

พื้นที่ลุมน้ํา

ความชัน

ปริมาณ น้ําฝน

ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั้งป

(ตร.กม.)

(ลุมน้ํา)

(มม.)

(ลาน ลบ. ม.)

1,458 2,969 3,468 4,067 3,803 2,750 3,968 1,834 3,487 9,022 13,007

0.00251 0.00531 0.00022 0.00015 0.00567 0.00301 0.00223 0.00007 0.00144 0.00010 0.00009 ลุมน้ําชี 0.00814 0.00815 0.00855 0.01212 0.00971 0.00738 0.01048 0.00169 0.00542 0.00696 0.00320 0.00958 0.00575 0.00010 0.00115 0.00016 0.00269 0.00120 0.00106 0.00055

1,680 1,330 1,600 1,720 1,330 1,390 1,470 1,730 1,790 2,030 2,300

669 977 1,144 2,141 1,494 873 618 598 1,235 8,079 11,648

960 1,000 1,030 1,030 1,140 1,180 1,200 1,280 1,430 1,580 1,000 1,010 1,060 1,190 1,240 1,320 1,340 1,100 1,170 1,260

693 723 204 485 392 226 305 808 169 210 917 504 1,100 1,660 2,177 1,257 227 1,893 1,684 8,253

2,627 2,780 516 1,632 1,231 590 881 3,148 401 536 4,079 1,717 4,853 7,230 8,025 4,198 594 12,735 14,386 46,915

105


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ลําดับ

39 40 41 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59

ชื่อลุมน้ํา

ลําตะคอง ลํามูลบน ลําจักราช ลําพังชู ลําพระเพลิง หวยตะโคง หวยสําราญ ลําพลับพลา ลําโดมนอย ลําเชียงไกร ลําสะแทด ลําปลายมาศ หวยทับทัน ลําเสียวใหญ ลําชีนอย หวยขยุง ลําเซบาย ลําเซบก ลําโดมใหญ ลําน้ํามูล แมน้ํามูล

ลําดับ

พื้นที่ลุมน้ํา

ความชัน

ปริมาณ น้ําฝน

ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั้งป

ลุม น้ํา

(ตร.กม.)

(ลุมน้ํา)

(มม.)

(ลาน ลบ. ม.)

ลุมน้ํามูล 3,538 0.00543 2,022 0.00725 1,371 0.00068 1,313 0.00063 2,345 0.00375 1,746 0.00192 3,417 0.00070 987 0.00026 2,199 0.00372 2,954 0.00105 3,810 0.00017 6,083 0.00189 3,592 0.00003 4,435 0.00020 4,936 0.00041 3,371 0.00078 3,990 0.00075 3,532 0.00011 4,803 0.00168 53,136 0.00140 70,740 0.00119

1,090 1,160 1,180 1,200 1,230 1,250 1,260 1,330 1,800 1,060 1,140 1,140 1,210 1,250 1,360 1,480 1,530 1,650 1,700 1,260 1,760

1,059 675 330 319 518 405 794 251 491 629 779 1,153 1,025 689 843 703 809 3,345 7,227 6,339 14,037

5 5 5 5 5 5 5 5 5 6 6 6 6 6 6 6 6 6 6 7 8

ลักษณะการกระจายของน้ําทาในแตละเดือนบอกใหทราบถึงปริมาณการใหน้ําตามธรรมชาติของลุมน้ําใน แตละชวงเวลาของป ซึ่งเปนคุณสมบัติทางอุทกวิทยาของลุมน้ําที่มีความสําคัญตอการวางแผนการใชประโยชนจาก น้ําทา จากการวิเคราะหขอมูลน้ําทาจากสถานีวัดน้ําทาของกรมชลประทานและกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน จํานวน 69 สถานี ในชวงปค.ศ.1950-1995 ตามลําน้ําตางๆ สามารถแบงลําน้ําออกเปน 2 กลุม คือ กลุมลําน้ําใน เขตพื้นที่ฝนเฉลี่ยรายปนอยกวา 1,300 มิลลิเมตร และกลุมที่อยูในเขตพื้นที่ฝนเฉลี่ยรายปมากกวา 1,300 มิลลิเมตร ผลการวิเคราะหสรุปไดดังนี้ เขตฝนเฉลี่ยรายปนอยกวาหรือเทากับ 1,300 มิลลิเมตร ลักษณะการไหลของน้ําทาจากลุมน้ําลําดับ 5 และ 6 มีความคลายคลึงกันมาก กลาวคือ น้ําทาสวนใหญประมาณ 92% เกิดขึ้นในชวง 6 เดือนของฤดูฝน

106


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

(พ.ค.-ต.ค.) น้ําทารายเดือนสูงสุดเกิดขึ้นในเดือนกันยายน ประมาณ 29-30% ของน้ําทาเฉลี่ยรายป เมื่อหมดฤดูฝน ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือนมีคานอยมากคือประมาณ 1-2% ของน้ําทาเฉลี่ยรายป ลักษณะการไหลของน้ําทาจาก ลุมน้ําลําดับ 7 และ 8 มีความคลายคลึงกัน กลาวคือ ประมาณ 80% ของน้ําทาเกิดขึ้นในชวง 6 เดือน (พ.ค.-ต.ค.) น้ําทารายเดือนสูงสุดเกิดขึ้นในเดือนกันยายนหรือตุลาคมขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศของลุมน้ํา ถา เกิดขึ้นในเดือนกันยายนจะมีคาประมาณ 25% ของน้ําทาเฉลี่ยรายป แตถาเกิดในเดือนตุลาคมจะมีคาสูงกวาคือ ประมาณ 30% ของน้ําทาเฉลีย่ รายป ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือนในฤดูแลงมีคานอยคือประมาณ 2-3% ของน้ําทา เฉลี่ยรายป ดังรูปที่ 5

รูปที่ 5 กราฟน้ําทา (hydrograph) ของลุมน้ําแตละลําดับในเขตปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งป นอยกวาหรือเทากับ 1,300 มม. เขตฝนเฉลี่ยรายปมากกวา 1,300 มิลลิเมตร การกระจายของน้ําทารายเดือนมีลักษณะแตกตางกัน มากกวาในกรณีของลุมน้ําที่อยูในเขตฝนเฉลี่ยรายปนอยกวา 1,300 มม. ดังจะเห็นไดจากรูปที่ 6 น้ําทาจากลุมน้ํา ลําดับ 5 และ 6 มีลักษณะการกระจายคลายคลึงกัน กลาวคือ ประมาณ 92% ของน้ําทาเฉลี่ยรายปเกิดขึ้นในชวง 6 เดือนของฤดูฝน (พ.ค.-ต.ค.) น้ําทารายเดือนสูงสุดเกิดขึ้นในเดือนกันยายนมีคาประมาณ 28 % ของน้ําทาเฉลี่ยราย ป น้ําทารายเดือนในชวงฤดูแลงจะมีนอยมากคือประมาณ 1-2 % ของน้ําทาเฉลี่ยรายป น้ําทาจากลุมน้ําลําดับ 7 และ 8 มีลักษณะการกระจายคลายกับน้ําทาจากลุมน้ําลําดับ 5 และ 6 แตปริมาณน้ําทารายเดือนสูงสุดเกิดขึ้นใน เดือนตุลาคมมีคาประมาณ 33 % ของน้ําทาเฉลี่ยรายป

107


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

รูปที่ 6 กราฟน้าํ ทา (hydrograph) ของลุมน้าํ แตละลําดับในเขตปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยทั้งปมากกวา 1,300 มม. จากที่กลาวมาขางตนสามารถสรุปลักษณะการกระจายของน้ําทารายเดือนของลุมน้ําลําดับตางๆ ไดดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 การกระจายปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือนของลุมน้ําแตละลําดับ ปริมาณ น้ําฝน นอยกวา หรือเทากับ 1,300 มม.

ลําดับ ลุมน้ํา 5 6 7 8 มากกวา 5 1,300 มม. 6 7 8

เม.ย. 1 1 3 3 1 1 1 1

เปอรเซ็นตการแพรกระจายปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือน (%) พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. 2 7 10 20 30 20 6 1 1 1 3 6 10 18 32 20 5 2 1 1 4 6 8 10 23 25 8 4 3 3 4 7 9 11 20 24 9 4 3 3 2 6 10 20 29 20 7 2 1 1 2 6 12 21 29 17 7 2 1 1 1 5 10 18 26 23 10 3 1 1 2 5 10 15 25 24 11 4 1 1

มี.ค. 1 1 3 3 1 1 1 1

เดือนที่เกิด เปอรเซ็นตปริมาณน้ําทาสูงสุดเฉลี่ย (%) ปริมาณน้ําทาเฉลี่ย ปริมาณน้ําสูงสุด ก.ย. ต.ค. นอกฤดูฝน (%) ก.ย. 29.0 2 ก.ย. 30.0 2 ก.ย.,ต.ค. 31.5 39.0 4 ก.ย.,ต.ค. 34.0 34.0 4 ก.ย.,ต.ค. 30.0 34.0 2 ก.ย.,ต.ค. 26.5 28.5 2 ก.ย.,ต.ค. 27.5 36.0 3 ก.ย.,ต.ค. 29.0 30.5 3

หมายเหตุ : ปริมาณน้ําทาเฉลี่ยรายเดือน หมายถึง ปริมาณน้ําทาในแตละเดือนเทียบกับปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั้งป ปริมาณน้ําทาสูงสุดเฉลี่ย หมายถึง คาเฉลีย่ ของน้ําทาในเดือนที่เกิดน้ําทาสูงสุด นอกจากนี้ ประกอบ และชูชยั (2539) ไดศึกษาความสัมพันธระหวางคุณสมบัติตางๆ ของระบบเครือขาย ลํา น้ํา ของภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ และความสั ม พั น ธ ร ะหว า งปริ ม าณน้ํา ท า เฉลี่ ย รายป จ ากลุ ม น้ํา และคุ ณ สมบั ติ เครือขายลําน้ําสําหรับลุมน้ําขนาดไมเกิน 5,000 ตารางกิโลเมตร พบวา ลุมน้ําที่มีพื้นที่นอยกวา 100 ตร.กม. จะมีการไหลเปนครั้งคราวในฤดูฝนและเมื่อมีฝนตกเทานั้น ลุมน้ําที่มีพื้นทีร่ ะหวาง 100- 1,000 ตร.กม.

108


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

จะมีน้ําไหลเฉพาะในฤดูฝน ลุมน้ําที่มีพื้นทีม่ ากกวา 1,000 ตร.กม. จะมีน้ําไหลตลอดทั้งปและในพื้นที่ลุมน้ําขนาด เล็กกวา 5,000 ตร.กม. ปริมาณน้ําสวนใหญไหลในฤดูฝน ประมาณ 95-100 % ของปริมาณน้ําที่ไหลตลอดทั้งป สามารถสรุปลักษณะการไหลในลําน้ําแตละลําดับไดดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ลักษณะการไหลในลําน้ําแตละลําดับในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขนาดลําน้ํา ลําดับลําน้ํา การเกิด ตนน้ํา 1 เปนลําน้ําเริ่มตน เล็ก

2 3 4

กลาง

5 6

ใหญ

7 8

ลักษณะการไหลของลําน้ํา มีน้ําไหลในขณะฝนตกและ หลังฝนตกประมาณครึ่งวัน เกิดจากลําน้ําลําดับ 1 มีน้ําไหลตอเนื่องหลังจาก ไหลมาบรรจบกัน ฝนตกประมาณ 1-2 วัน เกิดจากลําน้ําลําดับ 2 มีน้ําไหลตอเนื่องหลังจาก ไหลมาบรรจบกัน ฝนตกประมาณ 3-5 วัน เกิดจากลําน้ําลําดับ 3 มีน้ําไหลตอเนื่องหลังจากฝนตก ไหลมาบรรจบกัน ประมาณ 6-9 วัน สวนใหญจะมี น้ําไหลตลอดเวลา 5-6 เดือนของฤดูฝน เกิดจากลําน้ําลําดับ 4 มีน้ําไหลตลอดฤดูฝนนาน ไหลมาบรรจบกัน ประมาณ 7-8 เดือน เกิดจากลําน้ําลําดับ 5 มีน้ําไหลตลอดฤดูฝนนาน ไหลมาบรรจบกัน ประมาณ 9-12 เดือน เกิดจากลําน้ําลําดับ 6 เปนลําน้ําขนาดใหญมีน้ําไหล ไหลมาบรรจบกัน ตลอดป เกิดจากลําน้ําลําดับ 7 เปนลําน้ําขนาดใหญมีน้ําไหล ไหลมาบรรจบกัน ตลอดป

ตัวอยางลําน้ํา หวยบน หวยบอแก หวยดวน หายบก หวยหนองโคง หวยเหล็กเปยก หวยยาง หวยดวน หวยสามขา หวยแดง ลําน้ํายัง หวยขาวสาร หวยบังอี่ หวยน้ําก่าํ ลําเชิญ ลํามูลบน แมน้ําเลย ลําน้ําพอง ลําเซบก ลําโดมใหญ แมน้ําสงคราม ลําน้ําพอง ลําน้ํามูล ลําน้ําชี

สภาพปญหาทรัพยากรน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สภาพปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถแบงออกไดเปน 4 ประเด็นหลักๆ คือ 1) ปญหาการขาดแคลนระบบขอมูลดานทรัพยากรน้ํา 2) ปญหาน้ําทวมในชวงฤดูฝน 3) ปญหาการขาด แคลนน้ําในชวงฤดูแลง และ 4) ปญหาคุณภาพน้ําที่เสื่อมโทรมลง ซึ่งสามารถอธิบายไดดังนี้ 1) การขาดระบบขอมูลดานทรัพยากรน้ํา ระบบขอมูลดานทรัพยากรน้ํามีความสําคัญมากที่สุดเนื่องจาก เปนปจจัยพื้นฐานในการนําไปสูการจัดการทรัพยากรน้ําซึ่งจะบอกใหฝายตางๆ ทราบวาทรัพยากรน้ําตนทุนใน ลุมน้ํามีปริมาณมากหรือนอยเพียงใด จะนํามาใชประโยชนไดหรือไม และควรนํามาใชในชวงเวลาใด แตในปจจุบัน ขอมูลทรัพยากรน้ําขาดเอกภาพและอยูกระจัดกระจายตามหนวยงานตางๆ ไมไดถูกนํามาจัดเก็บในระบบที่สะดวก ตอการใชงานและไมถูกนํามาเผยแพรตอสาธารณชนทั่วไป นอกจากนี้ขอมูลการไหลในลําน้ําตางๆ โดยเฉพาะ 109


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ลําน้ําขนาดเล็กยังขาดแคลนและมีอยูนอยมาก ที่มีอยูบางก็เปนลําน้ําขนาดกลางและขนาดใหญ ทําใหไมมีขอมูล เกี่ยวกับทรัพยากรน้ําที่จะใชในการพิจารณาแนวทางการจัดการน้ํา ซึ่งในบางครั้งจําเปนตองทําการสังเคราะหขอมูล ทรัพยากรน้ําขึ้นมาใชเองทําใหขาดการจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพ 2) ปญหาน้ําทวมในชวงฤดูฝน จากที่กลาวมาขางตนน้ําฝนที่ตกลงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวง 6 เดือนของฤดูฝน (พ.ค.-ต.ค.) มีปริมาณคอนขางมาก คือ ประมาณ 200 มิลลิเมตรตอเดือน หรือคิดเปนปริมาตรน้ํา ประมาณ 36,000 ลานลูกบาศกเมตรตอเดือน ซึ่งปริมาณน้ําฝนดังกลาวบางสวนจะเกิดการดักเนื่องจากตนไมและ สิ่งกอสรางตางๆ การระเหย การคายระเหยของพืช การซึมลงใตดิน และการเก็บกักบนผิวดิน ปริมาณฝนสวนที่ เหลือจะไหลหลากตามผิวดินลงสูลําน้ําขนาดเล็กและไหลรวมตัวกันกลายเปนปริมาณน้ําทาซึ่งจากการวิเคราะห ขอมูลน้ําทาก็พบวาชวงฤดูฝนมีปริมาณน้ําทาคอนขางมากประมาณ 90 % เมื่อเทียบกับปริมาณน้ําทาเฉลี่ยทั้งป ประกอบกับสภาพภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะเปนที่ราบแองกะทะบริเวณตอนกลางของภาค ทําใหเกิดลักษณะความลาดชันของลุมน้ําที่แตกตางกัน คือลุมน้ําขนาดเล็ก (ตนน้ําลําธารบริเวณภูเขา) มีความ ลาดชันมากทําใหการระบายน้ําเกิดขึ้นอยางรวดเร็ว ลุมน้าํ ขนาดกลางและขนาดใหญ เชน ลุมน้ําชี และลุมน้ํามูล มีความลาดชันนอย (บริเวณที่ราบแองกะทะ) ทําใหการระบายน้ําเกิดขึ้นไดชา และเนื่องจากการขยายตัวของ ชุมชนและทางเศรษฐกิจทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงการใชพื้นที่ เชนพืน้ ที่ปาลดลงทําใหเมื่อมีปริมาณฝนตกจํานวน มากจะเกิดการไหลหลากอยางรวดเร็วจนลําน้ําตางๆ ระบายน้ําไมทันจึงเกิดการทวมขังตามพื้นที่ตางๆ โดยเฉพาะ ริมตลิ่งลําน้ําบริเวณตอนกลางของภูมิภาค บริเวณริมตลิ่งดังกลาวในอดีตเปนปาบุงปาทามซึ่งเปนแหลงอาหารของ สิ่งมีชีวิตมากมาย ประกอบกับการกอสรางสิ่งตางๆ ที่ขวางการไหลของน้ําก็เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดน้ําทวมขัง เชน การกอสรางถนนขวางทางเดินของน้ํา การกอสรางฝายหรือเขือ่ นเพือ่ กักเก็บน้ํา เปนตน ดังนั้นการพัฒนาพื้นที่ ชุมชนตางๆ ควรไดมีการพิจารณาพฤติกรรมการหลากของน้ําอยางเปนรูปธรรมเพื่อใหไมกอปญหาขึ้นในอนาคต 3) ปญหาการขาดแคลนน้ําในชวงฤดูแลง พบวาในชวงฤดูแลงฝนที่ตกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี ปริมาณที่นอยมากรวมทั้งน้ําทาในลําน้ําตางๆ มีปริมาณคอนขางนอยหรือแทบไมมีเลยโดยเฉพาะลําน้ําที่อยูในเขต ลุมน้ําขนาดเล็ก ดังที่ไดกลาวมาแลว สาเหตุก็เนื่องมาจากลุมน้ําขนาดเล็กมีความลาดชันของลุมน้ําคอนขางมาก เมื่อมีปริมาณฝนตกปริมาณน้ําก็ไหลออกจากลุมน้ําคอนขางรวดเร็ว สวนลุมน้ําขนาดกลางและขนาดใหญถึงแม ความลาดชันของลุมน้ําจะมีคาไมคอยมากนักแตน้ําในลุมน้ําก็มีการไหลออกจากลุมน้ําตลอดเวลาในชวงฤดูแลง ประกอบกับพืชปกคลุมดินมีนอยลงมากทําใหน้ําไหลหลากอยางรวดเร็วและไมสามารถซึมลงไปเปนความชุมชื้นใน ดินได หากไมมีฝนตกลงมาเสริมก็จะทําใหปริมาณน้ําในลุมน้ํานอยลงจนไมเพียงพอตอปริมาณความตองการใชน้ํา อันเนื่องมาจากการขยายตัวที่รวดเร็วทางสังคมและเศรษฐกิจ ไดแก การเพิ่มของประชากร การขยายตัวของโรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน ทําใหปริมาณความตองการใชน้ํามีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับระบบการกักเก็บน้ําในลําน้ํา และพื้นที่ที่อยูหางไกลลําน้ํายังขาดประสิทธิภาพและขาดการเชื่อมโยงในการดําเนินการ เชนระบบการกักเก็บน้ํา ของฝายแตละแหงในลําน้ําขาดการเชื่อมโยงกันทําใหปริมาณน้ําในลําน้ําบางแหงไมมีน้ําเก็บกัก หรือเมื่อทําการ สรางแหลงเก็บกักน้ําในพื้นที่ที่อยูหางไกลลําน้ําแตก็ยังขาดระบบสงน้ําเพื่อกระจายไปตามพื้นที่ตางๆ เปนตน อีก ปญหาหลักที่สําคัญไดแกปาไมที่เปนตนน้ําลําธารที่เคยทําหนาที่ซึมซับน้ําถูกทําลายและไมมีการปลูกทดแทนในที่ที่ เหมาะสมจึงไมสามารถทําใหคืนความอุดมสมบูรณใหแกลุมน้ําได

110


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

4) ป ญ หาคุ ณ ภาพน้ํ า ที่ เ สื่ อ มโทรม อั น เนื่ อ งมาจากการปล อ ยน้ํ า เสี ย จากแหล ง ชุ ม ชน อุ ต สาหกรรม ตลอดจนสารเคมีจากพื้นที่เกษตรกรรม ลงสูลําน้ําทําใหคุณภาพน้ําในลําน้ําเสื่อมโทรมลง ในบางแหงไมสามารถนํา น้ํามาใชประโยชนไดเลย จนทําใหปริมาณน้ําที่มีคุณภาพดีมีไมเพียงพอตอปริมาณความตองการใชน้ํา ปญหา ดังกลาวเกิดจากการขาดความรูความเขาใจ รวมไปถึงการขาดจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรน้ํา

ปญหาการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากสภาพปญหาเกี่ยวกับน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือดังที่ไดกลาวมาขางตน หนวยงานที่เกี่ยวของ พยายามเข า มาแก ป ญ หาโดยการพยายามหาแนวทางการจั ด การน้ํ า ในอดี ต ที่ ผ า นมาประชาชนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือไมมีสวนในการเขามาจัดการน้ํา การจัดการน้ําจะเปนหนาที่ของหนวยงานภาครัฐเปนหลัก ซึ่ง ยังไมไดผลในแงการตอบสนองความตองการของชุมชนอยางทั่วถึง อีกทั้งยังขาดประสิทธิภาพและความยุติธรรม ในการใชน้ํา สาเหตุเนื่องมาจาก 1) หนวยงานตางๆ ไมมีแผนการจัดการน้ําอยางเปนระบบที่สอดคลองกันกับหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ ตาง ฝายตางรับผิดชอบในขอบเขตงานที่แตกตางกันตามเงื่อนไขและหนาที่ โดยเฉพาะหนวยงานในทองถิ่นซึ่งเปน หนวยงานใหมในการเขามาจัดการน้ําทําใหเกิดความซ้ําซอนและขาดการประสานงานของแตละหนวยงาน บางครั้ง เกิ ด ช อ งว า งของป ญ หาที่ ไ ม มี ห น ว ยงานใดรั บ ผิ ด ชอบจึ ง ทํ า ให ก ารแก ป ญ หาทรั พ ยากรน้ํ า ไม เ ป น ไปอย า งมี ประสิทธิภาพ แมจะมีกฎหมายและระเบียบตางๆ แตกฎหมายบางฉบับก็ยังลาหลังไมสอดคลองกับสภาพความเปน จริง ดังนั้นหากไดมีการกอตั้งหนวยงานกลางที่เปนศูนยกลางรวบรวมและจัดทําระบบฐานขอมูลก็จะสามารถทําให การเริ่มตนการจัดการทรัพยากรน้ําไดในทิศทางที่ถูกตอง 2) การจัดการน้ํายังเปนการวางแผนและดําเนินการโดยสวนกลางคือในระดับกระทรวง กรมตางๆ โดยเปด โอกาสใหองคกรทองถิ่นและประชาชนผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่รวมตัดสินใจในการจัดการน้ํานอยมาก ทําให ไมไดประโยชนจากความรอบรูในสภาพปญหาและแนวทางการแกปญหาที่เหมาะสมในทองถิ่น ตลอดจนไมเกิดการ มีสวนรวมในรูปของแรงงานและการลงทุน จึงทําใหการจัดการน้ําแบบรวมศูนยอํานาจไมเกิดความยั่งยืน มีปญหา เรื่องการบํารุงรักษา และไมตอบสนองตอความตองการที่แทจริงของประชาชน แตตอบสนองผลประโยชนของ หนวยงานเองและกลุมผลประโยชนอื่นๆ ที่เกี่ยวของเปนหลัก 3) ขาดการวางแผนอยางเปนระบบลุมน้ําและการประสานงานที่ดีในระดับจังหวัด อําเภอ และตําบล ทําให การพัฒนาขาดเปาหมายรวมที่ชัดเจน 4) ขาดการกระจายความรู ความเขาใจในระบบของหนวยงานของรัฐที่ดําเนินการจัดการทรัพยากรน้ํา ประชาชนไมสามารถติดตอประสานงานกับหนวยงานของรัฐไดอยามีประสิทธิภาพ ทั้งนี้อาจเกิดจากความไมเปน อันหนึ่งอันเดียวกันของหนวยงานภาครัฐที่จะจัดการปญหาแบบบูรณาการ ทั้งทางดานความรูและการจัดการน้ํา

111


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

แนวทางจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากสภาพปญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําและปญหาในการจัดการน้ําที่กลาวมาแลวขางตน นําเสนอแนวทางในการจัดการน้ําในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนี้

ในหัวขอนี้จะ

1) การจัด การน้ํ าในภาคตะวั น ออกเฉีย งเหนื อ ควรเริ่ ม ตั้ง แต จัด ตั้ ง องคก รกลางที่ดู แ ลและจัด ทํ าระบบ ฐานขอมูลที่เปนมาตรฐานเดียวกันเพื่อจัดเก็บขอมูลทรัพยากรธรรมชาติทั้งหมดในลุมน้ําเพื่อเปนขอมูลพื้นฐานที่จะ นํามาสูการหาแนวทางการจัดการน้ํา ในปจจุบันระบบที่นิยมนํามาใชกันก็คือระบบฐานขอมูลสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) ซึ่งเปนระบบที่สะดวกตอการนําขอมูลมาใชงาน รวมทั้งยังชวยในการวิเคราะหและนําเสนอขอมูลเชิงแผนที่ที่ งายตอการเขาใจสภาพพื้นที่ไดเปนอยางดี ในสวนขอมูลทรัพยากรน้ําที่ขาดแคลนในลําน้ําตางๆ ควรมีการติดตั้ง สถานีตรวจวัดเพิ่มเติมใหกระจายครอบคลุมทุกลําน้ําแมวาตองใชงบประมาณคอนขางมากแตก็มีความจําเปนตอ การจัด การทรัพยากรน้ํ าเปน อยางยิ่ ง เพราะหากไมมี ขอ มูลปริม าณและพฤติ กรรมการไหลของน้ํ าการจัดการ ทรัพยากรน้ําก็เปนไปดวยความยากลําบากและไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร 2) การจัดการปญหาน้ําทวมและการขาดแคลนน้ําตองดําเนินการควบคูกันไปเนื่องจากผลการดําเนินการ แกปญหาอยางหนึ่งจะสงผลตอการแกปญหาอีกอยางหนึ่ง การพิจารณาการจัดการควรมีการมองภาพรวมของ พื้นที่ซึ่งอาจแบงเปนลุมน้ําที่เปนระบบตอเนื่องกัน แนวทางที่สําคัญในการจัดการปญหาน้ําทวมและการขาดแคลน น้ําก็คือการขุดลอกลําน้ํา สระน้ํา และอางเก็บน้ําเดิมที่มีอยูเนื่องจากในชวงฤดูฝนจะมีน้ําหลากในพื้นที่ซึ่งจะกัด เซาะนําตะกอนมาทับถมในแหลงน้ําจํานวนมาก รวมทั้งโครงการจัดหาแหลงเก็บกักน้ําขนาดใหญ ขนาดกลาง และขนาดเล็กทั้งในลําน้ําและพื้นที่ที่อยูหางไกลจากลําน้ํา เนื่องจากในชวงฤดูฝนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมี ปริมาณฝนตกคอนขางมาก ดังนั้นหากสามารถดําเนินการเก็บกักน้ําฝนเอาไวใชในฤดูแลงเพิ่มเติมไดก็จะทําให ปญหาเรื่องการขาดแคลนน้ําลดลงไปดวยนอกจากนี้แหลงเก็บกักน้ําเหลานี้จะเปนตัวชวยชะลอน้ําไมใหเกิดการ หลากอยางรวดเร็ว แตเนื่องจากสภาพภูมิประเทศของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนที่ราบแองกะทะทําใหมีปญหา ในการกอสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญในพื้นที่เพื่อวางระบบสงน้ําชลประทานขนาดใหญ ทําใหไมสามารถสงน้ําไป ในพื้นที่ที่อยูหางไกลจากลําน้ําไดมากนัก ประกอบกับในปจจุบันภาคประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมี ความเข ม แข็ ง มากขึ้ น ทํ า ให ก ารก อ สร า งอ า งเก็ บ น้ํ า ขนาดใหญ ซึ่ ง มี ผ ลกระทบต อ การเปลี่ ย นแปลงสั ง คมและ สิ่งแวดลอมคอนขางมากสําหรับประชาชนในพื้นที่ทําไดไมสะดวกมากนัก ดังนั้น การกอสรางแหลงเก็บกักน้ําขนาด กลางและขนาดเล็กจึงเปนแนวทางที่จะสามารถกระทําไดโดยโครงการเหลานี้ตองอาศัยการมีสวนรวมของทุก ภาคสวนโดยเฉพาะภาคประชาชนที่มีสวนไดสวนเสียจากแนวทางการจัดการน้ํา การแกปญหาการจัดการ น้ําเปนการตอบโจทยที่ประชาชนเปนผูตั้ง ดังนั้นการเติมเต็มทางดานวิชาการ ภาคปฏิบัติการ และประสบการณ ของผูประสบปญหาจะเปนจุดเริ่มตนการพัฒนาอยางยั่งยืน 3) การจัดการน้ําตองทําเปนระบบลุมน้ํา เนื่องจากลุมน้ําเปนหนวยพื้นฐานตามธรรมชาติของ ทรัพยากรน้ํา ดิน ปาไม และสิ่งแวดลอม ซึ่งมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันระหวางทรัพยากรธรรมชาติทุก ชนิด การจัดการน้ําอยางเปนระบบลุมน้ําเปนเครื่องมือสําคัญสําหรับการจัดการน้ําและสิ่งแวดลอมทั้งในระดับ ภูมิภาคและทองถิ่น ลุมน้ําขนาดใหญเหมาะสําหรับการวางแผนระดับประเทศ ลุมน้ําขนาดกลางเหมาะสําหรับการ วางแผนระดับภูมิภาค และลุมน้ําขนาดเล็กเหมาะสําหรับการวางแผนระดับทองถิ่น ในแตละลุมน้ําควรมีการจัดตั้ง

112


ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ / ผศ. ฤกษ์ชัย ศรีวรมาศ

คณะกรรมการลุมน้ําประกอบไปดวยคณะทํางานจากทุกภาคสวนตั้งแตประชาชน เอกชน หนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ และนักวิชาการหรือผูมีความรูเชี่ยวชาญในเรื่องน้ํา ทําหนาที่ในการชวยกันวางแผนและบริหารจัดการน้ําในแตละลุม น้ํารวมทั้งการประสานความรวมมือพัฒนากับลุมน้ําอื่นที่เกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งการจัดการน้ําในแตละลุมน้ําจะมี รายละเอียดที่แตกตางกันออกไปขึ้นกับสภาพภูมิศาสตร เศรษฐกิจ และสังคมของแตละลุมน้ํา ที่ผานมาแมวา หลักการดังกลาวจะไดถูกริเริ่มและดําเนินการไปแลวแตบทบาทและหนาที่ของคณะกรรมการลุมน้ําก็ยังไมสามารถที่ จะปฏิบัติงานไดอยางจริงจัง ทั้งนี้ก็เนื่องมาจากนโยบายการจัดสรรงบประมาณที่ไมเอื้ออํานวยตอการปฏิบัติ ควรออกกฎหมายที่ มี ก ารกํ า หนดสิ ท ธิ แ ละระเบี ย บปฏิ บั ติ ต า งๆ ของภาครั ฐ และประชาชนในการใช ประโยชน แ ละอนุ รั ก ษ น้ํ า ให ชั ด เจนและสามารถนํ า ไปปฏิ บั ติ ไ ด แม ป ระเทศไทยจะมี ก ฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ทรัพยากรน้ํา แตกฎหมายเหลานั้นมีขึ้นเพื่อการดําเนินงานของแตละหนวยงานราชการเปนสําคัญ ไมแสดงถึงการ กระจายสิทธิการใชน้ําอยางชัดเจนโดยเฉพาะสิทธิการใชน้ําและการอนุรักษน้ําของชุมชนในทองถิ่น การจัดการน้ําควรกระจายอํานาจสูทองถิ่น แมในปจจุบันจะเนนใหประชาชนในทองถิ่นนําเสนอความ ต อ งการแต ใ นทางปฏิ บั ติ แ ล ว การวางแผน การตั ด สิ น ใจ และการดํ า เนิ น งานมาจากส ว นบนโดยกรมต า งๆ เหมือนเดิม กลาวคือองคกรปกครองทองถิ่นและองคกรชุมชนทองถิ่นมีหนาที่เสนอขอโครงการขึ้นไปตามกรอบที่ กระทรวงเปนผูกําหนดแตไมมีสวนในการวางแผนและพัฒนาแตอยางใด และเมื่อไดรับอนุมัติโครงการแลวกรมจะ เปนผูดําเนินการทุกขั้นตอน โดยที่ประชาชนหรือองคกรทองถิ่นไมมีโอกาสรวมตัดสินใจหรือรวมดําเนินงานให เปนไปตามความตองการของทองถิ่น ประกอบกับองคกรระดับทองถิ่นยังตองการความชวยเหลือในการเพิ่มขีด ความสามารถทางเทคนิคในการจัดการน้ํา หากยังไมมีการกระจายอํานาจการจัดการน้ําลงสูทองถิ่นไดก็จะไม สามารถจัดการการใชประโยชนและการควบคุมทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล อมอยางมีประสิทธิภาพและ ยุติธรรมไดอีกตอไป เนื่องจากความซับซอนและความตองการที่เพิ่มขึ้นของระบบสังคมและเศรษฐกิจที่ขยายตัวขึ้น อยางรวดเร็ว โครงการขนาดเล็กควรอยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองทองถิ่น สวนโครงการขนาดกลาง และขนาดใหญซึ่งครอบคลุมพื้นที่หลายตําบลหรือหลายอําเภอ จึงควรเปนหนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานสวน ภูมิภาคและสวนกลางในการดําเนินงาน รวมทั้งมีหนาที่กําหนดมาตรฐานทางวิชาชีพและเปนแหลงวิชาการและ ขอมูลเพื่อเปนที่ปรึกษาใหกับองคกรในระดับทองถิ่น

สรุป การบริหารและการจัดการน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีปริมาณน้ําตนทุนมากในชวงฤดูฝนและมี ปริมาณน้ํานอยในชวงฤดูแลง ซึ่งกอใหเกิดปญหา 2 แบบ คือ น้ําทวมและภัยแลง มีแนวทางในการดําเนินการสรุป ไดดังนี้ 1) ดําเนินการการกระจายของน้ําใหมีความเหมาะสมกับความตองการน้ําตามเวลาและกิจกรรมการใชน้ํา โดยการสรางอางเก็บน้ํา ฝาย ระบบสงน้ําและการชลประทาน การขุดลอกแหลงน้ําผิวดิน เปนตน 2) การรวบรวมขอมูลพื้นฐานทรัพยากรน้ําตางๆ ไดแก ขอมูลอุตุ-อุทกวิทยา ใหมีมาตรฐานเดียวกันและมี ความเปนเอกภาพ อยูในระบบฐานขอมูลกลางที่มีองคกรกลางดูแล มีการวิเคราะหและสังเคราะหขอมูลเพื่อการ บริหารจัดการดานขอมูลอยางยั่งยืนเปนระบบ

113


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

3) การบริหารจัดการน้ําโดยมีทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมรับผิดชอบ ไดแก หนวยงานวิชาการ หนวยงาน ภาคปฏิบัติการของรัฐ องคกรปกครองทองถิน่ และองคกรชุมชนทองถิ่น ผูซึ่งเปนเจาของพื้นที่ การบริหารจัดการ น้ําจะประสบความสําเร็จไมไดหากทั้ง 3 ฝายไมสามารถรวมมือกันที่ดีและจําเปนตองมีการประเมินผลการปฏิบัติ การอยางมีเปาหมายและมีพัฒนาการที่ดียิ่งขึ้นไป 4) การสรางจิตสํานึกการเปนเจาของทรัพยากรธรรมชาติและการคืนความอุดมสมบูรณใหแกทองถิ่นโดย การสรางความรวมมือกันระหวางภาคประชาชนที่เปนเจาของพื้นที่ ภาครัฐบาลที่ผานงบประมาณมายังหนวยงาน ตางๆ และภาควิชาการที่องคความรูที่หลากหลาย เพื่อใหทิศทางการพัฒนาเปนไปอยางถูกตองและยั่งยืนตอไป การประสบความสําเร็จในการบริหารจัดการน้ํามีความจําเปนที่ทุกภาคสวนตองรวมมือประสานงานอยาง จริงจัง การแกไขปญหาในพื้นที่ที่มีลักษณะใกลเคียงกันจะเปนประสบการณใหกับพื้นที่อื่นในอันที่จะทําใหปญหาถูก แกไขไดโดยงายยิ่งขึ้นและจะนําไปสูความสําเร็จในการแกปญหาในที่สุด ปญหาที่หลากหลายหากสามารถจัดแบง ใหเปนหมวดหมูและมีองคความรูที่ตรงกับปญหา ก็จะสามารถทําใหปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นแกไขไดอยางรวดเร็ว การแกไขปญหาที่ถูกตองตามหลักวิชาการโดยความรวมมือกันของทุกฝายก็จะนําไปสูการพัฒนาที่มีสวนรวมและ ยั่งยืนสืบไป

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุณสถาบันสิ่งแวดลอมไทยที่จัดใหมีการประชุม เรื่อง ความหลากหลายการใชและการจัดการน้ําใน ลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทยในทุกภาคสวน เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการจัดการน้ําอันจะเปน ประโยชนสูงสุดในการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพในอนาคต

เอกสารอางอิง ประกอบ วิโรจนกูฏ และ พ.อ. ชูชัย สินไชย, 2539. การหาปริมาณน้ําทาเฉลี่ยจากลักษณะเครือขายลําน้ําของ ลุมน้ํา. วิศวกรรมสาร มข, ปที่ 23 ฉบับที่ 1. ประกอบ วิโรจกูฏ และ ธิดารัตน ติยะจามร, 2540. สภาวการณเกี่ยวกับทรัพยากรน้ําของประเทศไทย. วิศวกรรมสาร มข, ปที่ 24 ฉบับที่ 2. ประกอบ วิโรจกูฏ และ ฤกษชัย ศรีวรมาศ, 2543. คุณสมบัติการไหลของน้ําทาจากลุมน้ําในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. วิศวกรรมสาร มข, ปที่ 27.

114


บทที่ 8 ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุงทามลุมน้ํามูนตอนกลาง บานหนองแค-สวนสวรรค สนั่น ชูสกุล ผูอํานวยการโครงการทามมูน

บทคัดยอ กรณีศึกษาเรื่องชลประทานชุมชนของชุมชนหนองแค-สวนสวรรค ตําบลหนองแค อําเภอราษีไศล จังหวัด ศรีสะเกษ เปนสวนหนึ่งของโครงการสิทธิชุมชนศึกษาภาคอีสานซึ่งมีการศึกษาสิทธิชุมชนลุมน้ํามูน ลุมน้ําชี และ กรณีปาไมที่ดินอีสาน ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ระหวางปพ.ศ. 2545 -2549 บทความนี้ไดรับการปรับปรุงหลังการวิจัย 3 ป วัตถุประสงคเฉพาะของกรณีศึกษานี้ก็เพื่อศึกษาระบบการจัดการน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่บุงทามเพื่อ ตอบสนองเศรษฐกิจของชุมชน วามีแบบแผนอยางไร ทั้งคุณคาประโยชนที่เกิดขึ้น เงื่อนไขและองคประกอบ ทั้ง ศึกษาบริบททางดานระบบนิเวศ ประวัติ ความเชื่อและประเพณีของชุมชน ความเหมาะสมที่จะนําไปใชในที่อื่นๆ ใช การศึกษาวิจัยแบบมีสวนรวมระหวางนักวิจัยไทบานและนักวิจัยองคกรพัฒนาเอกชน ศึกษาบริบทชุมชนทางดาน ประวัติศาสตร วัฒนธรรม ระบบนิเวศ เศรษฐกิจชุมชน โดยกระบวนการเสวนากลุมยอย สัมภาษณ จัดเวทีสรุป ประสบการณและบทเรียน และนําไปสูการยกระดับแผนการทํางานของกลุมชลประทานชุมชนในขณะเดียวกัน ตอเนื่องตลอด 3 ป ขอคนพบสําคัญคือ ชลประทานแหงนี้เปนการชลประทานขนาดเล็กที่เกิดจากความจําเปนในการแกปญหา ของชุมชนที่เผชิญหนากับภัยธรรมชาติรายแรง คือน้ําทวมใหญในปพ.ศ. 2521 ชาวหนองแค-สวนสวรรคมีตนทุน สําคัญอยูแลวคือ ทรัพยากรธรรมชาติทั้งแหลงน้ําธรรมชาติที่เพียงพอตอการจัดการจัดสรร เปนพื้นที่ทามที่มีเนื้อดิน อุดมสมบูรณดวยตะกอนแมน้ํา ทั้งมีพืชพรรณและสัตวตางๆ ในพื้นที่ปาทามอยางหลากหลายที่ชาวบานสามารถ เก็บหาเพื่อการยังชีพไดตลอดทั้งป ชาวหนองแค-สวนสวรรคเปนชาวชุมชนทองถิ่นที่มีรากฐานทางวัฒนธรรมที่ เขมแข็ง และใชเปนฐานของการรวมกลุมในการจัดการชลประทานชุมชนไดเปนอยางดี ในกรณีนี้ มีการสนับสนุน เครื่องสูบน้ําจากกรมชลประทานและคาน้ํามันเชื้อเพลิงจากองคการบริหารสวนทองถิ่น สงผลใหการชลประทาน ชุมชนดําเนินการไดตอเนื่องเปนเวลา 30 ปมาแลว การชลประทานขนาดเล็กแหงนี้ เปนรูปแบบที่สามารถตอบสนองเศรษฐกิจชุมชนไดเปนอยางดี มีความ คุมคาและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจมากกวาโครงการจัดการน้ําขนาดใหญของรัฐโดยทั่วไป และไมกอผลกระทบ ดานสิ่งแวดลอมและสังคม มีการคํานึงถึงการจัดการทรัพยากรอยางเปนองครวม สอดคลองกับระบบนิเวศลุมน้ําที่ เปนพื้นที่ทาม และวิถีชีวิตวัฒนธรรมของชุมชน โดยเฉพาะชาวชุมชนมีองคความรูเกี่ยวกับระบบนิเวศทองถิ่นและ พันธุกรรมทองถิ่นที่ลุมลึก และมีฐานคิดเกี่ยวกับสิทธิชุมชนที่เขมแข็ง เปนการทาทายอยางยิ่งวาความเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่กําลังถาโถมเขาสูชุมชนแหงนี้ ชุมชนจะตั้งรับ ตอสู ตอรอง หรือมีการปรับเปลี่ยน เพื่อการอยูรอดอยางไร


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

บทนํา ความรู ท อ งถิ่ น ว าด ว ยการจั ด การน้ํ า ในท อ งถิ่ น ต า งๆ ของประเทศไทยและภู มิ ภ าคแม น้ํ า โขงนั้ น มี อ ยู มากมาย หลากหลายไปตามสภาพนิเวศและวัฒนธรรมของมนุษยที่ไดใชความรูเกี่ยวกับสภาพดินฟาอากาศ ที่ได เรียนรู สั่งสมถายทอดกันมารุนตอรุน มาสูการคิดคนวิธีการที่จะดัดแปลงสภาพทางธรรมชาติมารับใชชีวิตมนุษย เพื่ อ การอยู ร อด มี ก ารดั ด แปลงพั ฒ นา ผลิ ต ซ้ํ า ผลิ ต ใหม เ รื่ อ ยมาทุ ก ยุ ค สมั ย มนุ ษ ย เ รี ย นรู เ รี ย นรู จ นสามารถ คาดการณฟาฝนไดจากปรากฏการณทางธรรมชาติ รูระดับสูงต่ําและลักษณะของเนื้อดิน ระดับของน้ําหลากทวมแต ละชวงฤดู รูธรรมชาติของพืชพรรณธัญญาหาร ดั่งคําพูดที่วา “รูใจฟา เขาใจดิน” เชนนี้ เขาสามารถคิดคนวิธีที่จะ สรางเงื่อนไขและออกแบบการเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว การเก็บหาผลผลิตจากธรรมชาติไดอยางเหมาะสม ในการจัดการเพื่อหาน้ําใหเพียงพอตอการเพาะปลูกมีตั้งแตการรูจักปนคันนาเพื่อการทํานาน้ําฝน ซึ่งเปน แบบดั้งเดิมและเปนแบบแผนหลักอยูในทุกภูมิภาคถึงปจจุบัน แมจะมีระบบการชลประทานแบบสมัยใหมมาเสริม อยางไร การทํานาก็ยังตองอาศัยรูปแบบการชลประทานพื้นฐานนี้อยู มีการวางระบบเหมืองนาเพื่อกระจายและ ระบายน้ําในทุงนา มีกติกาที่ไมเปนลายลักษณอักษรกํากับบอกขอบเขตของสิทธิและหนาที่ของเจาของนาแตละผืน เปนแบบแผนของการจัดการรวมกันของชุมชนที่อยูบนฐานของการแบงปนและรวมแกปญหาอยางแทจริง ยังมีการ ปนทํานบ ฝายเพื่อยกระดับน้ําในลําหวยนอยๆ เพื่อทดน้ําเขาที่นาตามความจําเปนของการหลอเลี้ยงตนขาว หรือ ทดน้ําเขาลําเหมืองสูการแบงปนแกผืนนาที่อยูต่ําลดหลั่นลงไป กอรูปเปนการจัดตั้งทางสังคมที่มีประสิทธิภาพและ อํา นวยความเป น ธรรมแก ทุ ก คนในกลุ ม ในชุ ม ชนให ไ ด “อยู ร อด” ร ว มกั น ดั ง ปรากฏในระบบเหมื อ งฝายทาง ภาคเหนือและบางพื้นที่ในภาคอีสาน ในที่สูงตนน้ํา ชาวนายังไดสรางระหัดวิดน้ําโดยใชพลังงานจากการไหลของน้ํา หมุนระหัดวิดน้ําทดเขานา และยังมีเทคโนโลยีที่ผลิตโดยใชความรูทองถิ่นอีกมากมาย เทคโนโลยีพื้นฐานที่เกิดขึ้นควบคูกับการจัดการทางสังคมเหลานี้ มีบทบาทในการตอบสนองการอยูรอด ของชุมชนทองถิ่นสวนใหญมาเปนเวลายาวนาน แตความรูการจัดการน้ําเหลานี้ที่ปรากฏอยูในปจจุบันกลาวไดวามี นอยเกินไป จนไมสามารถมีพื้นที่ที่จะมีสวนในการกําหนดนโยบายใดๆ องคความรูที่มีฐานะครอบงําและชี้นําการ พัฒนากลับเปนความรูที่เกิดจากการศึกษาเพื่อพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมเชน เขื่อน อางเก็บน้ําขนาดใหญ การผันน้ํา และไปไกลถึงขั้นการพยายามแปรรูปใหน้ําซึ่งเปนทรัพยากรสาธารณะกลายเปน สินคาเต็มรูปแบบ อยางไรก็ดี ผลกระทบจากการพัฒนาแหลงน้ําขนาดใหญที่ผานมาอันกอใหเกิดการสูญเสียระบบนิเวศ สําคัญและกอความขัดแยงขึ้นในสังคมอยางมากมาย ไดสรางความตื่นตัวใหมีการทบทวนบทเรียน และมีการศึกษา รวบรวมความรูทองถิ่นในการจัดการน้ํามากขึ้นโดยเฉพาะในระดับไรนาและลุมน้ําขนาดเล็กเพื่อการตอบสนอง เศรษฐกิจครอบครัวและชุมชนทองถิ่น และคํานึงถึงมิติตางๆ อยางหลากหลาย ในที่นี้จะกลาวถึงงานศึกษาบางเรื่อง ในพื้นที่ภาคอีสาน อรุณ หวายคํา (2540) ไดสรุปประสบการณการทําแหลงน้ําในไรนาในภาคอีสาน วามีการจัดการน้ําใน ระบบไรนาที่ใชไดผลหลายระดับ คือ การทําคันดินกั้นน้ํา ฝายน้ําลนกั้นลําหวย การขุดสระ การขุดบอน้ําตื้น การขุด บอบาดาล ในการจัดการน้ําในแปลงเกษตรอยางประณีตนั้นมีเทคนิคมากมาย เชน การจัดระบบพืช ใหมีพืชพี่เลี้ยง 116


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

การใหน้ําแบบขวด การสงน้ําตามทอ ทําน้ําหยด วิธีการและเทคนิคเหลานี้ไดประโยชนทั้งมีน้ําเพาะปลูกเพียงพอ มีปลากิน ประหยัดน้ํา ประหยัดเงิน สะดวก รุงวิชิต คํางามและคณะ (2548) โครงการวิจัยการจัดการน้ําระบบยอยโดยองคกรชุมชน กรณีศึกษากุดขา คีม ตําบลกุดขาคีม อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทรพบวา กุดขาคีม ซึ่งเปนแหลงน้ําธรรมชาติอยูในลุมน้ํามูน ตอนกลาง ที่มีลักษณะพิเศษ คือ “กุด” มีน้ําขังตลอดป มีลักษณะภูมิสัณฐานหลากหลายอยูถึง 7 ประเภท มี จํานวนมากถึง 278 แหง มีหมูบานที่ใชประโยชนจากกุดขาคีม 9 หมูบาน 669 ครัวเรือน ประชากร 2,003 คน มี การใชน้ําจากแหลงน้ําธรรมชาติแหงนี้อยางเพียงพอ ทั้งดานการทํานาทามและนาแซง 2,259 ไร โดยสูบน้ําทดไป ตามคลองที่ชาวบานขุดเองงายๆ นอกนั้นก็ยังใชปลูกพืชผัก เลี้ยงสัตว อุปโภคและบริโภค ซึ่งชุมชนมีการจัดการ 4 ระดับคือ การจัดการระดับครอบครัว ระดับกลุมเครือญาติและกลุมยอยในระดับพื้นที่ การจัดการระดับชุมชน และ การจัดการระดับองคกรทองถิน่ ไดประโยชนสูงสุดโดยมีแบบแผนการใชประโยชนและการแบงปนแบบวัฒนธรรม ชุมชน ปจจุบันมีการจัดตั้งองคกรชาวบานอยางเปนทางการเพื่อการจัดการกุดขาคีมอยางเปนระบบและตอเนื่อง มากขึ้น ดนุพล ไชยสินธุและคณะ (2547) พบวา ชุมชนแสงภา มีอายุเฉลี่ยประมาณ 400 ป ตั้งอยูในเขตพื้นที่ปา สงวนแหงชาติปาภูเปอย ปาภูขี้เถา และปาภูเรือ ชุมชนแสงภามีการจัดตั้งกลุมเหมืองฝาย เปนกลุมที่ชาวบานตั้งขึ้น เอง เพื่อคอยทํานุบํารุงและใชประโยชนจากเหมืองฝายในการเพาะปลูก มีระบบการจัดตั้งกลุมตามพื้นที่และวิถี วัฒนธรรมชุมชน จํานวนทั้งสิ้น 6 กลุม เปนกลุมเหมืองฝายที่ใชน้ําจากลําน้ําภา 3 กลุม คือ กลุมเหมืองนาถ้ํา สมาชิก 42 ครัวเรือน กลุมเหมืองนากลาง สมาชิก 43 ครัวเรือน และกลุมเหมืองนาหิน สมาชิก 73 ครัวเรือน สวน ลําน้ําแพร 3 กลุม คือ กลุมเหมืองนาทุง สมาชิก 50 ครัวเรือน กลุมเหมืองนาปาคา สมาชิก 25 ครัวเรือน กลุม เหมืองโปงขาง สมาชิก 53 ครัวเรือน กอนถึงฤดูทํานาจะมีการลอกเหมืองฝายทุกป โดยนายเหมืองจะตีฆองรอบๆ หมูบานเพื่อประกาศให สมาชิก มาชวยกั นซอมแซมและขุดลอกเหมืองฝายที่เป นดิน ปจจุบัน ฝายทุก แหงเป น คอนกรีตหมดแลว Fukui Hayao (2550) แหง Southeast Asian Studies Ritsumeikan Asia Pacific University (APU) ได สํารวจทําเนียบทํานบดินในภาคอีสาน ประเทศไทย จากการสํารวจในภาคอีสานจาก 7 จังหวัดในภาคอีสาน พบ ทํานบดินจํานวน 18 แหง ดังนี้ นครราชสีมา 6 แหง สุรินทร 5 แหง ขอนแกน 2 แหง อุบลราชธานี 2 แหง ยโสธร 1 แหง และศรีสะเกษ 1 แหง ทํานบดินสวนใหญที่ยังคงรูปแบบเดิมมากที่สุด คือ คันดินและรองระบายน้ํา สามารถ ใชการไดมากและมีประสิทธิภาพอยางตอเนื่อง แตทํานบบางแหงก็ถูกปรับปรุงเปนคอนกรีต ทําใหทํานบไมสามารถ ใชการไดเชนเดิม ทําใหชาวบานตางก็ลดการใหความสําคัญเรื่องการดูแลรักษาและซอมแซมทํานบลง รวมทั้งการ ปรับเปลี่ยนการทํานาจากนาดําเปนนาหวานก็เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหทํานบดินแบบดั้งเดิมลดความสําคัญและ ประสิทธิภาพลดลง จนกระทั่งพังทลายไปในที่สุด วิเชียร เจริญสุข และพัชรินทร ฤชุวรารักษ (2550) ศึกษาการจัดการฝายหินทิ้งวังบอน บานตาดโตน ต.ตาดโตน อ.เมือง จ.ชัยภูมิ พบวา เปนรูปแบบการจัดการน้ําของระบบครอบครัวและชุมชนมีอายุประมาณ 50 ป ดวยการทําฝายหินทิ้งในลําหวยลําปะทาวในพื้นที่เชิงเขาเขตอุทยานแหงชาติตาดโตน จ.ชัยภูมิ ความยาวประมาณ 10 - 15 เมตร สูงประมาณ 1 เมตร ทําดวยหินภูเขา ใบไม กิ่งไม ไมกระดาน ถุงปุยใสทรายปดระหวางซอกหิน 117


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

เพื่อใหน้ําไหลเออสูง ไหลลงสูเหมืองที่เปนหินยาวแนวเปนรองประมาณ 300 เมตร ไหลเขาสูเหมืองนาในแปลงนา ของชาวบาน เพื่อใหชาวบานไดทํานาและปลูกพืชฤดูแลงไดประมาณ 31 ครอบครัว พื้นที่ประมาณ 500 – 600 ไร การดูแลรักษาใชลักษณะการลงแรง ลงเงินกันปละ 200 บาท เพื่อเปนกองทุนซอมแซมดูแลรักษาระบบของฝายหิน ทิ้ง เนนการใชวัสดุธรรมชาติ เปนระบบการจัดการน้ําที่ชาวบานชวยกันจัดการและใชประโยชนกวา 50 ป แลว ดิรก สาระวดี และคณะ (2550) ศึกษาภูมิปญญาการจัดการน้ําของชุมชนปาภูถ้ําภูกระแต ในพื้นที่น้ําและ ดินเค็ม ต.หนองดู อ.แวงนอย จ.ขอนแกนพบวา ภูมิปญญาในการจัดการพื้นที่เพื่อการอนุรักษดินและใชประโยชน จากการจัดการน้ําอยางคุมคา มี 7 ลักษณะคือ (1) การจัดการพื้นที่ปาตนน้ําดวย การปลูกปา บวชปา ติดตามการ เฝาระวังการบุกรุกและทําลาย และตัดไม (2) สรางฝายชะลอความชื้นในปา 8 แหง (3) การทําฝายและบอชะลอ น้ําฝนในนา (4)การขุดบอน้ําตื้นในไรนา (5) การทํานาแบบคันแท (คันนา) ใหญ (6) ระบบเกษตรผสมผสาน และ (7) การทําฝายหินทิ้งในแมน้ําชี วิเชียร เกิดสุข, ประสิทธิ ประคองศรี และพัชรินทร ฤชุวรารักษ (2551) ศึกษาเกี่ยวกับระหัดวิดน้ํา ภูมิ ปญญาทองถิ่นลุมน้ําลําปะทาว อ.เมือง จ.ชัยภูมิ พบวา พื้นที่ลุมน้ําลําปะทาวมีการใชระหัดวิดน้ํามานานประมาณ 200 – 250 ป ในอดีตเคยมีระหัดวิดน้ําจํานวน 43 ตัว ปจจุบันคงเหลือ 16 ตัว พื้นที่ใชประโยชนทั้งสิ้นประมาณ 401 ไร การทําระหัดวิดน้ํา อุปกรณสวนใหญทําจากไมและวัสดุธรรมชาติ ระหัดวิดน้ํา 1 ตัว สามารถใชไดกับพื้นที่ นาประมาณ 15 ไร สําหรับการปลูกขาวและพืชหลังเก็บเกี่ยว เชน ขาวโพด ถั่วลิสง แตงกวา ถั่วฝกยาว เปนตน การศึกษาไดเปรียบเทียบประสิทธิภาพการทํางานของระหัดวิดน้ํากับเครื่องสูบน้ํา พบวา ตลอดฤดูการปลูกขาว เกษตรกรมีตนทุนในการสูบน้ําดวยเครื่องสูบ 1,465.73 –1,755.50 บาท ขณะที่ระหัดวิดน้ํามีตนทุนในการวิดน้ํา 333.33 บาทตอไร แสดงวาการใชระหัดวิดน้ําสามารถลดตนทุนในการนําน้ํามาใชในการผลิตขาวได 4-5 เทาเมื่อ เปรียบเทียบกับการใชเครื่องสูบน้ํา หากปจจุบันราคาน้ํามันที่สูงขึ้น ความแตกตางระหวางตนทุนในการนําน้ํามาใช ก็ตางกันมากขึ้นดวย ปจจุบันมีการตั้งกลุมระหัดวิดน้ําลําปะทาว มีสมาชิก 16 คน เพื่อชวยเหลือพึ่งพากันในการ ซอมแซมระหัดวิดน้ําและแลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร กระทรวงวิทยาศาสตรฯ (มปพ.) พบวา การแกไขปญหา เรื่อง การขาดแคลนน้ําของชาวบานลิ่มทอง ต.หนองโบสถ อ.นางรอง จ.บุรีรัมยเกิดจากความรวมมือของชุมชนและ หนวยงานราชการหลายหนวยงาน สนับสนุนใหชุมชนเกิดการเรียนรูอยางเปนระบบ วางแผนบนฐานความพรอม ของระบบนิเวศและศักยภาพของชุมชนเอง มีการนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน ภาพถายดาวเทียมรายละเอียด สูง (ไอโอโนส) มาเปนเครื่องมือในการวางแผนสํารวจการจัดการน้ํารวมกับความรูภูมิปญญาเรื่องเสนทางน้ําโบราณ ของชาวบาน ทําใหชุมชนไดรับการแกไขปญหาเรื่องน้ําจนประสบความสําเร็จ ทําใหชุมชนมีแหลงกักเก็บน้ําเรียกวา ระบบแมลิง-ลูกลิง ที่มีปริมาณเพียงพอตอการเกษตรตลอดป และการจัดการน้ําประปาของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ งานศึกษาเหลานี้มีทิศทางที่จะแสดงใหเห็นวา โดยแทจริงทองถิ่นไทยมีภูมิปญญาเพียงพอที่จะจัดการน้ํา ในระดับชุมชนทองถิ่น และถามีการสนับสนุนสงเสริมที่เหมาะสมก็จะเกิดการพัฒนาที่ไดประโยชนสูง คาใชจายนอย มีการกระจายประโยชนที่เปนธรรม และเปนหนทางที่จะสรางการพึ่งตนเองพึ่งกันเองของชุมชนอยางแทจริง

118


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

การศึกษาวิจัยทางเลือกในการจัดการน้ําระดับชุมชน หรือการชลประทานชุมชนที่บานหนองแค-สวน สวรรคตามเอกสารนี้ มีจุดเดนอยูที่เปนระบบการจัดการน้ําขนาดเล็กโดยองคกรชุมชนและมีการสนับสนุนจาก ภาครัฐและองคกรทองถิ่นอยางเหมาะสมตอเนื่องมา 30 ป เปนการจัดการที่มีประสิทธิภาพไดประโยชนสูงสุด สอดคลองกับระบบนิเวศและไมกอผลกระทบทางลบ แนวคิดหลักในการศึกษานี้คือแนวคิดเรื่องสิทธิชุมชนซึ่งมุง มองถึงการสรางความเขมแข็งของชุมชนโดยการจัดตั้งตัวเอง การประสานและตอรองกับภายนอก เพื่อความเปน ธรรมและยั่งยืนของการพัฒนา

วัตถุประสงคการศึกษา การศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของการวิจัยสิทธิชุมชนภาคอีสาน (กันยายน 2549) การศึกษากรณีชลประทาน ชุมชนนี้ มีวัตถุประสงคเฉพาะเพื่อศึกษาระบบการจัดการน้ําเพื่อการเกษตรในพื้นที่บุงทามเพื่อตอบสนองเศรษฐกิจ ของชุมชน วามีแบบแผนอยางไร ทั้งคุณคาประโยชนที่เกิดขึ้น เงื่อนไขและองคประกอบ ทั้งศึกษาบริบททางดาน ระบบนิเวศ ประวัติ ความเชื่อและประเพณีของชุมชน ความเหมาะสมที่จะนําไปใชในที่อื่นๆ

ขอบเขตและวิธีการศึกษา พื้นที่ศึกษา คือชุมชนบานหนองแค หมูที่ 1,หมู 17 บานสวนสวรรค หมูที่ 12 ตําบลหนองแค (ทั้ง 2 หมูบานนี้ถือเปนชุมชนเดียวกัน) อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ อยูริมถนนสายราษีไศล–สุวรรณภูมิ (จ.รอยเอ็ด) หางจากตัวอําเภอราษีไศล 4 กิโลเมตร มีอาณาเขตทิศเหนือ ติดตอกับเขตบานตัง ต. หนองแค อ.ราษีไศล ทิศใต ติดตอกับปาทามและแมน้ํามูน ทิศตะวันออกติดตอกับบานรองอโศก ต.เมืองคง อ.ราษีไศล ทิศตะวันตกติดตอกับ บานดอนงูเหลือม ต.หนองแค อ.ราษีไศล บานหนองแค หมูที่ 1 มีครัวเรือนทั้งสิ้น 123 ครัวเรือน ประชากร 594 คน บานหนองแค หมูที่ 17 มีครัวเรือนทั้งสิ้น 105 ครัวเรือน ประชากรทั้งหมด 345 คน และ บานสวนสวรรคหมูที่ 12 มีครัวเรือนทั้งสิ้น 90 หลังคาเรือน ประชากร 444 คน รวมแลวในพื้นที่การศึกษานี้ มีประชากร 1,384 คน จาก ครัวเรือนทั้งสิ้น 318 ครัวเรือน บานหนองแค-สวนสวรรค ตั้งอยูริมเขตปาทาม1ผืนใหญริมฝงแมน้ํามูนตอนกลาง มีพื้นที่ประมาณ 2,300 ไร ซึ่งปาทามหรือ “พื้นที่บุงทาม” แหงนี้เปนพื้นที่หาของปา เลี้ยงสัตว จับสัตวน้ํา เปนแหลงเศรษฐกิจของสําคัญ ของชุมชนมาแตอดีต มีการคอยๆ บุกเบิกเปนที่ทํากินถาวรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และในปจจุบันเปนพื้นที่ที่ชาวบานได จัดทําระบบ “ชลประทานชุมชน” เพื่อการทํานาปรัง

1

ปาทาม คือพื้นที่ชุมน้ําประเภทหนึ่งซึ่งเปนที่ลุมต่ําอยูรมิ ฝงน้ํา มีน้ําจากแมน้ําเออทนลนตลิ่ง เจิ่งนองแผออกทวมเปนบริเวณกวางในชวงฤดูฝน หรือฤดูน้ําหลากเปนระยะเวลาหลายเดือน ทุกปมีดินตะกอนที่ไหลพัดมากับน้ําจากแมน้ําทับถมอุดมดวยธาตุอาหาร กอใหเกิดสัณฐานสูงต่ํา หลากหลาย เปนถิน่ ที่ขึ้นอยูของพืชพรรณปาไม ถิ่นที่อยูอาศัย หากิน สรางรัง แพรขยายพันธุของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่ปรับตัวดํารงชีวิตอยูไดใน เขตนิเวศแหงนี้ และเปนเขตที่ชุมชนใชเปนที่ทํากินและแหลงยังชีพสําคัญ

119


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

รูปที่ 1 แผนทีก่ ารจัดการน้ําโดยชุมชน ตําบลหนองแค อําเภอราศีไศล จังหวัดศรีษะเกษ วิธีการศึกษา ใชกระบวนการวิจัยอยางมีสวนรวม โดยมีการตั้งทีมนักวิจัยชาวบาน คัดเลือกจากกรรมการ กลุมทํานาปรังจํานวน 12 คน รวมกับนักวิจัยจากองคกรพัฒนาเอกชน (โครงการทามมูล) มีการรวมการศึกษาฐาน ทรัพยากรชุมชน ประวัติและความเชื่อ ประเพณีตางๆ ของชุมชน ดวยวิธีเสวนากลุมยอย การสัมภาษณ และการ สํารวจพื้นที่ ทําแผนที่ภายในภายนอก การศึกษาเกี่ยวกับระบบชลประทานชุมชนในพื้นที่บุงทามใชวิธีการรวมสรุป ประสบการณและบทเรียนการทํางานในอดีต มีการนําขอมูลที่ถูกบันทึกมารวมกันตรวจสอบเปนรอบๆ กระบวนการ เหลานี้เกิดขึ้นตอเนื่องระหวางป 2546-2549 ซึ่งมีรอบการดําเนินงานของระบบชลประทานชุมชน 3 ฤดูการผลิต ทามกลางการวิจัยนี้ กลุมชลประทานชุมชนก็ไดใชบทเรียนที่คนพบเพื่อการปรับปรุงแผนการทํางานในรอบตอๆไป ดวยในขณะเดียวกัน

ผลการศึกษา 1. บริบทชุมชน • พัฒนาการและการตั้งถิ่นฐานของชุมชน บานหนองแคและบานสวนสวรรคเดิมทีเปนชุมชนเดียวกันและมีประวัติศาสตรเชื่อมโยงถึงยุคการสรางบาน แปงเมืองยุคปลายกรุงศรีอยุธยาของพญากตะศิลา ซึ่งไดนาํ พาบาวไพรอพยพมาจากประเทศลาวขามลําน้ําโขง แลว ลองมาตามลําน้ํามูน ในระยะแรก ๆ ไดเขาจับจองตั้งบานเรือนริมฝงลําน้าํ มูน บริเวณบานหลุบโมก (ต.เมืองคง) แต เนื่องจากปญหาจากภัยธรรมชาติและลักษณะภูมิประเทศไมเหมาะสมกับการเพาะปลูกจึงมีการอพยพโยกย า ย หลายครั้งเรือ่ ยมาตามริมฝงน้ํามูนจนกระทั่งถึงบานหนองแค ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ ในปจจุบัน เมือ่ มี การขยายตัวของอัตราประชากร และการอพยพยายถิน่ กอใหเกิดประวัติศาสตรทองถิน่ ขึ้นตามชวงยุคสมัย เชน อีก 120


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

กระแสหนึง่ ก็เลาวา ผูที่มาตั้งบานเรือนอยูท ี่นี่คนแรกคือ ยาตู ซึ่งอพยพมาจากบานหนองตะมะ อ.เมือง จ.ศรีสะเกษ ยาตูถูกกลาวหาวาเปนผีปอบ จึงถูกขับไลออกจากหมูบานและเดินทางรอนเรมาเรื่อย ๆ จนมาพบแหลงทีอ่ ุดม สมบูรณ จึงตั้งบานเรือนขึน้ ทีน่ ี่ ประวั ติ ศ าสตร ข องบ า นหนองแคอี ก ชุ ด หนึ่ ง กล า วว า คนที่ ม าก อ ตั้ ง บ า นหนองแค คนแรกคื อ นายอ อ น สี ห บุ ต ร ซึ่ ง เป น กํ า นั น คนแรกของตํ า บลหนองแค ได พ าพรรคพวกอพยพมาจากบ า นหนองครก หนองตะมะ จ. ศรีสะเกษ เมื่อเห็นวาเปนพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ จึงไดพากันตั้งบานเรือนเปนหมูบาน สวนชื่อ "บานหนองแค" นั้น ตั้งชื่อตามตนแคดําขนาดใหญที่ขึ้นอยูริมฝงหนองน้ํา ตอมาหมูบานไดขยายครอบครัวออกมา เรื่อยๆ จึงแยกการปกครองออกเปน 2 หมู คือ หมู 1 และหมู 17 และแยกออกเปนบานสวนสวรรค หมู 12 อยู ติดกัน บานสวนสวรรค นั้น ชาวบานหนองแคไดทยอยยายบานเรือน ขยายพื้นที่มาอยูในที่สวนชานบานตั้งแตป 2503 จนมีผูมาตั้งบานเรือนหนาแนนขึ้น จึงมีการแยกการปกครองออกมา บริเวณที่ตั้งบานมีสวนมะมวง และแปลง พืชผักสวนครัวหนาแนน จึงพากันตั้งชื่อวา “บานสวนสวรรค" จากประวัติการตั้งชุมชนทําใหทราบแนวคิดของบรรพบุรุษในการเลือกทําเลที่ตั้งของชุมชน กลาวคือ การ ตั้งชุมชนจะคํานึงถึงความปลอดภัย และปจจัยเอื้อตอการทํามาหากิน ซึ่งใหความสําคัญกับความอุดมสมบูรณของ พื้นที่เปนหลัก มีความสัมพันธอยางสําคัญกับทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ํามูน บริเวณดังกลาวมีปาทามผืนใหญหลาย พันไรทงั้ สองฝง แมน้ํามูน ชาวบานใชพื้นที่ลุมต่ําบริเวณหนองน้ํา กุด ฮอง (รองน้ํา) ในการทํานาในฤดูแลง (พฤษภาคม-กันยายน) เรียกกันวา "นาหนอง" หรือนาทาม ทําการประมง เลี้ยงสัตว เก็บพืชผัก สมุนไพร ซึ่งใน ระบบเศรษฐกิจยังชีพในอดีตถือวาเปนชุมชนที่มีอยูมีกินอยางอุดมสมบูรณ • ทรัพยากรธรรมชาติ บานหนองแค-สวนสวรรค มีแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งชุมชนไดใชประโยชนทั้งในการหากินและทํา พิธีกรรมรวมกัน ทรัพยากรธรรมชาติของบานหนองแค-สวนสวรรคประกอบดวย (1) พื้นที่ทามตลอดริมฝงแมน้ํามูน เปนพื้นที่ตะพักลุมน้ําที่มีน้ําทวมถึงในฤดูฝนเกือบทุกปเปนเวลา 3 - 4 เดือน ประกอบไปดวยพื้นที่สูง ต่ํา ดานหนึ่งลาดขึ้นที่ดอนตีนบาน อีกดานลาดขึ้นสูฝงลําน้ํามูน ซึ่งมีฝงสูง มี ความกวางประมาณ 3-4 กิโลเมตร เปนพื้นที่ทํานาทําไรและใชประโยชนในการหาอยูหากินรวมกันของชาวบาน (2) กุด หนอง รองน้ําในพื้นที่ทามริมน้ํามูน ซึ่งเปนแหลงน้ําธรรมชาติที่มีตนทุนน้ําและทรัพยากรทางน้ํา อื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งชุมชนบานหนองแคและสวนสวรรคใชประโยชนในการทํานาปรังและการเกษตรอื่น ๆ แหลงน้าํ ที่สําคัญมีทั้งหมด 28 แหง แตละแหงมีขนาดพื้นที่ตั้งแต 2–500 ไร ดังนี้ 1. กุดปราการ (พื้นที่ 500 ไร) 2. หนอง ผักแวน (1 ไร) 3. หนองบึง (3 ไร) 4. หนองสองหอง (3 ไร) 5. หนองขอน (2 ไร) 6. หนองแหน (4 ไร) 7. กุด ปลากา (2 ไร) 8. กุดงูสิง (2 ไร) 9. กุดใหญ (6 ไร) 10. กุดนายไท (3 ไร) 11. กุดตากลา (3 ไร) 12. กุดนอย (8 ไร) 13. หนองเบ็น (3 ไร) 14. หนองหลม (2 ไร) 15. หนองน้ําจั้น (2 ไร) 16. หนองน้ําขุน (2 ไร) 17. หนองบักจับ (2 ไร) 18. หนองสิม หรือ หนองแคนอย (7 ไร) 19. หนองแค (94 ไร) 20. หนองไฮ (1 ไร) 21. หนองหมอแกง (2 ไร) 22. หนองสาง (2 ไร) 23. กุดหวาย (10 ไร) 24. หนองเตา (2 ไร) 25. กุดอีเข็ม (2 ไร) 26. กุดโดน (4 ไร) 27. กุดขอน (2 ไร) 28. กุดแขลอย (9 ไร ) 121


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

สิทธิในหนองและกุดตาง ๆ เหลานี้ ในอดีตถือวาเปนพื้นที่สวนรวมที่ชาวบานใชประโยชนรวมกัน เมื่อ ครอบครัวหรือเครือญาติใดเขาไปใชประโยชน โดยเฉพาะทําการเพาะปลูก สิทธิครอบครองจึงเริ่มเกิดขึ้น โดยการ ยอมรับซึ่งกันและกันของคนในชุมชน แตไมมีการหวงหามหรือกีดกันผูอื่นในการเขามาใชประโยชนรวม เชน การ หาปลา หาหอย หาผัก หักฟน ฯลฯ (3) หนองแค เป น หนองน้ํา ขนาดใหญ มี พื้ น ที่ 95 ไร อยู ท างทิ ศ ใต ข องหมู บ าน ติ ด ถนนลาดยางสาย สุวรรณภูมิ - ราษีไศล ใชประโยชนในการสูบน้ําเพื่อทํานาปรังในของหมูบ าน และใชประโยชนทางประเพณีการแขง เรือของตําบลทุกป (4) ปาชา มีพื้นที่ประมาณ 7 ไร อยูบริเวณริมหนองแคทางทิศใตของหมูบาน ในอดีตใชในพิธีกรรมเผาศพ แตปจจุบันบานหนองแคมีเมรุใชในการเผาศพแทน ทําใหไมมีการใชประโยชนจากปาชา (5) ปาดอนปูตา เปนพื้นที่ทางวัฒนธรรม มี 2 ปาอยูทางทิศตะวันออกเปนปาดอนปูตาของบานหนองแค หมูที่ 1 มีพื้นที่ 11 ไร ทางทิศตะวันตกเปนดอนปูตาของบานหนองแคหมูที่ 17 มีพื้นที่ประมาณ 11 ไร ใชประโยชน ทางพิธีกรรม การเลี้ยงผีปูตาของหมูบาน เปนพื้นที่ที่ชาวบานเคารพนับถือ หวงหาม และไมมีใครกลาทําลายหรือ ตัดตนไมในปาดอนปูตาเลย แตชาวบานสามารถใชประโยชนในการเก็บพืชผัก ผลไม หาฟน และปลอยสัตวเลี้ยง นอกจากนั้น ไกลออกไปยังเปนลําน้ํามูน กุด หนองธรรมชาติและปาทามอีกมากมายเปนอาณาบริเวณ ตอเนื่องกันในเขตลุมน้ํามูนตอนกลาง เหลานี้นับเปนฐานทรัพยากรที่ชาวชุมชนแหงลุมน้ําแหงนี้สามารถเขาไปใช ประโยชนรวมกัน • เศรษฐกิจชุมชน ในอดีต บานหนองแคเปนหมูบานที่อาศัยปาทาม เปนแหลงเพาะปลูก (ขาวไร นาทาม) เลี้ยงสัตวและเก็บ หาของปา บางครอบครัวก็มีพื้นที่ทํากินที่เปนนาทุงในที่สูง ซึ่งชาวบานเรียกวา "นาเทิง" ควบคูกันไป แตการทํานา ทามมากกวานาทุง นาทามใหผลผลิตตอไรมากกวานาทุง ตนทุนต่ํา ไมตองใสปุย เพราะดินเปนดินตะกอนแมน้ําที่มี ความอุดมสมบูรณสูง พันธุขาวที่ใชเปนพันธุพื้นบานเชน ขาวอีขาว อีดํา ขาวหวิดหนี้ ขาวน้ําผึ้ง ขาวดอลาว ขาว เหลืองแกว ฯลฯ ระยะเวลาในการเพาะปลูกสั้นประมาณ 3 เดือนในฤดูแลง เก็บเกี่ยวเสร็จกอนฤดูน้ําหลากของทุกป พันธุขาวนาทามดังกลาวลวนเปนพันธุขาวเหนียวซึ่งชาวบานปลูกไวเพื่อบริโภคเปนหลัก ในพื้นที่ทามหรือ “นาทาม” มีการปลูกขาวไดปละ 3 ครั้ง คือ ทําขาวไรในที่สูง นาหนองหรือนาป และนา แซงหรือนาปรังในฤดูแลง ในพื้นที่โคกสูงติดกับหมูบาน ก็มีการทํานาป (นาทุง) ในนาทามจะเริ่มทําการผลิต ระหวางเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม ใชระยะเวลา 3 เดือน ก็สามารถเก็บเกี่ยวได ทุกปจะทําการเก็บเกี่ยวเสร็จกอน ชวงน้ําหลากขึ้นมาทวม สวนนาปชาวบานจะทําในพื้นที่นาทุง เริ่มตั้งแตเดือนพฤษภาคม - ธันวาคม ปจจุบันหากครอบครัวไหนขยัน ก็จะทํานา 3 ครั้งคือ นาทาม นาปและนาปรัง เพราะเมื่อปพ.ศ. 2521 กรม ชลประทานไดไปตั้งสถานีสูบน้ําริมฝงแมน้ํามูนแลวสงเสริมใหชาวบานทํานาปรัง โดยสนับสนุนน้ํามันในการสูบน้ํา 122


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

และพันธุขาวในการทํานาปรัง ชาวบานสวนใหญเปลี่ยนการทํานาทามมาทํานาปรัง เพราะมีความเสี่ยงตอภาวะน้ํา ทวมนอยกวา ตนทุนต่ํากวานาป และผลผลิตตอไรไดมากกวา การเลี้ยงสัตว บานหนองแค ถือวาเปนหมูบานที่มีการเลี้ยงวัว - ควายจํานวนมาก เชนเดียวกับชุมชนอื่น ๆ รอบพื้นที่ปาทาม ครอบครัวหนึ่ง ๆ จะมีวัว - ควายตั้งแต 5 - 100 ตัว ขึ้นไป และครอบครัวที่ถือวายากจนที่สุดของ หมูบานในอดีตก็ยังมีวัว ไมต่ํากวา 5 ตัว พื้นที่ในการเลีย้ งวัว - ควายที่สําคัญของชุมชนคือ ปาทาม ในอดีตจะเลี้ยงโดยการปลอย ไปเปนฝูงในปา ทาม ใหหากินเองและปลอยใหวัวควายอาศัยอยูในปาทาม ในรอบ 1 เดือน จะลงไปดูแล ประมาณ 2 - 3 ครั้ง บาง คอกก็จะมีการตอนกลับคอก เดือนละครั้ง หรือบางทีเจาของก็ไปทําคอกไวในปาทามเลย การมีวัวควายฝูงถือเปน สมบัติที่สําคัญของคนในชุมชน เปนฐานเศรษฐกิจสําคัญของคนลุมน้ํามูน แมไมมีนาทํา ครอบครัวเล็ก ๆ ก็สามารถ ขายวัวเพียง 1 ตัว ซื้อขาวกินไดตลอดป ตั้งแตป 2525 ไดมีการนํารถไถนาเดินตามมาใชไถนาแทนควาย ประกอบกับการสรางเขื่อนราษีไศลในป 2536 น้ําทวมปาทามสวนหนึ่งอยางถาวร ทําใหจํานวน วัว – ควายในชุมชนลดลงเรื่อยๆ สําหรับการแลกเปลี่ยนซื้อขายสินคาระหวางชุมชนในอดีตมีการเดินทางไปแลกขาว แลกสิ่งของอื่นๆ ที่ใน หมูบานขาดแคลน ซึ่งสวนใหญจะเปนของกินไปแลกเปลี่ยนในหมูบานอื่น ไปประมาณ 3 - 4 คนใชไมคานหาบไป สวนใหญจะเปนบานญาติหรือคนที่รูจัก ที่ไปไกลสุดคือที่อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย จ.มหาสารคาม และมีการเดินทาง ไปคาขายถาคนที่มีเกวียนก็จะขี่เกวียนไป ถาคนไหนไมมีแตอยากไปคาขายก็จะอาศัยเกวียนเขาไปโดยเจาของ เกวียนไมคิดเงินคาสินคาที่อาศัยไปดวย ซึ่งสังคมสวนใหญในอดีตจะเปนสังคมของการแลกเปลี่ยนมากกวาที่จะขาย เพื่อเอาเงิน ตางจากสังคมในปจจุบันที่สวนใหญเปนสังคมของการซื้อขายมากกวาการแลกเปลี่ยนสินคา สาเหตุ เพราะในอดีตทรัพยากรธรรมชาติ เชน ในเรื่องของปจจัย 4 มีเหลือเฟอ ไมตองซื้อขายเหมือนปจจุบัน แมกระทั่ง ที่ ดิ น สมั ย ก อ นยั ง มี ก ารแบ ง ป น ให เ พื่ อ นบ า นที่ ยั ง ไม มี ที่ ดิ น ให ไ ด รั บ ที่ ดิ น ในการทํ า มาหากิ น แต ป จ จุ บั น ทรัพยากรธรรมชาติเหลือนอยลง ทําใหผูคนเห็นแกตัวกันมากขึ้น มีการซื้อ ขายกันมากขึ้น ความสัมพันธของคนใน ชุมชนและระหวางชุมชน ในอดีตมีความสัมพันธเหมือนพี่เหมือนนอง มีสังคมความเปนอยูแบบเรียบงาย เมื่อมี งานทําบุญในหมูบานจะมีความชวยเหลือกันทั้งบาน ในชวงการทํานาก็จะมีการลงแขกชวยกัน ทําใหคนในหมูบาน มีความสามัคคีกัน มีจิตใจที่เอื้อเฟอเผื่อแผ ไมเห็นแกตัว มีความสัมพันธระหวางกันอยางเหนียวแนน เนื่องจาก ตองใชแรงกายแรงใจจากคนในหมูบานชวยกัน • วัฒนธรรม ความเชื่อ และ ประเพณี ชาวบานหนองแค-สวนสวรรค เปนคนชาติพันธุ “เญอ” ผสมกวยและลาว มีการนับถือศาสนาพุทธมาตั้งแต บรรพบุรุษ อีกดานหนึ่ง ชาวบานมีความเชื่อเรื่องผีอยางแนบแนน และมีพิธีกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการแสดงความ เคารพบูชาผีในเกือบทุกโอกาส นอกจากผีบรรพบุรุษที่เคารพกันในหมูเครือญาติแลว ยังใหการสักการะเซนไหวผี อื่น ๆ อีกและยังใหความเคารพยําเกรงแกมศรัทธาตอผูที่มีองคความรูในการติดตอสื่อสารกับผีตลอดจนผูที่มีพลัง ปดเปา รักษาโรคภัยตาง ๆ เชน 123


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

(1) ผีปูตา ซึ่งเปนผูปกปกคุมครองคนทั้งหมูบาน โดยจะมีพิธีเลี้ยงผีปูตาในเดือน 6 ของทุกป โดยผูมี บทบาทหนาที่เปน "ขจ้ํา" (ผูติดตอสื่อสารระหวางผีกับคน) ซึ่งแตละหมูบานจะมี “ขจ้ํา” ประจําหมูบานเปนผู ติดตอสื่อสารกับผีปูตา ผีบรรพบุรุษในวันเลี้ยงผีปูตาเพื่อใหชวยดูแล ปกปกรักษาคนในชุมชนใหอยูเย็นเปนสุข การ สืบทอดการเปน "ขจ้ํา" จะมีการถายทอดตามระบบเครือญาติ บางครั้ง ผีปูตาจะมาเขาทรงผูที่ผีปูตาตองการใหเปน ผูตดิ ตอสื่อสารกับวิญญาณแทนคนเดิม (2) หมอธรรม ชาวบานมีความเชื่อเรื่องเกี่ยวกับ หมอธรรม หรือเรียกสั้นๆ วา "ธรรม" เปนคนที่มีวิชา อาคม ชวยปกปองดูแลใหอยูดีมีสุข ปองกันผีสางไมใหมารบกวนทําราย ชาวบานคนใดที่มีความศรัทธาจะตองนํา ขันธดอกไม ไปขออยูกับหมอธรรมคนนั้น ๆ และทุกวันพระจะตองนําดอกไมธูปเทียนไปถวายพระ บทบาทของ หมอธรรมในชุมชนคือ การเสกฝายผูกแขน เปาหัวเด็กที่รองไหไมหยุด ฯลฯ นอกจากนั้นยังมีพิธีที่เรียกวา "สอง" คือการตรวจดู ทํานายทายทักยามมีส่ิงของ วัว ควาย หายหรือกรณีเจ็บปวยไมรูสาเหตุ มีความเชื่อวา ผีบรรพบุรุษ มาทําใหเจ็บปวย หมอธรรมจะเปนผูสองหา และบอกถึงสาเหตุที่เกิด รวมทั้งวิธีแกไขใหหายจากอาการนั้น ๆ ได กระบวนการสืบทอดหมอธรรมสวนใหญจะเปนการถายทอดตามสายเลือดและระบบเครือญาติ โดยหมอธรรมคนเกา จะเปนผูเลือกเอง หมอธรรมในบานหนองแค มี 4 คน คือ ธรรมจันทร ธรรมบุ ธรรมเพ็ง และธรรมเบา (3) หมอสูตรขวัญ ชาวบานหนองแคมีประเพณี ความเชื่อ เชน การสูขวัญขาว การสะเดาะเคราะห งาน บวช งานแตงงาน ซึ่งจะมี นายแดง ชินราช เปนผูนําทางพิธีกรรม ตางๆ เปนการดูแลรักษาทางจิต โดยมีความเชื่อ วาหลังจากสูขวัญแลว จะหายเจ็บไขไดปวย จะไดรับแตสิ่งดี ๆ มีโชคมีลาภ (4) หมอยาสมุนไพร การรักษาโรคของชาวบานหนองแค ในยามเจ็บปวย นอกจากการรักษาโดยแพทย สมัยใหมแลว ชาวบานหนองแคยังนิยมรักษาดวยสมุนไพร แตสวนมากเปนโรคที่เจ็บปวยเพียงเล็กนอย เชน ผิดสําแดง ปวดเมื่อยตามรางกาย อีสุกอีใส ลมพิษ โดยมีพอเสถียร อาจหาญ เปนหมอยาสมุนไพรประจําหมูบาน ยาที่ใชรักษาเปนรากไม ยาชุม วิธีการรักษาใชการตม ดื่ม อาบ ฝนกับน้ํา ทาหรือดื่ม แหลงเก็บตัวยาสมุนไพรมีทั้ง ในปาทาม ปาโคก ทั้งใกลบานและไกลออกไป (5) ประเพณี ฮีต 12 คอง 14 ถือวาเปนประเพณีหลักที่ชุมชนถือปฏิบัติสืบทอดกันมาแตครั้งบรรพบุรุษ เชนเดียวกันผูม ีเชื้อสายลาวทั่วไป ฮีต 12 ถือวาเปนสิ่งรอยรัดผูคนในชุมชนใหมีความสามัคคีกันโดยกําหนดใหคน ในชุมชนไดมีกิจกรรมทางประเพณีรวมกันตลอด 12 เดือนในรอบป สวน คอง 14 ถือวาเปนระบบกฎหมายที่ กําหนดบทบาทหนาที่ของคนในสังคมที่มีตอกัน ตั้งแตพระเจาแผนดิน พระสงฆ จนถึงราษฎรทั่วไป (6) ประเพณีแขงเรือยาว ในอดีตจะทําในชวงออกพรรษาเสร็จในวันพุธแรกของกลางเดือน เปน การเชื่อมความสัมพันธกับคนในหมูบานอื่น ซึ่งกอนจะมีการแขงเรือยาวจะมีการบวงสรวงเจาพอภูดิกอน โดยมี นางเทียมเขามาเทียมกอนวาเรือจะแลนดีหรือไม ซึ่งศูนยรวมอยูวัดใต (วัดบานใหญ) จะบอกกลาวอยูวัดใตกอน ในปจจุบันเปนการแขงขันในเชิงธุรกิจ และไมมีนางเทียมแตยังมีการบวงสรวงเจาพอภูดินกอน (7) ประเพณีบุญกุมขาวใหญ ทําในเดือนสามของทุกป เปนการทําบุญสูขวัญขาว โดยชาวบานจะเอา ขาวเปลือกไปกองรวมกันไวที่วัดเมื่อทําพิธีเสร็จ ก็จะเอาขาวที่ชาวบานนําไปกองไวไปขายเพื่อนําเงินมาบูรณะวัด 124


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

ต อ ไป เสร็ จ จากทํ า บุ ญ กุ ม ข า วใหญ แล ว ก็ จ ะมาทํ า พิ ธี สู ข วั ญ ข า วตนเองในเล า โดยจะมี ห มอสู ต รมาทํ า พิ ธี สูตรขวัญขาว ในปจจุบันไมมีหมอสูตรมาทําการสูตรขวัญขาว เจาของขาวจะกลาวขวัญขาวเอง (8) ประเพณีบุญอัฐิ คือการทําบุญกระดูกอุทิศสวนกุศลแกผูลวงลับ ทําหลังจากเดือน 12 เพ็งถึงเดือน อาย เดือนยี่ อดีตมีการทําอัฐิเปนตน ทําหอเหมือนหอกฐิน มีเครื่องอัฐบริขาร เครื่องเรือน โดยชาวบานจะ ชวยกันสรางหออัฐิ ปจจุบันหออัฐทําเปนเครื่องสังฆทาน ไมไดทําเหมือนแตกอน ทําใหมีความสามัคคีลดนอยลง เพราะตางคนตางทํา 2. ระบบการจัดการน้ําโดยชุมชน พื้นที่ทามหนองแค-สวนสวรรค เปนพื้นที่ทามขนาด 2,300 ไร มีอาณาเขตติดตอเปนผืนเดียวกับทามพื้นที่ ทามอื่นๆ ในเขตสองฝงลําน้ํามูนตอนกลางหลายหมื่นไร อันเกิดจากสภาพพื้นที่ของแมน้ํามูนตอนกลางที่เปน บริเวณที่ราบลุมต่ํา ลักษณะพื้นที่เปนที่ราบลุม มีแหลงน้ําขนาดเล็กกระจายเต็มพื้นที่ ซึ่งนับได 28 แหง มีพื้นที่น้ําประมาณ 683 ไร ที่มีน้ําขังตลอดป เปนแหลงกักเก็บน้ําตามธรรมชาติที่มีประโยชนตอทั้งระบบนิเวศ สัตว และมนุษย เชน กุด หนองน้ํา บวก (หนองน้ําขนาดเล็ก) และฮองน้ํา (รองน้ํา) บางพื้นที่เปนเนินดินหรือดอนดินทามที่สูงกวาพื้นที่ ทามทั่วไป “ดินทาม” เปนเนื้อดินเหนียวปนดินรวนเหนียวปนดินทราย อันเกิดจากการตกตะกอนของน้ํากลายเปน ปุยธรรมชาติ สงผลใหดินในพื้นที่ทามเปนดินดี มีความอุดมสมบูรณ ทั้งยังเปนแหลงที่มีความหลากหลายทาง ชีวภาพ มีพืชพันธุที่เปนไมพุมเกิดขึ้นอยางอุดมสมบูรณ สัตวปา สัตวน้ํา และสัตวครึ่งบกครึ่งน้ํา ดังนั้น นอกจากพื้นที่โคกที่ดอนที่ชาวบานใชทํา “นาทุง” ในบริเวณทิศเหนือของหมูบานแลว พื้นที่ทามริม แมน้ํามูน จึงเปนอีกแหงที่ชุมชนไดพึ่งพาและเปนฐานการผลิตในการหลอเลี้ยงชุมชน โดยการทํานาทาม หาของปา หาปลา เลี้ยงสัตว สมุนไพร ฯลฯ หมุนเวียนกันไปตามฤดูกาลหรือเงื่อนไขของธรรมชาติ • ระบบจัดการน้ํานาทามในอดีต การทํา “นาทาม” หรือนาหนองในอดีตนั้น กอนจะลงมือทํา ชาวบานตองทําพิธีเลี้ยงปูตากอนในชวงเดือน เมษายน หวานกลาในหนองน้ําธรรมชาติ โดยการปนคันนาในหนองแลวนําคันโซ (โชงโลง)วิดน้ําออก หวานขาว พั น ธุ ล งในแปลงที่ เ ตรี ย มไว คอยดู แ ลไม ใ ห น้ํ า ไหลเข า แปลงกล า จนกว า ต น กล า จะแข็ ง แรงจึ ง ปล อ ยน้ํ า เข า ประมาณเดื อ นครึ่ง ถึ ง สองเดือ น ก็ ส ามารถนําไปป ก ดํา ไถแลว คราดนาดว ยแรงงานควาย แล วก็ ล งมื อ ปก ดํ า ชาวบานจะเลือ กวันพฤหัสบดีในระหว างเดือ นหกเป นวัน แรกดํานาเพราะถือเปน วันฟู ใชพั นธุขาวอีดอลาว ขาวอีดํา ขาวลูกผึ้ง ขาวหวิดหนี้ ขาวจําพวกนี้ใชเฉพาะนาหนองทาม สวนพื้นที่รอบหนองเปนลักษณะโนนจะ ปลู ก ข า วไร แผว ถางแล วเผาให เ รี ย บร อ ย แล วปลู ก ข า วอี โ ป ะ ข า วอี เ กาะ ปลู ก แตงไทย งา แซมห าง ๆ ไว บางสวนก็ปลูกเปนแปลงแยกกันตางหาก

125


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

พื้นที่บริเวณรอบฝงกุดก็ใชทํานาแบบนี้ไดเปนอยางดี โดยปนคันนาคดไปคดมาตามความสูงต่ําของพื้นที่ เพื่อจัดระดับน้ําในแปลงใหเสมอกัน ในที่ลุมนั้น ดินตมจะอุมน้ําไวอิ่มตัวอยูกอนแลว ฝนตกเพียง 1-2 ครั้งก็จะมีน้ํา แลวเริ่มปกดําได การปนคันนา ตองเอาไมมาปกสองขาง เอากิ่งไมมาใสและเอาโคลนใสตรงกลางเพื่อไมใหคันนาพังหรือรั่ว เมื่อทําคันนาเสร็จก็เอาคันโซมาวิดน้ําออกและเขี่ยดินใหเสมอกอนแลวเอาเมล็ดพันธุมาหวาน เมื่อหวานขาวแลวเรา ตองคอยดูเพื่อไมใหน้ํารั่วเขาทวมเมล็ดขาว จะทําใหเมล็ดขาวเนาเสีย เมื่อมีน้ําเราตองใชคันโซวิดออกประมาณหนึ่ง อาทิตยหรือสองอาทิตย ตนกลางอก 2 ใบ ถึง 3 ใบ ก็เริ่มปลอยน้ําเขาไปแชตนกลาพอประมาณโดยเจาะรูคันนา ปลอยน้ําเขา ถาน้ําต่ํากวาแปลงกลาปลอยน้ําไมเขาตองใชคันโซวิดน้ําเขาจนกวาจะถอนตนกลาไปปกดําได • รูปแบบการจัดการน้ําในปจจุบัน ชาวหนองแค-สวนสวรรคนั้น เคยใชพื้นที่ทามเพื่อเพิ่มผลผลิตขาวโดยการทํานาปรังในทามตั้งแตประมาณ ป 2512 ชวงเดือนมกราคม-เมษายน โดยชาวบานที่อยูใกลหนองน้ําหรือกุดไดใชวิธีงายๆ ดวยการลงแขกออก แรงงานกันขุดคลองดินผานที่นาทําเปนคลองสงน้ํา และใชคันโซวิดน้ําจากกุดและหนองระบายสูแปลงนาตามคลอง ที่รวมกันขุด ผูที่ริเริ่มทํานาปรังในพื้นที่นี้ คือ นายจันดา เดียงสา นายแทน บุดดี และนายโสม บุตรวงษ ที่บริเวณ กุดนอย อีกกลุมหนึ่งประกอบดวยนายไล สมศรี นายทองมี สมศรี และนายสนั่น ศุภใส ทําที่บริเวณกุดปราการ สวนกลุมของนายเลง สมศรี และนายเพชร บุญตา ทําที่บริเวณกุดขอน และกลุมของนายหอม สมศรี นายบุญใส ติละบาล นายไพจิต สีหบุตร และนายรุน สมศรี ทํานาทามบริเวณกุดโดน ตอมาป พ.ศ.2521 ไดเกิดอุทกภัยน้ําทวมอยางรายแรงขาวนาทามและนาปเสียหายหนัก ทําใหชาวบาน ขาดแคลนขาวบริโภคโดยเฉพาะบานหนองแค–สวนสวรรค และหลายหมูบานในเขตติดกับลุมน้ํามูน ทางสวน ราชการไดมีการสนับสนุนและสงเสริมใหทํานาปรังเพื่อชดเชยภัยน้ําทวมแกชาวบาน เกิดการรวมกลุมเพื่อสูบน้ําทํา นาปรัง ตั้งแตชวงเริ่มทํานาปรังเดือนมกราคม–พฤษภาคม และมีการทําตอเนื่องมาทุกปถึงปจจุบัน โดยการสูบน้ํา จะทําทาสูบน้ําที่หางกันออกไปในแตละชวงของความยาวตามแนวฝงของลําน้ํามูน กลุมจะออกแรงหรือออกเงินจาง รถไถเพื่อทําคลองสงน้ําเลียบไปตามเนิน เพื่อทดน้ําที่สูบใหไหลไปตามคลองหลักแลวทดใสคลองซอยเขานาของ สมาชิก โดยพื้นที่การใชเครื่องสูบน้ํา 1 เครื่องจะตองมีที่นาที่จะใชน้ําไมต่ํากวา 600 ไร เครื่องสูบน้ําขนาดทอ 8 นิ้ว ครึ่ง 1 เครื่อง ทาน้ํา 1 ทา ประโยชนการใชสอยประมาณ 20-30 หลังคาเรือน แลวแตจํานวนที่นาของชาวบาน ขึ้นอยูกับใครมีที่นามากหรือนอยเพียงใด ขนาดของเครื่องสูบน้ําแตละทาน้ํานั้นเปนไปตามขนาดพื้นที่ที่ตองการใชน้ํา คือเครื่องสูบขนาดหนาทอ 8 นิ้วตอพื้นที่นาไมเกิน 600 ไร ขนาดหนาทอ 10 นิ้ว ตอพื้นที่นาไมเกิน 800 ไร และขนาดหนาทอ 12 นิว้ ตอพืน้ ทีน่ า ไมเกิน 1,000 ไร ในพื้นที่ทามบานหนองแค–สวนสวรรค มีกลุมผูใชน้ําทั้งหมด 8 กลุม สมาชิกแตละกลุมในแตละปจะไม คงที่ ขึ้นอยูกับความตองการทํานาปรังของแตละคนรวมประมาณ 200 ครอบครัว ไดแก 1) กลุมทาปากกุดนอย 126


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

(โนนเหมือด) มีประธานกลุมและกรรมการอีก 3 คน 2) กลุมปากกุดนอย บริเวณโนนพยอม มีสมาชิกประมาณ 20 คน โดยมีนายสายัณห ศรีธรรมเปนประธาน 3) กลุมหนองแคบริเวณโนนขี้กระตาย มีสมาชิกประมาณ 30 คน หัวหนาคือ นายสุดใจ ศรีธรรม 4) กลุมหนองแค 2 บริเวณโนนนอย มีสมาชิกประมาณ 30 คน หัวหนาคือ นายยศ บุญธรรม 5) กลุมทาทราย มีสมาชิก 24 คน หัวหนากลุมคือ นายแหวน สุรบุตร 6) กลุมทาหินลัด มี สมาชิกประมาณ 31 คน หัวหนากลุมคือ นายเลิศ สีหบุตร 7) กุดหวาย มีสมาชิก 19 คน หัวหนากลุมคือ นายสงา ติระบาล 8) ทาวังแคน มีสมาชิก 29 คน หัวหนากลุมคือ นายเลิศ สีหบุตร การทํานาปรังไมไดหมายความวาทําไดเฉพาะสมาชิกกลุมนาปรังที่กลาวมาเทานั้นสําหรับผูที่มีที่นาใกล แหลงน้ํา (กุด หนอง) ทั่วไปก็สามารถทําไดโดยใชเครื่องรถไถนาตัวเองสูบน้ําสวนตัวเพราะสภาพพื้นที่สูงไม สามารถทํารองน้ําสงถึงที่นาได

รูปที่ 2 การทํานาปรัง 127


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

การรวมกลุม สิทธิการใชประโยชนและแบงปน กรณีศึกษา กลุมทาวังแคน (1) พั ฒ นาการกลุ ม ทา วั ง แคน การทํ า นาทามโดยการสู บ น้ํ าจากน้ํ ามู น เป น แห ง แรกคื อ บริ เ วณ “ทาวังแคน” เริ่มขึ้นเมื่อประมาณป พ.ศ. 2522 ซึ่งชาวบานประสบกับปญหาน้ําทวมจากป 2521 ทําใหขาวขาด แคลนจึงไดมีการขยายพื้นที่ทามเพื่อทํานาปรังใหมี “ขาวตอทอง” จนกวาฤดูกาลทํานาป (นาทุง) จะมาถึง ในตอน แรกเริ่มมีสมาชิก จํานวน 32 คน (เปนชาวบานจากบานหนองแคและบานสวนสวรรค) ไดลงทุนลงแรงรวมกันขุด คลองสงน้ําสายหลัก 3 สาย ขนาดกวางประมาณ 1.80 เมตร ลึก 50-80 ซ.ม. (ขึ้นกับสภาพพื้นที่) และมีความยาว รวมกันประมาณ 2 ก.ม. ในการการขุดคลองสงน้ําชาวบานตองคํานึงถึงลักษณะภูมิประเทศ ชาวบานจะเลือกจุดที่ สูบน้ําขึ้นที่สูงน้ําจึงจะไหลไปสูนาของสมาชิกที่อยูต่ําลงไปได หลังจากนั้นก็ชวยกันขุดคลองซอย (คลองยอย) ขนาด กวาง 30-60 ซ.ม. เพื่อแยกน้ําเขาพื้นที่นาของสมาชิก ขนาดความกวางของคลองจึงขึ้นกับสภาพพื้นที่และความ จําเปนในการใช (หากมีพื้นที่นามากคลองซอยก็จะใหญขึ้นเพื่อใหน้ําไหลทัน ไมเออทวมคลอง) เมื่อทําคลองเสร็จก็ พากันเชาเหมารถไถไปเอาเครื่องสูบน้ําขนาด 8 นิ้ว ที่ชลประทานจังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งโดยเงื่อนไขการสนับสนุน ของชลประทานจังหวัดกอนไปรับเอาเครื่องตองมีการตั้งคณะกรรมการขึ้นในกลุมกอน ในชวงการทํานาปรังในป แรกนี้ หนวยงานเกษตรอําเภอไดเขามาชวยเหลือดานพันธุขาว (ขาวเหนียว กข. 24, ขาวจาว กข. 7) อีกทางหนึ่ง ในป พ.ศ.2528–2529 ไดมีโครงการขุดคลองตามโครงการอีสานเขียว ซึ่งเปนโครงการของรัฐบาล เพื่อให เกษตรกรนําน้ําไปใชทํานา แตไมสามารถใชประโยชนไดเพราะการขุดคลองของรัฐบาลนั้นขุดลึกเกินไป ที่นาสูง กวาคลอง น้ําไมสามารถไหลเขานาชาวบานได ตางจากคลองที่ชาวบานขุดเองตองอยูที่สูงน้ําจึงจะไหลลงไปสูนา ชาวบานซึ่งอยูต่ํากวาคลองได ในปจจุบันกลุมทาวังแคน มีสมาชิกจํานวน 29 ราย พื้นที่ในการทํานาปรัง จํานวน 125 ไร (2) โครงสรางและการจัดการกลุม “ทาวังแคน” โครงสรางการจัดการของกลุมทํานาทาม(นาปรัง) เกิดขึ้นเนื่องจากเปนเงื่อนไขในการสนับสนุนเครื่องสูบน้ํา โดยมีเงื่อนไข คือ 1) มีการแตงตั้งประธาน 2) แตงตั้งรอง ประธาน 3) แตงตั้งคณะกรรมการ 3 คน 4) สมาชิกทุกคนจะตองขึ้นทะเบียน ลงชื่อ ที่อยู เลขบัตรประจําตัว ประชาชน แลวจากนั้นก็ใหประธานกลุมนําเอารายชื่อสมาชิกทุกคนสงใหกับทางเกษตรอําเภอในเดือนพฤศจิกายน ของทุกป เกษตรอําเภอจะสงตอใหชลประทานจังหวัด การประสานงานติดตามเรื่องเครื่องสูบน้ํากับสวนราชการที่ เกี่ยวของจึงเปนหนาที่ของประธานกลุมของแตละกลุม แมจะเปนโครงสรางที่เกิดจากเงื่อนไขในการสนับสนุนของทางราชการ แตสมาชิกในกลุมก็มีกระบวนการ เลือกประธานและกรรมการอยางอิสระ ซึ่งสวนมากจะเลือก (พรอมใจกันยกให) คนที่ “เคยพาเฮ็ดพาทํามาแตกอน เกา” หรือคนที่พาบุกเบิกในพื้นที่ขึ้นเปนประธานกลุม ซึ่งเปนบุคคลที่คนในกลุมใหความเคารพแตดั้งเดิม สวน รองประธานก็จะเสนอบุคคลที่มีความสําคัญรองลงไป (ตามลักษณะที่กลาวขางตน) สมาชิกใหสิทธิประธานและ รองประธานในการสรรหาคณะกรรมการ ซึ่งคณะกรรมการบางคนไดมาจากการอาสา กรรมการบางคนมาจากการ เลือกของประธานและรองประธาน เปนตน คณะกรรมการทาวังแคนปจจุบันมีดังนี้ นายเลิศ สีหบุตร ประธาน นาย 128


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

แหวน สุระบุตร รองประธาน นายรัตน สมศรี กรรมการ นายบุญมา บุญธรรม กรรมการ และนายมี สุทาจัน กรรมการ คณะกรรมการมีบทบาทและหนาที่ในการประสานทั้งภายในกลุม เชน การเรียกสมาชิกมาประชุม และ ประสานกั บ ภาคราชการ เช น การจัด ทํ า ทะเบี ย นสมาชิ ก การประสานติด ตามเครื่ อ งสู บ น้ํ า การประสานด า น งบประมาณในการสนับสนุนแตละป เปนตน คณะกรรมการมีบทบาทสําคัญในการบริหารจัดการและจัดระเบียบการ ใชน้ํา หรือเปนเจาภาพหลักในการจัดสรรผลประโยชนใหตกแกสมาชิกอยางทั่วถึงเทาเทียมกัน อีกทั้งยังเปนผู อํานวยใหเกิดการปฏิบัติตามความเชื่อและพิธีกรรมในการใชน้ํา ตลอดจนเขาไกลเกลี่ยความขัดแยงที่เกิดขึ้น ระหวางสมาชิก เชน กอนจะมีการทํานาปรังในแตละป ประธานกลุม หรือผูที่ประธานกลุมมอบหมายจะเรียกสมาชิก กลุมทุกคนเขารวมประชุม เพื่อชวยกันซอมบํารุงคลองสงน้ํา โดยการตัดตนไมเล็ก ๆ ที่ขึ้นอยูในคลองหรือทําการ ขุดเอาสิ่งที่กีดขวางทางน้ําออกใหหมด ตอไปก็นําทอลงพื้นที่ซึ่งเปนการรวมมือกันระหวางชาวบานกับชางผูดูแล ถาหากน้ําในลําน้ํามูนลดระดับลงมากก็ทําการตอทอลงไปใหถึงและตอทอขึ้นฝงในแตละทา กอนการการสูบน้ํา จะ มีการเลี้ยงผีปูตาและเลี้ยงทา และมีการลองเครื่อง พิธีเลี้ยงปูตาและเลี้ยงทาจะมีไก 1 ตัว กับเหลา 1 ขวด หลังจาก การเก็บเกี่ยวแลวยกเครื่องขึ้นก็มีพิธีเลี้ยงปูตาดวยหัวหมูและเหลา สมาชิกในกลุมถาใครตองการน้ําก็จะมาแจงตอประธานกลุม ประธานจะนําน้ํามันและอุปกรณติดตั้งเครื่อง ใหกับสมาชิกผูที่จะเอาน้ํา สมาชิกจะเอาน้ําตามคิวที่มาแจงไวตอประธานจะไมมีการลัดคิว การดูแลเครื่องสูบน้ํา และควบคุมเครื่องสูบน้ําเปนหนาที่ของประธานและกรรมการชวยกันรับผิดชอบ โดยจัดเวรสมาชิกภายในกลุม 4-5 คนตอวัน หมุนเวียนมาดูแลเครื่องสูบน้ํา ตลอดชวงฤดูกาลการทํานาปรัง ประธานและคณะกรรมการจะทําหนาที่ตรวจตราการสูบน้ําของสมาชิกแต ละราย เพื่อไมใหเปนการไดเปรียบเสียเปรียบ คณะกรรมการจะวากลาวตักเตือนหากเอาน้ําลงนามากเกินความ จําเปน ในกรณีที่เกิดปญหาความตองการน้ําในเวลาเดียวกันประธานและคณะกรรมการก็จะเรียกทั้งสองฝายมา เจรจากันและพิจารณาใหสิทธิแกผูที่มีความจําเปนเรงดวนกอน (เชน ในภาวะตนกลารอน้ํา) เปนอันดับแรก หรือ หากเกิดปญหาและสงผลกระทบตอคลองสงน้ําอันเปนสิทธิรวมกันของกลุม ประธานและคณะกรรมการก็จะเรียก สมาชิกทุกคนเขารวมหารือเพื่อหาทางออกและแกไข (3) ตนทุนและผลผลิตของนาทาม (นาปรัง) การทํานาทาม (นาปรัง) สวนมากจะใชพันธุขาวเหนียวซึ่ง ชาวบานจะเก็บไวกินในครอบครัวเปนหลัก สวนการทํานาป (นาทุง) ที่ปลูกขาวหอมมะลิจะปลูกไวขาย เมื่อพิจารณาผลผลิตและตนทุนตอไรกรณีการทํานาทาม (นาปรัง) จากการสัมภาษณสามารถจําแนก รายละเอียดเกี่ยวกับตนทุนของการทํานาและการใชน้ํามีดังนี้ (1) คาน้ํามันรถไถเดินตาม (ไถเอง) ใช 2 ลิตร/1 ไร คิดเปนเงินจํานวน 56 บาท (2) เมล็ดพันธุขาวเหนียว กข. 23 ใชจํานวน 10 กก./1 ไร คิดเปนเงินจํานวน 60 บาท (3) ฟูราดานกําจัดเพลี้ย 1 ถุง/ไร คิดเปนเงินจํานวน 60 บาท (4) คาจางเกี่ยว แรงงาน 1 ไร/2 คน คิดเปนคาแรง จํานวน 260 บาท (5) คาจางสี นวดขาว/ไร/15 กระสอบ ๆ ละ 6 บาท คิดเปนจํานวนเงิน 90 บาทตอไร (6) คาขน ผลผลิต (น้ํามัน) 20 บาท/ไร (7) คาน้ํามันสูบน้ําเขานา (2 ลิตร/ไร) คิดเปนจํานวนเงิน 56 บาท (8) ปุยเคมี 16– 129


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

16-8 (กรณีที่ใช) จํานวน 25 ก.ก./ไร คิดเปนจํานวนเงิน 160 บาท (9) คาบํารุงกลุม 50 บาท/ไร รวมตนทุนในการ ทํานาปรัง/ไร ประมาณ 812 บาท ดังนั้นในภาวะฝนปกติหากเกี่ยวทันน้ําหลาก เฉลี่ยจะไดผลิต 15 กระสอบปุยตอไร น้ําหนักกระสอบละ 38 กก. ราคาขาย กิโลกรัมละ 6 บาท ถาขายจะไดเงินเทากับ 3,420 บาท เฉลี่ยกําไรจากการทํานาปรังประมาณ 2,608 บาทตอไร เมื่อเปรียบเทียบกับการทํานาป (นาทุง) แลวพบวา ตนทุนการทํานาปจะสูงกวาการทํานาในพื้นที่ทาม เนื่องจากการใชปุยที่มีตนทุนสูงกวานาในทามถึง 3 เทา (คาปุย 640 บาท/ไร) คาจางแรงงานสูงกวา เนื่องจากนาป เปนชวงที่มีการทํานามาก (เฉลี่ย 180บาทตอวัน หรือ 220 บาท/ไร) ดังนั้นตนทุนในการทํานาปจะสูงกวานาทาม คือ ประมาณ 1,512 บาท/ไร สูงกวาประมาณ 700 บาทตอไร ขณะที่ผลผลิตจากการทํานาปเมื่อเฉลี่ยแลว จะอยูที่ 10-12 กระสอบปุย เฉลี่ยราคาผลผลิตตอไรโดยประมาณจะอยูที่ 2,280 บาท หักตนทุนแลวเหลือประมาณ 768 บาท (4) ตนทุนดานโครงสรางพื้นฐานการจัดการน้ําโดยชุมชน การจัดการน้ําโดยชุมชนในระบบนี้มีการ ลงทุนดานโครงสรางเปนการลงทุนครั้งเดียวในครั้งแรกของการวางระบบการกระจายน้ํา ในกรณีของทาวังแคน ซึ่งมี การพัฒนาระบบโครงสรางพื้นฐานจัดการน้ําเมื่อประมาณ พ.ศ.2522 ไมสามารถประมาณในเชิงมูลคาได เนื่องจาก เปนการรวมแรงรวมใจ ขาวปลาอาหาร ลงแรงขุดดวยมือทั้งคลองสายหลักและคลองยอย ในกรณีที่มีการจางรถไถ เพื่อชวยในการทําคลอง จึงใชตัวอยางจริงของการลงทุนอีกทาน้ําหนึ่งคือ การใชน้ําเพื่อทํานาปรังบริเวณ “หนองแค (โนนนอย)” ซึ่งมีความยาวคลองสายหลักรวมกัน 1.4 กิโลเมตรกวางประมาณ 1.50 เมตร ลึกไมเกิน 0.80 เมตร จางขุดโดยใชงบประมาณ 8,500 บาท บริเวณดังกลาวมีสมาชิก 30 คน รวมพื้นที่การทํานาปรังประมาณ 130 ไร และคาขุดคลองซอยรายละประมาณ 500-1,000 บาท (ขึ้นอยูกับจํานวนพื้นที่) ตนทุนในโครงสรางการจัดการน้ํา ของกลุมอยูที่ไรละ 783.30 บาท สวนการซอมแซมคลองสายหลักแตละปก็เปนการลงแขก หรือเอาแรงของสมาชิกเนื่องจากคลองสงน้ําเปน สิทธิรวมของสมาชิก ซึ่งก็สามารถทําไดงายเนื่องจากเปนคลองดิน เมื่อเปรียบเทียบกับการลงทุนดานโครงสรางของโครงการขนาดใหญอยางโครงการฝายราษีไศลที่อยูหาง จากพื้นที่นาทามแหงนี้ไปทางเหนือน้ํา 2 กิโลเมตร ซึ่งมีพื้นพื้นที่เปาหมายในการจายน้ําของโครงการ 34,420 ไร มูลคาการลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน จํานวนเงิน 871,900,000 บาท คิดเปนมูลคาการลงทุน 25,305 บาทตอไร แ ล ะ ห า ก ร ว ม ค า ช ด เ ช ย ที่ จ า ย ไ ป แ ล ว 2 ค รั้ ง จํา น ว น 4 2 0 ,9 2 5 ,3 4 4 บ า ท แ ล ะ อ าจ ต อ ง จ า ย อี ก 1,664,000,000บาท เฉลี่ยแลวตนทุนจะเพิ่มขึ้นอีกเปน 85,904 บาทตอไร ซึ่งไมนับรวมคาซอมบํารุงและคาบริหาร จัดการทั้งโครงการ (สนั่น 2548) (5) การสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ การช ว ยเหลื อ และสนั บ สนุ น ของกรมชลประทานจะช ว ยในกรณี ประสบภัยแลง หรืออุทกภัยน้ําทวมในรูปของคาชดเชย ในภาวะปกติกรมชลประทานจะใหยืมเฉพาะเครื่องสูบน้ํา เทานั้น ดังนั้นเรื่องน้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น เดิมกลุมทํานาปรังจึงประสานของบประมาณจากองคการบริหาร 130


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

สวนจังหวัด (อบจ.) ศรีสะเกษเปนหลัก และตอมาจึงมีการโอนภารกิจและงบประมาณมายังองคการบริหารสวน ตําบล(อบต.) หนองแค กลุมชาวบานจึงไดประสานกับอบต.หนองแค และไดรับการจัดสรรงบประมาณใหเปนเงิน 150,000 บาทตอป ใหไปบริหารจัดการกันเองของชาวบานแตละกลุมทั้ง 8 ทา ในตําบลหนองแค เมื่อเฉลี่ยแลวคิด เปน 25 ลิตรตอครัวเรือน ซึ่งไมเพียงพอตอการใช ชาวบานจึงตองชวยกันออกคาน้ํามันเพื่อที่จะใหเครื่องยนตเดิน ตอและสูบน้ําเขานาอยางพอเพียง ในการดูแลรักษาเครื่องสูบน้ําในแตละทาจะมีชางเทคนิคควบคุมเครื่องจากกรมชลประทานมาดูแลโดย ชาวบานไดทําเรื่องขอชางจากกรมชลประทาน 1 คน ตอ 1 ทาเพื่อติดตั้ง ดูแลและรับผิดชอบในการเดินเครื่องยนต ในการติดตั้งจะมีการรวมมือกันระหวางกรมชลประทานกับชาวบานในเขตพื้นที่ที่มีการใชประโยชนจากการสูบน้ํา เขาที่นาในการทํานาปรัง (6) ปญหาและอุปสรรค ศัตรูของขาวนาปรัง คือ โรคหนอนกอ เปนหนอนชนิดหนึ่งชอบกัดกินยอดออน ของตนขาวอาศัยอยูในโคนตน สวนศัตรูอื่น ๆ คือ หนูและนก ซึ่งตองเฝาระวังขับไลแทบตลอดวัน เชน นกกระปด นกกระจาบ ฯลฯ นอกเหลือจากปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติแลว กรณีการสรางเขื่อนราษีไศล ยังสงผล กระทบตอระบบความรูในเรื่องฤดูน้ําของชุมชน การทํานาทามในพื้นที่ทายเขื่อนราษีไศลจึงมีความเสี่ยงกับระดับน้ํา ที่อาจจะหลากมาทวมอันเนื่องมาจากการปลอยน้ํามาจากเขื่อนราษีไศลจนนาขาวเสียหาย • วิเคราะหเงื่อนไขและปจจัยความสําเร็จของการจัดการน้ําโดยชุมชน ระบบการจัดการน้ําแบบชลประทานชุมชนของชาวหนองแค-สวนสวรรค ถือวาเปนรูปแบบการจัดการน้ํา ของทองถิ่นที่เกิดขึ้นไดโดยการใชฐานทรัพยากรในระบบนิเวศทามแหงลุมน้ํามูน ใชชุดความรูทองถิ่นเกี่ยวกับน้ํา ดินและความรูเกี่ยวกับพันธุกรรมพื้นบานที่มีอยูเดิม ใชวัฒนธรรมชุมชนที่มีความเอื้อเฟอเกื้อกูล มีระบบความเชื่อ รวมกันทําใหเกิดความกลมเกลียวสามัคคี อีกดานหนึ่ง คือการสนับสนุนสงเสริมอยางเหมาะสมจากองคกรภายนอก ทั้งกรมสงเสริมการเกษตรและกรมชลประทาน รวมทั้งองคการบริหารสวนตําบล และทามกลางการทํางานมีการ จั ด การต อ เนื่ อ งมา 30 ป ชาวบ า นหนองแค-สวนสวรรค ไ ด เ รี ย นรู ที่ จ ะค อ ยๆ จั ด ปรั บ กระบวนการกลุ ม การ ปรับเปลี่ยนดานระบบการผลิตใหสอดคลองกับยุคสมัยมากขึ้น ทั้งดานการใชเทคโนโลยี พันธุขาว และการปรับ ความสัมพันธกับภายนอก ทั้งภาครัฐและตลาด 1. ปจจัยฐานทรัพยากรที่มีความอุดมสมบูรณและหลากหลายและเพียงพอ ปจจัยสําคัญที่เหมาะสมสําหรับการจัดการน้ําดวยระบบนี้ของชาวบาน เพราะลักษณะพื้นที่เปนที่ราบลุม มี แหลงน้ําขนาดเล็กเชน กุด หนองน้ํา บวก และฮองน้ํา กระจายเต็มพื้นที่จํานวน 28 แหง เปนพื้นที่น้ําถึง 683 ไร นับเปนพื้นที่เกือบ 1 ใน 3 ของพื้นที่ทามซึ่งกวาง 2,300 ไร เปนแหลงกักเก็บน้ําตามธรรมชาติที่สําคัญ และยังเปน ทําเลที่ตั้งติดลําน้ํามูน ที่นี่จึงเปนพื้นที่มีน้ําเหลือเฟอเกินความจําเปนและเปนอุปสรรคในการทํานาในฤดูน้ําหลาก แตชุมชนก็สามารถใชประโยชนในการทํานาในฤดูแลง โดยสรางระบบการผลิตนอกระบบการเกษตรกระแสหลัก ขึ้นมาอยางมีลักษณะเฉพาะตัว นอกจากการมีน้ําทาสมบูรณเพียงพอแลว คุณภาพของดินชุดตะกอนแมน้ํายังเปนขอไดเปรียบของชาว ชุมชนแหงนี้ ฤดูน้ําหลากทวมปละ 3-4 เดือน เปนฤดูแหงการสะสมอินทรียวัตถุที่น้ําพัดพามาจากพื้นที่ทั้งลุมน้ํา 131


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

เพื่อใหพวกเขาใชเพาะปลูกในฤดูแลงถัดไป ทั้งยังเปนฤดูแหงการขยายพันธุของสัตวน้ํา สัตวครึ่งบกครึ่งน้ําและ พันธุพืชทาม ชุมชนสามารถใชประโยชนจากบุงทามมานานนับรอยปดวยวงจรการผลิตที่สอดคลองกับฤดูกาลเชนนี้ ชาวบานเกือบทุกครัวเรือนจะมีที่นาหรือถือครองที่ดินในทาม ชาวหนองแค-สวนสวรรค ครอบครองที่ดินทํานาทาม และเว น ป า ทามไว ที่ หั ว ไร ป ลายนาเพื่ อ ประโยชน อื่ น เพี ย งครอบครั ว ละประมาณ 4-5 ไร เท านั้ น แต ด ว ยการ เพาะปลูกที่ใหผลผลิตสูงและมีการผลิตและการใชประโยชนจากพื้นที่ทามอยางหลากหลาย ทําใหชาวชุมชนแถบนี้ อยูไดอยางพอเพียง ในพื้นที่ทามอื่นๆ ในลุมน้ํามูน โดยเฉพาะเขตตอเนื่องจากทามหนองแค สวนสวรรคลงไปทางทายน้ํา ดวย ความเหมาะสมของภูมินิเวศและฐานทรัพยากรแบบเดียวกัน จึงมีหลายบริเวณที่มีระบบชลประทานระดับชุมชน แบบเดียวกันนี้ ในลุมน้ําชี ลุมน้ําโขงและสายน้ําอื่นๆ ลวนมีภูมินิเวศแบบพื้นที่ทาม สามารถพัฒนาชลประทานขนาดเล็ก ระดั บ ชุ ม ชนโดยการสนั บ สนุ น ที่ เ หมาะสมจากรั ฐ ตามแบบนี้ ไ ด แต น า เสี ย ดาย ที่ ห น ว ยงานรั ฐ และหน ว ยงาน ภายนอกไมเขาใจคุณคาของทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ทามเพียงพอ จึงมองเห็นระบบนิเวศแหงนี้เปนพื้นที่ที่นาจะ นําไปสรางอางเก็บน้ําขนาดใหญ เชนโครงการโขง ชี มูล เกือบทุกพื้นที่จะใชพื้นที่ทามเชนพื้นที่นี้ในการเก็บกักน้ํา เพื่อสูบน้ําปอนให “นาดินทราย” ศักยภาพต่ําที่อยูสูงขึ้นไป ไมเวนพื้นที่ทามของชาวหนองแค-สวนสวรรคที่จะตอง ตกไปเปนพื้นที่อางเก็บน้ําเขื่อนหัวนาในไมชา 2. ปจจัยดานความรูนิเวศวิทยาทองถิ่นของชาวชุมชน องคประกอบสําคัญของการจัดการน้ําเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพและสอดคลองกับความตองการของชุมชน นั้น ความรูเกี่ยวกับนิเวศวิทยาทองถิ่นถือเปนองคประกอบสําคัญ หรืออาจจะเรียกงาย ๆ วา ความรูความเขาใจ เกี่ยวกับสภาวธรรมชาติที่แทจริง การรับรู เรียนรู ที่เกิดขึ้นนี้ เกิดจากการสั่งสม สังเกต ถายทอดกันมาหลายรุน สําหรับเปนฐานขอมูลในการประกอบการตัดสินในการประกอบอาชีพ หรือทํากิจกรรมที่สอดคลองกับชีวิตใหเกิด ประโยชนและไมเปนผลกระทบตอธรรมชาติมากนัก ชาวชุมชนหนองแค-สวนสวรรค ไดใชความรูเรื่องนิเวศวิทยา ทองถิ่นเรื่อง “พื้นที่ทาม” ที่ผานการเรียนรู ถายทอดมาหลายรุน เปนองคประกอบหนึ่งในการตัดสินใจ ซึ่งองค ความรูดังกลาว มีดังนี้ (1) ระบบความรูในการจัดการทรัพยากรน้ําของชุมชน การจัดการน้ําเพื่อการทํานาปรัง พื้นที่ทามของชุมชนหนองแค-สวนสวรรค และอีกหลายชุมชนในลุมน้ํามูน แหงนี้ ถือวาชาวบานไดประยุกตเอาเครื่องมือสมัยใหม คือ การสูบน้ําดวยเครื่องยนตมาใช อยูบนฐานระบบความรู ดั้งเดิมเกี่ยวกับธรรมชาติ ทั้งเรื่องเกี่ยวกับน้ําฝน, ระบบนิเวศทาม, พันธุกรรมขาว และภูมิปญญาในการทํามาหากิน อันหลากหลาย ในระบบนิเวศทาม อันจะไดกลาวไปเปนลําดับถึงภูมิปญญาเหลานี้ ดังนี้

132


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

(1.1) ความรูเกี่ยวกับการพยากรณน้ําฝน จากประสบการณของคนลุมน้ําที่อยูกับการเปลี่ยนแปลงของ สายน้ํามาตลอดชีวิต สามารถหยั่งรูฤดูกาลไดวาปนี้น้ําจะทวมหรือไม สภาพอากาศในแตละฤดูเปนเชนไร ผูรูใน ชุมชนกลาววา ความรูตาง ๆ เหลานี้ไดมาจากการสังเกตสภาพธรรมชาติแวดลอม ซึ่งไดถายทอดใหคนรุนหลังไดใช ใหเปนประโยชนตอมา ซึ่งจากการศึกษา พบวา มีความรูเกี่ยวกับน้ําจํานวน 17 ลักษณะ เชน "ตนไผ" หากปไหน หนอมันขึ้นทวมหัวแม ปนั้นน้ําจะมาก คือ หนอไม หรือหนอไผที่กลายเปนลําออนขึ้นใหมในปนั้น ๆ สูงกวาลําเดิมที่ มีอยูในกอ, "ดอกมะมวงและ ดอกผักกระโดนน้ํา" จะสังเกตเฉพาะตนที่ขึ้นในปา ไมมีการบํารุงดูแลรักษา สังเกตได 2 แบบคือ การออกดอก หากมีดอกทั้งตนสม่ําเสมอทั้งตนแสดงวาปนี้ฝนดี แตถาเปนดอกแคขางเดียว ขางใดขาง หนึ่งของลําตน แสดงวาฝนจะดีแคครึ่งป ซึ่งอาจจะเปนตนปหรือปลายป และแบบที่สอง สังเกตจากชอดอก หาก ปนี้ชอดอกยาวแสดงวาฝนดี แตถาชอดอกสั้นแสดงวาฝนไมดี เปนตน (ดูรายละเอียดความรูการพยากรณน้ําฝน ภาคผนวก) ปจจุบัน สิ่งเหลานี้กําลังเลือนหายไปจากชุมชน ซึ่งมีคําอธิบายของผูเฒาวา “สิ่งแวดลอมมันเปลี่ยนไป” ตนไม พืชพันธุพื้นบานเคยอยูกับธรรมชาติ คนเราก็พากันไปตัดทําลาย แลวนําสายพันธุใหมมาปลูก เชน มะมวง ทุกวันนี้สังเกตไมได เพราะตนมะมวงไดรับการบํารุงใสปุยอยางดี และสิ่งแวดลอมอยางอื่นก็เปลี่ยนไป เพราะการ กระทําของมนุษยและธรรมชาติ สัตว ตนไม ตางแปรปรวน เพราะการนําสารเคมีเขามาใช และนําเครื่องจักรเขา มาบุกเบิกพื้นที่ แมน้ําถูกตัดขาดเปนตอน ๆ ดวยเขื่อนมาสรางกั้นทางเดินของน้ํา ฤดูกาลมันไมแนนอน น้ําอยาก มาตอนไหนก็มา ทวมนาขาวเสียหายหมด ชาวบานเตรียมตัวไมทัน ไมเหมือนสมัยกอน ชาวบานสามารถสื่อสาร กับเทวดาไดอยางแมนยํา โดยสังเกตจากสิ่งตางๆ ที่กลาวมาขางตน และจัดเตรียมแผนการผลิตไดอยางสอดคลอง ไมเคยมีปญหา ผูเฒาแหงลุมน้ํายืนยันวา ภูมิปญญาในการทํานายฝนฟา 17 ขอขางตน ในชวงชีวิตของพวกเขาหรือ ระยะเวลาเกือบ 80 ปที่ผานมานั้น มีความแมนยําถึง 95 % ภูมิปญญาเหลานี้เกิดขึ้นจากการเฝาสังเกต บันทึก ขอมูลไวในสมองของแตละคนและในความทรงจํารวมกันของคนในชุมชนปแลวปเลา บางอยางถูกปรุงแตงขึ้นเปน พิธีกรรมรวมของคนในชุมชนในทองถิ่น (1.2) ความรูเกี่ยวกับทางเดินน้ํา, ฤดูน้ํา การจัดการน้ําของชุมชน ชาวบานไดใชภูมิปญญาที่เขาใจ รูจัก ระบบภูมิศาสตรของพื้นที่และระบบการไหลเวียนของน้ําเปนอยางดี ที่เห็นไดชัดคือ การขุดคลองสงน้ําและสามารถ ทดน้ําจากจุดหนึ่งไปสูพื้นที่ทํานาที่อยูไกลออกไปได เพราะชาวบานรอบรูสภาพพื้นที่เปนอยางดี รูระดับสูง-ต่ําของ ที่ดิน จึงขุดตามสภาพของพื้นที่ ฤดูและการไหลของน้ําในแตละฤดู เปนดังนี้ - ฤดูแลง ระหวางเดือน ม.ค.–เม.ย. (ชวงที่น้ํานอยที่สุด) ตามกุด ตามหนอง จะมีน้ําขังอยูบาง แลวคอย ๆ แหงขอด บางแหงมีน้ําขังตลอดป เชน หนองแค กุดหวาย กุดปราการ - ฤดูฝน ระหวางเดือน พ.ค.–ส.ค. (ชวงที่น้ําฝนเริ่มมา) ตามกุด ตามหนอง จะมีน้ําขังตั้งแตระดับครึ่งเขา จนถึงระดับหนาอก เมื่อน้ําฝนจากทาบาน และที่โนนไหลมารวมใน กุด หนอง โดยมีสองกุดสําคัญที่เปนที่รองรับน้ํา คือ กุดปราการ และ กุดนอย ซึ่งมีทิศทางการไหลของน้ําเปนลักษณะจําเพาะพื้นที่ดังนี้ ตัวอยางเชน ระบบน้ํา บริเวณกุดปราการ ทางน้ําสายที่ 1 เริ่มจากกุดแขลอยไหลลงสูกุดขอน (บานสวนสวรรค) ไหลไปตามฮองกุดขอน ลงสูกุดปราการ ทางน้ําสายที่ 2 เริ่มจาก น้ําที่ทะลักจากหนองทม-กุดหวาย ไหลมาตามทํานบฮองอโศก ลงสูกุด 133


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ปราการ ทางน้ําสายที่ 3 เริ่มจากน้ําที่ทะลักจากหนองไฮ หนองหมอแกง ไหลลงสูหนองสาง และหนองเรือไหลไป ตามฮองหนองสาง ลงสูหนองควายเฒา และบรรจบกับกุดปราการ ทางน้ําสายที่ 4 เริ่มจาก น้ําที่ไหลมาจากหนองผี ปอบ–หนองทม–หนองสะเทือน ทางทิศเหนือของหมูบานลอดผานทอใตถนนราดยาง ไหลลงสู หนองแคลงสูหนอง ควายเฒา และกุดปราการ เมื่อน้ําจากทุกทางมารวมกันในกุดปราการแลว ก็จะทําใหเออลน ไหลลงสูแมน้ํามูน ในทางน้ําสายอื่นๆ ก็เปนเชนเดียวกัน ชาวบานลวน “หลับตาเห็นวาน้ําฤดูไหนจะมากจะนอยหรือหลากทวมจาก ไหนไปไหน - ฤดูน้ําหลาก ระหวางเดือน ก.ย.–พ.ย. (ชวงที่น้ําเยอะที่สุด) เมื่อน้ําทุกสายรวมกันที่กุดปราการแลว น้ํา จากแมน้ํามูนก็จะหลากเขามาสมทบอีกทางหนึ่ง น้ําจะตรึงกันและหลากไปตามกุดหนองตางๆ ไหลหลากไปตามที่ ลุมของที่โนน ทวมกระจายเต็มพื้นที่ทาม ซึ่งจะขึ้น ๆ ลงๆ ในแตละเดือน ตามแรงหนุนของน้ํามูน หรือแมน้ําสาขา ความรูเกี่ยวกับการพยากรณน้ําฝนและฤดูกาล ระดับการหลากทวมของน้ํานี้ เปนตนทุนสําคัญในการ คิดคนระบบการผลิต และการตัดสินใจทําการผลิตในแตละป โดยเฉพาะการทํานารูปแบบตางๆ ในพื้นที่ทามซึ่งปก ดําในเดือน 5 เดือน 6 และเก็บเกี่ยวใหทันกอนฤดูน้ําหลากทวม ระบบการผลิตนี้ผูมีชุดความรูเกษตรกรรมแผนใหม ไมเขาใจ (1.3) ความรูในเรื่องดินทาม พื้นที่ทามจะมีดินที่มีลักษณะเปนดินเหนียวปนดินรวนและดินทราย ซึ่งเปน ดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง เนื่องจากในฤดูน้ําหลากพื้นที่ทามน้ําจะทวมถึงทุกป แมน้ําจะนําเอาตะกอนดินซึ่งมี อินทรียวัตถุมาสะสมไวมากมาย เหมาะในการเพาะปลูกเปนอยางยิ่ง และที่สําคัญ ชาวบานตางรูกันดีวา ดินทามนั้น มีคุณสมบัติเปนดาง (รสเปรี้ยว) เมื่อผสมกับน้ํากรอยที่สูบจากแมน้ํามูน (กรอยออกเค็ม) ก็จะทําใหมีสภาพเปน กลาง ซึ่งไมเปนอันตรายตอตนขาว และตางไปจากการทํานาปรังในนาโคกหรือนาในที่สูงซึ่งเปนดินทรายเมื่อสูบน้ํา จากแมน้ํามูนมูนไปใช ตองประสบกับปญหาดินเค็ม กอความเสียหายใหกับไรนา ชาวบานรูดีวาคุณภาพของดินทามซึ่งเกิดจากตะกอนแมน้ํานั้นมีอินทรียวัตถุที่สมบูรณ การเพาะปลูกใน พื้นที่นี้จึงไมตองใสปุยหรือใสแตนอยก็ไดผลผลิตสูง อีกประการหนึ่ง การกระจายน้ําของชุมชนไมจําเปนตองกอสรางเปนคลองคอนกรีต เพราะชาวบานมี ความรูเกี่ยวกับพื้นที่ดินทามวาเปนดินเหนียวอุมน้ํา ทําใหกระจายน้ําไดเต็มเม็ดเต็มหนวย รวมทั้งไรปญหาเรื่อง ดินเค็ม เพราะรูวา ดินเหนียวอุมน้ําไวไดนานโดยแสงแดดไมสามารถเผาผลาญหนาดินจนเกลือที่อยูใตน้ําแผ กระจายหรือผุดขึ้นมายังหนาดินใหเปนอันตรายตอการเพาะปลูก (1.4) ความรูเรื่องพันธุกรรมทองถิ่น การทํานาทามของชาวบาน ชาวบานมีการใชพันธุกรรมพื้นบานที่ สอดคลองและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ เปนการผสมผสานกันมีการใชพันธุที่มีความหลากหลายตามพื้นที่และการใช ประโยชน การทํานาดวยพันธุขาวบางชนิดจึงตองทําไวเพื่อใชงานประเพณี พิธีกรรม บุญประจําป บุญประจํา ครอบครัวของแตละชุมชน ปจจัยที่มีผลตอการผลิตของชาวบานอีกประการหนึ่งคือ ความเปนชาติพันธุของคน ทองถิ่น คนในชุมชนทั้ง 3 หมูบาน มีชาติพันธุผสมผสานระหวาง คนลาว คนเยอ คนกวย และรับประทานขาวเจา เปนขาวหลักของครอบครัว ทําใหชาวบานใชพื้นที่ปลูกขาวเจามากกวาขาวเหนียว 134


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

จากการศึกษาพบวา พันธุขาวพื้นบานที่เปน พันธุขาวเจา 14 พันธุ เชน ขาวลูกปลา ประโยชนทําขนมจีน เพราะเสนจะเหนียวดี ลักษณะเมล็ดพันธุมีขนาดเล็ก มีสีแดง หุงขึ้นหมอ หุงดวยหมอดิน เปนขาวหนัก ขาวปลา สรอย ประโยชน ทําขนมจี น ลั กษณะเมล็ ดพัน ธุมีขนาดเล็ก มีสี คล้ํา ๆ จะมีก ลิ่น หอม เปน ขาวหนัก ขาวสมั น ประโยชนทําขนมจีน ลักษณะเมล็ดพันธุมีขนาดเล็ก สั้นๆ มีสีขาว เปนขาวหนัก เก็บเกี่ยวชวงปใหมเดือน 3 เปน ตน พันธุขาวเหนียว 23 พันธุ เชน ขาวดอขาวปลูกในนาโคกจะไดผลดี ขาวน้ําผึ้งแดงเมล็ดมีสีขาวตนมีสีแดงมี กลิ่นหอม ขาวบองแอวเมล็ดมีสีแดงโคง ๆเมล็ดสีขาวขนาดยาวมีกลิ่นหอม ขาวเหลืองบุญมาเมล็ดมีสีแดงเหมือน ขาวเหนียวมะลิ เปนขาวเบา เปนตน ปจจุบันพันธุขาวสวนใหญ ไดสูญพันธุไปหมดในชวงที่รถไถนาเดินตามเขามา และการปรับเปลี่ยนการผลิตเพื่อขายมากขึ้น นอกจากนี้ชาวบานยังมีภูมิปญญาในการแปรรูปขาวที่ เรียกวา “ขาวยาดน้ํา” (แยงน้ํา) หรือ ขาวที่ตองรีบ เก็บเกี่ยว เพราะน้ําแกงหลากทวม โดยการนําขาวนั้นมาทําเปน ขาวเมา และ ขาวฮาง ขาวทั้ง 2 ชนิดนี้มีความ แตกตางกันคือ ขาวฮางเมล็ดจะแกกวาขาวเมา ขาวฮาง วิธีการทําคือ จะเอาขาวเปลือกมานึ่งแลวมาตากแดดให แหง ถาไมมีแดดจะกอไฟยางใหแหงภาษาชาวบานเรียกวา “ฮาง” พอแหงจะเอาขาวเปลือกไปตําหรือไปสี ได เปนเมล็ดขาวสาร เอาไปแชน้ําประมาณ 1 ชั่วโมง แลวนําไปนึ่ง ที่กนหวดซึ่งเปนภาชนะในการนึ่งขาวจะเอา เปลือกหอยรองไวกอนเพื่อไมใหไอน้ําขึ้นมาหาขาวมากเกินไป เพราะจะทําใหขาวแฉะได ทําใหขาวขางบนไมสุก สวนขาวเมา คือ ขาวที่ยังไมแกเต็มที่ โดยเอามาคั่วใหสุกแลวเอาไปตําเอาเปลือกออก ขาวจะมีสีเขียว ๆ หอม ชาวบานจะนําไปถวายพระ ในชวงของการทํา การตําขาว ชาวบานจะออกมาชวยกันตําดวยกันหลายคน ทําใหคน บานใกลเรือนเคียงไดพูดคุยกัน หนุมสาวมีโอกาสพบปะกัน พันธุขาวที่ชาวบานใชในปจจุบันเปลี่ยนไปตามสภาพเศรษฐกิจ นาทุงหรือนาในที่ทําในที่สูงรอบหมูบาน สวนใหญปลูกขาวหอมมะลิเพื่อขายและบริโภคเองบาง สวนนาในพื้นที่ทาม เชนนาปนาแซงยังคงใชขาวพันธุ พื้นบาน เพราะมีธรรมชาติที่เหมาะสมกับสภาพนิเวศและความรูดั้งเดิมที่ชาวบานมีอยู ในการผลิตฤดูการผลิตนา ปรั ง ป 2552 นี้ เกิ ด การค น พบครั้ ง ใหญ ข องชาวบ าน มี ก ารนํ า เอาพั น ธุ ข า วชั ย นาทและปทุ ม ธานี ม าใช ใ นการ เพาะปลูก แลวไดผลผลิตถึงไรละมากกวา 1,000 กิโลกรัม โดยปกตินาในพื้นที่ทามจะไดผลผลิตประมาณไรละ 600700 กิโลกรัม ซึ่งสูงกวาคาเฉลี่ยของผลิตขาวในภาคอีสานซึ่งอยูประมาณ 350 กิโลกรัมตอไร เกิดการเรียนรูใหมใน หมูชาวบานแหงปาทามลุมน้ํามูนวาเปนความเหมาะสมของพันธุขาวดังกลาวกับสภาพดินน้ําของพื้นที่ทามจึงได ผลผลิตดี และตอนี้ไป พันธุขาวทั้งสองนี้คงจะไดรับความนิยมจากชาวลุมน้ํามูนในระดับซุปเปอรสตารเปนแน (1.5) ความรูในเรื่องการทํานาทาม การทํานาทาม เปนการทํานาทุกประเภทแตเปนการใชพื้นที่ทาม ทํานาชาวบานจึงเรียก “นาทาม” ในอดีตการทํานาทามจะมีชื่อเรียกการทํานาออกเปน นาป (นาหนอง) นาแซง ขาว ไร การทํานาในอดีตเปนการทํานาแบบรอฝนในชวงฤดูการทํานาซึ่งวาเสี่ยงตอการเกิดน้ําทวมนาขาวทําใหเก็บเกี่ยว ไมทัน ความรูในเรื่องการทํานาของชาวบานมีความเกี่ยวของและจะแตกตางกันตาม 1) สภาพพื้นที่ (สูง หรือต่ํา) 2) ปริมาณน้ํา 3) ชนิดของพันธุขาว และ 4) ชวงเวลาในการเพาะปลูก ดังนี้ - ปลูกขาวไร ในอดีตการปลูกขาวไร จะปลูกขาวในชวงเดือน 5 - 6 มีการเตรียมพื้นที่โดยถางปาแลวจุด ไฟเผา จากนั้นก็ใชเสียมสักเปนหลุมเพื่อหยอดเมล็ดขาว เก็บเกี่ยวขาวนาไร ในเดือน 9 - 10 กอนที่น้ําแกงตาม ธรรมชาติจะขึ้นมาทวมนาขาว จนกระทั่งในป พ.ศ. 2535 ชาวบานเลิกปลูกขาวนาไรเนื่องจากเจอปญหาน้ําทวม 135


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

แบบเฉียบพลันตั้งแตมีเขื่อนราษีไศล เปนน้ําทวมที่ไมไดเกิดจากน้ําแกง (น้ําหลาก) ตามฤดูธรรมชาติและ นอกเหนือจากชุดความรูที่คนในทองถิ่นคุนเคยจึงกอใหเกิดความเสียหายตอผลผลิตทางการเกษตรเปนจํานวนมาก - นาปรัง เปนการทํานานอกฤดูทํานาป โดยอาศัยพื้นที่ใกลแหลงน้ําโดยใชน้ําจากแหลงน้ําเขามาชวยใน การปลูกขาว การทํานาปรังจะทํากันในเดือน มีนาคม–พฤษภาคม นาปรังเริ่มทําในป พ.ศ. 2522 ในปพ.ศ. 2536 เกิดปญหาน้ําทวมจากเขื่อนราษีไศลเก็บน้ํา ทําใหผลผลิตจากการทํานาป (นาทาม) ไดรับความเสียหายจนไมได เก็บเกี่ยวขาว ชาวบานจึงไดหันนาปลูกขาวนาปรังเปนการทดแทน การทํานาปรังจะเริ่มจากเตรียมพื้นที่ไถที่นาให เทากัน โดยเหลือปาหัวไรปลายนาไวเล็กนอย จากนั้นในเดือน 2 เริ่มมีการตกกลาเตรียมไวเพื่อนําไปปกดํา เดือน 3-4 ถอนตนกลามาปกดําในนาขาว การดูแลรักษานาขาวหลังจากดํานาเสร็จประมาณ 1-2 อาทิตย จะใส ปุยในนาขาวและหวานยาฆาปู หนอน เพลี้ย เดือน 7 เปนชวงของการเก็บเกี่ยวขาวนาปรัง พันธุขาวที่ใชในการทํา นาปรังขาวเจาพันธุ กข.7 กข. 5 ขาวเหนียวพันธุน้ําผึ้ง และ กข. 23 (มีเมล็ดคลายกับดอกมะลิ) - นาปหรือนาหนอง เปนการทํานาในฤดูฝนที่อาศัยน้ําฝนในการทํานา นาปจะใชพันธุขาวที่สุกเร็วใชเวลา นอยในการปลูก เพราะตองทํานาในชวงที่มีฝนตกน้ําขังในที่นา ตองรีบเก็บเกี่ยวเนื่องจากพอน้ําขึ้นจากน้ํามูนแลว จะทําใหขาวที่ปลูกไวเสียหายจากน้ําทวม ปจจุบันชาวบานรองอโศกไมไดทํานาปแลว นาป เปนนาที่อยูตามฝงกุด ตามหนอง ในเดือน 5 (เดือนเมษายน) เริ่มมีการปลูกขาว โดยตกกลาในหนอง กุด เดือน 6 ถอนตนกลาเพื่อ นํามาปกดํา เดือน 10-11 เก็บเกี่ยวขาวนาปตองเก็บเกี่ยวกอนที่น้ําแกงตามธรรมชาติจะขึ้นมาทวมนาขาว พันธุ ขาวที่ใชในการปลูกเปนขาวเหนียวพันธุดอลาว, น้ําผึ้ง, แมมิ้น, ดอกดู ปจจุบันชาวบานไดเลิกทําขาวนาป เนื่องจากเกิดปญหาน้ําทวมแบบฉับพลันทําใหไมไดเก็บเกี่ยวขาวนาป ชาวบานจึงไดหันมาทํานาปรังแทน - นาแซง เปนการทํานาเหมือนกับนาปทุกประการ อาจแตกตางกันบางในเรื่องพันธุขาวที่เลือกใชในการ เพาะปลูก ทําในเดือน 1-2 ในบริเวณบวก หนอง ที่มีน้ําเพียงพอ - นาป เปนการทํานาในฤดูทํานาปกติ นาปสวนมากจะทําในพื้นที่ที่มีน้ําขังเพียงพอตอการทํานาในชวง ตั้งแตเดือน มิถุนายน–พฤศจิกายน โดยระดับน้ําเสมอตนเสมอปลายคือไมใกลกับแมนํา้ ตาง ๆ พื้นที่สวนมากจะเปน ทุงกวาง ๆ พันธุขาวสวนมากจะเปนพันธุขาวตาง ๆ โดยเฉพาะขาวหอมมะลิที่ใชเวลาในการสุกนาน นาป (นาบาน/ นาทุง) สําหรับคนที่ทํานาดํา จะเตรียมไถนาฮุดไว และเตรียมไถนาเพื่อตกกลาในเดือนมิถุนายน ตกกลาเพื่อนําไป ปกดําในพื้นที่ที่เตรียมไว การดูแลรักษาตนกลาโดยใสปุยใหตนกลาแข็งแรงและโตเร็ว เดือนกรกฎาคม ถอนตน กลามาปกดําในนาขาว การดูแลรักษาตนขาวหลังจากปกดําเสร็จจะใสปุย 2 รอบ ใสปุยรอบแรกประมาณ 2 อาทิตยหลังจากปกดําเสร็จ ใสปุยรอบที่ 2 ในชวงที่ตนขาวแตกกอพรอมที่จะออกรวง ดูแลเรื่องน้ําในนาขาวใหมี น้ําพอเพียงสําหรับตนขาว ดูแลโรคที่มากับตนขาว ดูแลศัตรูของตนขาวเชน ปู เพลี้ย หญา เดือน 12-2 เปน ชวงการเก็บเกี่ยวขาว ในปจจุบันชาวบานไดเปลี่ยนจากการทํานาแบบดํานา มาเปนการทํานาแบบนาหวานมาก ขึ้น เนื่องจากการทํานาแบบนาดําจะใชแรงงานเยอะ ใชเวลานาน คาจางแพงตั้งแตมีการจางดํา จางไถ สวนการ ทํานาแบบนาหวานจะไมมีขั้นตอนการตกกลาและนําตนกลามาปกดํา จะหวานขาวเพียงครั้งเดียวจนถึงขั้นตอนการ เก็บเกี่ยว แตตองมีการดูแลเปนพิเศษในเรื่องหญาที่เกิดขึ้นพรอมกับตนขาว

136


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

• ปจจัยดานวัฒนธรรมชุมชน ระบบสิทธิของชุมชน “ชุ ม ชน” เป น ที่ ที่ ค นอยู ร ว มกั น อย า งมี ค วามผู ก พั น มี ค วามเอื้ อ เฟ อ เกื้ อ กู ล แบ ง ป น เป น สายใยยึ ด โยง โดยเฉพาะชุมชนดั้งเดิมจะมีสายสัมพันธของเครือญาติเปนหลักยึดที่เหนียวแนน เมื่อมีความขัดแยงภายในก็ยอมมี กลไกและกระบวนการเพื่อไกลเกลี่ย ตัดสินกันอยางเปนธรรมและกรณีที่ชาวชุมชนเผชิญทุกขภัยที่เกิดมาจาก ภายนอกก็จะมีการรวมกันตอตาน ตอสู ชุมชนจึงไมใชที่อยูรวมกันของปจเจกชน แตเปนที่อยู “รวม”ดวยความ รับผิดชอบซึ่งกันและกันแบบรวมหมู มีความเปน “พวกเดียวกัน” และมีเปาหมายที่จะอยูรอดรวมกัน แตละชุมชนจึงมีแบบแผนในการทํามาหากิน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ แบบแผนในการดํารงชีวิต แบบแผนความเชื่อ พิธีกรรม ประเพณี การดูแลความปลอดภัย ความสงบสันติ การปกครอง ระบบยุติธรรม ระบบ ดูแลดานสุขภาพอนามัย แบบแผนในการเรียนรู การถายทอดความรูสูคนรุนหลัง แบบแผนในการตอสู ตอรองกับ อํานาจภายนอก เหลานี้ เรียกวาเปน “วัฒนธรรมชุมชน” สวน “สิทธิชุมชน” นั้นหมายเนนที่แบบแผนความสัมพันธ เชิงอํานาจระหวางมนุษย ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนสวนหนึ่งในวัฒนธรรมของชุมชน กลาวไดวาความสําเร็จของระบบชลประทานชุมชนของชาวบานหนองแค-สวนสวรรค ที่สามารถจัดการ ทรัพยากรดินน้ําใหเกิดประสิทธิภาพและมีความตอเนื่องมา 30 ปไดนั้น เปนเพราะมีฐานของพลังชุมชนที่มีความ กลมเกลียว สามัคคี มีการจัดสรรแบงปนประโยชนกันอยางลงตัวและเปนธรรม มีการจัดตั้งกันเปนกลุม พัฒนา ระบบบริหารโดยอาศัยระบบดั้งเดิมของชุมชนผสมผสานกับระบบสมัยใหม เชน การเลือกประธานและกรรมการ กลุมจากคนที่เคยพิสูจนตัวเองในการแกปญหา มีความรับผิดชอบ มีบารมี อาศัยความเชื่อและพิธีกรรมดั้งเดิมของ ชุมชนเปนเครื่องสรางศรัทธาในการรวมกลุม ทั้งเรื่องผีปูตา ตาแฮก ขณะที่วิธีบริหารภายในมีการกระจายขาวสาร การสรางการมีสวนรวมกันอยางทั่วถึง เมื่อมองอีกดานหนึ่ง กรณีมีความขัดแยงเกิดขึ้นในกลุม และความขัดแยงระหวางกลุมกับภายนอก เราจะ สามารถมองเห็นกระบวนการ กลไกในการแก ปญหากัน เองอยางเดน ชัด โดยเฉพาะในกรณีศึ กษานี้ได ศึกษา กระบวนการ กลไก เหลานี้ของชุมชนไวอยางละเอียด ซึ่งจะนํามากลาวพอสังเขป คือ - กรณีความขัดแยงภายในชุมชน ที่เปนขอขัดแยงระหวางสิทธิบุคคลกับสิทธิบุคคล มักจะใชกระบวนการ การเวาความ (เจรจา) แบบเผชิญหนา โดยมีคนกลางเปนผูหลักผูใหญในชุมชนหรือผูที่ทั้งสองฝายตางใหความ เคารพยํ าเกรงเปน ผูดํ าเนิน การเวาความเพื่ อหาข อยุ ติข องขอ พิพ าท หากขอ พิพ าทที่ก อใหเ กิด ความเสี ยหาย ฝายละเมิ ดอาจจะตอ งชดใช คาสิน ไหม(ค าปรับ )ชดใช ดวยอะไร เปน จํา นวนเทาใดนั้ นจะขึ้ น อยูกั บขนาดความ เสียหาย และฐานะความเปนอยูของผูถูกปรับไหม ซึ่งอาจจะเปนเงิน สิ่งของสัตวเลี้ยง หรือบางครั้งปรับไหมเปน แรงงานก็เคยมี - กรณีความขัดแยงภายในชุมชนที่เปนขอขัดแยงในการละเมิดสิทธิชุมชนและสิทธิสาธารณะ เชน การบุก รุกแผวถางปาชา ปาดอนปูตา การถมบอน้ําตื้นที่ยังมีการใชประโยชนอยู หรือการใชประโยชนที่กอใหเกิดความ เสียหายตอสิทธิสาธารณะอันเปนประโยชนสวนรวม เชน การเบื่อปลา การเผาปา กระบวนการในการแกไขปญหา ในกรณีเชนนี้จะกระทําในลักษณะการไตสวนสาธารณะ คือ มีผูเฒาผูแก ผูที่คนในหมูบานเคารพ ผูใหญบาน หรือ 137


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

คณะกรรมการหมูบานเปนคณะดําเนินการไตสวนทามกลางญาติพี่นองของผูละเมิดและผูที่มีสวนไดสวนเสียจากผล ของการละเมิดกรณีนั้นๆ อาจจะมีการปรับไหม และสินไหมนั้นตกเปนทรัพยสวนรวมของชุมชน - หากกรณีละเมิดเปนการละเมิดตอระบบความเชื่อ (ละเมิดหรือเปนการลบหลูตอสิ่งที่คนในชุมชนเคารพ) ก็จะใหผูละเมิด “แตงแก” (ขอขมาลาโทษ) กระบวนการบังคับเพื่อใหเปนไปตามมติของการไตสวนเปนกระบวนการ ทางสังคมของชุมชน ผูที่ขัดขืนไมปฏิบัติตามอาจจะถูกเพิกเฉยหรือถูกลิดรอนสิทธิ์ตามจารีตประเพณีในดานอื่นๆ เชน การเขารวมในการประกอบพิธีกรรมที่สําคัญของชุมชน เปนตน - กระบวนการแกไขปญหาในกรณีที่เปนขอพิพาทกับภายนอกชุมชน(ในที่นี้คือการกอสรางเขื่อนราษีไศล และเขื่อนหัวนาที่จะกอผลกระทบตอพื้นที่การทําชลประทานชุมชนของชาวบาน) ซึ่งกอใหเกิดผลกระทบตอระบบ สิทธิตามจารีตประเพณีทั้งระบบ เชน ผลกระทบจากโครงการพัฒนาขนาดใหญของรัฐ คนในชุมชนเกิดกระบวนการ เรียนรูและตอสูเพื่อ “ยืนยันสิทธิ” ตามจารีตประเพณี ดวยกระบวนการรวมกลุมเพื่อสรางอํานาจในการตอรองและทา ทายระบบสิทธิโดยรัฐ และมีความหลากหลายในแนวทางการตอรองกับสิทธิโดยรัฐ เชน การรวมตัวกับกลุมปญหา อื่นในสมัชชาคนจน การประทวง การขุดคุย ศึกษาหาขอมูลที่แทจริงนําตีแผสูสาธารณะชน การประสานองคกร ภายนอกชุมชนเพื่อรวมเปนพันธมิตร เปนตน นอกจากนั้น ในรายละเอียดของ “ระบบสิทธิชุมชน” ยังมีระบบกรรมสิทธิ์ที่ซับซอนหลายระดับ และมีความ ยืดหยุนเพื่อเปดโอกาสใหสมาชิกทุกคนของชุมชนสามารถเขาถึง ใชประโยชนในทรัพยากรอยางทั่วถึง เพื่อความ อยูรอดของทุกคน ทั้งที่ดินที่เปนกรรมสิทธิ์สวนบุคคลที่อยูบนหลักของผูมากอน เจาของมีสิทธิในการเพาะปลูก แต เป ดโอกาสใหสมาชิก อื่น ใชใ นการจับ สั ตว เลี้ย งสั ต ว และเก็ บ ผลผลิต ธรรมชาติ สิท ธิ การใชร วมในทรัพ ยากร สวนรวมรวมกันหรือสิทธิรวมของชุมชนโดยมีระเบียบกฎเกณฑที่ไมเปนลายลักษณอักษรกํากับอยู เชน พื้นที่ปาชา ปาดอนปูตา แหลงน้ําชุมชน โดยเฉพาะโครงสรางตางๆในการจัดทําชลประทานชุมชน และบางพื้นที่เปนพื้นที่ กรรมสิทธิ์ของรัฐ แตชาวบานสามารถเขาใชประโยชนได วัฒนธรรมชุมชนและระบบสิทธิชุมชนนี้ มักถูกละเมิดโดยหนวยงานภายนอกอยูเนืองๆ เปนเพราะมองไม เห็น หรือไมเห็นความสําคัญ โครงการจัดการน้ําโดยรัฐ เชนโครงการโขง ชี มูล โครงการอีสานเขียว กลายเปน โครงการที่ไมคุมคากับการลงทุน กอผลกระทบ เกิดความขัดแยงมากมาย เพราะไมคํานึงและไมเคารพตอวิถี ธรรมชาติและมองไมเห็นวัฒนธรรมชุมชน แตใชแผนงานของตนเปนตัวตั้ง นั่นเอง • การสนับสนุนจากรัฐและองคกรทองถิ่น การจัดการน้ําของชุมชนหนองแค-สวนสวรรค ถือวาเปนพื้นที่มีประสบการณในการประสานความรวมมือ กับรัฐและองคกรทองถิ่นมาตั้งแตเริ่มตน ซึ่งเปนเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหชุมชนสามารถทํานาปรังตอเนื่องไดตลอด เกือบ 30 ปมาแลว การประสานรัฐงานกับรัฐหรือองคกรทองถิ่น เพื่อของบประมาณและเครื่องมือสนับสนุนการทํานาปรังของ ชาวบาน ผูนําหรือผูแทนของกลุมนับวามีความสําคัญอยางยิ่งในกระบวนการประสานกับภาครัฐ คุณลักษณะของ ผูนําหรือผูแทนกลุมนอกจากมีความสามารถและบารมีแลว มักตองพิจารณาดวยเสมอวาตอง “กลาเขาถึงเจาถึง 138


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

นาย” และจากการปฏิบัติจริงมาอยางตอเนื่อง เขาเกิดการเรียนรูระเบียบและขั้นตอนของราชการไดอยางแมนยํา บนจุดยืนของชาวบานที่มีสิทธิพึงมีพึงไดในระดับที่แนนนอน กระบวนการประสานราชการจึงเปนกระบวนการ เรียนรูในการเขาไปมีสวนรวมในการรับรูและการตอรองตลอดเวลา จากการรวมกลุมประสานกับ อบต. ทําให ชาวบานทราบวา กระบวนการประสานเปนแบบการตอรองเชิงอํานาจ (ในทองถิ่น) จะสามารถเขาถึงไดงายหากมี การรวมกลุมอยางมีพลังมีกระบวนการและมีเปาหมายในการรักษาไวซึ่งสิทธิที่พึงไดรับการพัฒนาสงเสริม ที่ผานมาการประสานของชุมชนหนองแค - สวนสวรรคไดรับความรวมมือเปนอยางดีจากหนวยงานรัฐทั้ง กรมชลประทาน องคกรปกครองสวนทองถิ่น เพราะถือวามีการชวยเหลือและสนับสนุนกันตอเนื่องทุกป แมบางปจะ มีปญหาเรื่ องความลาชา แตก็สามารถแกไขป ญหาได อาจจะนั บวาเปน การประสานความรวมมือที่ กลายเป น ประเพณีแลวระหวางรัฐกับชาวบานในพื้นที่นี่

สรุป : คุณคา คุณประโยชนและภาวะทาทายของชลประทานชุมชน ชลประทานชุมชนของชุมชนหนองแค-สวนสวรรค เปนการชลประทานขนาดเล็กที่เกิดจากความจําเปนใน การแกปญหาของชุมชนที่เผชิญหนากับภัยธรรมชาติรายแรง คือน้ําทวมใหญในป 2521 ชาวหนองแค-สวนสวรรคมี ตนทุนสําคัญอยูแลวคือ ทรัพยากรธรรมชาติทั้งแหลงน้ําธรรมชาติที่เพียงพอตอการจัดการจัดสรร เปนพื้นที่ทามที่มี เนื้อดินอุดมสมบูรณดวยตะกอนแมน้ํา ทั้งมีพืชพรรณและสัตวตางๆ ในพื้นที่ปาทามอยากหลากหลายที่ชาวบาน สามารถเก็ บ หาเพื่ อ การยั ง ชี พ ได ต ลอดทั้ ง ป ชาวหนองแค-สวนสวรรค เ ป น ชาวชุ ม ชนท อ งถิ่ น ที่ มี ร ากฐานทาง วัฒนธรรมที่เขมแข็ง และใชเปนฐานของการรวมกลุมในการจัดการชลประทานชุมชนไดเปนอยางดี ในกรณีนี้ มีการ สนับสนุ น เครื่อ งสู บน้ําจากกรมชลประทานและค าน้ํามัน เชื้ อ เพลิง จากองคก ารบริห ารสว นตําบล ส งผลให การ ชลประทานชุมชนดําเนินการไดตอเนื่องเปนเวลา 30 ปมาแลว เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการชลประทานขนาดใหญทั่วไปของรัฐแลว การชลประทานชุมชนแหงนี้มีคุณคาที่ ควรกลาวถึง ณ ที่นี้ คือ 1. ดานเศรษฐกิจ ชลประทานชุมชนหนองแค-สวนสวรรคเกิดขึ้นเพื่อการมี “ขาวตอทอง”ของชาวบาน คือ บรรเทาความเดือ ดรอนจากภาวะน้ําท วม แม ตอมามีการดํ าเนิน การมาอยางตอเนื่อ ง แต ก็เปนการตอบสนอง เศรษฐกิจระดับครอบครัวประมาณ 200 ครอบครัวจาก 318หลังคาเรือนใน 3 ชุมชน ถือเปนระบบเศรษฐกิจแบบยัง ชีพของชาวนาจนหรือเกษตรกรรายยอยที่มีที่ดินจํานวนนอยเพียงรายละ 4-5 ไร ผลิตโดยแรงงานในครอบครัวและ เทคโนโลยีระดับกลาง เพื่อความอยูรอดของครอบครัวและชุมชน ชลประทานชุมชนหนองแค-สวนสวรรค มีความเหมาะสมคุมคาตอการลงทุนมากกวาการชลประทานขนาด ใหญ เชนการลงทุนดานโครงสรางที่เฉลี่ยลงทุนเปนเงินไรละ 783.30 บาทเทานั้น ขณะที่โครงการเขื่อนราษีไศลที่ สรางกั้นลําน้ํามูนหางออกไป 2 กิโลเมตร มีการลงทุนดานโครงสรางไรละ 25,305 บาท (ไมนับคาชดเชยที่ตองจาย มากกวาราคากอสรางและซอมบํารุง) ชลประทานชุมชนซอมบํารุงและดูแลโดยการลงแรงลงแขกของชาวบาน ไม ตองจางขาราชการและบริษัทรับเหมา ทั้งนี้ การสนับสนุนเครื่องสูบน้ําและเชื้อเพลิงโดยองคการบริหารสวนทองถิ่น ก็อยูในอัตราที่ไมสูงนักและอยูในวิสัยที่ราชการควรสนับสนุน ประชาชนควรไดรับสิทธิ์ 139


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

และดวยการชลประทานนี้อยูในพื้นที่ทามที่มีดินเหนียวตะกอนแมน้ําเปนดินฐาน ความเหมาะสมในการทด น้ําโดยคลองดินที่ไมมีการระเหย ความพอดีของคากรดดางของดินน้ําเมื่อดินเปรี้ยวเจอกับน้ําเค็มกรอย ทําใหการ ทํานาปรังไดผลผลิตสูงกวาพื้นที่นาดินทรายทั่วไป และเมื่อใชพันธุขาวใหมในปนี้ก็ไดผลผลิตทะลุ 1,000 กิโลกรัม ตอไร จึงเปนเรื่องไรเหตุผลสิ้นดีที่จะมีโครงการสรางเขื่อนใชพื้นที่ทามเชนนี้ในการทําอางเก็บน้ํา สูบน้ําขึ้นที่สูงทํา นาปรังในพื้นที่นาดินทราย ขณะที่พื้นที่ทามในลักษณะนี้มีอยูในทุกลุมน้ํา ควรสนับสนุนสงเสริมชลประทานชุมชนใน ลักษณะนี้มากกวา 2. ดานการบริหารจัดการ ดวยเปนการจัดการน้ําขนาดเล็กไดประโยชนสูง ชาวบานสามารถจัดการดูแล เองไดตลอดทุกกระบวนการ สมาชิกมีสวนรวมและไกลเกลี่ยขอพิพาทของชุมชนเองได สามารถควบคุมเทคโนโลยี ถือเปนการทรัพยากรน้ําไดที่มีประสิทธิภาพ และมีความคุมทุนเนื่องจากเปนการเลือกพื้นที่ในการผลิตแบบจําเพาะ เจาะจง สามารถควบคุม จัดการ บํารุงรักษาใหสอดคลองกับสภาพเครื่องมือและสภาพภูมิประเทศได การจัดการน้ํา ของชุมชนหนองแค-สวนสวรรค ชาวบานไดใชภูมิปญญาที่เขาใจ รูจักระบบภูมิศาสตรของพื้นที่และระบบการ ไหลเวียนของน้ําเปนอยางดี การขุดคลองสงน้ําและสามารถทดน้ําจากจุดหนึ่งไปสูพื้นที่ทํานาที่อยูไกลออกไปได เพราะชาวบานรูวาพื้นที่ไหนต่ําพื้นที่ไหนสูง จึงขุดตามสภาพของพื้นที่และไมจําเปนตองเปนคลองคอนกรีตเพราะ พื้นที่ดินทามเปนดินเหนียวอุมน้ําทําใหไดน้ําเต็มเม็ดเต็มหนวย ทางดานการจัดการกลุม แมในระยะแรกๆ จะเปนการรวมกลุมแบบทางการ เปนโครงสรางการจัดการ สมัยใหมแบบราชการ ซึ่งสามารถระดมทรัพยากรและความรวมมือไดมาก ทั้งจากกรมชลประทาน องคการบริหาร สวนจังหวัด แตก็ไมมีการรวมศูนยอยูที่ผูนํากลุม เนื่องจากกระบวนการที่เปนที่มาการกอเกิดของโครงสราง ใช กระบวนการทางวัฒนธรรม ซึ่งเคารพในผูรูและความอาวุโสของผู “พาเฮ็ดพาทํา” และ “ผูพาทํา” จะพาทําอะไรได นั้น สมาชิกตองรับรูและเขาใจกระบวนการทั้งหมด ทําแลวนําไปสูอะไร ไดอะไร ดวยกระบวนการมีสวนรวมแบบ เสมอหนา คือปรึกษาหารือกัน (โสกัน) แบบเพื่อนบาน กระบวนการดังกลาวไมไดลดทอนอํานาจการตอรองของ กลุมลงแมแตนอย แตกลับเปนจุดแข็ง ในการเขาไปมีสวนรวม เชน การนําขอเสนอของกลุมนําไปเสนอยังองคการ บริหารสวนตําบลเพื่อขอรับการสนับสนุน หรือดึงใหเขามามีสวนรวม เชน การเชิญเจาหนาที่ชลประทาน หรือ นายกฯ อบต. เขารวมประชุมเพื่อรับทราบความตองการของกลุม เปนตน และเนื่องจากเปนกลุมที่มีความตองการ เหมือน ๆ กัน คือ การเขาไปจัดการทรัพยากรน้ํา อันมีรูปแบบวิถีการผลิตเหมือนกัน อยูในกลุมวัฒนธรรมเดียวกัน เปนทุนเดิมอยูแลว จึงสามารถสรางพลังการตอรองในระดับทองถิ่นไดในระดับหนึ่ง ดานการจัดสรร กระจายประโยชนแกสมาชิก ถือวามีความเสมอภาค ทั่วถึงและเปนธรรม สมาชิกทุกคนที่ ยึดถือกติกาเดียวกันจะไดรับการจัดสรรสวนแบงน้ําจนเพียงพอสําหรับการทํานาตลอดฤดู ทุกคนเสียสละและเต็มใจ ใหขุดคลองสงน้ําผานที่นาตนเองเพื่อทุกคนสามารถมีน้ําใชอยางเทาเทียม และเมื่อมีความขัดแยงก็มีกระบวนการ และกลไกในการเวาความ การไตสวน ไกลเกลี่ย ลงโทษหรือรอนสิทธิดังไดกลาวแลว ถือไดวากระบวนการดําเนินงานของกลุมนาปรัง หรือชลประทานชุมชนนี้ เปนกระบวนการเชิงรูปธรรมของ ประชาธิปไตยในระดับฐานรากโดยแทจริง ที่จะเปนแบบอยางของการจัดการสังคมสมัยใหมที่ผูคนโหยหาการ กระจายอํานาจ ซึ่งมักจะเปนการสรางความหมายที่เลื่อนลอย ติดอยูกับการสรางองคการบริหารที่ไรรูปธรรมเนื้อน้ํา 140


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

ของการพัฒนา ชลประทานชุมชนนี้เปนประชาธิปไตยที่ใกลตัว จับตองได กินได และประกอบสวนขึ้นดวยเนื้อหา ของสิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ ตามหลักการของประชาธิปไตยอยางครบถวน 3. ดานสังคม การดําเนินการของชลประทานชุมชนเปนการสรางความสัมพันธระหวางสมาชิกชุมชน มี การประสานงานกันระหวางกลุมทํานาปรังวาจะทําชวงไหนเดือนใด การมีกิจกรรมทําดวยกันที่สอดคลองกับวิถีชีวิต คือเงื่อนไขเกิดการรวมกลุม กอเกิดกลุมองคกรขึ้น ทําใหคนมาพูดคุย ถกเถียง เสนอปญหา หาทางออกดวยกัน เกิดการอาศัยเกื้อกูลกัน รวมตอสูกับปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไดอยางทันการณ การมีกลุมทําใหเกิดผูนําดานตางๆ เกิดขึ้น ซึ่งเปนการคัดเลือกผูนําอยางธรรมชาติ ทําเพื่อกลุม ทําเพื่อสวนรวม กลุมทํานาปรังทําใหเกิดความ สามัคคีขึ้นในหมูบาน จะทํากิจกรรมสาธารณะประโยชนอื่นก็งายขึ้น กลุมทํานาปรังจึงมีผลดีและเปนการสราง อัตลักษณของตนเองใหคนภายนอกไดรูจักในสิ่งที่กลุมกําลังทํา และสามารถเปนทางเลือกใหกับคนอื่นรวมเรียนรู เปนทางเลือกในการแกปญหา เปนองคความรูที่มีคุณคา ที่เปนการผลิตซ้ําและคนพบสิ่งใหม มีรูปธรรมจริง และ สามารถถายทอดใหคนรุนใหมและผูสนใจเรียนรูอื่นๆไดโดยงาย ตั้งอยูบนฐานของภูมิปญญาทองถิ่นที่เกิดจาก ความสัมพันธระหวางคนกับคน ชุมชนและสังคมที่อยูรวมกันอยางมีศักดิ์ศรี คนกับธรรมชาติที่อยูรวมกันอยาง กลมกลืน เคารพและไมทําลายลาง และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติที่เปนเครื่องหลอเลี้ยงจิตวิญญาณและมีพลังใจใน การตอสูปญหา ตอสูสิ่งชั่วราย 4. ดานการอนุรักษฟนฟูระบบนิเวศ เนื่องจากการจัดการน้ําโดยชุมชนเปนการจัดการที่อยูบนพื้นฐาน การพึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติเปนหลัก เชน รูปแบบการจัดการที่ขึ้นอยูกับความสูง ต่ําของสภาพภูมิประเทศ และ การใชทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ในระบบเดียวกันเปนปจจัยการผลิต (เชนไมทําดามจอบ เสียม เครื่องใชอื่นๆ ฯลฯ) จะพบวา เปนระบบการจัดการน้ําขนาดเล็กที่สอดคลองอยูกับระบบฐานทรัพยากรธรรมชาติทั้งระบบ เรื่องสําคัญประการหนึ่ง การใชประโยชนของมนุษยในพื้นที่ทาม จะถูกกํากับดวยกระบวนการเปลี่ยนแปลง ของฤดูกาลอยูแลว ในฤดูน้ําหลาก มนุษยตองหยุดกิจกรรมตางๆ ลง เหลือแตการจับสัตวน้ํา เปนฤดูแหงการสะสม ธาตุอาหาร ฤดูแหงการเพาะฟกชีวิตใหม การแพรขยายพันธุของพืชทาม เมื่อถึงหนาแลงจึงมีการใชพื้นที่ทํานาดวย ธาตุอาหารที่ธรรมชาติสั่งสมไวให ลักษณะการเชนนี้เปนกระบวนการที่เปดโอกาสใหธรรมชาติไดมีเวลาฟนตัว อีก ดานหนึ่ง สังคมชุมชนก็มีระบบ “สิทธิชุมชน”ในการกํากับดูแลการใชสอยทรัพยากรเชนเดียวกัน เปนการจัดการตาม แบบสิทธิจารีตประเพณี มีแนวคิดและกระบวนการที่เปนการจัดการ อนุรักษ และใชประโยชนที่เหมาะสม ไมทําลาย ลางดวย เชน การจัดการดวยสิทธิชุมชน (ปาชา ปาดอนปูตา แหลงน้ําชุมชน) เชนนี้ เปนการใชประโยชนจาก ทรัพยากรที่เปนประโยชนสูงสุดของคนรุนปจจุบัน แลวยังเปดโอกาสใหคนรุนตอไปไดใชประโยชนตอไปอยางยั่งยืน ทั้งนี้ทั้งนั้น มีภาวะทาทายที่สําคัญ คือ การที่สภาพนิเวศลุมน้ํากําลังถูกเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยการ สรางเขื่อนทั้งตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา ภาวะการไหลหลากของน้ําจะผิดแปลกไปจากธรรมชาติเดิมขึ้นเรื่อยๆ จะ เปนเงื่อนไขใหมนุษยบุกรุกเขาใชประโยชนอยางลางผลาญเพื่อตอบสนองความตองการที่ไมสิ้นสุดในยุคทุนนิยม บริโภคนิยม พรอมๆ กับการเขามาของเทคโนโลยีใหมๆ ที่สามารถเปลี่ยนสภาพของธรรมชาติไดในเวลาอันสั้น ขณะที่ “ระบบสิ ท ธิ ชุ ม ชน วั ฒ นธรรมชุ ม ชน” ก็ กํ า ลั ง ถู ก บ อ นเซาะด ว ยลั ท ธิ ป จ เจกนิ ย มของการเมื อ งแบบ ประชาธิปไตยตัวแทนอยางรุนแรง เชนนี้ ระบบชลประทานชุมชนที่เรากําลังพูดถึงนี้จะยืนยงอยูไดบนฐานของการ จัดการทรัพยากรของชุมชนทองถิ่นอยางยั่งยืน จึงอยูทามกลางภาวะทาทายที่สูงยิ่ง 141


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

โดยเฉพาะพื้นที่ชลประทานชุมชนหนองแค-สวนสวรรคที่ถูกกําหนดใหเปนสวนหนึ่งของพื้นที่อางเก็บน้ํา เขื่อนหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ เขื่อนตัวที่ใหญที่สุดของโครงการโขง ชี มูล ชาวชุมชนแหงนี้มิไดนิ่งนอนใจหรือสยบ ยอม แตพวกเขากําลังแสดงสิทธิในการรวมกลุมตอตาน เรื่องจะจบลงอยางไร ยอมเปนตัวสะทอนคุณภาพของสังคม การเมืองไทยไดดีอีกบทหนึ่ง 5. อนาคต: สิทธิชุมชนในการจัดการน้ําและการเปลี่ยนแปลงที่จะมาถึง เนื่องจากขอจํากัดของระบบสิทธิโดยรัฐที่รับรองกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรเพียง “ของรัฐ” และ “ของเอกชน” (บุคคล) โดยการรับรองสิทธิตามกฎหมาย ในไมชาไมนานจะมีการบังคับใช “พระราชบัญญัติทรัพยากรน้ําแหงชาติ” ซึ่งมีเปาหมายในการรวบอํานาจการจัดการสูศูนยกลาง และไมยอมรับสิทธิโดยจารีตประเพณีเขาสูกระบวนการมี สวนรวมในการจัดการ (การเขาถึง การใชประโยชน และการดูแลรักษา) ยอมจะกอใหเกิดความขัดแยงทั้ง 3 มิติที่ กลาวมาและกอใหเกิดผลกระทบและการละเมิดสิทธิโดยจารีตประเพณีระบบอื่น ๆ เชน สิทธิในภูมิปญญา ระบบ ความยุติธรรมและศีลธรรมในชุมชน โดยเฉพาะสิทธิในการอยูเปนชุมชน ในทิศทางการรวบอํานาจดังกลาวนี้ ระบบ สิทธิตามจารีตประเพณีจึงปะทะกับระบบสิทธิโดยรัฐ ตั้งแตระดับแนวคิดอุดมการณ กลไกทุกระดับ โดยเฉพาะ องคการบริหารสวนทองถิ่น ซึ่งอยูใกลชิดระบบสิทธิจารีตประเพณีมากที่สุด (ซึ่งอาจจะเกิดปญหาความขัดแยงใน ระดับทองถิ่นหากการบริหารการพัฒนาทองถิ่นโนมเอียงและรับใชสิทธิโดยรัฐเพียงระบบเดียวหรือมุงพัฒนาตาม ภาวะทันสมัย) อีกนัยยะหนึ่งนั้น เชื่อวาจะเปนการเพิ่มเชื้อแหงการตอสูและตอรองทางอํานาจ ทางความรู ในการ ปฏิบัติการใชสิทธิโดยจารีตประเพณี เพื่อยืนยันสิทธิของชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และระบบสิทธิ ตามจารีตประเพณีระบบอื่น ๆ ใหมีความเขมขนขึ้น เพราะชาวชุมชนทองถิ่นกําลังมีประสบการณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งดานการเห็นความลมเหลวของการพัฒนาที่ รวบอํานาจอยูสวนกลาง ความไรประสิทธิภาพและความไมเปนธรรมของระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยตัวแทน และการลางผลาญทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ที่สําคัญ พวกเขามีความกลาหาญขึ้นเรื่อยๆ ที่จะลุกขึ้นมา แสดงสิทธิอํานาจของตนเองเยี่ยงมนุษยที่มีศักดิ์ศรีเทาเทียมกับคนกลุมอื่นในสังคม

เอกสารอางอิง ดนุพล ไชยสินธุ และคณะ, 2547. สิทธิชุมชนทองถิ่น ภาคอีสาน. ดิรก สาระวดี และคณะ, 2550. รายงานผลการศึกษาวิจัย การศึกษาภูมิปญญาทองถิ่นและสถานภาพความรู การบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในลุมน้ําชีตอนบน. โครงการศึกษาวิจัยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ . คณะพหุ ภ าคี วิ จั ย มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น และเครื อ ข า ยภาคี วิ จั ย ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ. รุงวิชิต คํานาม และคณะ, 2548. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ โครงการวิจัย การจัดการน้ําระบบยอยโดยองคกร ชุมชน กรณีการศึกษากุดขาคีม ตําบลกุดขาคม อําเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร. สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. 142


ชลประทานชุมชนในพื้นที่บุ่งทามลุ่มน้ํามูนตอนกลาง บ้านหนองแค – สวนสวรรค์ / สนั่น ชูสกุล

วิเชียร เกิดสุข, ประสิทธิ ประคองศรี และ พัชรินทร ฤชุวรารักษ, 2551. รายงานผลการวิจัย ระหัดวิดน้ํา ภูมิ ป ญ ญาท อ งถิ่ น ลํ า น้ํ า ปะทาว ตํ า บลนาฝาย อํ า เภอเมื อ ง จั ง หวั ด ชั ย ภู มิ . สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นา มหาวิทยาลัยขอนแกน. วิเชียร เจริญสุข และพัชรินทร ฤชุวรารักษ, 2550. รายงานผลการศึกษาวิจัย การศึกษาภูมิปญญาทองถิ่นและ สถานภาพความรูการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในลุมน้ําชีตอนบน. โครงการศึกษาวิจัยการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. คณะพหุภาคีวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแกน และเครือขายภาคีวิจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและการเกษตร กระทรวงวิทยาศาสตรฯ, 2551. จากการเรียนรูสูการจัดการ ทรัพยากรน้ํา บานลิ่มทอง ตําบลหนองโบสถ อําเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย. สนั่น ชูสกุล, 2548. กรณีการจัดการพื้นที่ชุมน้ํา. เวทีนโยบายสาธารณะเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอยาง เปนธรรมและยั่งยืน, 18-19 ธันวาคม 2548 ที่จังหวัดศรีสะเกษ. สนั่น ชูสกุล และคณะ, 2549. โครงการสิทธิชุมชนศึกษาภาคอีสาน กรณีศึกษาลุมน้ํามูน. สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. อรุ ณ หวายคํ า , 2550. วนเกษตร เกษตรกรรมยั่ ง ยื น ในภาคี อี ส าน. กรมส ง เสริ ม คุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ ม กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม. Fukui Hayao, 2008. List of Thomnop Inventory in Northeast Thailand. Southeast Asian Studies Ritsumeikan Asia Pacific University (APU). March 1, 2008

รายชื่อนักวิจัยไทบาน บานสวนสวรรค ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ 1) นายดนตรี สีหบุตร 2) น.ส.เรือง นิละบุตร 3) นางสําราญ สุระบุตร 4) นายเล็ง สมศรี 5) นายไล สมศรี 6) นางหนูเต็ม ศรีสวยเปา 7) นางกองศรี สมศรี 8) นางเดือน ติละบาล

143


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

บานหนองแค ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ 1) นายแหวน สุระบุตร 2) นายเพ็ง อาจศ

144


บทที่ 9 บทบาทคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ กับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุมน้ํา สมคิด สิงสง ประธานคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ

ความเปนมา ประเทศไทยแบงพื้นที่ลุมน้ําหลักของประเทศออกเปน 25 ลุมน้ํา ลุมน้ําชีเปน 1 ใน 25 ลุมน้ําหลักของ ประเทศ มีการจัดตั้งองคกรลุมน้ําตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา พ.ศ. 2532 แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 ซึ่งบังคับใชอยูในเวลานั้น1 คือมีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการลุมน้ําใน ป พ.ศ. 2546 โดยแบงคณะอนุกรรมการลุมน้ําออกเปน 2 สวน ไดแกคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน และ คณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนลาง2 โดยมีสํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 กรมทรัพยากรน้ํา (ทน.) กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (ทส.) ทําหนาที่เปนฝายเลขานุการของคณะอนุกรรมการลุมน้ํา มีการ ตั้งคณะทํางานลุมน้ําระดับตางๆ ตามทองที่การปกครอง คือคณะทํางานระดับจังหวัด ระดับอําเภอ และระดับตําบล ครอบคลุมพืน้ ที่ลุมน้ําชีทั้งหมด มีการจัดทําแผนแมบทในการบริหารจัดการลุมน้ํา มีระบบฐานขอมูล GIS/MIS ใหกับคณะอนุกรรมการลุมน้าํ และคณะทํางานตางๆ แตการปฏิบัติงานก็ยังไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร เนื่องจากมี งบประมาณไมเพียงพอ ทั้งสวนราชการตางๆ ก็ยังไมใหความสําคัญเทาที่ควร เนื่องจากยังไมมีกฎหมาย หรือ พ.ร.บ. รองรับการทํางานขององคกรลุมน้ําดังกลาว และสวนราชการตางๆ ยังไมมีความเขาใจเปนเอกภาพในเรื่อง การบริ ห ารจั ด การเป น ระบบลุ ม น้ํา ทํา ให ก ารปฏิ บั ติ ที่ เ ป น จริ ง ของส ว นราชการจึ ง มี ลั ก ษณะต า งฝ า ยต า งทํา การบูรณาการในเชิงพื้นที่ไมสามารถดําเนินการไดดี โดยเฉพาะในลุมน้ําที่มีพื้นที่คาบเกี่ยวหลายจังหวัด

คณะทํางานลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ ลุมน้ําหวยสามหมอ เปนสาขา 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชี ที่มีพื้นที่คาบเกี่ยวมากกวา 1 จังหวัด เนื่องจากครอบคลุมบางสวนของจังหวัดขอนแกนและจังหวัดชัยภูมิ จึงมีการเรียกรองของอนุกรรมการลุมน้ําชี ตอนบนในเวลานั้นและคนในพื้นที่ลุมน้ําสาขาหวยสามหมอใหมีการจัดตั้งองคกรลุมน้ําสาขาขึ้น เพื่อเปนองคกรที่ สามารถบริหารจัดการทรัพยากรน้ําเปนระบบลุมน้ําไดจริง ดังนั้นในปงบประมาณ พ.ศ. 2549 ชวงไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2548 จึงมีการเคลื่อนไหวเตรียมการใน การจั ดตั้งองคก รลุม น้ําสาขาห วยสามหมอ ซึ่ งตอ มาก็ คือคณะทํางานลุ มน้ําหวยสามหมอ ประกอบกั บ ทน. มี นโยบายใหจัดตั้งการบริหารจัดการลุมน้ําสาขานํารอง เนื่องจากการบริหารจัดการลุมน้ําขนาดใหญไมสามารถ ดําเนินการไดเปนรูปธรรม เพราะงบประมาณมีจํากัด ลุมน้ําชีจึงไดกําหนดลุมน้ําหวยสามหมอเปนลุมน้ําสาขานํา รองของคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน โดยใหสํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน สํานักงานทรัพยากร 1

ปจจุบันระเบียบดังกลาวไดแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550 ภายใตระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ แกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3 พ.ศ. 2550 คณะอนุกรรมการลุม น้ําหลักของประเทศ ยกฐานะขึ้นเปนคณะกรรมการลุมน้ํา เดิมองคกรลุมน้ําของลุมน้ําชีมี 2 คณะคือคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน และ คณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนลาง ปจจุบันควบรวมเปนองคกรเดียว คือคณะกรรมการลุมน้ําชี 2


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

น้ําภาค 4 เปนผูดําเนินการ และในเวลานั้นสํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบนไดเริ่มทํางานรวมกับ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงฝายไทย และกําลังหาพื้นที่นํารองดําเนินการเชนกัน สํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชี ตอนบนจึงไดเสนอลุมน้ําหวยสามหมอเปนลุมน้ํานํารองในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงดวย โดยมีเหตุผลดังนี้ (1) ลุมน้ําหวยสามหมอมีพ้นื ที่การปกครองมากกวา 1 จังหวัด (2) คณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอมีความเขมแข็งและมีความตั้งใจในการทํางานสูง (3) เปนลุมน้ําสาขาขนาดเล็กสามารถจัดทําแผนการบริหารจัดการไดงาย (4) เหมาะสมที่ จ ะเป น รู ป แบบจํ า ลองการบริ ห ารจั ด การให กั บ ลุ ม น้ํ า สาขาอื่ น ของลุ ม น้ํ า ชี และลุมน้ําอื่นๆที่สนใจ

ลุมน้ําหวยสามหมอในฐานะโครงการนํารองของคณะกรรมาธิการลุมน้ําโขง ภายใตกรอบอนุ ภาคลุ มน้ําโขงตอนลาง ซึ่ง ครอบคลุมบางสวนของประเทศสาธารณรั ฐประชาธิ ปไตย ประชาชนลาว ประเทศไทย ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม และประเทศกัมพูชา มีองคกรความรวมมือ ระหวางประเทศคือคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC)3 ไดแบงพื้นที่ลุมน้ํายอยของ ลุมน้ําโขงตอนลางออกเปน 10 ลุมน้ํายอย ในจํานวนนี้มี 3 ลุมน้ํายอยที่อยูในพื้นที่ประเทศไทย คือลุมน้ํายอย 2T (อยูในพื้นที่ลุมน้ําโขงภาคเหนือ) ลุมน้ํายอย 3T (อยูในพื้นที่ลุมน้ําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) และลุมน้ํายอย 5T (ในในพื้นที่ลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล) คณะทํางานลุมน้ํายอย 5 T ภายใตสํานักงานคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงแหงชาติไทย (TNMC) ไดเลือก ลุมน้ําหวยสามหมอเปนโครงการนํารองในพื้นวิกฤติดานการวางแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา เปนระบบลุมน้ํา คูขนานไปกับโครงการนํารองในพื้นที่ลุมน้ําสาขาของ ทน.

กระบวนการจัดตั้งคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ การดําเนินการเริ่มจากการจัดเวทีประชุมระดับตําบล วางเครือขายการบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ จากนั้นคัดเลือกผูแทนเครือขายจัดตั้งคณะทํางานลุมน้ําขึ้น นําคณะทํางานที่เครือขายเสนอใหคณะอนุกรรมการลุม น้ําชีตอนบนพิจารณาแลวออกคําสั่งแตงตั้งตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา แหงชาติ ตอมาโครงการวางแผนลุมน้ํา (Basin Development Plan) ของ MRC ไดเขามารวมกับคณะทํางานฯ จัดทําวิสัยทัศนและแผนยุทธศาสตรลุมน้ํา เพื่อกําหนดทิศทางการทํางานของคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ ดําเนินการในชวงไตรมาสที่ 4 ของป พ.ศ. 2548 ตอเนื่องไปถึงไตรมาสที่ 3 ของป พ.ศ. 2549 และแลวเสร็จในเดือน กรกฎาคม 2549 วิสัยทัศนคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอคือ “ลุมน้ําหวยสามหมอมีองคกรเขมแข็งเพื่อการจัดการน้ํา อยางยั่งยืน ฟนความอุดมสมบูรณใหธรรมชาติ โดยภูมิปญญาชุมชนและรัฐ” มีการกําหนดแผนชุมชนลุมน้ํา หวยสามหมอขึ้น องคประกอบที่สาํ คัญของแผนประกอบดวย (1) แผนแหลงน้ําชุมชน (2) แผนเกษตรอินทรีย อาชีพและรายได 3

รายละเอียดโปรดดู http://www.mrcmekong.org

146


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

(3) แผนสงเสริมศักยภาพองคกรลุมน้ําและฟนฟูสิ่งแวดลอม (4) แผนหลักสูตรทองถิ่น องคความรูและระเบียบชุมชน (5) แผนสงเสริมบทบาทสตรีและเยาวชน ในชวงระยะบุกเบิก 3 ปแรก (พ.ศ. 2549–2551) มีการขับเคลื่อนแผนชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอทั้ง 5 แผน ดวยความรวมมือและการสนับสนุนของสวนราชการ ทน. สถาบันอุดมศึกษาในทองถิ่น เชน มหาวิทยาลัยขอนแกน องค ก รปกครองส ว นท อ งถิ่ น และคณะกรรมาธิ ก ารแม น้ํ า โขง (MRC) โดยโครงการวางแผนลุ ม น้ํ า (BDP) และ โครงการจัดการลุมน้ํา (WSMP) ตอมาธนาคารโลก (World Bank, WB) ไดเห็นความตั้งใจจริงของสํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชี ตอนบนและคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ จึงไดสนับสนุนงบประมาณจํานวนหนึ่ง ในป พ.ศ.2551 จัดทําโครงการ สงเสริมสนับสนุนแผนชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอ จํานวน 25,000 เหรียญสหรัฐ โดยผานมูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต เพื่อใหมีกระบวนการขับเคลื่อนแผนชุมชนลุมน้ํา จนถึงขั้นการการศึกษาความเหมาะและความเปนไปได สํารวจ ออกแบบสิ่งกอสราง และจัดทําแผนปฏิบัติการ (implementation plan) ผลักดันแผนงานโครงการทั้งหลายเขาสู ระบบการจัดทํางบประมาณเพื่อดําเนินการตอไป

สรุปและขอเสนอแนะ ขอจํากัดที่ทําใหองคกรลุมน้ําระดับตางๆ ยังไมเขมแข็งพอ สามารถสรุปไดดังนี้ 1. ปญหาระดับนโยบายของรัฐบาล ดานนโยบาย รัฐบาลยังไมมีความชัดเจนในนโยบายดานการอนุรักษ พัฒนา จัดหา และจัดการทรัพยากร น้ํา วาจะสามารถทําใหนโยบายดังกลาวกลายเปนแผนปฏิบัติการไดอยางไร รวมทั้งดานกฎระเบียบราชการ ยังไมมี กฎหมายที่วา ดวยการบริหารจัดการลุมน้ําตามหลักการบริหารจัดการแบบผสมผสานที่ชัดเจน ที่สําคัญคือรัฐบาลยัง ไมไดวางน้ําหนักที่สมควรและชอบดวยเหตุผล ในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทําใหการบริหารจัดการ เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมมีงบประมาณเพียงพอสําหรับดําเนินการ กลาวโดยรวมคือรัฐบาลละเลย ที่จะปฏิบัติแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว สมควรมีการหยิบยกขึ้นมาเปนประเด็นเรียกรองตอ รัฐบาลในเรื่องนี้ 2. ปญหาที่เกิดจากสวนราชการ สวนราชการที่มีอํานาจหนาที่ดานทรัพยากรน้ํามีจํานวนมาก แตการปฏิบัติไมมีเอกภาพ ระบบราชการไม สามารถบูรณาการกันไดจริง จึงไมอาจตอบสนองความตองการของประชาชนไดจริง เนื่องจากเปาหมายไมชัด ระบบฐานขอมูลความรูไมเพียงพอ ไมเปนปจจุบัน ไมสามารถเชื่อมโยงระบบไดจริง ทั้งขาดความตอเนื่อง จึงไมได รั บ การยอมรั บ จากประชาชน การบริ ห ารจั ด การเป น ระบบลุ ม น้ํ า ยั ง ไม ไ ด รั บ การยอมรั บ จากทุ ก ส ว นราชการ เนื่องจากมีระบบบริหารจัดการเปนระบบทองที่การปกครองที่ถือใชมากอนนับรอยป

147


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

3. องคกรลุมน้ํา กฎระเบี ย บที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช อ ยู ใ นป จ จุ บั น คื อ ระเบี ย บสํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว าด ว ยการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรน้ําแหงชาติ (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) กําหนดหนาที่ใหแกองคกรลุมน้ํามากมาย แตไมมีอํานาจที่ แทจริงในทางปฏิบัติ ผนวกกับปญหางบประมาณไมเพียงพอ ทําใหการทํางานขององคกรลุมน้ําไมมีความตอเนื่อง ไมมีระบบฐานขอมูลและองคความรูที่ดีพอ ทั้งสัดสวนในคณะกรรมการลุมน้ําที่เปนภาคประชาชนก็มักจะมีจํานวน นอยกวาภาคราชการ การมีสวนรวมตามหลักการบริหารจัดการแบบผสมผสานจึงไมเปนจริง 4. ประชาชน ไมมีความเขาใจในบทบาทการมีสวนรวม ขาดโอกาสและขาดกระบวนการเรียนรู ทําใหไมมีขอมูล ไมมี องคความรู หรือรูแตไมมีจิตสํานึกที่จะปฏิบัติ เรียกรองสิทธิมากเกินไป สนใจแตการพัฒนาเชิงวัตถุ จึงขาดพลัง สรางสรรคที่จะนําพาชุมชนไปสูอนาคตที่ดีงาม

บทนํา หลังการปฏิรูประบบบริหารราชการแผนดินเมื่อป พ.ศ. 2545 มีการสถาปนากรมทรัพยากรน้ําขึ้นสังกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และมีการแกไขระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ. 2532 ยังผลใหประเทศไทยเริ่มนําเอาระบบบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ํามาถือ ใช โดยที่มีการจําแนกลุมน้ําภายในประเทศออกเปน 25 ลุมน้ําหลัก ในจํานวนนั้นมีลุมน้ําชีรวมอยูดวย ลุมน้ําหวยสามหมอเปน 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชี ไดรับคัดเลือกใหมีการดําเนินงานบริหารจัดการ เป น ระบบลุ ม น้ํ า เป น โครงการนํ าร อ งภายใต ค ณะอนุ ก รรมการลุ ม น้ํ าชี ต อนบน (ในเวลานั้ น ) โดยมี สํ านั ก งาน ทรัพยากรน้ําภาค 4 กรมทรัพยากรน้ํา ในฐานะสํานักงานเลขานุการคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน เปนผูใหการ สงเสริมตอมาไดรับการสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง โดยหนวยงาน Basin Development Plan, BDP และ Watershed Management Project (MRC-GTZ Cooperation Programme) รวมทั้งธนาคารโลก (World Bank) และหนวยงานอื่นๆ ที่กําลังมีการติดตอสัมพันธกันในความรวมมือบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ เปน ระบบลุมน้ํา เนื้อหาของบทความนี้มุงหมายใหเห็นกระบวนการและขั้นตอนตางๆ ในการดําเนินงาน ถือวาเปนการ รวบรวมบทเรียนในระยะบุกเบิก เพื่อนําเสนอสูเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ทั้งเวทีภายในและระหวางประเทศ เพื่อรวมกันสรางตนแบบการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําภายใตสภาพเงื่อนไขเฉพาะของลุมน้ําหวยสามหมอ อัน อาจขยายผลใหลุมน้ําอื่นๆ ไดเรียนรูและนําไปสูการเริ่มตนบุกเบิกบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําในพื้นที่นั้นๆ เราเชื่อวาการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําคงไมมีสูตรสําเร็จใหลอกเลียนกันไดโดยสิ้นเชิง ลุมน้ําหวยสาม หมอไดผานการลองผิดลองถูกมาในชวงระยะเวลา 3 ปเศษ (พ.ศ. 2549-2551) เพิ่งจะเริ่มมีการสรุปบทเรียนใน ระยะบุกเบิก ยังตองการระยะเวลาอีกยาวนานในการดําเนินงาน และสะสมบทเรียนที่ไดจากการปฏิบัติจริงใหอุดม สมบูรณยิ่งขึ้น ดวยหวังในการสงเสริมและสนับสนุนจากทางราชการและองคกรเอกชนทั้งภายในและระหวาง ประเทศเฉกเชนนี้สืบไป โดยที่ตองยืนอยูบนหลักการพึ่งตนเองอยางยิ่งยวดดวย 148


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

วัตถุประสงค 1. เพื่อสรุปบทเรียนของคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอในระยะบุกเบิก 3 ปแรก (พ.ศ.2549–2551) และนํา บทเรียนนี้มาทบทวนและพัฒนาในการขับเคลื่อนแผนชุมชนลุมน้ําในระยะตอไป 2. เพื่อนําเสนอบทเรียนดังกลาวในการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันในบรรดาองคกรลุมน้ําในประเทศไทย และ กลุมประเทศในลุมแมน้ําโขง 3. เพื่อนําเสนอประเด็นประสิทธิภาพการจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนประเทศไทย และบทบาทของ คณะกรรมการลุมน้ํา

ขอมูลทั่วไป 1. ขอมูลทางภูมิศาสตร ลุมน้ําหวยสามหมอเปน 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชี ตั้งอยูในทองที่ 4 อําเภอของ 2 จังหวัด ไดแก อําเภอโคกโพธิ์ไชย จังหวัดขอนแกน อําเภอคอนสวรรค อําเภอแกงครอ และอําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ มีพื้นที่ ลุมน้ําประมาณ 729 ตร.กม. หรือ 455,625 ไร คิดเปนรอยละ 1.47 ของพื้นที่ลุมน้ําชี พื้นที่ลุมน้ําประกอบดวยพื้นที่ ปาไมประมาณ 94,831 ไร พื้นที่แหลงน้ําประมาณ 1,358 ไร พื้นที่ชุมชนและอื่นๆ ประมาณ 40,718 ไร เหลือพื้นที่ ถือครองทางการเกษตรประมาณ 318,718 ไร ขอบเขตลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ ภูมิประเทศของลุมน้ําหวยสามหมอ ดานทิศตะวันตกและทิศใตติดกับลุมน้ําชีสวนที่ 2 ดานทิศเหนือติดกับ ลุมน้ําลําน้ําเชิญ และทิศตะวันออกติดกับลุมน้ําลําน้ําชีสวนที่ 3 ทิศตะวันตก ดานทิศใตติดกับลุมน้ําลําน้ําชีสวนที่ 2 ลักษณะลุมน้ําเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส พื้นที่สันปนน้ําดานทิศใต และทิศตะวันออก เปนสันเขาสูงของเทือกเขา ระดับ ความสูงประมาณ 800 เมตร รทก. บริเวณเทือกเขาแลนคาทางดานทิศตะวันตก แลวออมไปทางทิศใต บริเวณ เทือกภูโคง และทิศตะวันออกเปนเทือกเขาภูเม็ง ซึ่งมีความสูงประมาณ 400-600 เมตร รทก. แลวลาดต่ําลงสูที่ราบ ลุมตรงกลางบริเวณอําเภอแกงครอ มีความสูง 100-200 เมตร รทก.แลวไหลในแนวตะวันตกเฉียงใตลงสูลําน้ําชี 2. จํานวนประชากร ขอมูลของระบบศูนยรวมของมูลกลางองคกรปกครองสวนทองถิ่น ระหวางป พ.ศ.2550–2552 รายงานวา ในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอมีจํานวนหลังคาเรือน 34,244 หลังคาเรือน มีจํานวนประชากรในลุมน้ํา 136,196 คน ดัง แสดงในตารางที่ 1 ขางลางนี้

149


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ตารางที่ 1 แสดงขอมูลจํานวนหลังคาเรือนและประชากรของลุมน้ําหวยสามหมอปจจุบัน4

3. ขอมูลทางอุตุและอุทกวิทยา สภาพภูมิอากาศของลุมน้ํา ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ปริมาณฝนเฉลี่ยปละประมาณ 1,110 มม. โดยปริมาณฝนสูงสุดจะเกิดขึ้นในชวง เดือนกันยายน อุณหภูมิเฉลี่ยรายเดือนประมาณ 27.1 องศา เซลเชียส ความชื้นสัมพัทธ เฉลี่ยรายเดือนประมาณ 69 เปอรเซ็นต ปริมาณน้ําทาตามธรรมชาติเฉลี่ยปละประมาณ 149 ลาน ลบ.ม. มีปริมาณน้ําทารายเดือนเฉลี่ยสูงสุดในชวงเดือนตุลาคม ประมาณ 61.4 ลาน ลบ.ม. 4. ลักษณะทางธรณีวิทยา ภูมิสัณฐานและกลุมชุดดิน จากการศึกษาพบวาในพื้นที่ลุมน้ําชี มีลักษณะดินที่พบแบงเปน 3 ลักษณะ คือ ดินที่เกิดบริเวณที่ราบน้ําทวมถึงและที่ราบระหวางภูเขา ดินที่เกิดบริเวณลานตะพักลําน้ํา และดินบริเวณพื้นผิวที่ เหลือคางจากการกัดกรอน ภูมิสัณฐานและกลุมชุดดินในลุมน้ําหวยสามหมอ สภาพดินในพื้นที่ลุมน้ํา รอยละ 51.82 เปนดินที่เกิดบนพื้นผิวที่เหลือคางจากการกัดกรอน และที่ราบเชิงเขา พื้นที่ที่เหลือรอยละ 6.98 เปนดินที่เกิดบนที่ ราบน้ําทวมถึงและสันดินริมน้ํา รอยละ 6.71 เปนดินที่เกิดบนลานตะพักลําน้ําระดับต่ํา และลานตะพักลําน้ําคอนขาง ใหม รอยละ 26.65 เปนดินที่เกิดบนพื้นที่ลานตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง รอยละ 7.64 เปนพื้นที่ภูเขาที่ เหลือรอยละ 0.22 เปนแหลงน้ําและอื่นๆ

4

ขอมูลนี้อาจไมตรงตามความเปนจริงของขอมูลลุมน้ํา เนื่องจากบางตําบลมีเพียงบางสวนที่อยูในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ แตขออางอิงขอมูลนี้ ไวกอน สวนขอเท็จจริงคณะทํางานลุม น้ําหวยสามหมอจะทําการทบทวนและตรวจสอบใหมใหเปนปจจุบัน

150


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

5. การใชที่ดิน ระบบฐานขอมูล GIS ของลุมน้ําหวยสามหมอ รายงานเรื่องการใชที่ดิน ปรากฏดังภาพที่แสดงแสดงใน รูปที่ 1 ขางลางนี้

รูปที่ 1 แสดงการใชที่ดินพื้นทีล่ ุมน้ําหวยสามหมอ จากพื้นที่ลุมน้ํารวม 729 ตารางกิโลเมตร หรือ 455,625 ไร จําแนกเปนพื้นที่ปาไมประมาณ 94,831 ไร (20%) พื้นที่แหลงน้ําประมาณ 1,358 ไร (0.30%) พื้นที่ถือครองเพื่อการเกษตร 318,718 ไร (69.95%) พื้นที่ชุมชน และอื่นๆ ประมาณ 40,718 ไร (8.94%) ในพื้นที่ถือครองเพื่อการเกษตร 317,718 ไร เอกสารรายงานลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ โครงการจัดทําแผน รวมการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ําชี (กรมทรัพยากรน้ํา 2549) ระบุวา ปจจุบันไดมีการพัฒนาพื้นที่ ลุมน้ําเพื่อการเกษตรในเขตชลประทานไปแลว แบงออกเปนโครงการชลประทานขนาดเล็ก 16,182 ไร โครงการ ชลประทานขนาดกลาง 11,000 ไร ดังนั้นพื้นที่ที่มีศักยภาพที่จะศึกษาความเปนไปไดในการพัฒนาทั้งหมดใน ปจจุบันมีประมาณ 297,555 ไร ขอมูลดังกลาวระบุวาเฉพาะโครงการขนาดเล็ก 32 โครงการ มีรายละเอียดแสดงตามตารางที่ 2 151


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ตารางที่ 2 แสดงขอมูลโครงการชลประทานขนาดเล็กที่พัฒนาแลวในลุมน้ําหวยสามหมอ

สวนขอมูลที่คณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอไดทําการสํารวจในพื้นที่จริงพื้นที่ชลประทานโดยรวมภายใน ขอบเขตลุ ม น้ํ า มี อ ยู ไ ม เ กิ น 5,000 ไร จํ า แนกเป น พื้ น ที่ รั บ น้ํ า ที่ ผั น ข ามลุ ม น้ํ า มาจากอ างลํ า ปะทาว ผ า นระบบ โรงงานผลิตไฟฟาพลังน้ําที่ตําบลนาหนองทุม อําเภอแกงครอ ถึงแมวาจะมีปริมาณน้ําถึงปละกวา 30 ลานลูกบาศก เมตร แตสามารถนําน้ําไปใชในระบบชลประทานไดเพียงไมเกิน 3,000 ไร เนื่องจากไมมีระบบคลองไสไกสงน้ําไป 152


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

ยังพื้นที่การเกษตรนอกบริเวณสองฝงคูคลองสายประธานที่เหลืออีกไมเกิน 2,000 ไรทางที่ราบลุมทายน้ําเปนน้ําที่ ไดจากโครงการชลประทานขนาดกลางซึ่งก็เปนอานิสงจากปริมาณน้ําที่ไหลลงมาจากโรงไฟฟาพลังน้ําดังกลาวเปน สวนใหญ สําหรับโครงการชลประทานขนาดเล็ก 32 แหงที่ระบุวาไดพื้นที่ชลประทานถึง 16,182 ไรนั้น ขอเท็จจริงคือ ไมมีพื้นที่ชลประทานแมแตไรเดียว ทั้งนี้เนื่องจากตัวเลขดังกลาวคํานวณเอาจากศักยภาพของการเก็บกักในกรณีที่ มีปริมาณน้ําระบายออกสูพื้นที่ทําการเพาะปลูก ซึ่งในสภาพปจจุบันไมมีอางเก็บน้ําขนาดเล็กแหงใดเลยที่อยูใต เงื่อนไขดังกลาว เนื่องจากสภาพแวดลอมทางธรรมชาติของระบบนิเวศลุมน้ําในปจจุบันเปลี่ยนแปลงไปแลว พื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอประกอบดวยชุดดินตางๆ 16 ชุดดิน ที่สําคัญประกอบดวยชุดดินเลย จัตุรัส รวมกันไดทั้งหมดประมาณรอยละ 58.04 ของพื้นที่ ชุดดินเหลานี้เหมาะสําหรับการทํานาและปลูกพืชไร การศึกษา แผนการใชประโยชนที่ดินในอนาคตในลุมน้ําสาขาหวยสามหมอพบวา มีพื้นที่ดินที่มีความเหมาะสมดีสําหรับปลูก พืชไร 191,093 ไร เหมาะสมดีสําหรับปลูกไมผล 19,340 ไรและพื้นที่ดินที่ไมเหมาะสมสําหรับการเกษตร 25,712 ไร ปจจุบันพื้นที่ทั้งหมดดังกลาวเปนพื้นที่นาน้ําฝน การเกษตรพื้นที่นอกเขตชลประทาน พืชที่นยิ มปลูกคือขาวเพื่อการบริโภค สวนที่เหลือนําไปจําหนาย พันธุ ขาวที่นิยมคือขาวดอกมะลิ 105 กข6 กข15 ผลผลิตเฉลีย่ ประมาณ 350 กก./ไร พืชไรที่ปลูกคือมันสําปะหลัง ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 2,500 กก./ไร ออยโรงงานผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 7,500 กก./ไร ขาวโพดเลี้ยงสัตวมีแนวโนม ตลาดที่ดี ผลผลิตเฉลี่ยประมาณ 661 กก./ไร ถั่วเหลืองมีตลาดกวางขวาง ผลผลิตเฉลี่ย 250 กก./ไร ไมผลยืนตนที่ สําคัญคือมะมวง มีตลาดรองรับทั้งบริโภคสดและ แปรรูป การเลี้ยงสัตวมีโค กระบือ สุกร เปด ไก มีการเลี้ยงปลาใน บอ หรือในนาขาว เพื่อเสริมรายได พื้นที่ในเขตชลประทาน รูปแบบการปลูกพืชเปนขาว-ขาว ขาว-พืชไร (ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ถั่วเขียว) รวมทั้งมีการเลี้ยงปลา 6. สถานการณปาไม พื้นที่ลุมน้ําทั้งหมดมี 455,625 ไร เปนพื้นทีป่ าไมรวม 44,643.97 ไร หรือเทากับรอยละ 9.80 ของพืน้ ที่ลุม น้ํา จําแนกเปนปาไมที่ยังมีสภาพปาคอนขางดี 42,276.31 ไร หรือรอยละ 9.28 ของพืน้ ที่ลุมน้ําและปาไมเสื่อมโทรม 2,367.66 ไร หรือรอยละ 0.52 ของพืน้ ที่ลุมน้าํ พื้นที่เขตปาสงวนในลุมน้ําสาขาของลุมน้ําชีจําแนกออกเปน 3 ประเภท คือเขตพืน้ ทีป่ าอนุรักษ (C) เขต พื้นที่ปา เศรษฐกิจ (E) และเขตพื้นที่เหมาะสมกับการเกษตร (A) พืน้ ที่ปา สงวนแหงชาติทั้งสิ้น 81,206 ไรหรือรอย ละ 17.82 ของพื้นที่ลุมน้ํา สามารถจําแนกตามประเภทของปา คือเขตพื้นที่ปาอนุรักษ (C) 33,331 ไรหรือรอยละ 7.32 ของพืน้ ทีล่ ุมน้ํา เขตพื้นที่ปาเศรษฐกิจ (E) 42,144 ไรหรือรอยละ 9.25 ของพืน้ ที่ลมุ น้ํา และเขตพื้นที่เหมาะสม กับการเกษตร (A) 5,731 ไรหรือรอยละ 1.26 ของลุมน้ําสาขา สถานภาพทางกฎหมายของพื้นที่เขตปาอนุรกั ษปจจุบันในลุมน้ําหวยสามหมอสามารถสรุปไดดังนี้ จาก การตรวจสอบขอมูลเขตพื้นทีอ่ นุรักษ (C) เปรียบเทียบในชวงป พ.ศ.2535 (30,951 ไร) และ พ.ศ. 2545 (29,594 ไร) พบวาลุมน้ําหวยสามหมอมีพื้นที่ปาไมในเขตอนุรักษลดลงประมาณ 1,357 ไร สาเหตุที่ทําใหพื้นที่ปาไมในเขต 153


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

อนุรักษลดลง อาจเนื่องมาจากปญหาการตัดไมทําลายปา การบุกรุกพื้นที่เพื่อทําการเกษตร และทําไรเลื่อนลอย 7. สถานการณและปญหาทรัพยากรน้ํา ลุมน้ําหวยสามหมอมีปริมาณน้ําทาตามธรรมชาติเฉลี่ยปละประมาณ 149 ลานลบ.ม. ปริมาณน้ําทา รายเดือนเฉลี่ยสูงสุดเดือนตุลาคมเทากับ 61.4 ลานลบ.ม. มีปริมาณน้ํานอกลุมที่ผันลงมาผลิตกระแสไฟฟา เฉลี่ย ประมาณ 30 ลาน ลบ.ม. รวมปริมาณน้ําประมาณ 180 ลานลูกบาศกเมตรตอป ความตองการใชน้ําปจจุบัน เปนความตองการน้ําเพื่อการเกษตรเฉลี่ยปละประมาณ 38.04 ลานลบ.ม. โดย แบงเปนฤดูฝน 32.74 ลานลบ.ม. และฤดูแลง 5.29 ลาน ลบ.ม. ความตองการใชน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภค 4.14 ลาน ลบ.ม. ความตองการน้ําเพื่อการอุตสาหกรรม 0.81 ลาน ลบ.ม. และรักษาสมดุลนิเวศทายน้ํา ปละประมาณ 9.37 ลาน ลบ.ม. พื้นที่ชลประทานปจจุบันประมาณ 5,000 ไร

รูปที่ 2 แสดงความตองการใชน้ําในปจจุบันและอนาคต (องคการจัดการน้ําเสีย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2550) จากขอมูลน้ําทาและความจุอางเก็บน้ําในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ 455,625 ไร หรือ 729 ตร.กม. พบวามี ปญหาขาดแคลนแหลงน้ํา แหลงน้ําเดิมที่มีอยูแลวไมสามารถเก็บกักน้ําไดตามวัตถุประสงค รวมถึงพื้นที่ปาไมเสื่อม โทรมถูกบุกรุก สําหรับปญหาน้ําทวมมีเพียงเล็กนอยบริเวณจุดบรรจบลําน้ําหวยสามหมอกับลําน้ําชี 8. ทรัพยากรน้ําบาดาล ลักษณะทางอุทกธรณีวิทยาของลุมน้ําชีประกอบดวย (1) ชั้นน้ําบาดาลในหินรวนพวกกรวดทราย 154


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

(2) ชั้นน้ําบาดาลในหินแข็งชุดโคราช ประกอบดวย (ก) ชั้นน้ําบาดาลในหินแข็งชุดโคราชตอนบน (ข) ชั้น น้ําบาดาลใน หินแข็งใหน้ําชุดโคราชตอนกลาง (ค) ชั้นน้ําบาดาลในชั้นหินแข็งใหน้ําชุดโคราชตอนลาง และ (3) ชั้นน้ําบาดาลในชั้นหินแข็งใหน้ําชุดราชบุรี ลุมน้ําหวยสามหมอพื้นที่สวนใหญรอยละ 80 รองรับดวยหินตะกอนกลุมหินโคราช ชุดหินภูกระดึง ซึ่ง ประกอบดวยหินทรายแปง หินทราย หินดินดาน และหินกรวดมน ซึง่ น้าํ บาดาลเกิดอยูตามชองวาง และรอยแตก ของหิน ที่เหลือรองรับดวยชุดหินพระวิหาร ซึ่งประกอบดวยหินทราย หินทรายแปง และหินกรวดมน ที่ยกตัวเปน แนวสันเขาลอมรอบดานทิศตะวันออกเฉียงใต รองรับดวยหินเสาขัว ชุดหินภูพาน และชุดหินโคกกรวด ซึ่งชุดหิน ดังกลาวครอบคลุมพื้นที่รวมกันประมาณรอยละ 20 ชั้นน้ําบาดาลบริเวณขอบแองจะใหน้ําปริมาณนอยกวา 2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง คุณภาพดี จืด ในขณะที่บริเวณกลางแองชั้นน้าํ บาดาลที่ไดจากชุดหินภูกระดึง ไดน้ําอยูใน เกณฑปาน กลางถึงมาก ประมาณ 2-10 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมง คุณภาพน้ําปานกลางถึงดี ปริมาณสารทั้งหมดที่ ละลายได ประมาณตั้งแตนอยกวา 500 ถึง 1,500 มิลลิกรัมตอลิตร

รูปที่ 3 ขอมูลปริมาณน้ําใตดินพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ 9. พื้นที่ชั้นคุณภาพลุมน้ําในลุมน้ําสาขา ลุมน้ําหวยสามหมอมีพื้นที่สวนใหญอยูในชั้นคุณภาพลุมน้ํา 5 คิดเปนรอยละ 71.47 รองลงมาคือชั้น คุณภาพลุมน้าํ 4 รอยละ 16.91 ของพื้นที่ลุมน้ํา ชั้นคุณภาพลุมน้าํ 2 รอยละ 5.23 ชั้นคุณภาพลุมน้ํา 1A รอยละ 4.11 ชั้นคุณภาพน้ํา 3 รอยละ 1.76 และนอยที่สุดคือชั้นคุณภาพลุมน้ํา 1B คิดเปนรอยละ 0.51 ของพื้นที่ 155


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ลุมน้ํา

รูปที่ 4 แสดงการแบงชั้นคุณภาพน้ําของลุมน้ําหวยสามหมอ 10. ขอมูลเชิงตํานานและประวัติศาสตร เลาขานกันวา นานมาแลวยังมีพญาจระเขดุรายตนหนึ่ง อาศัยอยูในภูมินิเวศลําน้ําแหงนี้ ผูคนตางขยาดหวาดกลัว มิกลา กล้ํากรายลงในแหลงน้ํา ทั้งๆ ที่กอนหนานั้นเคยอาศัยเปนที่ทํามา หากิน เก็บหาพืชผักพืชน้ําและกุงหอยปูปลา ผูปกครองบานเมือง ในสมัยนั้นจึงไดประกาศหาผูกลามาปราบเดรัจฉานรายตนนี้ ทาว แสนคําเปนผูอาสาคนแรก แตไมสําเร็จ ทานขุนเรืองอํานาจอาสา ปราบเปนคนที่สองและไมสําเร็จเชนกัน รอนถึงแมนางยอดหญิง สตรีผูใชน้ําตัวจริงจึงสามารถกําจัดอิทธิฤทธิ์นั้นได นับแตนั้นมา แหลงลุมแหงนี้ จึงขนานนามวา “หวยสามหมอ” ตราบเทาทุก วันนี้

156

รูปที่ 5 ประติมากรรมปูนปนพญาแข ทานทาวแสนคํา ทานขุนเรื่องอํานาจ และแมนางยอดหญิง


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

มีตํานานเรื่องหมาบักทอก แปดศอกบทันมืนตา ยันภูผาขาดลงเปนบั้น เปนที่มาของนามภูผาเพ หนึ่งใน เทือกภูเม็งตอนลาง ที่เปนสันปนน้ําทางทิศตะวันออก เฉียงลงมาทางใต ที่ซึ่งน้ําหวยสามหมอไหลผานตรงชองสาม หมอ ตอกับเทือกภูโคง และภูแลนคาทางทิศใต และทิศตะวันตกของพื้นที่ลุมน้ํา นอกจากนี้ ลุม น้ําหวยสามหมอยังมีตํานานเลาขานเรื่องคนกลาอีกเรื่องหนึ่ง คืออาจารยดวง แมยาดี เลา ขานกันวา ทาวดวงผูนี้ มีวิชาอาคม เดินทางมาจากเมืองขุขันธ อาณาจักรเขมร มาบําเพ็ญตบะบารมีอยูในพื้นที่ลุม น้ําหวยสามหมอแหงนี้ ซึง่ ตรงกับในยุครัตนโกสินทรตอนตน เปน สมัยเดียวกับพระราชอาณาจักรศรีสัตนาคณหุตลานชาง ทั้งหลวง พระบาง เวี ย งจั น ทน และจํา ปาสั ก ได ต กอยู ใ นภายใต ข อบ ขั ณ ฑสี ม าแหงกรุงรัตนโกสินทร ในป พ.ศ. 2360 พญาแล ผูเปนขาราชสํานักเจาอนุวงศแหงกรุง เวียงจันทน ไดพาไพรพลมาราชการและพํานักอยูบานหนองน้ําขุน หรือหนองอีจาน ทองที่อําเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมาในปจจุบัน ตอมาเมื่อมีไพรพลมากขึ้น จึงเคลื่อนยายมายังโนนน้ําออม บานชี รูปที่ 6 หมาบักทอกในตํานานภูผาเพเพ ลอง และบานหลวง บริเวณหนองปลา เฒาและหนอง หลอดตามลําดับ และไดสงสวยทองคําตอกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งขุดได จากภูโขโหล จนไดรับบรรดาศักดิ์เปนพญาภักดีชุมพล เจาเมืองชัยภูมิคนแรกในสมัย รัตนโกสินทร และเลาขานกันวาพญาภักดีชุมพล ไดฝากตัวเปนศิษยทาวดวงแหงลุม น้ําหวยสามหมอ ผูคนจึงขนานนามกันวา “อาจารยดวง” นับแตนั้นมา ดวยเหตุที่เปน ครู ไมปรากฏวามียศถาบรรดาศักดิ์ ยอมแสดงวาทานผูนี้เปนผูสมถะ ไมอยากไดใครดี ในสิ่งสมมติอันจอมปลอม ผูคนทั้งหลายจึงเรียกขานกันวา “อาจารยดวง” อยางเต็ม ปากเต็มคํา ผูใดมีเรื่องทุกขรอน จะพากันไปบนบานสานกลาว เมื่อสมประสงคก็ไมลืม ที่จะนําเครื่องเซนไหวไปสักการะ รูปที่ 7 ปูดวง

ดังนั้นในทุกวันพุธของสัปดาห ศาลเจาอาจารยดวงที่ชองสามหมอ จะกรุนไปดวยกลิ่นธูปควันเทียน และผูคนมากหลาย เสมือนวา สถานที่แหงนี้ ดวงเทียนไมเคยดับมอด และดอกไมไมเคยเหี่ยว เฉาตราบนิรันดรกาล

รูปที่ 8 ศาลเจาปูดวงที่ชองสามหมอ

157


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ปญหาทาทายเรื่องการจัดการเปนระบบลุมน้ําของลุมน้ําหวยสามหมอ กวา 3 ปในการบุกเบิกระบบบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําขึ้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขา ของลุมน้ําชี เปน 3 ปที่หนักหนาสาหัส และมุงมั่นตั้งใจเปนอยางยิ่ง เนื่องจากมีสิ่งทาทายขวางหนาอยูหลายเรื่อง เรื่องแรก การบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ํา ภายใตรูปแบบผสมผสาน (Integrated Water Resources Management, IWRM) โดยพหุภาคี ทําไดจริงหรือ? ความสัมพันธระหวางฝายราชการกับฝายที่ไมใชราชการควร จะเปนเชนไร? เรื่องที่สอง เมื่อพูดถึงเรื่องทรัพยากรน้ํา ชาวบานผูใชน้ําทั้งหลายจะนึกถึงแตเรื่องปริมาณน้ํา โดยเฉพาะ ในลุมน้ําหวยสามหมอ ปญหาใหญคือเรื่องการขาดแคลนน้ํา หากแกปญหานี้ไมไดจะมิเทากับคณะทํางานลุมน้ํา สมคบกับกรมทรัพยากรน้ํา (ราชการ) หลอกลวงชาวบานหรือ? เรื่องที่สาม สืบเนื่องจากเรื่องที่สอง ทําอยางไรจึงจะสามารถทําใหชาวบานในพื้นที่ลุมน้ําไดเขาใจวาเรื่อง ของน้ํายังมีปจจัยอื่นที่เกี่ยวเนื่องกันเปนสายโซ จะขาดหวงโซใดหวงหนึ่งมิได โดยเฉพาะคือเรื่องของคน ดิน ปา เนื่องจากปาไมเพียงแตทําหนาที่เปนปาตนไม แตยังมีหนาที่เปนปาตนน้ําดวย เมื่อมีสภาพปาอุดมสมบูรณนอกจาก มีน้ําดี ยังทําใหดินดีดวย เรื่ อ งที่ สี่ มี ข อ จํ า กั ด ด า นงบประมาณในการส ง เสริ ม สนั บ สนุ น งานด า นทรั พ ยากรน้ํ า และงานฟ น ฟู สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ เนื่องจากรัฐใหความสําคัญนอยเกินไปเมื่อเทียบกับงานดานอื่นที่เกี่ยวเนื่องกับปญหา ชุมชนหนาแนนในเมือง สิ่งเหลานี้เปนปญหาบางอยางที่ทาทาย กลาวโดยรวมคือเรามีขอจํากัดดานทรัพยากรเปนอันมาก ทําให ตองใหความสําคัญแกแนวคิดพึ่งตนเองใหเพียงพอ และตองการความเขมแข็งของบุคลากรในพื้นที่ หาไมแลวการ บุกเบิกงานลุมน้ําหวยสามหมอจะทําไมได ประเด็นสําคัญคือ การแบงเขตการปกครองเปนหมูบาน ตําบล และอําเภอ ตามกฎหมายลักษณะปกครอง ทองที่ พ.ศ.2457 และการแบงเขตจังหวัดซึ่งเปนราชการสวนภูมิภาค มิไดคํานึงถึงหลักภูมินิเวศวิทยาลุมน้ํา ทําให การวางแผนพัฒนาและการใชประโยชนจากทรัพยากรลุมน้ําเปนไปในลักษณะตางคนตางคิดและตางคนตางทํา ภายในขอบเขตการปกครองของตน โดยมิไดคํานึงถึงผลประโยชน และ/หรือผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับพื้นที่การ ปกครองอื่น ทําใหในอดีตการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํามีขอจํากัดทางดานขอบเขตการปกครองตลอดมา ผลจากการบริหารจัดการแบบเดิม ทําใหการใชประโยชนทรัพยากรน้ําเปนไปในลักษณะฝนตกไมทั่วฟา ไมไดใชประโยชนอยางเทาเทียมกันทั่วทั้งลุมน้ํา หากแตเปนประโยชนเฉพาะที่ราบลุมที่ลําหวยพาดผานและไหลตก พื้นที่สวนใหญซึ่งตั้งอยูในภูมิประเทศที่สูงกวาลําหวย ไมมีโอกาสไดใชประโยชนจากทรัพยากรน้ําในลุมน้ํา เมื่อมีการตราระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ.2532 และ แกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มีการตั้งกรมทรัพยากรน้ําขึ้นในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 158


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

นําหลักการบริหารจัดการน้ําแบบผสมผสาน (Integrated Water Resources Management, IWRM) มาเปน แนวทางในการบริหารจัดการน้ําเปนระบบลุมน้ํา มีคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนองคกรบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําในระดับชาติ มีคณะอนุกรรมการลุมน้ําจํานวน 29 คณะอนุกรรมการ บริหารจัดการลุมน้ําสายหลัก 25 ลุมน้ําของประเทศ และมีคณะทํางานระดับจังหวัด อําเภอ และตําบลตามลําดับ สามปแรกของการบุกเบิกจัดตั้ง เครือขายการจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ ดําเนินการไปภายใตระบบระเบียบดังกลาว แรกเมื่อมีการตราระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ.2532 และแกไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 พรอมๆ กับมีการปฏิรูประบบราชการ กลาวคือมีการตั้งกรมทรัพยากรน้ําขึ้น ในกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นําหลักการบริหารจัดการน้ําแบบผสมผสาน (Integrated Water Resources Managemen, IWRM) มาเปนแนวทางในการบริหารจัดการน้ําเปนระบบลุมน้ํา มีคณะกรรมการ ทรัพยากรน้ําแหงชาติเปนองคกรบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในระดับชาติ มีคณะอนุกรรมการลุมน้ําจํานวน 29 คณะอนุกรรมการ บริหารจัดการลุมน้ําสายหลัก 25 ลุมน้ําของประเทศ และมีคณะ ทํางานระดับจังหวัด อําเภอ และ ตําบลตามลําดับดังกลาวแลวนั้น ทวาปญหาก็ยังคางคาอยู คือการจัดตั้งที่พยายามยึดโยงโครงสรางดานการปกครอง กลาวคือองคกรระดับ พื้นที่ยังประกอบไปดวยคณะทํางานระดับจังหวัด ระดับอําเภอและตําบล ทําใหปญหาของลุมน้ําหวยสามหมอซึ่งมี พื้นที่คาบเกี่ยว 2 จังหวัด ยังไมมีความชัดเจนวาจะบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําไดอยางไร ในชวงที่ มีก ารคัด สรรคณะอนุ กรรมการลุ มน้ํ าชี ตอนบน นายสมคิด สิ งสง ขณะที่ ดํา รงตํา แหนง นายก องคการบริหารสวนตําบลซับสมบูรณ อําเภอโคกโพธิ์ไชย จังหวัดขอนแกน ไดรับคัดเลือกใหเปนอนุกรรมการใน สัดสวนตัวแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นในจังหวัดขอนแกน เขาไดจัดทํา “จดหมายขาวลุมน้ําหวยสามหมอ” ออกเผยแพร เรียกรองใหจัดตั้งเครือขายผูใชน้ําลุมน้ําหวยสามหมอ เพื่อเปนเวทีกลางสําหรับบริหารจัดการลุมน้ํา สาขาที่มีพื้นที่คาบเกี่ยวเกิน 1 จังหวัด แกปญหาขอจํากัดดานขอบเขตการปกครอง ในชวงระยะบุกเบิก กรมทรัพยากรน้ํากําหนดใหมีการดําเนินการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําขึ้นในพื้นที่ ลุมน้ําสาขา โดยเลือกลุมน้ําสาขาน้ํารองจํานวน 30 แหงใน 25 ลุมน้ําหลัก และลุมน้าํ สาขาหวยสามหมอไดรับคัด เลือกใหเปนลุมน้ํานํารองของพื้นที่ลุมน้ําชีตอนบน และตอมาไดรับการพิจารณาใหเปนพื้นที่ลุมน้ํานํารองของโครง การความรวมมือของคณะกรรมาธิการแมนา้ํ โขง (MRC) ภายใตกรอบแผนงานพัฒนาลุมน้ํา (Basin Development Plan, BDP) และลุมน้ํานํารองของโครงการการจัดการลุมน้ํา (Watershed Management Project) ภายใตแผนงาน การเกษตร ชลประทานและปาไม ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากรัฐบาลเยอรมันโดย GTZ การเลือกลุมน้ําสาขาหวยสามหมอเปนโครงการนํารอง เปนการพิจารณาตัดสินใจของคณะทํางานพื้นที่ลุม น้ํายอย 5T ในแผนงานพัฒนาลุมน้ํา (Basin Development Plan, BDP) โดยมีหลักเกณฑคือ (1) เปนลุมน้ําขนาดเล็ก สะดวกตอการบริหารจัดการเปนลุมน้ํานํารอง (2) มีอนุกรรมการลุมน้ําอยูในพื้นที่ สามารถเชื่อมโยงกับคณะอนุกรรมการลุมน้ําไดโดยตรง (3) มีขอเรียกรองและแนวความคิดของคนในพื้นที่ที่ตองการใหมีการบริหารเปนระบบลุมน้ํา และ (4) มีระบบฐานขอมูลในระดับหนึ่งแลว 159


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ความเคลื่อนไหวในชวงการจัดตั้ง : บริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําโดยพหุภาคี 1. บทบาทการสงเสริมของกรมทรัพยากรน้ํา สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 ในฐานะสํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน (ขณะนั้น) โดยสวน ประสานและบริหารจัดการลุมน้ําชี ไดดําเนินขั้นตอนตางๆ เพื่อเตรียมความพรอมในการจัดตั้งคณะทํางานระดับ พื้นที่ของลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ บวกกับการเรียกรองตองการของอนุกรรมการในพื้นที่ ซึ่งมีประสบการณวาเขต การปกครองเปนขอจํากัดสําคัญของการบริหารลุมน้ําหวยสามหมอ เนื่องจากเปนพื้นที่ลุมน้ําที่คาบเกี่ยวเขตการ ปกครองถึง 2 จังหวัด คือบางสวนของจังหวัดขอนแกน และบางสวนของจังหวัดชัยภูมิ ซึ่งตามแผนพัฒนาพื้นที่ 2 จั ง หวั ด นี้ ไ ม ไ ด จั ด ให อ ยู ใ นกลุ ม จั ง หวั ด เดี ย วกั น จึ ง ได ดํ า เนิ น งานตามโครงการฝ ก อบรมการเสริ ม สร า งขี ด ความสามารถการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา การใชน้ําอยางรูคุณคาและดูแลรักษาแหลงน้ําในพื้นที่ จํานวน 11 ครั้ง ในระหวางวันที่ 2 - 17 สิงหาคม 2548 มีผูเขาอบรมประกอบดวยกลุมสตรี เยาวชน เครือขายในพื้นที่ลุมน้ํา หวยสามหมอ รวมประมาณ 550 คน จากการฝกอบรมการเสริมสรางขีดความสามารถการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (กลุม สตรี/กลุมเยาวชน/ กลุมเครือขาย : กลุมเดิม) 11 ครั้งที่ผานมา ไดมีการประชุมครั้งที่ 12 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2548 เพื่อจัดตั้ง เครือขายการจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ เปนการตอยอดโครงการฝกอบรม 11 เวทีที่ดําเนินการมาตั้งแตวันที่ 2 สิงหาคม 2548 ที่มีเครือขายผูมีสวนไดสวนเสียในลุมน้ําจากทุกหมูบาน 16 ตําบล ในทองที่ 4 อําเภอของจังหวัด ขอนแกนและชัยภูมิเขารวมโครงการฝกอบรม และมีการเลือกสรรผูแทนตําบลละ 2 คน จํานวนรวมกัน 32 คน จาก ภาคราชการและนอกภาคราชการในสัดสวนเทาๆ กัน จัดตั้งเปนคณะทํางานเครือขายการจัดการลุมน้ําหวยสาม หมอ ดังนั้นในการฝกอบรมเวทีที่ 12 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2548 จึงเปนการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการในการจัดตัง้ คณะทํางานเครือขายการจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ ถือวาเปนองคกรระดับลุมน้ําสาขา และไดรวมกันกําหนด โครงสรางองคกรเครือขายการจัดการลุมน้ําออกเปนฝายตางๆ คือ ฝายขอมูล ฝายแผนงาน ฝายประชาสัมพันธ ฝายกองทุนฯ เปนตน เนื่องจากคณะทํางานเครือขายดังกลาว ยังไมมีฐานะที่ชอบดวยระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติที่บังคับใชอยูในเวลานั้น จึงมีคําสั่งคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน (ในเวลา นั้น) ที่ 1/2549 เรื่องแตงตั้งคณะทํางานลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ ลงวันที่ 22 สิงหาคม 2549 มีองคประกอบ 2 สวน คือสวนที่ปรึกษาและสวนคณะทํางาน มีอํานาจหนาที่คือ (1) รวบรวมขอมูลตางๆ เกี่ยวกับทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และโครงการพัฒนาแหลง น้ําที่กอสรางแลว (2) นําเสนอความตองการแผนงาน โครงการพัฒนาแหลงน้ําภายในลุมน้ํายอยตอคณะอนุกรรมการลุมน้ํา (3) ประสานการจัดทําแผนปฏิบัติการของสวนราชการตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อการพัฒนาและอนุรักษแหลง น้ํา การจัดสรรน้ํา การฟนฟูสภาพตนน้ํา การปองกันแกไขปญหาอุทกภัย ภัยแลง และปญหาคุณภาพ น้ํา เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการของลุมน้ํายอย 160


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

(4) ประชาสั ม พั น ธ เ ผยแพร ค วามรู ข า วสารที่ ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ทรั พ ยากรน้ํ า และการดํ า เนิ น งานของ คณะอนุกรรมการลุมน้ําใหประชาชนในจังหวัด หรือพื้นที่ลุมน้ําไดรับรู รับทราบ เพื่อใหเกิดความเขาใจ ที่ถูกตอง (5) ประนีประนอม ไกลเกลี่ยขอขัดแยงและแกไขปญหาขอพิพาทเกี่ยวกับการดําเนินการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําที่เกิดขึ้นในพื้นที่ลุมน้ํายอย (6) ติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานของหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของกับทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ํา ยอย รายงานใหคณะอนุกรรมการลุมน้ําทราบ (7) ปฏิบัติหนาที่อื่นๆ ตามที่คณะอนุกรรมการลุมน้ํามอบหมาย คาใชจายตางๆ ของคณะทํางานใหเบิกได ตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของ คณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอไดดําเนินงานเรื่อยมา ภายใตหลักการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบ ผสมผสาน (Integrated Water Resources Management, IWRM) โดยพหุภาคี โดยไดรับการสงเสริมอยาง ตอเนื่องจากหนวยงานในสังกัดกรมทรัพยากรน้ํา ทั้งในสวนกลางและสวนภูมิภาค 2. บทบาทการสงเสริมของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง เปนองคกรรัฐระหวาง 4 ประเทศในลุมแมน้ําโขงตอนลาง คือกัมพูชา เวียดนาม ลาว และไทย จัดตั้งลาสุดเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2538 ภายใตขอความตกลงวาดวยการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยาง ยั่งยืน (Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) มี วัตถุประสงคเพื่อสงเสริมและประสานงานดานการจัดการและพัฒนาแหลงน้ํา และทรัพยากรอันเกี่ยวเนื่องอื่นๆ แบบ ยั่งยืน เพื่อผลประโยชนรวมกันของประเทศสมาชิกและความเปนอยูที่ดีของประชาชน โดยการสงเสริมแผนงาน ยุทธศาสตรและกิจกรรมตางๆ รวมทั้งจัดหาขอมูลทางวิทยาศาสตร และใหคําแนะนําดานนโยบาย MRC แบงพื้นที่ลุมแมน้ําโขงตอนลางออกเปน 10 พื้นที่ยอย พื้นที่ยอยในเขตประเทศไทยประกอบดวย พื้นที่ 2 T ทางจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 3 T ในลุมน้ําโขงอีสาน พื้นที่ 9 T เปนพื้นที่เล็กๆ บริเวณลุมน้ําโตนเลสาบ และพื้นที่ 5 T บริเวณลุมน้ําชีและลุมน้ํามูลซึ่งเปนพื้นที่กวางใหญกวา 120,537 ตารางกิโลเมตร

161


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

รูปที่ 9 แสดงการแบงพื้นที่ลุมน้ํายอยของอนุภาคลุมน้ําโขงตอนลาง ลุมน้ําหวยสามหมอเปน 1 ใน 20 ลุมน้ําสาขาของลุมชี จึงจัดวาอยูในพื้นที่ยอย 5 T ในสารบบพื้นที่ยอย ของลุมน้ําโขงตอนลาง และไดรับคัดเลือกจากคณะทํางานพื้นที่ยอย 5 T สงเสริมเปนพื้นที่นํารองในการวางแผน บริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําแบบบูรณาการโดยพหุภาคี เริ่มจากสวนงานคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย (Thai National Mekong Committee) ในสํานัก ประสานความรวมมือระหวางประเทศ กรมทรัพยากรน้ํา และคณะทํางานพื้นที่ 5 T ไดสงเสริมใหเครือขายการ จัดการลุมน้ําหวยสามหมอจัดทํากระบวนการวางแผนชุมชนลุมน้ําขึ้น เริ่มตนเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ 2549 ไป สิ้นสุดในปลายเดือนกรกฎาคม ปเดียวกัน โดยไดรับการสนับสนุนจากแผนพัฒนาลุมน้ํา (Basin Development Plan, BDP) ในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) 162


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

ผานกระบวนการปรึกษาหารือเพื่อ “ทบทวนอดีต เขาใจปจจุบัน วาดฝนอนาคต” โดยนําขอมูลที่ไดจาก การศึกษาเอกสารขอมูลเทาที่มีอยู และการลงสํารวจในพื้นที่จริง ในชวงปลายป พ.ศ.2548 จนถึงตนป พ.ศ.2549 กอรูประบบฐานขอมูล GIS ซึ่งถือวาเปนกระบวนการแรกของการทํางาน แลวนํามาวิเคราะห ทําใหทราบวาในอดีต ลุมน้ําหวยสามหมอมีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ มีแหลงน้ําซับหรือน้ําซึมตามธรรมชาติมากมาย ลําน้ํา สะอาดและไหลตลอดป ทํานาไดตลอดฤดูกาล ในน้ํามีปลา ในนามีขาว ผูคนอยูเย็นเปนสุขตามควรแกอัตภาพ ตอมาสถานการณทางเศรษฐกิจและสังคมเปลี่ยนแปลงไป เมื่อระบบการผลิตเปลี่ยนจากผลิตเพื่อยังชีพ เปนผลิตเพื่อขายเปนสินคา ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตรสมัยใหม ทําใหการเกษตรธรรมชาติเปลี่ยนไปเปนเกษตรเคมี โดยหวังจะเพิ่มผลิตภาพ และมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพื่อใหไดปริมาณผลผลิตมากขึ้น ทําใหพื้นที่ปาไมถูก ทําลาย หนาดินถูกชะลางลงสูลําน้ํา รวมทั้งสารพิษที่มาในรูปเคมี ภัณฑการเกษตรก็ปนเปอนลงสูแหลงน้ํา ทําใหลํา น้ําและแหลงกักเก็บตื้นเขิน ปริมาณน้ําฝนลดลง เกิดสภาพแหงแลงอยางตอเนื่องและนับวันรุนแรง จากการดิ้นรนแขงขันในเวทีเศรษฐกิจ ทําใหความคิดจิตสํานึกของคนในสังคมมีลักษณะเห็นแกตัวมากขึ้น ประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมอันดีงามหลายอยาง สูญเสียไป เมื่อไดทบทวนหวนเห็นเชนนั้นแลว จึงไดรวมกันกําหนด วิสัยทัศนขึ้นมาใหมวา “ลุมน้ําหวยสามหมอมีองคกรเขมแข็ง เพื่อการจัดการน้ําอยางยั่งยืน ฟนความอุดม สมบูรณใหธรรมชาติ โดยภูมิปญญาชุมชนและรัฐ” หลังจากรวมกันวิเคราะหสถานการณอยางรอบดาน และกําหนดวิสัยทัศนขึ้นแลว ไดวางแผนยุทธศาสตร สําหรับอนาคต ที่ประชุมปรึกษาลงความเห็นวา ใหเรียกแผนยุทธศาสตรดังกลาววา “แผนชุมชนลุมน้ําหวยสาม หมอ” ใหมีองคประกอบที่สําคัญของแผนประกอบดวย (1) แผนแหลงน้ําชุมชน (2) แผนเกษตรอินทรีย อาชีพและรายได (3) แผนสงเสริมศักยภาพองคกรลุมน้ําและฟนฟูสิ่งแวดลอม (4) แผนหลักสูตรทองถิ่น องคความรู และระเบียบชุมชน (5) แผนสงเสริมบทบาทสตรีและเยาวชน กระบวนการวิเคราะหขอมูล สรางวิสัยทัศน และสรางแผนยุทธศาสตร นอกจากมีการประชุมปรึกษาใน คณะทํางานเครือขายฯ แลวยังไดเปดเวทีชุมชนอีกหลายครั้ง โดยแบงพื้นที่ 16 ตําบลออกเปน 3 กลุมตําบล แตละ กลุมตําบลมีตัวชาวบานทั้งชายและหญิงจากทุกหมูบานในพื้นที่ลุมน้ํา มาอภิปรายรายละเอียดของแผนยุทธศาสตร ดังกลาว จากนั้นคณะทํางานเครือขายฯ จึงไดนําเอาทุกขอคิดความเห็นมาเชื่อมรอยกันเปนแผนชุมชนลุมน้ํา ดังกลาว กระบวนการทั้งหมดนี้ ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจาก Basin Development Plan of Mekong River Commission รวมทั้งการนําคณะทํางานเครือ ขายฯ ไปดูงานดานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม การพลังงาน วิถี ชีวิตและวัฒนธรรม ในพื้นที่ยอย 6 L ในสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวดวย 163


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

เนื่องจากพื้นทีแ่ ตละลุมน้ํา อาจตองจําแนกแยกแยะในรายละเอียด ทั้งที่เปนจุดรวมและจุดตางในประเด็น ตางๆ เชน ประเด็นสิ่งแวดลอม ขอพิจารณาทางสังคม ปจจัยทางเศรษฐกิจ รวมทั้งเปาหมายการพัฒนาเฉพาะที่ แตกตางกันของแตละพื้นที่การปกครอง ในเรื่องการชลประทาน การผลิตไฟฟาพลังน้ํา การเกษตร อุตสาหกรรม เปนตน ซึง่ อาจจะแตกตางกันไปบางในรายละเอียด จึงจําเปนตองจัดทําแผนปฏิบัติการลุมน้ํา (A Watershed Management Blueprint, or Plan of Action) ขึ้น เพือ่ เปนแนวทางในการจัดทําโครงการบริหารจัดการลุมน้ําที่เปน รูปธรรม การจัดทําแผนปฏิบัติการลุมน้ําครั้งนี้ ดําเนินการมาอยางตอเนื่อง ระหวางเดือนมิถุนายน - ตุลาคม 2551 เพื่อกําหนดแผนปฏิบัติการลุมน้ํา ระยะ 3 ป (2552-2554) โดยคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ ไดรับการสงเสริม และสนับสนุน จากสํานักงานคณะกรรมการลุมน้ําชี สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 กรมทรัพยากรน้ํา โดยการ (Watershed สนับสนุนของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC-GTZ) ภายใตโครงการการจัดการลุมน้ํา Management Project, WSMP) ผูมีสวนใหการสงเสริม สนับสนุน ตลอดจนผูแทนหนวยงาน สวนราชการตางๆ ที่ เกี่ยวของ รวมทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพืน้ ที่ลุมน้ํา ไดสละเวลาเขารวมกิจกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการ ครั้งนีอ้ ยางแข็งขัน 3. บทบาทการสงเสริมของธนาคารโลก (World Bank) ผูอํานวยการสวนงานคณะกรรมการแมน้ําโขง กรมทรัพยากรน้ํา ไดนําผูเชี่ยวชาญอาวุโสดานสิ่งแวดลอม แหงภาคพื้นเอเชียตะวันออกและแปซิฟก (Senior Environmental Specialist, East Asia and Pacific Region) ของธนาคารโลก ไปพบปะกับคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอเมื่อเดือนกลางสิงหาคม 2550 ก็เริ่มมีการสนับสนุน ดานการเงินจากธนาคารโลกตั้งแตตนป พ.ศ.2551 เปนตนมา เชนโครงการคณะกรรมการลุมน้ําศึกษา (Developing a Best for Indochina- Increasing the Effectiveveness of Thailand’s River Basin Committee, RBC Study) ที่ ดําเนินโครงการในลุมน้ําหวยสามหมอ และลุมน้ําพุง พื้นที่นํารองของ MRC_BDP และสนับสนุนงบประมาณ Small Grants ใหแกโครงการเกษตรอินทรีย เพื่อลงมือขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรเกษตรอินทรียของลุมน้ําหวยสามหมอ ในป พ.ศ.2551 4. เครือขายผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ลุมน้ํา นอกจากเครือขายเดิมที่กอรูปขึ้นแลว คือเครือขายการจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ และคณะทํางานลุมน้ํา สาขาหวยสามหมอ ดัง นําเสนอมาในบทที่ แลว ในชวงระยะเวลา 3 ป แรกของการบุกเบิ กลุม น้ําห วยสามหมอ (ระหวางป พ.ศ.2549-2551) ยังไดเกิดเครือขายใหมตามมาอีกดังนี้ • คณะทํางานเครือขายสตรีอาสาสมัครลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ เพื่อสงเสริมบทบาทสตรีตามหลักการ IWRM จึงมีการฝกอบรมและจัดตั้งเครือขายสตรีอาสาสมัครลุมน้ํา สาขาหวยสามหมอขึ้น เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2550 ณ หองประชุมวิทยาลัยการอาชีพแกงครอ อําเภอ แกงครอ จังหวัดชัยภูมิ โดยมีวัตถุประสงค

164


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

(1) จัดตั้งและสนับสนุนการดําเนินงานเครือขายสตรีกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุม น้ําหวยสามหมอ (2) เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนความรูประสบการณและถายทอดเจตนารมณของการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําแกสมาชิกของเครือขายสตรีลุมน้ําหวยสามหมอ (3) เพื่อใหสตรีมีสวนรวมในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ําอยางจริงจัง (4) เพื่อจัดตั้งกลุมสตรีในระดับพื้นที่และนําแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา การฟนฟูการ อนุรักษ การดูแลรักษาทรัพยากรน้ําและอื่นๆ ที่เกี่ยวของไปสูการปฏิบัติใหเกิดเปนรูปธรรม กลุมเปาหมายกลุมสตรีผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ พรอมดวยคณะทํางานลุมน้ําสาขา หวยสามหมอ วิธีการดําเนินการคือไดเชิญผูแทนสตรีจากหมูบานตางๆ ที่เคยเขารวมกิจกรรมการวางแผนชุมชนลุมน้ํา เขารับการฝกอบรม รับฟงการบรรยาย โดยวิทยากร ในหัวขอบทบาทของกลุมสตรีกับการบริหารจัดการน้ํา เหตุผล และความสําคัญ ในการจัดตั้งเครือขายสตรี จากนั้นมีการเลือกสรรผูแทนแตละตําบล ไดทั้งหมด 11 ตําบล 4 อําเภอ 2 จังหวัด ตั้งเปนคณะทํางาน เครือขายสตรีอาสาสมัครลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ • คณะทํางานเครือขายเยาวชนอาสาสมัครลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2550 สํานักงานคณะอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 รวมกับคณะทํางานลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ จัดฝกอบรมและจัดตั้งเครือขายเยาวชนอาสาสมัครลุมน้ํานํารองสาขา หวยสามหมอ ณ บริเวณศาลเจาอาจารยดวง บานชนแดน หมู 5 ตําบลชองสามหมอ อําเภอคอนสวรรค จังหวัด ชัยภูมิ เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานและจัดตั้งกลุมเครือขาย เยาวชน ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุม น้ําหวยสามหมอ โดยมีผูเขารับการอบรมรวมทั้งสิ้น 80 คน ประกอบดวยเยาวชนจากโรงเรียนในเขตพื้นที่ลุมน้ํา ห ว ยสามหมอ จํ า นวน 68 คน คณะครู อ าจารย แ ละประชาชน จํ า นวน 12 คน ทั้ ง นี้ ใ นการอบรมดั ง กล า ว ได ดําเนินการจัดตั้งคณะกรรมการเครือขายเยาวชนอาสาสมัครลุมน้ําสาขานํารองหวยสามหมอ จํานวน 10 คน • เครือขายสถานศึกษาหลักสูตรทองถิ่น ในกระบวนการขั บ เคลื่ อ นแผนยุ ท ธศาสตร ลุ ม น้ํ า ห ว ยสามหมอ เพื่ อ ปลู ก ฝ ง จิ ต สํ า นึ ก อนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตามแผนยุทธศาสตรดานหลักสูตรทองถิ่น องคความรู และระเบียบชุมชน คณะทํางานลุมน้ํา รวมกับสถานศึกษาตางๆ ที่มีอยูในพื้นที่ลุมน้ํา โดยไดรับการสนับสนุนวิทยากรดานหลักสูตร จากคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน และจากเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต 1 ไดจัดการประชุมสัมมนา เชิงปฏิบัติการขึ้น 3 ครั้ง จนสามารถรางหลักสูตรทองถิ่น “ลุมน้ําหวยสามหมอศึกษา” ขึ้นสําเร็จ สถานศึกษาชวง ชั้นที่ 1-4 เมื่อนําหลักสูตรดังกลาวขอมติเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้น ฐานแลว ก็สามารถ นําไปประยุกตใชจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษานั้นๆ ได

165


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ในชวงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2550 มีมติที่ประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติ ครั้งที่ 3 ใหสถาปนาเครือขายสถานศึกษา หลักสูตรทองถิ่น “ลุมน้ําหวยสามหมอศึกษา” ขึ้น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณรวมกันในบรรดาสถานศึกษา ที่ประกาศใชหลักสูตรทองถิ่นดังกลาวแลว • เครือขายขาวอินทรีย ในการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร แผนเกษตรอินทรีย อาชีพ และรายได เปน 1 ใน 5 แผนชุมชนลุมน้ําหวย สามหมอ ในปการผลิต 2551 มีชาวนาเขารวมโครงการขาวอินทรีย 55 ครอบครัว โครงการนี้ไดรับการสนับสนุน งบประมาณจาก Small Grants ของกลุมธนาคารโลก เครือขายผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ลุมน้ํายังจะตองจัดตั้งขึ้นอีก เพื่อใหการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรชุมชน ลุมน้ําหวยสามหมอไดดําเนินตอไปใหครบถวนตามแผนที่วางไว เมื่อพิจารณาจากการดําเนินงานที่ผานมา จะพบวา มีโอกาส มีสมรรถนะ และมีขอจํากัดพอสรุปไดคือ โอกาส: มีหนวยงานมากมายที่ทํางานดานลุมน้ําใหการสนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่ลุมน้ําหวยสาม หมอ เนื่องจากเห็นวาคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอมีผูนําที่มีความสามารถ ประกอบกับคณะทํางานมีความ เขมแข็ง มีการรวมกลุมกันอยางเหนียวแนน จึงเปนโอกาสใหคณะทํางานไดเรียนรูแ ละไดประสบการณในสิ่งใหมๆ สมรรถนะ: คณะทํางาน (ภาคประชาชน) สวนใหญเปนคนในพื้นที่ รูสภาพพื้นที่และปญหาเปนอยางดี มี ความเขมแข็ง กระตือรือรน และใหความรวมมือในการเสนอขอคิดเห็นและรวมแกปญหาในพื้นที่ และสามารถ ขับเคลื่อนงานไปสูผลสําเร็จไดรวดเร็วกวาลุมน้ําอื่น ขอจํากัด : คณะทํางาน (ภาคประชาชน) สวนใหญอยูในวัยสูงอายุ มีขอจํากัดในการเรียนรูเทคโนโลยี ใหมองคกรสวนทองถิน่ บางแหงยังไมใหความรวมมือเทาที่ควร ทั้งหมดนั้นคือกระบวนการที่เรียกวา “การบริหารจัดการแบบผสมผสาน โดยพหุภาคี” ซึ่งลุมน้ําหวยสาม หมอไดนําลงสูภ าคปฏิบัติ

ผลที่เกิดจากการปฏิบัติหลักการบริหารจัดการแบบผสมผสานโดยพหุภาคี 1. การจัดทํารางแผนปฏิบัติการระยะ 3 ป (2552-2554) ในบริบทของการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ํา โดยพหุภาคี หลังจากมีกระบวนการจัดทําวิสัยทัศนลุมน้ํา และการวางแผนชุมชนลุมน้ํา จนไดผลลัพธออกมาเปนแผนยุทธศาสตรลุมน้ํา 5 ดานดังกลาวขางตน ยังมีความ จําเปนตองแปลงแผนยุทธศาสตรใหเปนแผนปฏิบัติการ กระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการลุมน้ําหวยสามหมอ ระยะ 3 ป (2552-2554) ซึ่งสนับสนุนโดย MRC_GTZ จําแนกเปน 3 ขั้นตอน (Module) Module 1 การประชุมอภิปรายแนวทางการบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2551 ที่หองประชุมภูผาแดง วิทยาลัยการอาชีพแกงครอ อ.แกงครอ จ.ชัยภูมิ 166


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

Module 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะหขอมูลและศักยภาพลุมน้ํา ระหวางวันที่ 26-28 มิถนุ ายน 2551 ทีห่ องประชุมองคการบริหารสวนตําบลหนองไผ อ.แกงครอ จ.ชัยภูมิ และการประชุมปรึกษานอกรอบระหวาง วันที่ 19 สิงหาคม 2551 ที่สํานักงานคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ บานซับแดง ต.ซับสมบูรณ อ.โคกโพธิ์ ไชย จ.ขอนแกน Module 3 การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนการบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ ระหวางวันที่ 1-2 ตุลาคม 2551 ที่โรงเรียนแกงครอวิทยา อ.แกงครอ จ.ชัยภูมิ ภายใตกระบวนการจัดทํารางแผนปฏิบัติการ ระยะ 3 ป (2552-2554) ประเด็นสําคัญที่ไดจากการประชุม ครั้งที่ 1 แนวทางการบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ เมื่อวันอังคารที่ 3 มิถุนายน 2551 ณ วิทยาลัยการอาชีพ แกงครอ อําเภอแกงครอ จังหวัดชัยภูมิ ในการระดมความคิดเห็นเรื่อง “สภาพปญหาและศักยภาพในพื้นที่การ ดําเนินงานในลุมน้ําหวยสามหมอที่ผานมา และแนวทางการดําเนินงานรวมกันในอนาคต” ดําเนินกระบวน การระดมความคิดเห็นดังกลาวโดยนายเธียรเอก ติยพงศพัฒนา ที่ปรึกษาโครงการการจัดการลุมน้ํา MRC-GTZ สรุปไดดังนี้ วัตถุประสงคของกิจกรรม • เพื่อทบทวนปญหาและประสบการณการแกปญหาของลุมน้ํา จากอดีตถึงปจจุบัน • เพื่อกําหนดแนวทางความรวมมือระหวางภาคสวนตางๆ ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรรวมกัน ประเด็นซึ่งที่ประชุมไดหารือกันมีดังนี้ • ทบทวนปญหาหลักๆ ของลุมน้ําหวยสามหมอ • ประเด็นหรือปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับแตละปญหา • ทบทวนกิจกรรมเพื่อแกปญหาที่ไดดําเนินการโดยภาคสวนตางๆ • ขอเสนอเพื่อเปนแนวทางความรวมมือระหวางภาคสวนตางๆ ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการ จัดการลุมน้ําหวยสามหมอ 1.1 ทบทวนปญหาหลักๆ ของลุมน้ําหวยสามหมอ ที่ ป ระชุ ม ยื น ยั น ว า ป ญ หาสํ า คั ญ ของลุ ม น้ํ า ห ว ยสามหมอมี 7 ประการ ตามที่ ไ ด นํ า เสนอโดย คุณประสิทธ หวานเสร็จ ผูอํานวยการสวนประสานและบริหารจัดการลุมน้ําชี คือ (1) ปญหาน้ําเพื่ออุปโภค บริโภค และการเกษตรกรรม มีไมเพียงพอในฤดูแลง เนือ่ งจากสภาพพื้นที่มี แหลงเก็บน้ําไมเพียงพอ (2) ปญหาแหลงน้าํ ลําน้ําและลําหวยบริเวณหนาฝายตื้นเขินเนื่องจากสภาพพื้นที่มีการชะลางหนาดินสูง ถูกตะกอนทับถม ปาไมถูกทําลายรวมทั้งมีวัชพืชจํานวนมาก (3) ปญหาน้าํ หลากในชวงฤดูฝน เนื่องจากลําน้ําธรรมชาติตื้นเขิน ระบบระบายน้ําไมเพียงพอ และขาด งบประมาณสนับสนุนจากภาครัฐในการกอสรางทอระบายน้ํา 167


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

(4) ปญหาน้ําเนาเสีย เนื่องจากไมมีระบบการบําบัดกอนการระบายน้ําจากแหลงชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม ลงสูแหลงน้ํา และน้ําเสียที่เกิดจากการใชสารเคมีทําการเกษตรกรรม (5) ปญหาการบุกรุกลําน้ําธรรมชาติ เนื่องจากเกษตรกรใชประโยชนจากที่ดินในการเพาะปลูกทําการเกษตร (6) ปญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการแหลงน้ําขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดการประชาสัมพันธในการ ปลูกจิตสํานึกเกี่ยวกับการดูแลรักษาแหลงน้าํ จากภาครัฐทําใหประชาชนขาดความเขาใจในการดูแลรักษาแหลงน้ํา (7) ปญหาการแยงน้ํา เนื่องจากไมมีหนวยงานที่รับผิดชอบโดยตรงในการจัดสรรน้ํา รวมทั้งขาดงบ ประมาณสนับสนุนในการบริหารจัดการน้ําและมีการใชน้ําในกิจกรรมตางๆ เชน การใชน้ําของโรงงานอุตสาหกรรม เปนตน ทําใหน้ําที่มีอยูไมเพียงพอ 1.2 ทบทวนประเด็นหรือปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของกับแตละปญหา ปญหาดังที่ไดกลาวมาขางตนนี้ เปนเพียงการแสดงอาการปวยของลุมน้ําหวยสามหมอที่สามารถสัมผัสได อยางไรก็ดีการระบุปญหาลักษณะนี้ ไมไดครอบคลุมถึงองคประกอบทั้งหมดของแตละปญหา ดังนั้นที่ประชุมจึงได หารือเพิ่มเติมถึงประเด็นหรือปจจัยตางๆที่เกี่ยวของกับแตละปญหาเหลานี้ ไดแก • ปญหาการขาดน้ําอุปโภค บริโภค และน้ําเพื่อการเกษตรในฤดูแลง ซึ่งอาจมีความเชื่อมโยงโดยตรงกับ ปจจัยอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายปจจัยผสมผสานกัน เชน การมีปริมาณน้ําในธรรมชาติลดลง อันเนื่องจากความ แปรปรวนของสภาพดินฟาอากาศ พื้นที่ปาตนน้ําลดลง เนื่องจากใชพื้นที่ปาตนน้ําไปทําการเกษตร การมีประชากร เพิ่มขึ้น และ/หรือการปลูกพืชที่ตองการน้ําในปริมาณมาก ขณะที่มีแหลงเก็บกักน้ําไมพอเพียงกับความตองการใช น้ําในฤดูแลง • ปญหาการจัดสรรและแบงปนน้ําตามความจําเปนและเหมาะสม เปนปญหาที่เกิดจากการขาดระบบ วิธีการแบงปนและจัดการการใชน้ําที่เหมาะสม เนื่องจากขาดองคความรูในการบริหารจัดการน้ําและทรัพยากรใน ทองถิ่น • ปญหาน้ําหลากทวมในฤดูฝน ซึ่งอาจมีความเชื่อมโยงกับการตัดไมทําลายปาในบริเวณตนน้ํา ทําใหไม มีพืชชวยชะลอการไหลของน้ําเมื่อมีฝนตกหนัก การปลูกพืชไรแทนการทํานา ทําใหน้ําไหลบาเร็วขึ้น คลองระบาย น้ําตื้นเขิน ไมสามารถรองรับน้ําได จึงทวมพื้นที่ขางเคียง นอกจากนี้การตัดถนนหรือสรางคลองผันน้ํายังเปนอีก สาเหตุหนึ่งที่ไปขัดขวางการไหลของน้ําจากที่สูงสูที่ต่ํา • ปญหาแหลงน้ํา ลําน้ําตื้นเขิน ซึ่งมีเหตุปจจัยไดแก ปาไมลดลง ทําใหไมมีพืชคลุมผิวดินทําใหมีตะกอน ไหลมากับน้ํา มีการทําลายหนาดิน ทําให ดินไหลลงสูแ หลงน้ํา นอกจากนี้การรองบประมาณจากรัฐทําใหการ แกปญหาเปนไปอยางลาชาจึงเกิดปญหาพอกพูนเพิ่มขึ้น • ปญหาการบุกรุกลําน้ํา เนื่องจากยังไมมีการจัดทําเขตพื้นที่สาธารณะใหชัดเจน เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นจึง ตองการขยายที่ทํากิน นอกจากนี้การเห็นแกประโยชนสวนตนเปนที่ตั้งของประชาชนที่อาศัยอยูริมน้ํา ทําใหมีการ ปลูกสิ่งกอสรางรุกล้ําเขาไปในลําน้ํา • ปญหาน้ําเนาเสีย ซึ่งมีสาเหตุมาจากการใชสารเคมีในการเกษตร แลวปลอยใหน้ําจากแปลงเกษตรไหล ลงสู แ หล ง น้ํ า โดยตรง การใช ส ารเคมี ใ นครั ว เรื อ นเพิ่ ม ขึ้ น โดยไม มี ร ะบบกํ า จั ด ขยะและบํ า บั ด น้ํ า เสี ย จาก ครัวเรือน รวมทั้งยัง ไมมีการบังคับใชกฎหมายวาดวยน้ําเสีย

168


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

• ปญหาขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการลุมน้ํา เนื่องจากขาดความรูในการบริหารจัดการ ขาด แคลนปจจัยที่จะใชในการบริหารจัดการ รวมทั้งขาดกฎหมายและระเบียบรองรับการจัดตั้งคณะทํางานลุมน้ํายอย อยางเปนทางการ 1.3 จากขอเสนอแนะขางตน พบวาปญหาแตละปญหาที่เกิดขึ้นไมไดเปนและเกิดโดยลําพัง แตมีความเชื่อมโยง หรือมีสาเหตุมาจาก ปจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของทุกๆ คนในลุมน้ําหวยสามหมอ ทั้งการประกอบอาชีพ การตั้งบานเรือน และการใชชีวิตประจําวัน ดังนั้นการแกปญหาใดปญหาหนึ่งจึงไมอาจแยกออกไดจากการแกไขวิถีการดําเนินชีวิต ของผูคนในลุมน้ําไปพรอมกัน แมวา ปญหาแตละปญหาที่เกิดขึ้น อาจมีความเขมขนและสงผลกระทบในระดับที่แตกตางกันไปตามสถานที่ และเวลา อยางไรก็ดี ปญหาทุกปญหาที่เกิดขึ้นลวนมีความสัมพันธเชื่อมโยงอันซับซอนระหวางกัน อาทิเชน ปญหา การขาดแคลนน้ํากับปญหาน้ําทวมหลาก ลวนมีที่มาจากสาเหตุเดียวกัน คือการตัดไมทําลายปาบนพื้นที่ตนน้ํา ทํา ใหน้ําไหลหลากในฤดูฝนเมื่อฝนตก เพราะไมมีตนไมชะลอการไหลของน้ํา ขณะเดียวกันเมื่อน้ําไหลจากที่สูงลงสูที่ ต่ําอยางรวดเร็ว เปนเหตุใหน้ําสวนใหญไมไดซึมลงสูดิน จึงเปนที่มาของการขาดน้ําในฤดูแลง นอกจากนี้ การไหล บาของน้ํายังกอใหเกิดการชะลางพังทลายของดิน ตะกอนดินที่ไหลมากับน้ํา นอกจากทําใหน้ํามีคุณภาพลดลงแลว ยังเปนเหตุใหลํารางน้ําตื้นเขินและกลายมาเปนอุปสรรคของการระบายน้ําในฤดูน้ําหลากตอไป วัฏจักรเชนนี้ เกิดขึ้นและซอนทับกันไปเรื่อยๆ ตราบใดที่ไมไดทําการแกไขปญหาอยางบูรณาการและเปน ระบบจากตนทาง คือการบํารุงรักษาและฟนฟูปาตนน้ํา ไปจนกระทั่งถึงปลายทาง คือการใชน้ําและการจัดการน้ํา รวมกันของชุมชนที่อยูบนสวนตางๆ ของลุมน้ํา ดังนั้น การลงทุนแกไขปญหาที่ปลายเหตุ เชนการขุดลอกรองน้ําเปนประจําทุกๆ ป อยางมากก็เปนเพียง การบรรเทาปญหาชั่วคราว แมวาจะไดทําอยางไดผลก็นับวาเปนการสิ้นเปลืองที่ไมรูจบ เพราะหากตนตอของปญหา ยังคงอยู ปญหาก็ยอมเกิดขึ้นซ้ําซากอยูเสมอไป หากปใดไมมีงบประมาณ หรือดําเนินการไมทันทวงทีปญหาก็จะ ทับถมทวีและสงผลกระทบตอคนจํานวนมากขึ้น 1.4 ทบทวนกิจกรรมเพื่อแกปญหาที่ไดดําเนินการโดยภาคสวนตางๆ ที่ประชุมไดรวมกันระบุถึงความพยายามในการแกไขปญหาหลักๆ ของพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอโดยภาค สวนตางๆ ดวยวิธีการและกิจกรรมที่แตกตางกัน สรุปไดดังนี้

169


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ปญหาหลัก

กิจกรรม

(1) ขาดน้ําในฤดูแลง

- ทําสมดุลน้ํา - ระบบฐานขอมูล - จัดตั้งเครือขายลุมน้ําหวยสามหมอ - จัดตั้งเครือขายกลุมสตรีผูใชน้ํา - รวมปลูกตนไมในวันสําคัญกับหนวยงาน องคกร - ปลูกตนไมยืนตน, รวมทําฝายชะลอน้ํา, - รณรงคไมเผาฟาง - รวมกอสรางฝายแมวในพื้นที่ ต.โคกกุง อ.แกงครอ จํานวน 3 ฝาย - ขุดลอกแหลงน้ํา, ขุดเจาะบอบาดาล - ขุดลอกทางน้ํา

(2) แหลงน้ํา ลําน้ําตื้นเขิน

- จัดตั้งองคกร - ประสานการจัดทําแผนงาน โครงการ - จัดประชุมสัมมนา - จัดกิจกรรมปลูกตนไม - พัฒนาแหลงน้ํา - มาตรการทางกฎหมายในการ ปองกันรักษาน้ํา - อบรมใหความรู

(3) น้ําหลากทวมในฤดูฝน

- รวมพัฒนาแมน้ําคูคลอง วันที่ 20 กันยายนของทุกป

(4) น้ําเนาเสีย

- ปลูกจิตสํานึกไปบางสวนจัดตั้งเครือขายสตรีและเยาวชน แตตองเพิ่มและทํา ตอเนื่อง ขยายผลใหมาก - มีแผนบริหารจัดการน้ําโดยชุมชนหวยสามหมอ

(5) การบุกรุกลําน้ํา

- ทําฝายชะลอน้ํา 1 แหง(ฝายหินทิ้ง) - มีการประชุมกลุมปละ 4 ครั้ง - มีการระดมทุนเปนกองทุนลุมน้ําหวยสามหมอ - มีการอบรมเยาวชนในลุมน้ํา - วันที่ 20 กันยายนของทุกป มีการอนุรักษน้ําคูคลอง - มีการทําฝายชะลอน้ํา

(6) การบริหารจัดการลุมน้ํา ขาดประสิทธิภาพ

- จัดตั้งคณะทํางาน - ตรวจสอบฐานขอมูลแหลงน้ํา - ทําการสํารวจขอมูลจากผูใชน้ําและทองถิ่นบางสวน 170


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

ปญหาหลัก

กิจกรรม - การทําฐานขอมูล GIS - การจัดทําแผนบูรณาการประจําป - จัดประชุมอบรมเปนประจําอยางตอเนื่อง - อบรมองคกรเครือขายกลุมผูใชน้ํา - หลักสูตรทองถิ่น -ทําฝายชะลอน้ําบริเวณเชิงเขาดานตะวันตก ไหลลงหวยยางซึ่งไหลลงเชื่อม ลําหวยสามหมอ - กิจกรรมฝายตนน้ํา - กิจกรรมปลูกตนไม - กิจกรรมอนุรักษแหลงน้ําคูคลอง 20 กันยายนของทุกป (ป 49-50) - ศึกษาดูงานตางประเทศและในประเทศ เขาอบรมหาความรูเพื่อการชวยกัน ในการรักษาลุมน้ําไวใหลูกหลานตอไป - ปลูกหญาแฝกปองกันการพังทลายของดิน - รณรงคไถกลบตอซังปองกันโลกรอน - ไมรองบประมาณจากภาครัฐ โดยการรวมกันจัดผาปาลุมน้ํา พึ่งตัวเองกอน - ระดมกลุมสตรีเพื่อความเขมแข็งในชุมชนหมูบาน เครือขายของลุมน้ําใหมี สวนรวมมากที่สุด ปลูกตนไมทุกวันเขาพรรษา - ออกหนวยประชาสัมพันธเคลื่อนที่

(7) การจั ด สรร/แบ ง ป น น้ํ า (ยังไมมีการระบุกิจกรรม) แมวาความคิด ความพยายาม และงบประมาณมากมายไดทุมเทลงเพื่อแกไขปญหาดังกลาว ก็ยังไมอาจที่ จะขจัดปญหาเหลานี้ไดเปนการถาวร บทเรียนที่ไดจากประสบการณ ไดแก • การแก ไ ขป ญ หา มี ก ารทํ า แบบแยกส ว นระหว า งหน ว ยงาน และพื้ น ที่ ต า งๆ ตามขอบเขตความ รับผิดชอบของแตละภาคี โดยไมไดมีการเชื่อมโยงความพยายามจากทุกภาคสวนเขาดวยกันอยางบูรณาการ • ขณะเดียวกันพบวา บางปญหา เชน ปญหาการจัดสรรและแบงปนน้ํายามขาดแคลน ซึ่งแมวาจะมี ความสําคัญมากไมนอยกวาปญหาอื่นๆ แตกลับไมมีองคกรหรือกิจกรรมเพื่อการแกไขที่เปนรูปธรรมมากเทากับ ปญหาอื่นๆ • นอกจากนี้การแกไขปญหาหนึ่งๆ อาจนําไปสูการเกิดใหมของปญหาอื่น หรือการแกปญหาของคนกลุม หนึ่ง ณ ตําบลหรืออําเภอหนึ่งๆ อาจกลายเปนปญหาของคนอีกกลุมหนึ่ง ซึ่งอาศัยอยูในตําบลหรืออําเภออื่นๆ ได เชนการขาดแคลนน้ํา น้ําทวม การระบายน้ําเสีย เปนตน ดังนั้น แมวาแตละตําบล หรืออําเภอไดแกไขปญหาของตนเองไดลุลวงเปนอยางดี ในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง 171


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

ก็ใชวาปญหาจะหมดไปไดอยางถาวรหากไมไดรับความรวมมือจากชุมชนหรือตําบลขางเคียง จึงจําเปนอยางยิ่งที่ ทุ ก ภาคส ว นจะได ร ว มมื อ ร ว มแรงร ว มใจกั น ประสานงาน (กิ จ กรรม) และทรั พ ยากร ด ว ยใจมุ ง สู ก ารบรรลุ วัตถุประสงคเดียวกัน 1.5 ขอเสนอของที่ประชุม เพื่อเปนแนวทางความรวมมือระหวางภาคสวนตางๆ ในการจัดทําแผนยุทธศาสตรการจัดการลุมน้ําหวย สามหมอ และเปนแนวทางแกปญหาการจัดการลุมน้ําหวยสามหมออยางยั่งยืน ที่ประชุมมีขอเสนอดังนี้ (1) แกปญหาเปนอยางๆ ตามความเรงดวนจําเปน (2) มีหนวยงานเจาภาพ (3) คนหวยสามหมอมารวมชวยแกปญหา (4) จริงใจในการแกปญหา (5) แก ป ญ หาให ต รงจุ ด เช น ไม บุ ก รุ ก หรื อ ตั ด ป าไม ใช วิ ธี ก ารรั ก ษาดี ก ว า ปลู ก ป า ใหม เพราะต อ งใช เวลานาน (6) ขยายเครือขายใหเชื่อมโยงเครือขายอื่นๆ รวมถึงตนน้ํา (7) ดําเนินการอยางตอเนื่อง (8) ปรับกลยุทธอยางตอเนื่อง (9) หาแหลงงบประมาณ การใชจายโปรงใส ตรวจสอบได คุมคา (10) รวมกันปฏิรูปการเมืองโดยเริ่มจากทองถิ่น เพื่อใหความรวมมือระหวางภาคีตางๆไดเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม โดยเริ่มตนจากตัวของผูเขารวมการ ประชุม และทุกคนไดจึงไดกลาวตอที่ประชุมแสดงทรรศนะถึงสิ่งที่ตนตั้งใจจะทําหลังสิ้นสุดการประชุมครั้งนี้ดวย 2. การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตรดานแหลงน้ําชุมชน ธนาคารโลกไดสนับสนุนงบประมาณในชวงคาบเกี่ยวระหวางป พ.ศ.2551-2552ผานมูลนิธิน้ําและคุณภาพ ชีวิต ใหดําเนินกระบวนการขับเคลื่อนแผนแหลงน้ําชุมชน ใหไดแผนงานโครงการที่สามารถผลักดันเขาสูระบบการ จัดหางบประมาณ พรอมกันนั้น ทน. ไดประสานงานกับคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ ในการสํารวจออกแบบ โครงการกอสรางตางๆ จึงสามารถจัดทําแผนที่สําหรับทางเลือกตางๆ ประกอบดวย (1) การผันน้ําจากทายโรงงาน ไฟฟาพลังน้ําอางหวยปะทาว ไปเติม 7 + 3 อาง (2) การผันน้ําจากอางตาดใหญลงสูลุมน้ําหวยสามหมอ (3) การ สรางฝายกั้นน้ําและฝายยกน้ํา (4) การขุดลอกทางเดินน้ํา (5) การสรางเขื่อนใตดินเพื่อเก็บกักน้ําใตดิน เปนตน 2.1 การศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน (Feasibility Study, FS ) การศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน (FS) เปนการวิเคราะหความเหมาะสมโดยอาศัยขอมูลเบื้องตน ไดแก แผนที่กรมแผนที่ทหาร มาตราสวน 1 : 50,000 ขอมูลอุตุอุทกวิทยาในพื้นที่ใกลเคียง เจาหนาที่ผูรับผิดชอบโครงการ ผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ โดยการประสานงานทั้งแบบที่เปนทางการและไม เปนทางการ ผานคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ ตามขอกําหนดสัญญา (TOR) ที่ทําไวกับธนาคารโลก กําหนดใหมีการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน 172


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

โครงการผันน้ําจากโรงไฟฟาเขื่อนหวยประทาว ไปเติม 7 อางดานซายของโรงไฟฟาบริเวณเทือกเขาภูแลนคา ไดแก อางลําหวยนา อางโปรงคางนอย อางหนองนาไรเดียว อางหนองแวง อางโสกน้ําขาว และอางหินลับมีด ซึ่ง ทั้ง 7 อางเปนอางเก็บน้ําที่มีอยูแลว แตไมไดใชงานเต็มประสิทธิภาพ เนือ่ งจากบริเวณที่กอสรางอางเก็บน้ําอยู บริเวณเชิงเขา พื้นทีร่ ับน้ําฝนนอยจึงไหลลงอางไมเต็ม และโครงการเพิม่ ความจุอางเก็บน้ําตาดใหญ ซึ่งอยูในเขต ตําบลธาตุทอง อําเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ ในพื้นที่ลุมน้ําลําน้ําชีสวนที่ 2 จากนั้นผันเขามาในพื้นที่ลุมน้ําหวยสาม หมอตอนบน เพื่อแกปญหาภัยแลงของลุมน้าํ หวยสามหมอตามแผนชุมชนลุมน้ําหวยสามหมอ ตามแผนยุทธศาสตร ที่ 1 แผนแหลงน้ําชุมชน จากการศึกษาของคณะทํางานฯ และการทํางานรวมกับโครงการวางแผนลุมน้ํา (BDP) โครงการจัดการลุม น้ํา (WSMP) ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) พบวาโครงการที่เกี่ยวของกับการจัดการลุมน้ําจําแนกไดเปน 2 สวนดังนี้ (1) โครงการตามแผนยุทธศาสตรองคกรปกครองสวนทองถิ่น (ป พ.ศ.2551-2555) (2) รางแผนปฏิบัติการการบริหารจัดการลุมน้ําหวยสามหมอ (ป พ.ศ.2552-2555) จากการวิเคราะหแผนยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ป พ.ศ.2551-2555 องคกร ปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ลุมน้ําหวยสามหมอ ไดกําหนดยุทธศาสตรไว 24 ยุทธศาสตร มีวงเงินงบประมาณทั้งสิ้น 2,844,781,228 บาท สําหรับกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุมน้ําแบบบูรณาการ กรมทรัพยากรน้ําซึ่งเปนฝาย เลขานุการคณะกรรมการน้ําแหงชาติไดกําหนดยุทธศาสตร 6 ดาน ไดแก • อนุรักษ ฟนฟู และสรางความอุดมสมบูรณของพื้นที่ปาตนน้ํา • อนุรกั ษ ฟนฟูทรัพยากรน้ําดิน และการใชประโยชนที่ดิน • อนุ รั ก ษ ฟ น ฟู จั ด หา พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง แหล ง น้ํ า เพื่ อ การอุ ป โภค บริ โ ภค อุ ต สาหกรรมและ เกษตรกรรม • การจัดการคุณภาพน้ําและมลพิษ • การจัดการสิ่งแวดลอมเมือง • เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการลุมน้ํา โดยเนนกระบวนการมีสวนรวมของทุกภาคสวน • จากยุทธศาสตรดังกลาวและการทําแผนปฏิบัติการรวมระหวางคณะทํางานลุมน้ํา และผูแทนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น ทําใหเกิดแผนงานโครงการในระบบลุมน้ําจํานวนมาก ไดแก • แผนงานสงเสริมเกษตรอินทรีย • แผนงานปองกันการชะลางพังทลายของดิน • แผนงานสรางจิตสํานึก เปลี่ยนพฤติกรรม • แผนงานปลูกปา • แผนงานผันน้ําเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอางเก็บน้ําที่มอี ยูเดิม • แผนงานสูบน้ําดวยไฟฟา 173


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

• • • • • • • • • •

แผนงานผันน้ําขามลุมน้ํา (อางเก็บน้ําตาดใหญในลุมน้ําลําน้ําชีสวนที่2 เขามาลุมน้ําหวยสามหมอ) แผนงานสรางฝายและศึกษาความเหมาะสมสรางเขื่อนใตดิน แผนงานขุดลอก แผนงานกอสรางอางเก็บน้ํา แผนงานพัฒนาแกมลิง แผนงานจัดตั้งกลุมผูใชน้ํา แผนงานเสริมสรางขีดความสามารถคณะทํางานฯ แผนงานนโยบายและระเบียบ แผนงานพัฒนาระบบฐานขอมูล แผนงานวิจัย

2.2 ผลการศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน ตามขอกําหนดของสัญญา (TOR) ไดกําหนดใหคณะทํางานฯ จะตองศึกษาความเหมาะสมเบื้องตน โครงการ 2 เรื่อง ไดแกโครงการผันน้ําจากโรงไฟฟาเขื่อนหวยปะทาวไปเติม 7 อาง และโครงการเพิ่มความจุอาง เก็บน้ําตาดใหญ ซึ่งอยูในพืน้ ที่ลุมน้ําลําน้ําชีสวนที่ 2 แลวผันน้ําเขามาในลุมน้ําหวยสามหมอตอนบน แตจาก การศึกษาระบบฐานขอมูลลุมน้ํา และการใชประโยชนการใชที่ดินในลุมน้ําหวยสามหมอ พบวามีพื้นที่ที่นาจะ เหมาะสมในการกอสรางเขื่อนใตดิน พื้นที่ที่มศี ักยภาพจากเขื่อนใตดินมีพนื้ ที่กวา 100,000 ไร แตจะตองทํางานวิจัย เก็บขอมูล และศึกษาผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม และผลกระทบดานสังคมเพิ่มเติม ซึ่งคาดวาอาจจะตองใชเวลา ในการศึกษาวิจัยและออกแบบกอสรางหลายป 2.3 ผลการดําเนินงานอื่นๆ (1) การแปลงแผนยุทธศาสตรไปสูแผนปฏิบัติการ จากการจัดทําแผนรวมกันระหวางคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ และผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ทําใหเกิดแผนงานโครงการในระบบลุมน้ําดังนี้ • แผนงานสงเสริมเกษตรอินทรีย จํานวน 5 โครงการ • แผนงานปองกันการชะลางพังทลายของดิน จํานวน 1 โครงการ • แผนงานสรางจิตสํานึก เปลี่ยนพฤติกรรม จํานวน 5 โครงการ • แผนงานปลูกปา จํานวน 35 โครงการ • แผนงานผันน้ําเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพอางเก็บน้ําเดิม จํานวน 16 โครงการ • แผนงานสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 3 โครงการ • แผนงานผันน้ําขามลุมน้ํา จํานวน 1 โครงการ • แผนงานกอสรางฝายบนดินและเขื่อนใตดิน จํานวน 25 โครงการ • แผนงานขุดลอก จํานวน 26 โครงการ • แผนงานสรางอางเก็บน้ํา จํานวน 5 โครงการ • แผนงานพัฒนาแกมลิง จํานวน 9 โครงการ 174


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

• • • • •

แผนงานจัดตั้งกลุมผูใชน้ํา แผนงานเสริมสรางขีดความสามารถคณะทํางานฯ แผนงานดานโยบายและกฎระเบียบ แผนงานพัฒนาระบบฐานขอมูล แผนงานวิจัย

จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน

8 8 4 13 3

โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ

แผนปฏิบัติการการจัดการลุมน้ําเปนแผนที่เกิดจากคณะทํางานลุมน้ํา เครือขายลุมน้ํา และผูแทนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น สําหรับแผนงบประมาณ 3 ป ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปน แผนงบประมาณรายปของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ดังนั้นการจะทําใหแผนลุมน้ําฯ เปนจริงได คณะทํางานลุมน้ําจะตองนําแผนลุมน้ําฯ เขา ไปบรรจุในแผนฯ 3 ป ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น รวมถึงแผนพัฒนาจังหวัด ซึ่งปจจุบันมีกฎหมายใหอํานาจ จังหวัดเปนผูตั้งงบประมาณเองได และสวนราชการหากจะมีโครงการในพื้นที่จะตองมีรายละเอียดในแผนพัฒนา จังหวัดดวย (2) การนํา เครื่อ งมือ ระบบสนับ สนุน การตัด สิน ใจในการบริห ารจัด การลุม น้ํา (Decision Support Framework, DSF) มาใช สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission Secretariat, MRCS) ไดวาจาง บริษัท Halcrow Consultants ภายใตแผนงานการใชน้ํา (Water Utilization Program, WUP) จัดทํา Basin Modeling Package and Knowledge Base หรือเรียกวา Decision Support Framework (DSF) ซึ่งแลวเสร็จเมื่อเดือนมีนาคม 2547 และติดตั้งใหกับประเทศสมาชิก และ MRCS โดยในประเทศไทยไดติดตั้งที่ 3 หนวยงาน คือกรมทรัพยากรน้ํา กรมชลประทาน และกรมควบคุมมลพิษ เครื่องมือระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการลุมน้ํา เปนเครื่องมือสนับสนุนในการตัดสินใจ สําหรับประเทศภาคีในลุมน้ําแมโขง โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนเครื่องมือวิเคราะหเพื่อชวยในการจัดทํากฎเกณฑการ ใชน้ํา วางแผนพัฒนาลุมน้ํา โครงการ/แผนงานตางๆ ของ MRC เพื่อใหมีมาตรฐานเพื่อใชในการพิจารณารวมกันในเวที ประชุมและใชประกอบในการอางอิง เพื่อใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน ในคราวประชุมคณะกรรมการรวม ครั้งที่ 19 เมื่อวันที่ 24-26 มีนาคม 2547 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา คณะกรรมการรวมไดอนุมัติในหลักการใหใช DSF เปนเครื่องมือวิเคราะหในการสนับสนุนการรางกฎเกณฑการใชน้ําและ การผันน้ําขามลุมน้ํา รวมทั้ง แผนพัฒนาลุมน้ําและแผนงาน/โครงการอื่นๆ ของ MRC ดวย ปจจุบัน การดําเนินงานของ DSF อยูภายใตแผนงานการจัดการองคความรูและขอมูลขาวสาร (Information and Knowledge Management Programme, IKMP) (3) ชุดแบบจําลอง (Modelling) กรมทรัพยากรน้ํา ในฐานะสํานักงานเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย (Thai National Mekong Committee Secretariats, TNMCS) รวมกับ MRCS ในโครงการประยุกตใช DSF สําหรับกรณีศึกษา เพื่อจัดทําสภาพ 175


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

การณจําลองในประเทศ ซึ่งดําเนินงานมาตั้งแตป 2549 จนถึงปจจุบันป 2551 มีพื้นศึกษา ดังนี้คือ (1) ป 2549 จํานวน 2 กรณี คือ ลุมน้ํากก และลุมน้ําชี-มูล (2) ป 2550 จํานวน 2 กรณี คือ ลุมน้ําเลย และลุมน้ําหวยโมง และ (3) ป 2551 จํานวน 2 กรณี คือลุมน้ําหวยสามหมอ และลุมน้ําลําตะคอง

สรุป มีการประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อกําหนดแนวทางการจัดทําแผนบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ และ การสรางความเขมแข็งองคกรลุมน้ําในพื้นที่ลุมน้ําโขง-ชี-มูล เมื่อวันจันทรที่ 26 มกราคม 2552 ที่โรงแรมอุบล อินเตอรเนชั่นแนล (เนวาดาแกรนด) อําเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี โดยนายศักดิ์สิทธิ์ ตรีเดช ปลัดกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในขณะนั้น เปนประธานที่ประชุม ภายใตการสนับสนุนของธนาคารโลก คณะผูแทนองคกรลุมน้ําชี ลุมน้ํามูล และลุมน้ําโขงภาคอีสาน (ในคณะผูแทนมีผูแทนจากลุมน้ําหวยสาม หมอรวมอยูดวย)5 ซึ่งไดเขารวมประชุมสัมมนาดังกลาว ไดรวมกันระดมความคิดเห็น และประชุมปรึกษาหาขอสรุป เปนแนวทางปฏิบัติในการเสริมสรางความเขมแข็งใหแกองคกรลุมน้ํา (River Basin Committee, RBC) มีขอสรุป สําหรับการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําของประเทศไทย พบวาขอจํากัดขององคกรลุมน้ําเกิดจากปญหาตางๆ คือ 1. ปญหาระดับนโยบายของรัฐบาล ดานนโยบาย รัฐบาลยังไมมีความชัดเจนในนโยบายดานการอนุรักษ พัฒนา จัดหา และจัดการทรัพยากร น้ํา วาจะสามารถทําใหนโยบายดังกลาวกลายเปนแผนปฏิบัติการไดอยางไร รวมทั้งดานกฎระเบียบราชการ ยังไมมี กฎหมายที่วาดวยการบริหารจัดการลุมน้ําตามหลักการบริหารจัดการแบบผสมผสานที่ชัดเจน ที่สําคัญคือรัฐบาล ไมไดวางน้ําหนักที่สมควรและชอบดวยเหตุผล ในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทําใหการบริหารจัดการ เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไมมีงบประมาณเพียงพอสําหรับดําเนินการ กลาวโดยรวมคือรัฐบาลทุกยุค สมัย ละเลยที่จะปฏิบัติแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว สมควรมีการหยิบยกขึ้นมาเปนประเด็น เรียกรองตอรัฐในเรื่องนี้ 2. ปญหาที่เกิดจากสวนราชการ สวนราชการที่มีอํานาจหนาที่ดานทรัพยากรน้ํามีจํานวนมาก แตการปฏิบัติไมมีเอกภาพ ระบบราชการไม สามารถบูรณาการกันไดจริง จึงไมอาจตอบสนองความตองการของประชาชนไดจริงเนื่องจากเปาหมายไมชัด ระบบ ฐานขอมูลความรูไมเพียงพอ ไมเปนปจจุบัน ไมสามารถเชื่อมโยงระบบไดจริง ทั้งขาดความตอเนื่อง จึงไมไดรับการ ยอมรับจากประชาชน การบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ํา ยังไมไดรับการยอมรับจากทุกสวนราชการ เนื่องจากมี ระบบบริหารจัดการเปนระบบทองที่การปกครองที่ถือใชมากอนนับรอยป 3. องคกรลุมน้ํา กฎระเบี ย บที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช อ ยู ใ นป จ จุ บั น คื อ ระเบี ย บสํ า นั ก นายกรั ฐ มนตรี ว าด ว ยการบริ ห ารจั ด การ ทรัพยากรน้ําแหงชาติ (แกไขเพิ่มเติม พ.ศ.2550) กําหนดหนาที่ใหแกองคกรลุมน้ํามากมาย แตไมมีอํานาจที่แทจริง 5

ขอสรุปและขอเสนอแนะนี้ คณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอมีสวนรวมโดยการนําประสบการณ 3 ปแรก (2549-2551) ขึ้นเสนอและแลกเปลี่ยน ประสบการณกับผูแทนลุมน้ําอื่นๆ ดวย

176


บทบาทคณะทํางานลุ่มน้ําห้วยสามหมอกับประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรลุ่มน้ํา / สมคิด สิงสง

ในทางปฏิบัติ ผนวกกับปญหางบประมาณไมเพียงพอ ทําใหการทํางานขององคกรลุมน้ําไมมีความตอเนื่อง ไมมี ระบบฐานขอมูลและองคความรูที่ดีพอ ทั้งสัดสวนในคณะกรรมการลุมน้ําที่เปนภาคประชาชนก็มักจะมีจํานวนนอย กวาภาคราชการ การมีสวนรวมตามหลักการบริหารจัดการแบบผสมผสานจึงไมเปนจริง 4. ประชาชน ไมมีความเขาใจในบทบาทการมีสวนรวม ขาดโอกาสและขาดกระบวนการเรียนรู ทําใหไมมีขอมูล ไมมีองค ความรู หรื อ รู แ ต ไ ม มี จิ ต สํ านึ ก ที่ จ ะปฏิ บั ติ เรี ย กร อ งสิ ท ธิ ม ากเกิ น ไป สนใจแต ก ารพั ฒ นาเชิ ง วั ต ถุ จึ ง ขาดพลั ง สรางสรรคที่จะนําพาชุมชนไปสูอนาคตที่ดีงาม กลาวโดยสรุปคือปจจัยที่สงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ปจจัยหลักคือ “คน” ดังนั้น แผนปฏิบัติการใดก็ตามที่มีจุดประสงคจะฟนฟูสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ตองใหความสําคัญอันดับแรกกับแผน สรางความเขาใจใหแกคน

เอกสารอางอิง กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2549. โครงการจัดทําแผนรวมการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ําในพื้นที่ลุมน้ําชี รายงานลุมน้ําสาขาหวยสามหมอ (รหัสลุมน้ําสาขา 0407), โดย บริษัทที่ปรึกษา 3 บริษัทคือ บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอนด แมเนจเมนท จํากัด บริษัท นอรธอิสต คอนซัลแตนส จํากัด และบริษัท พรี ดีเวลลอปเมนท คอนซัลแตนท จํากัด. กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.thailocaladmin.go.th สํานักนายกรัฐมนตรี, 2550. ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแหงชาติ พ.ศ.2532 และที่แกไขเพิ่มเติมจนถึง ฉบับที่ 3 พ.ศ.2550. องคการจัดการน้ําเสีย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2550. เอกสารประกอบการสัมมนาครั้งที่ 1 โครงการจัดทําแผนแมบทการจัดการน้ําเสียในระดับลุมน้ํา พรอมจัดทําและพัฒนาระบบ ฐานขอมูลการจัดการน้ําเสีย เพื่อชวยในการตัดสินใจ (4 ลุมน้ํา), บริษัท ทีม คอนซัลติ้ง เอนจิเนียริ่ง แอน แมเนจเมนท จํ ากั ด และบริษั ท แอสดี ค อน คอร ป อเรชั่ น จํ ากั ด , 20 พฤษภาคม 2550 ที่โ รงแรม มิราเคิล แกรนด คอนเวนชั่น ถนนวิภาวดีรังสิต กทม. Mekong River Commission. [online] available http://www.mrcmekong.org

177


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน

Somkhit Singsong, 2008. Three Years Experience in the Pioneer Stage in Huai Sam Mo Sub-Watershed Management Planning, Final Report for World Bank.

178


บทที่ 10 โครงขายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บานฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอยางบูรณาการ” โยธิน วรารัศมี กรรมการเลขานุการมูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต

ที่มาบทความ แผนแมบทโครงขายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บานฝาง เกิดขึ้นจากการตื่นตัวของประชาชน 3 อํ า เภอ ซึ่ ง เป น ผลมาจากการระดมความคิ ด เห็ น แนวทางการวางกรอบนโยบาย ร า งรั ฐ ธรรมนู ญ ด า นที่ ดิ น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม รัฐธรรมนูญ ป พ.ศ. 2540 เมื่อรัฐธรรมนูญ ป พ.ศ. 2540 มีผลบังคับใช ประชาชนจึงอาศัยบทบัญญัติรัฐธรรมนูญเรียกรองสิทธิในการบริหารจัดการน้ําดวยตนเอง ซึ่งประชาชนทั้ง 3 อําเภอ ตั้งอยูเหนือเขื่อนอุบลรัตน ซึ่งเปนอางเก็บน้ํา ขนาดใหญ สามารถนํามาพัฒนาเพื่อใชขยายพื้นที่ระบบชลประทาน เพื่อใชในการทําการเกษตรไดอยางมากมาย ซึ่งแตกอนหากจะใชน้ําบริเวณอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตนตองขอ อนุญาตการไฟฟาฝายผลิตเสียกอน เมื่อรัฐธรรมนูญมีบทบาทในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ประชาชนทั้ง 3 อําเภอ ไดรวมกับมูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ไดทําหนังสือขอไปที่องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน เพื่อขอให ทําการศึกษาจัดทําแผนแมบทโครงขายน้ํา 3 อําเภอ ขึ้นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2547 และแลวเสร็จในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2547 โดยองคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน ทําขอตกลงสนับสนุนงบประมาณ สถานบันแหลง น้ํามหาวิทยาลัยขอนแกน มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ทําการศึกษาโดยใชเวลาทําการศึกษาทั้งหมด 220 วัน เมื่อ แผนแมบทโครงขายน้ํา 3 อําเภอแลวเสร็จ องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน จะนําแผนที่ไดสงใหหนวยงาน ดานทรัพยากรน้ํา ที่เกี่ยวของกับกรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดิน กรมทรัพยากรน้ํา และองคการบริหารสวน ตําบล เพื่อบูรณาการงบประมาณตามแผนตามวิธีการงบประมาณ เพื่อใหแผนงานแลวเสร็จตามเปาหมายซึ่งวาง กรอบไวในระยะเวลา 5 ป นับจาก ป พ.ศ. 2547 - พ.ศ. 2552

วัตถุประสงคและวิธีดําเนินการศึกษา การพัฒนาและบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ จะเกี่ยวของกับสวนสําคัญที่เปนหลักใหญๆ อยู 2 สวน คือ ปริมาณน้ําและคุณภาพน้ํา เนื่องจากน้ําเปนทรัพยากรสําคัญสําหรับการดํารงชีวิต และความเปนอยูของมนุษย รวมทั้งสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในชุมชนที่มีประชากรอยูอาศัย สวนใหญจะตั้งถิ่นฐานอยูใกลกับแหลงน้ํา ผิวดิน อันไดแก แมน้ํา ลําน้ํา หวย หนอง คลอง บึงตางๆ การใชน้ําจากแหลงดังกลาวจะเปนไปอยางสมดุลและยั่งยืนจะตองอาศัย หลักการของความพอดี อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง และอําเภอบานฝาง เปนอําเภอที่มีพื้นที่สวนใหญอยูตอนบนของอางเก็บ น้ําเขื่อนอุบลรัตน พื้นที่รวมสามอําเภอประมาณ1,868 ตารางกิโลเมตร 31 ตําบล 347 หมูบาน มีประชากรรวม ประมาณ 239,642 คน โดยมีลําน้ําสายหลักไดแกลําน้ําบอง หวยโมง ลําน้ําเชิญ ไหลลงอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน บริเวณพื้นที่ อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง และอําเภอบานฝาง ที่ติดกับลุมน้ําพอง มีโอกาสไดรับประโยชนจาก ทรัพยากรน้ําที่อยูใกลตัวเพื่อนําไปใชประโยชนทางการเกษตรหรือการบริโภคนอยมาก ถึงแมวาจะมีโครงการ พัฒนาตางๆ แตโครงการพัฒนาแหลงน้ําสวนใหญเปนโครงการพัฒนาขนาดเล็ก และโครงการสูบน้ําดวยไฟฟา


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

บางโครงการไมสามารถจะใชประโยชนไดเต็มที่ โครงการตางๆ ยังขาดการประสานงาน และมีระบบการจัดการที่ ไมกอใหเกิดประโยชนเทาที่ควร สภาพแหลงน้ําธรรมชาติและแหลงน้ําที่สรางไวแลวเกิดความเสื่อมโทรม ตื้นเขิน ทั้งยังขาดการบํารุงรักษา ทําใหไมสามารถตอบสนองความตองการพื้นฐานของประชาชนในลุมน้ําได เนื่องจากไม มีองคกรผูใชน้ําที่มีความเขมแข็งในการบริหารจัดการน้ํา การพัฒนาแหลงน้ําในอดีตจะมีหนวยงานดําเนินการ จํานวนมากลงมาดําเนินการโดยไมมีการประสานแผนเพื่อใหไดประโยชนตอประชาชนอยางเต็มที่ นอกจากนั้นการ พิจารณาจะมองเฉพาะจุด โดยไมมองภาพรวมเปนลุมน้ําของพื้นที่ จึงไมสามารถพัฒนาไดเต็มศักยภาพของพื้นที่ ได ทรัพยากรน้ําสวนใหญของพื้นที่ทั้งสามอําเภอจะไหลลงสูอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน แตประชาชนของทั้งสาม อําเภอกลับไดประโยชนจากน้ําที่เก็บกักในอางเก็บน้ําไมมากนัก เพราะขาดระบบสูบน้ําสงน้ําและกระจายน้ําไป ยังพื้นที่ที่ตองการน้ํา ดังนั้นเพื่อใหการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสอดคลองกับวิสัยทัศนการ พั ฒ นาจั ง หวั ด การพั ฒ นาแหล ง น้ํ า และใช ป ระโยชน แ หล ง น้ํ า อย า งยั่ ง ยื น ในพื้ น ที่ ทั้ ง สามอํ า เภอ เพื่ อ ให เ กิ ด ประโยชนสูงสุดแกประชาชนทั้งสามอําเภอ และรองรับการขยายตัวของการพัฒนาการดาน เศรษฐกิจ สังคม การเกษตร อุตสาหกรรม การคา และการบริการในพื้นที่ไตรภาคีในอนาคต จึงเกิดโครงการการศึกษาเพื่อจัดทํา แผนแมบทเพื่อการบริหารจัดการน้ําอยางยั่งยืนในพื้นที่สามอําเภอนี้

วัตถุประสงคการศึกษา เปนการศึกษาเพื่อจัดทําแผนแมบทในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนในพื้นที่อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง และอําเภอบานฝาง อันจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของประชาชนทั้งสามอําเภอการศึกษา ครั้ ง นี้ กระทํ า ครอบคลุ ม พื้ น ที่ 3 อํ า เภอ โดยมี ร ะยะเวลาดํ า เนิ น งานโครงการ 120 วั น นั บ จากวั น ที่ มหาวิทยาลัยขอนแกนรวมลงนามทําสัญญากับองคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน คือวันที่ 17 สิงหาคม 2547 โดยมีกําหนดการทํางานคือตองจัดทํารายงานเบื้องตน ภายใน 40 วัน นับจากวันเริ่มปฏิบัติงานตามสัญญาจางหลัง จากนั้นอีก 60 วัน สงรางรายงานที่ผานปรับปรุงแกไขโดยการมีสวนรวมของประชาชนในพื้นที่และหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทํารายงานฉบับสมบูรณภายในระยะเวลาที่เหลือ

เกี่ยวกับเอกสารรายงาน รายงานฉบับสมบูรณของโครงการ ประกอบดวยแผนแมบท 5 แผน และ2 ยุทธศาสตรที่เกิดจากการ รวบรวมและวิเคราะหขอมูลของผูเชี่ยวชาญ และเกิดจากประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ รวมกันเสนอโครงการ แบง ออกเปน 2 สวนใหญๆ คือ รายงานหลัก และรายงานประกอบซึ่งมีสาระสําคัญของแผนแมบท 5 แผน คือ (1) แผนแมบทการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา ประกอบดวยโครงการและแผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนา แหลงน้ําในพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอ รวมทั้งการคาดการณผลประโยชนของประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ ที่จะไดรับจาก โครงขายน้ําที่นําเสนอหากวามีการดําเนินการตามขอเสนอแนะ แผนแมบทการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํานี้ จะ ประมวลเอา ยุทธศาสตรดานสงเสริมการเกษตรเขามารวมวิเคราะหดวย รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพน้ําใตดินการ ผลิตพลังงานไฟฟาแสงอาทิตยและการลงทุน (2) แผนแมบทการจัดสรรน้ํา เปนแผนที่รวมการกําหนดยุทธศาสตรและกิจกรรมเขาดวยกัน กลาวคือ แผนแมบทไมใชเพียงแตเปนแนวทางในการจัดสรรน้ําและการใชน้ําเทานั้นแตเปนการกําหนดดวยวาในทางปฏิบัติ 180


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

จะตองทําอะไรบาง เพื่อบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย ซึ่งมี 1 แผนยุทธศาสตร และ 2 แผนปฏิบัติ รวมทั้ง โครงการนํารอง 3 โครงการ ซึ่งเปนโครงการที่ประมวลมาจากยุทธศาสตรการจัดการลุมน้ําโดยชุมชน (3) แผนแมบทการอนุรักษแหลงน้ํา ประกอบดวยแผนอนุรักษแหลงน้ําที่จัดทําขึ้น แบงโครงการออกเปน 2 ประเภท คือ โครงการปลูกและฟนฟูปาตนน้ําลําธาร และโครงการขุดลอกแหลงน้ําตางๆ เปนแผนระยะ 5 ป ตั้งแตป พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2552 (4) แผนแมบทการแกไขปญหาอุทกภัย การจัดทําแผนแมบทและแผนปฏิบัติการแกไขปญหาอุทกภัยใน พื้นที่ 3 อําเภอของจังหวัดขอนแกน เปนการแกปญหาแบบบูรณาการทั้งทางดานการบรรเทาปญหาอุทกภัย การ จัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา และแผนแมบทการอนุรักษแหลงน้ําที่ซอนทับกัน 3 แผนแมบท (5) แผนแมบทการแกไขปญหาคุณภาพน้ําคุณภาพชีวิต คือแผนงานที่ประกอบดวยแผนหลัก (แมบท) ที่มี แผนกลยุทธ และโครงการตางๆ รองรับ โดยแผนที่สรางขึ้นสามารถนําไปขยายผลจากกรอบที่กําหนดดวยโครงการ ที่มีรายละเอียดเพียงพอสําหรับนําไปปฏิบัติได ซึ่งแผนแมบทดังกลาวจะมุงไปยังคุณภาพน้ําในแหลงน้ําผิวดิน ในแผนแมบทที่ 3, 4 และ 5 รายละเอียดของโครงการที่นําเสนอจะซอนทับกัน เพราะฉะนั้นราละเอียดจะ นํามาสรุปไวอีกบทหนึ่ง เพื่อไมใหงบประมาณซอนกัน แตในรายงานประกอบของแตละแผนแมบทจะคงโครงการที่ ผูเชี่ยวชาญแตละทานไดเสนอไวอยางละเอียด

วิธีดําเนินการศึกษา เพื่อใหแผนแมบทมีความสอดคลองกับโอกาสและขอจํากัดทางภูมิศาสตรของพื้นที่ และโอกาสและขอจํากัด ของประชาชนในพื้นที่ แนวทางการศึกษาจึงกําหนดไดเปนขั้นตอนดังนี้ (1) ศึกษาดานวิชาการถึงศักยภาพของการพัฒนาแหลงน้ําธรรมชาติ แหลงน้ําผิวดินและใตดินอยางเปน ระบบลุมน้ําเพื่อความนาเชื่อถือของแผนฯ ไดศึกษาขอมูลปฐมภูมิ รวมทั้งศึกษาเพิ่มเติมจากแผนที่ทางอากาศ ภาพถายดาวเทียมขอมูลและสภาพอุทกวิทยา และแผนที่น้ําใตดิน (2) นําเสนอกรอบและทิศทางการศึกษาตอตัวแทนหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ชลประทานจังหวัด สํานักงานทรัพยากรน้ํา ภาค 4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ปาไม จังหวัดหรือกรมอุทยาน สํานักนโยบายและแผน องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน สํานักงานพัฒนาที่ดิน จังหวัดขอนแกน นายอําเภอทั้ง 3 ที่อยูในพื้นที่ศึกษา คณะอนุกรรมการลุมน้ําชี ผูอํานวยการการไฟฟาฝายผลิต ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูอํานวยการการประปาเขต 6 ตัวแทนบริษัทอีสวอเตอร รวมทั้งสมาชิกสภาผูแทน ราษฎร ในพื้นที่และตัวแทนหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ (กํานัน ผูใหญบาน อบต.) เพื่อดําเนินการจัดทําแผนแมบท เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน (3) รวบรวมประเด็นความตองการของประชาชนในทองถิ่น และองคการปกครองทองถิ่นในการจัดการ เรื่องน้ําและขอคิดเห็นจากตัวแทนหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เชน ชลประทานจังหวัด สํานักงานทรัพยากรน้ํา ภาค 4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัด สํานักงานสิ่งแวดลอมภาค ปาไมจังหวัดหรือกรมอุทยาน สํานักนโยบายและแผน องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน สํานักงานพัฒนาที่ดินจังหวัดขอนแกน นายอําเภอ ทั้ง 3 ที่อยูในพื้นที่ศึกษา คณะอนุกรรมการลุมน้ําชี ผูอํานวยการการไฟฟา ฝายผลิตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูอํานวยการการประปาเขต 6 ตัวแทนบริษัทอีสวอเตอร รวมทั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในพื้นที่ และตัวแทน หนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ (กํานัน ผูใหญบาน อบต.) เพื่อดําเนินการจัดทําแผนแมบท เพื่อการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน 181


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

(4) ตรวจสอบแผนแมบทเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน ในประเด็นตางๆ และความ ตองการของประชาชนและขอคิดเห็นจาก ขอ (2) เพื่อประกอบการจัดทําแผนพัฒนาฯ (5) แนะนําแผนแมบทเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืนที่ไดจัดทําแลว มาสอบถามความเห็น ของตัวแทนภาคประชาชนกลุมตางๆ ผานการจัดสัมมนากลุมยอย (6) ปรับปรุงแผนแมบทเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน (7) จัดการประชุมเพื่อ สอบถามและประเมิ นความคิ ดเห็ นจากตั วแทนภาคประชาชนกลุม ตางๆ และ ตัวแทนหนวยงานตางๆ อีกครั้งหนึ่ง (8) ปรับแกและจัดทํา “แผนแมบทเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน” ครั้งสุดทาย นอกจากนี้แลวการจัดทําแผนแมบทตางๆ ตองตรวจสอบขอมูลกับรัฐธรรมนูญ นโยบายน้ําแหงชาติ แผน ยุ ท ธศาสตร ข องจั ง หวั ด ขอนแก น ข อ มู ล ภู มิ ศ าสตร และข อ มู ล เศรษฐกิ จ สั ง คมของพื้ น ที่ แล ว นํ า มากํ า หนด ยุทธศาสตรที่เหมาะสมกับจุดออนจุดแข็งของพื้นที่และของประชาชนในพื้นที่ และกําหนดกิจกรรมที่สอดคลองกับ ยุทธศาสตรและกําหนดรายละเอียดอื่นๆ

กรอบการรวบรวมขอมูลและประเภทขอมูลที่รวบรวม ขอมูลที่รวบรวมถูกนํามาใชเปนกรอบในการจัดทําแผนแมบท แบงออกเปนสามระดับคือ (1) กรอบรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (พ.ศ. 2540) คือเจตนารมณของประชาชน โดยเฉพาะมาตรา 84 ที่ บังคับให “รัฐตองจัดระบบการถือครองที่ดินและการใชที่ดินอยางเหมาะสม จัดหาแหลงน้ําเพื่อการเกษตรกรรม ให เกษตรกรอยางทั่วถึง และรักษาผลประโยชนของการเกษตรกรในการผลิตและการตลาดสินคาเกษตร ใหไดรับ ผลตอบแทนสูงสุด รวมทั้งสงเสริมการรวมตัวของเกษตรกรเพื่อวางแผนการเกษตร และรักษาผลประโยชนรวมกัน ของเกษตรกร” รัฐธรรมนูญ ป 2550 สวนที่ 8 แนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม มาตรา 85 รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมดังตอไปนี้ (1) กํ า หนดหลั ก เกณฑ ก ารใช ที่ ดิ น ให ค รอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ โดยให คํ า นึ ง ถึ ง ความสอดคล อ งกั บ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ทั้งผืนดิน ผืนน้ํา วิถีชีวิตของชุมชนทองถิ่นและการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ อยางมีประสิทธิภาพ และกําหนดมาตรฐานการใชทีดินอยางยั่งยืน โดยตองใหประชาชนในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบ จากหลักเกณฑการใชที่ดินนั้นมีสวนรมในการตัดสินใจดวย (2) กระจายการถือครองที่ดินอยางเปนธรรมและดําเนินการใหเกษตรกรมีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิในที่ดินเพื่อ ประกอบเกษตรกรรมอยางทั่วถึงโดยการปฏิรูปที่ดินหรือวิธีอื่น รวมทั้งจัดหาแหลงน้ําเพื่อใหเกษตรกรมีน้ําใชอยาง พอเพียงและเหมาะสมแกการเกษตร (3) จัดใหมีการวางผังเมือง พัฒนา และดําเนินการตามผังเมืองอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อประโยชนในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืน 182


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

(4) จั ด ให มี แ ผนการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า และทรั พ ยากรธรรมชาติ อื่ น อย า งเป น ระบบและเกิ ด ประโยชน ต อ ส ว นรวม ทั้ ง ต อ งให ป ระชาชนมี ส ว นร ว มในการสงวน บํ า รุ ง รั ก ษา และใช ป ระโยชน จ าก ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพอยางสมดุล (5) สงเสริม บํารุงรักษา และคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน ตลอดจนควบคุม และกําจัดภาวะมลพิษที่มีผลตอสุขภาพอนามัยสวัสดิภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยประชาชน ชุมชน ทองถิ่นและองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองมีสวนรวมในการกําหนดแนวทางการดําเนินงาน การศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของการจัดหาแหลงน้ําเพื่อเกษตรกรรมใหเกษตรกรอยางทั่วถึง ทั้งนี้เนื่องจาก พื้นที่สวนใหญของจังหวัดเปาหมายทั้งสองขาดแหลงน้ําเพื่อเกษตรกรรม (2) กรอบนโยบายน้ําแหงชาติ ถือวานโยบายน้ําแหงชาติคือเจตนารมณของรัฐบาล ก็พบวาน้ําแหงชาติในสวนที่เกี่ยวของกับการศึกษานี้ สอดคลองรับรัฐธรรมนูญมาตรา 84 อยางชัดเจน กลาวคือนโยบายน้ําแหงชาติขอ 5 ที่วา “จัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา เพื่ อ การเกษตรให แ ก เ กษตรกรอย า งทั่ ว ถึ ง และเป น ธรรม เพื่ อ ตอบสนองความต อ งการขั้ น พื้ น ฐานในการทํ า การเกษตร และอุปโภคบริโภค เชนเดียวกับการใหบริการขั้นพื้นฐานของรัฐดานอื่นๆ” นโยบายน้ําแหงชาติยังไดใหเปาหมายดานเวลาไวในวิสัยทัศนวา “ภายในป พ.ศ.2568 ประเทศไทยจะมีน้ํา ใชอยางเพียงพอและมีคุณภาพ โดยมีระบบการบริหารจัดการ องคกร ระบบกฎหมายในการใชทรัพยากรน้ําที่เปน ธรรม และยั่ง ยืน โดยคํ านึง ถึงคุ ณภาพชีวิต และการมีสว นรวมในทุ กระดับ กรอบที่ (1) และ (2) เป นหลั กการ ระดับชาติ (3) กรอบยุทธศาสตรจังหวัดขอนแกน จากกรอบระดับชาติที่กลาวมา จะเห็นไดวาการศึกษานี้เปนสวนหนึ่งของความพยายามดําเนินงานให เปนไปตามกรอบแตจํากัดอยูเฉพาะในพื้นที่ 3 อําเภอ เปาหมายเทานั้น ดังนั้นกรอบของจังหวัด จึงเปนสิ่งที่จําเปน ที่ตองนําเขามารวมพิจารณาการศึกษาเพื่อจัดทําแผนแมบทเพื่อการแกไขปญหาคุณภาพน้ําและสิ่งแวดลอมในเขต พื้นที่ 3 อําเภอ เพื่อใหไดมาซึ่งแผนแมบทจําเปนตองอาศัยองคการบริหารจั ดการในระดับท องถิ่น อันไดแ ก องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) ซึ่งมีทั้งสิ้น 3 แหง รวม 369 หมูบาน เปนองคกรหลักที่ใกลชิดกับปญหาและ รับผิดชอบในการแกไขปญหาในหลายๆ ดาน เปนตัวประสานเพื่อใหขอมูลพื้นฐานในแตละทองถิ่นและชุมชน ขอมูลที่ไดจากพื้นที่และขอมูลอื่นๆ จะนํามาประมวลวิเคราะหและจัดทําแผนที่สมบูรณตอไป ซึ่งแนวทางการศึกษา จะมีรายละเอียดตามขั้นตอนดังนี้ (1) (2) (3) (4)

รวบรวมและศึกษาขอมูลเชิงกายภาพในพื้นที่เขต อบต. ตางๆ รวบรวมและศึกษาวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษจากประชาชนและองคกรในทองถิ่น 3 อําเภอ รวบรวมและศึกษาประเด็นความตองการของทองถิ่นและประชากร รวบรวมและศึกษาขอมูลการวิจัยและรายงานจากหนวยงานรัฐ หรือองคกรที่เกี่ยวของกับประเด็น ปญหาที่กําลังศึกษา เพื่อนํามาปรับใชในแผนแมบท (5) วิเคราะหขอมูลเพื่อจัดทําแผนแมบท 183


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

(6) นําแผนแมบทที่รางขึ้นไปทําประชาพิจารณมาพิจารณโดยประชาชนและองคกรที่เกี่ยวของ (7) นํ าข อ คิ ด เห็ น ข อ เสนอแนะความต อ งการที่ ไ ด จ ากประชาพิ จ ารณ ม าพิ จ ารณาเพื่ อ ปรั บ แก ใ ห สอดคลองกัน (8) นําเสนอแผนแมบทฉบับสมบูรณเพื่อนําไปเปนแนวทางในการแกปญหาตอไป

แผนแมบทการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา แนวคิดในการจัดทําแผน การจัดทําแผนแมบทการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา ไดยึดหลักตามแนวทางในการบริหารจัดการลุมน้ําที่ จะตองนําไปสูระบบการบริหารจัดการอยางบูรณาการและยั่งยืน มีกรอบแนวความคิดตามแนวทางการบริหาร จัดการลุมน้ํา ดังแสดงในรูปที่ 1 โดยเริ่มตนจากการเอาแหลงน้ําที่มีอยูในพื้นที่เปาหมายมาเปรียบเทียบความ ตองการใชน้ําดานตางๆ แลวดูวามีสัดสวนแตกตางกันขนาดไหน ในกรณีที่ปริมาณน้ํามีไมเพียงพอ ตองจัดหามา จากแหลงอื่นๆ หรือพัฒนาและปรับปรุงแหลงทรัพยากรน้ําในพื้นที่ใหสามารถกักเก็บปริมาณน้ําไดมากขึ้น และ เชื่อมโยงแหลงเก็บกักน้ําเหลานี้เปนโครงขายน้ํา เพื่อสงน้ําใหกับพื้นที่เปาหมาย จากนั้นก็เพิ่มประสิทธิภาพในการ จัดสรรและดูแลโครงขายอยางเปนระบบ โดยการจัดตั้งองคกรหรือตัวแทนเขามาควบคุมดูแลโครงขายเหลานั้น เปนตน ดังที่แสดงไวในรูปดานลางนี้

รูปที่ 1 กรอบแนวทางการบริหารจัดการน้ําในลุมน้ํา ในพื้นที่ 3 อําเภอ ไดแก อําเภอภูเวียง หนองเรือ และบานฝางนั้น จะเห็นไดวามีจุดแข็งของพื้นที่คือ อยูติดกับ แหลงกักเก็บน้ําขนาดใหญคือเขื่อนอุบลรัตน ฉะนั้นจึงควรใชอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตนเปนศูนยกลางในการวางแผน จัดหาและพัฒนาโครงขาย เมื่อพิจารณาตัวอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตนเปนศูนยกลางแลว อางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน เองจะมีลําน้ําหลักที่ไหลลงอางอยู 3 สาย คือ ลําพะเนียง ลําน้ําพอง และลําน้ําเชิญ โดยที่ลําพะเนียงจะไหลเขา 184


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

อางทางดานบนผานอําเภอศรีบุญเรืองและโนนสัง สวนลําน้ําพองจะไหลเขาอางที่กิ่งอําเภอหนองนาคําและ อําเภอ ภูเวียง และลําน้ําเชิญจะไหลเขาอางที่อําเภอหนองเรือ ดังรูปที่ 2

รูปที่ 2 ทิศทางการไหลผานของน้ําผานตัวอยางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน หลักเกณฑในการวางโครงขายน้ํา การวางโครงขายการพัฒนาแหลงน้ําในกรอบของโครงขายน้ําตามนโยบายของรัฐบาล โครงขายน้ําที่เสนอ จะเปนโครงขายระดับทองถิ่น และเครือขายน้ําระดับภูมิภาคโดยโครงขายน้ําระดับทองถิ่นจะเปนโครงขายน้ําขนาด เล็ ก อยู ภ ายในลุ ม น้ํ า ย อ ยขนาดเล็ ก เป น ลั ก ษณะลุ ม น้ํ า เดี ย วหรื อ หลายลุ ม น้ํ าติ ด กั น โดยใช ห ลั ก เกณฑ ใ นการ วางโครงการโครงขายน้ํา หลักเกณฑสําคัญที่สุดในการวางโครงการโครงขายน้ํา คือจะใชแหลงน้ําธรรมชาติ และแหลงน้ําที่สรางขึ้น แลวทุกแหลงในลุมน้ําใหเปนประโยชนมากที่สุดกอน โดยไมคํานึงถึงวาหนวยงานไหนดูแลอยู จากนั้นจึงสราง แหลงกักเก็บน้ําเพิ่ม โดยคํานวณจากปริมาณน้ําที่ไดและปริมาณน้ําที่ตองการโดยคํานึงถึงน้ําสําหรับการอุปโภค บริโภคกอน แลวคอยมาจัดสรรใหสําหรับการชลประทานหรือเพื่อการเกษตรเปนลําดับถัดไป สําหรับน้ําเพื่อการ อุตสาหกรรมและทองเที่ยวจะคอยนํามาพิจารณาในสวนทาย หลักเกณฑในการวางโครงขายน้ําคือ 1. อางอุบลรัตนเปนศูนยกลางของการพัฒนา 2. แบงเขตการเก็บกักน้ําของอางอุบลรัตนเปน 5 เขต คือ เขตที่ 1 อางอุบลรัตน เขตที่ 2 อางอุบลรัตน – เชิญ 185


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

เขตที่ 3 อางอุบลรัตน – น้ําพอง เขตที่ 4 อางอุบลรัตน – ลําพะเนียง เขตที่ 5 อางอุบลรัตน – โนนสังข 3. การกอสรางฝายหินตั้งที่แนวแบงเขต เพื่อทดน้ําในเขตที่ 2 และ 3 ใหมีระดับน้ําสูงเหมาะสําหรับการ สูบน้ําดวยไฟฟาทั้งป โดยกักเก็บที่ระดับ 182 เมตร ซึ่งเปนระดับกักเก็บของเขื่อนอุบลรัตนปจจุบัน 4. ปรับปรุงถนนรอบอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน เพื่อบรรเทาปญหาน้ําทวมในปที่มีน้ําพองเขาเขื่อนมาก 5. กอสรางโครงขาย ดังนี้ เครือขายที่ 1 ภูเวียง – เชิญ เครือขายที่ 2 ฝายน้ําพองตอนลาง – หนองนาคํา เครือขายที่ 3 เชิญ – ภูเวียง – หนองเรือ เครือขายที่ 4 อุบลรัตน – ฝาง – หนองเรือ – พระยืน – มัญจาคีรี เครือขายที่ 5 เชิญ – หนองเรือ นอกจากทรั พ ยากรน้ํ าผิ ว ดิ น แล ว คณะผู เ ชี่ ย วชาญได ศึ ก ษาถึ ง สภาพทางอุ ท กธรณี วิ ท ยา เพื่ อ หา ศักยภาพและความเปนไปไดในการพัฒนาแหลงน้ําใตดิน โดยคํานึงถึงปริมาณและคุณภาพน้ําที่มีอยู ที่สามารถนํา ขึ้นมาใชโดยไมใหเกิดผลกระทบตอปริมาณปลอดภัย (safe yield) รวมไปถึงคาใชจายในการนําน้ําขึ้นมาใชใน กระบวนการตางๆ ของแผนพัฒนาแหลงน้ําใตดิน

แผนหลักในการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา ระบบโครงขายน้ํา จากหลั ก เกณฑ ที่ ก ล า วแล ว ได ทํ า การแบ ง ระบบโครงข า ยน้ํ า ออกเป น 5 โครงข า ยน้ํ า ประกอบด ว ย อางเก็บน้ําใหม 47 อาง โดยรวมหนองแปน ซึ่งเปนแหลงน้ําธรรมชาติขนาดกลางไวดวย ซึ่งจะทําการปรับปรุง ใหม อยูในโครงขายที่ 3 หากกอสรางเสร็จทั้งหมดจะสามารถเพิ่มปริมาณการเก็บกักไดประมาณ112.5 ลานลบ.ม. รายชื่ออางเก็บน้ําใหมทั้งหมดไดแสดงไวดังตารางที่ 1 โครงขายน้ําจะมีระบบทอ (pipe network) รวมอยูดวย โดยไดแยกระบบทอออกเปน 4 ชนิด คือทอชนิด A B C และ P ใชทอโลหะประเภทเหล็กเหนียวที่ออกแบบขนาดเสนผาศูนยกลาง 100 60 30 และขนาด 40 ซม. ตามลําดับ สําหรับที่ P คือทอที่ใชในระบบสูบ ชื่อของรหัสทอจะตั้งตามชื่ออางที่เปนตัวจายน้ํากอน แลวตามดวย ชนิดของทอ เชน P1 A คือทอที่รับน้ําจากอาง P1 ชนิดทอแบบ A (เสนผาศูนยกลาง 100 ซม.) เปนตน หลักเกณฑในการวางระบบทอนั้นคือทอที่เปนสายหลักที่ตอออกจากอางเก็บน้ํา ที่มีศักยภาพสูง และมีลูก ขายคอนขางมาก จะใชทอเหล็กเหนียวขนาดเสนผาศูนยกลาง 100 เซนติเมตร (A) โดยทอหลักนี้ใชเปนทอเติม ระบบน้ําระหวางอางเก็บน้ําหลักไปอางเก็บน้ํารองดวย แนวทอสวนใหญจะพยายามวางตามแนวถนนเปนหลัก เพราะสะดวกตอการติดตั้งและไมเสียคาเวนคืนที่ดินอีกดวย ทั้งยังงายตอการตรวจสอบ และบํารุงรักษา สําหรับทอ ขนาดเสนผาศูนยกลาง 60 เซนติเมตร (B) นั้นใชเปนทอสําหรับจายน้ําใหกับพื้นที่การเกษตร และปลอยน้ําลงหวย หนอง คลอง บึงตางๆ และยังใชเปนทอหลักในระบบประปาขนาดใหญอีกดวย ทอขนาดเสนผาศูนยกลาง 30 186


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

เซนติเมตร (C) นั้นใชเปนทอสําหรับจายเปนน้ําดิบทําประปาตามหมูบานตางๆ ซึ่งแตละหมูบานจะตองมีแหลงเก็บ กักน้ําหรือรองรับปริมาณน้ําดิบดังกลาวดวย รายละเอียดแตละโครงขายมีดังนี้ โครงขายที่ 1 ภูเวียง – เชิญ สวนใหญจะอยูในเขตพื้นที่อําเภอภูเวียงเกือบทั้งหมดยกเวนอางเก็บน้ําหวยปาตอง (P6) ที่ขึ้นกับอําเภอ หนองเรือ แตเนื่องจากไดรับน้ําจากทอ P1B จากอางหวยยางแหง จึงจัดใหอยูในโครงขายที่ 1 ความจุเก็บกัก โดยรวมของโครงขายที่ 1 ประมาณ 34.06 ลาน ลบ.ม. ซึ่งสวนใหญไดน้ําจากอาง P1 P2 และ P3 ที่ตั้งอยูในเขต พื้นที่ที่เปนภูเขา จึงใหเปนอางหลักไวสําหรับจายน้ําเขาระบบโครงขาย โดยรวมความจุกักเก็บของอางทั้ง 3 ได ประมาณ 27.7 ลาน ลบ.ม. มีพื้นที่รับน้ําประมาณ 163.27 ตารางกิโลเมตร หากคิดปริมาณน้ําฝนเขตนี้ในอัตรา 200,000 ลบ.ม. ตอหนึ่งตารางกิโลเมตร จะไดปริมาณน้ําฝนไหลเขาอางรวม 32.66 ลาน ลบ.ม. ซึ่งมากกวา ปริ ม าณกั ก เก็ บ น้ํ า ของทั้ ง 3 อ า งอยู 4.96 ล าน ลบ.ม. ฉะนั้ น ในโครงข า ยที่ 1 นี้ จึ ง จั ด ได ว า เป น โครงข า ยที่ มี ประสิทธิภาพสูงไมมีการสูบน้ําใหระบบโครงขายแตอยางใด โครงขายที่ 2 ฝายน้ําพองตอนลาง หนองนาคํา เปนโครงขายที่ตั้งอยูในเขตกิ่งอําเภอหนองนาคําทั้งหมด ในระวางแผนที่ศรีบุญเรือง (5442 I ) มีรหัส อางตั้งแต P10–P18 โดยปริมาณความจุเก็บกักทั้งโครงขายประมาณ11.56 ลาน ลบ.ม. โดยมีอางหลักคือ อางบานหัวภู (P16) ที่ออกแบบความจุอางไว 9.5 ลาน ลบ.ม. ระดับเก็บกักอยูที่ 235 เมตร (ระดับเหนือน้ําทะเล ปานกลาง–รทก.) ซึ่งอยูสูงกวาทุกอางในโครงขาย แตเนื่องจากพื้นที่รับน้ํามีเพียง 9.03 ตารางกิโลเมตร ซึ่ง คํานวณปริมาณที่จะไหลเขาอางไดประมาณ 1.81 ลาน ลบ.ม. นอยกวาที่ออกแบบไวมาก ฉะนั้นจึงจําเปนที่จะตอง ทําการสูบน้ําจากลําน้ําพองบริเวณบานกุดธาตุเปนระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร จากตัวอางลงไปถึงลําน้ําพอง โดยจําเปนที่จะตองสรางฝายน้ําพองตอนลางตรงจุดที่จะทําการสูบ โดยกอสรางฝายใหระดับน้ําอยูที่ 184 เมตร รทก. ซึ่งสามารถสํารองปริมาณน้ําได 2 ลาน ลบ.ม. แตเนื่องจากน้ําที่ตองสูบขึ้นอางมีมากกวาฉะนั้นอาจจําเปนที่ จะตองสูบขึ้นไปเก็บไวตั้งแตเริ่มฤดูฝนไปจนกวาไดปริมาณที่ตองการ โครงขายที่ 3 เชิญ – ภูเวียง - หนองเรือ มีพื้นที่โครงขายตั้งอยูในเขตอําเภอหนองเรือเปนสวนใหญและเขตอําเภอภูเวียงเปนบางสวน มีอางที่อยูใน โครงขายทั้งหมด 4 อาง (รหัสอาง C2 – C5) รวมความจุเก็บกักได 5.76 ลาน ลบ.ม. ทั้งนี้ยังไมรวมหนองแปน (C1) ซึ่งเสนอปรับปรุงหนองและมีโรงสูบน้ําอยูกอนแลว โครงขายที่ 3 เล็กกวาโครงขายอื่น มีพื้นที่รับน้ํารวมทั้ง 4 อางเพียง 19.87 ตารางกิโลเมตร ไดน้ําที่จะ ไหลเขาอางประมาณ 3.97 ลาน ลบ.ม. นอยกวาปริมาณเก็บกักน้ําที่ออกแบบทั้งโครงขายอยูเกือบเทาตัว ฉะนั้น โครงขายนี้จะตองสรางระบบสูบน้ําโดยสูบมาเติมที่อางบานหินลาด (C2) ซึ่งระยะทางจากฝายโนนทองที่ลําน้ําเชิญ มาถึงอางประมาณ 9.5 กิโลเมตร ระดับน้ําที่ฝายควรอยูที่ระดับ 184 เมตร รทก. นอกจากนี้อางหนองชางตาย (C3) ยังตองจายน้ําใหกับตําบลหนองเสาเลา ที่ขึ้นเขตอําเภอชุมแพ ซึ่งตัวอางเองก็อยูกึ่งกลางรอยตอของเขตอําเภอ ภูเวียงกับอําเภอชุมแพพอดี แตเมื่อวิเคราะหดูในรายละเอียดจะเห็นวาอางหนองชางตาย (C3) นั้นจายน้ําไดสูงสุด ไมเกิน 0.6 ลาน ลบ.ม. ในขณะเดียวกันมีความตองการน้ําอุปโภคบริโภคในเครือขายของอางเองสูงถึง 0.77 ลาน ลบ.ม. ฉะนั้นจึงมีการเชื่อมทอเขากับอางหวยแคน 1 และ 2 แทนการสูบน้ําจากดานลางลําน้ําเชิญ ซึ่งอยูไกลกวา 187


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

20 กิโลเมตร จากตัวอาง หากตองการน้ําเพื่อการเกษตรถือวาโครงขายที่ 3 ยังเปนโครงขายนี้ยังมีศักยภาพต่ําอยู เมื่อเทียบโครงขายที่ 1 หรือโครงขายอื่นๆ โครงขายที่ 4 อุบลรัตน – ฝาง – หนองเรือ – เมือง – พระยืน - มัญจาคีรี เปนโครงขายที่มีพื้นที่มากที่สุด ครอบคลุมถึง 5 อําเภอ และมีจํานวนอางมากถึง 16 อาง มีความจุเก็บกัก รวม 159.21 ลาน ลบ.ม. แตหากตัดอางอุบลรัตน – เชิญ (U1) ออกก็จะเหลือความจุอยู 40.21 ลาน ลบ.ม.พื้นที่ของ โครงขายสวนใหญอยูในเขตอําเภอบานฝาง โดยมีแหลงน้ําตนทุนหลักคืออางอุบลรัตน – เชิญ (U1) ซึ่งมีความจุ ประมาณ 119 ลาน ลบ.ม. ตามที่เสนอใหทําการการแบงอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตนออก แลวฝายหินทิ้งที่บริเวณ บานหนองกุงเซิน อําเภอภูเวียงตัดมายังภูพานคําเขตอําเภอ บานฝาง ทั้งนี้เพื่อยกระดับน้ําในอางใหสูงขึ้น แลวทําการสูบน้ําที่บานดอนกอก ตําบลหนองผือ อําเภอหนองเรือ มาเก็บกักไวที่อางบานปากชอง (U2) โดยขาม ภูพานที่บริเวณบานปากชอง ซึ่งมีความตางของระดับผิวน้ําที่เครื่องสูบไปยังอางบานปากชองถึง 93 เมตร รวม ระยะทางประมาณ 3 กิโลเมตร อางบานปากชอง (U2) ไดออกแบบใหมีความจุ 13.8 ลาน ลบ.ม. ซึ่งเก็บกักน้ําไวที่ ระดับ 275 เมตร รทก. โดยมีน้ําจากพื้นที่รับน้ําที่จะไหลเขาอางประมาณ 0.88 ลาน ลบ.ม. ฉะนั้นปริมาณน้ําที่ จะตองสูบจากอางอุบลรัตนอยางนอยประมาณ 12 ลาน ลบ.ม. เพื่อกักเก็บไวในอางและยังตองจายใหอางตางๆ ใน โครงขายอีกหลายแหง จึงไดเสนอใหใชเครื่องสูบน้ําที่จุดนี้ 2 ชุดเปนอยางนอย จึงจะเพียงพอกับความตองการ ความตองการน้ําในพื้นที่โครงขาย โครงขายที่ 5 เชิญ – หนองเรือ เปนโครงขายที่มีพื้นที่ตั้งอยูในเขตพื้นที่อําเภอหนองเรือ และไดเสนอใหสรางอางทั้งหมด 7 อาง รวม ความจุเก็บกักน้ําทั้งโครงขายไดประมาณ 17.16 ลาน ลบ.ม. โดยใหมีการสูบน้ําจากลําน้ําเชิญบริเวณฝายหนองเรือ ที่ระดับ 184 เมตร รทก. ขึ้นมาไวที่อางบานดอนหัน (U18) ซึ่งออกแบบความจุเก็บกักน้ําไว 12.0 ลาน ลบ.ม. ที่ ระดับเก็บกัก 225 เมตร รทก.อางเก็บน้ําที่เสนอโดยมากตั้งอยูบนเขารอบภูเม็ง โดยมีอางภูเม็งที่กอสรางไวบน ยอดเขาที่ระดับเก็บกัก 460 เมตร รทก. มีความจุเก็บกักประมาณ 1.6 ลาน ลบ.ม. ซึ่งไดเสนอตอทอเพื่อจายน้ํา เขาอางบานดอนหัน รวมกับอางหวยยางนอยตอนบน (U17) ซึ่งขณะเดียวกันอางดังกลาวยังจายน้ําใหกับอางที่อยู ดานลางอีกอางหนึ่งคืออางหวยยางนอย (U20) จากนั้นก็ปลอยน้ําเขาสูระบบทอประปาตอไป หากพิจารณากรณีที ไมตองการสูบน้ําเขาอางบานดอนหัน พบวาจากปริมาณน้ําฝนที่จะไหลเขาอางบานดอนหัน คํานวณได 1.57 ลาน ลบ.ม. เมื่อรวมกับอางภูเม็งแลว ไดน้ํามากที่สุดไมเกิน 2 ลาน ลบ.ม. ขณะที่ระบบประปาทั้งโครงขายมีความ ตองการน้ํา 1.48 ลาน ลบ.ม. จึงถือวาหากตองการใชเฉพาะน้ําเพื่อการอุปโภคบริโภคนาจะเพียงพอ แตความ ตองการปริมาณน้ําสําหรับเกษตรกรรมจะตองทําระบบสูบน้ําซึ่งมีระยะทางไกลกวา 8.5 กิโลเมตร ในขั้นตอน การศึกษาความเหมาะสม อาจพิจารณาลดขนาดความจุเก็บกักลงใหเหมาะสม โครงขายน้ําทั้ง 5 โครงขาย ไดลงตําแหนงโครงการกอสรางอางเก็บน้ําและแนวทอไวในแผนที่ 1 : 50,000 ของกรมแผนที่ทหารเรียบรอยแลว โดยไดยอลงใหพอดีกับขนาดหนาหนังสือ แผนที่มีทั้งหมดมีจํานวน 5 แผน ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอ โดยมีการจัดเรียงหรือสามารถตัดตอแผนที่ไดดังนี้

188


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

อําเภอศรีบญ ุ เรือง ระวางแผนที่ 5442 I อําเภอภูเวียง ระวางแผนที่ 5442 II อําเภอหนองเรือ ระวางแผนที่ 5441 I

บานโคกสูง ระวางแผนที่ 5542 III อําเภอบานฝาง ระวางแผนที่ 5541 IV

หลักเกณฑในการจัดสรรน้ําและพื้นที่รับผลประโยชน น้ําที่เหลือจาการสงเขาระบบประปาตามหมูบานตางๆ นั้น สามารถนํามาจัดสรรใหกับพื้นที่ การเกษตรได โดยยึดหลักเกณฑดังนี้ 1. ในฤดูฝนลดพื้นที่นาขาวลง ในสัดสวน 1:5 ของพื้นที่เพาะปลูกทั้งหมด 2. พื้นที่ 1 ใน 5 สวนนั้น แบงมาปลูกพืชมูลคาสูงแทน 3. ในฤดูแลงใหขยายการปลูกพืชมูลคาสูง จากสัดสวน 1:5 ของพื้นที่เปน 2:5 ของพื้นที่หรือมากกวา ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของพื้นที่และโครงขาย โครงการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําที่เสนอโดยประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ โครงการทั้งหมดในสวนนี้ เปนโครงการที่เสนอจากความตองการของประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ ซึ่งสามารถจําแนกไดทั้งหมด 12 หมวดโครงการ รวมงบประมาณทั้งสิ้น 934.27 ลานบาท คือ (1) การสรางฝาย/กั้นฝาย จํานวน 33 แหง จํานวนงบประมาณ 543.19 ลานบาท (2) ขุดเจาะบอบาดาลเพื่อการเกษตรและสรางระบบประปาหมูบาน จํานวน 10 แหง งบประมาณ 15.20 ลานบาท (3) ขุดลอก จํานวน 15 แหง งบประมาณ 59.74 ลานบาท (4) สรางทํานบดิน จํานวน 2 แหง งบประมาณ 20 ลานบาท (5) สรางสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา จํานวน 10 แหง งบประมาณ 212 ลานบาท (6) สรางคลองสงน้ํา จํานวน 11 แหง จํานวน 44.3 ลานบาท (7) สรางประตูระบายน้ํา 5 แหง งบประมาณ 91 ลานบาท (8) เสริมความหนาและความสูงของสันฝาย จํานวน 2 แหง จํานวน 0.834 ลานบาท (9) สรางระบบทอสงน้ํา จํานวน 1 แหง งบประมาณ 10 ลานบาท (10) สรางอางเก็บน้ํา จํานวน 1 แหง งบประมาณ 10 ลานบาท (11) สรางคลองชักน้ํา จํานวน 2 แหง งบประมาณ 4.5 ลานบาท (12) สรางระบบประปาผิวดิน จํานวน 6 แหง งบประมาณ 3.6 ลานบาท 189


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

สวนรายละเอียดโครงการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําที่เสนอโดยประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ ดูเพิ่มเติมได จากภาคผนวก แผนแมบทการอนุรักษแหลงน้ํา น้ําเปนทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสําคัญและจําเปนตอการดํารงชีวิตทั้งมนุษย พืชและสัตวที่อาศัยอยูใน โลกใบนี้ เราใชน้ําในหลายดานดวยกันอาทิเชน ใชสําหรับการอุปโภค บริโภค ใชสําหรับการชลประทาน ใชสําหรับ การผลิตกระแสไฟฟา และใชสําหรับการอุตสาหกรรมเปนตน ความหมายของแผนอนุรักษแหลงน้ําคืองานหรือสิ่ง ที่ตองกระทําเพื่อดูแลรักษาแหลงน้ําใหสามารถใชประโยชนไดอยางเต็มประสิทธิภาพและยั่งยืน โดยธรรมชาติแลว ปาไมเปนแหลงตนน้ําลําธาร ที่ใดมีสภาพปาไมอุดมสมบูรณ ปาไมจะทําหนาที่ซับน้ําเอาไวในดิน และคอยๆ ซึม ไหลรวมลงในลําธารกอเกิดเปนลําน้ําสายตางๆ ไหลจากที่สูงลงสูที่ราบลุม จนถึงทองทะเลมหาสมุทรในที่สุด การ เปลี่ยนแปลงสภาพปาไมเปนสาเหตุประการแรกที่กระทบถึงแหลงตนน้ําลําธาร ทําใหแหลงน้ําสูญเสียความอุดม สมบูรณลงไป เนื่องจากมีจํานวนประชากรมากขึ้น การนําทรัพยากรปาไมมาใชประโยชนก็มีสูงขึ้นเปนเงาตามตัว มีการ ตัดไมทําลายปามากขึ้นเพื่อเปลี่ยนพื้นที่ปาใหเปนพื้นที่ทํากินทําใหพื้นที่ปาลดลงหรือเสื่อมโทรมลง ประการตอมา คือเรื่องมลพิษ เนื่องจากการขยายตัวของชุมชน การใชปุย ยาฆาแมลงในพื้นที่การเกษตรและการอุตสาหกรรม เปนตนเหตุที่สําคัญทําใหเกิดน้ําเนาเสียในแหลงน้ําตาง จากการรวบรวมขอมูลปฐมภูมิและ ทุติยภูมิ รวมทั้งการ นําขอมูลจาก GIS มาทับซอนบนภาพถายดาวเทียม เพื่อหาตําแหนงและขนาดของพื้นที่ปาเสื่อมโทรมในแตละ ตําบล เพื่อใชเปนแนวทางในการทําแผนปลูกและฟนฟูปาเสื่อมโทรม สวนขอมูลจากสํานักงานสิ่งแวดลอมและปาไม จังหวัด ใชสําหรับกําหนดพื้นที่โครงการ และขอมูลจากการสัมมนา ใชกําหนดโครงการของแตละตําบล ดังนี้ แผนการอนุรักษแหลงน้ําประกอบดวย 3 แผนยอย คือ (1) แผนการปลูกและฟนฟูปาตนน้ําลําธาร (2) แผนการขุดลอกแหลงน้ํา (3) แผนการลดและควบคุมมลพิษ ในการจัดการทําแผนอนุรักษแหลงน้ําจะพิจารณาจัดทําแผนเฉพาะขอ (1) และขอ (2)ๆ เทานั้น สวนขอ (3) นั้นจะไปอยูในแผนสิ่งแวดลอม แผนอนุรักษแหลงน้ําที่จัดทําขึ้นนี้แบงโครงการออกเปน 2 ประเภท คือโครงการปลูกและฟนฟูปาตนน้ําลํา ธารและโครงการขุ ด ลอกแหล ง น้ํ า ต า งๆ เป น แผนอนุ รั ก ษ แ หล ง น้ํ า 5 ป ตั้ ง แต ป พ.ศ. 2548-52 โดยมี เ งิ น งบประมาณรวมทั้งหมด 1,734,733,500 บาท เปนโครงการปลูกและฟนฟูปาตนน้ําลําธารทั้งหมด 20 โครงการ เปนเงินงบประมาณทั้งหมด 13,825,000 บาท สามารถเพิ่มพื้นที่ปาได 5,530 ไร และเปนโครงการขุดลอกแหลง น้ําตางๆ จํานวนทั้งหมด 102 โครงการ เงินงบประมาณทั้งหมด 1,720,998,500 บาท

190


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

ตารางที่ 1 จํานวนโครงการและเงินงบประมาณจําแนกตามอําเภอ อําเภอ จํานวนโครงการ ปลูกและฟนฟูปา ขุดลอกแหลงน้ํา ภูเวียง รวม ของอําเภอภูเวียง ปลูกและฟนฟูปา ขุดลอกแหลงน้ํา หนองเรือ รวม ของอําเภอหนองเรือ ปลูกและฟนฟูปา ขุดหลอกแหลงน้ํา บานฝาง รวม ของอําเภอบานฝาง รวมทั้งสิ้น

จํานวนเงิน 7,122,500 469,807,000 476,929,500 3,112,500 561,463,500 564,576,000 3,500,000 689,728,000 693,228,000 1,734,733,500

จากตารางที่ 1 จะเห็ น ว า อํ า เภอภู เ วี ย งเป น อํ า เภอที่ จ ะมี ก ารปลู ก และฟ น ฟู ป า มากที่ สุ ด คิ ด เป น เงิ น งบประมาณ 7.122 ลานบาท สวนการขุดแหลงน้ําอําเภอบานฝางจะเปนอําเภอที่มีการขุดลอกแหลงน้ํามากที่สุด คิดเปนงบประมาณ 689.728 ลานบาท แผนแมบทการจัดสรรน้ําและการใชน้ํา แผนแมบทการจัดสรรน้ํา และการใชน้ําเปนสวนหนึ่งของแผนพัฒนาและบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการ ในพื้นที่อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง และอําเภอบานฝาง เนื่องจากในแผนพัฒนาไดกําหนดใหมีแผนแมบทการ จัดหาและพัฒนา (และแผนแมบทอื่นๆ ) ซึ่งก็คือแผนแมบทที่กําหนดสาธารณูปโภคที่จําเปนในการขนสงน้ํา เชน ทอ สถานีสูบ อางพักน้ํา และอื่นๆ การมีสาธารณูปโภคเพียงอยางเดียว ไมสามารถประกันไดวาจะเกิดการ บริหารจัดการน้ําอยาบูรณาการขึ้น เพราะการใชงานของสาธารณูปโภคที่กลาวมาเกี่ยวของกับผูมีสวนไดเสียใน การจัดสรรน้ําและการใชน้ําทั้งหมดจึงมีความจําเปนตองมีแผนแมบทการจัดสรรน้ําและการใชน้ําที่เปนสาระของ รายงานนี้ แผนแมบทนี้หมายความวาเปนแผนที่รวมการกําหนดยุทธศาสตรและกิจกรรมเขาดวยกัน กลาวคือ แผน แมบทไมใชกลาวถึงแนวทางในการจัดสรรน้ําและการใชน้ําเทานั้น แตตองกําหนดดวยวาในทางปฏิบัติจะตองทํา อะไรบางเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมาย ในรายงานนี้แบงแผนแมบทออกเปนสองสวนคือ (1) แผน ยุทธ ศาสตรและ (2) แผนปฏิบัติ ดังนี้ แผนยุทธศาสตร วัตถุประสงคและเปาหมายของแผนแมบทการจัดสรรน้ําและการใชน้ําคือเพื่อใหเกิดการจัดสรรน้ําและ การใชน้ํา (1) อยางยุติธรรมในระหวางผูมีสวนไดเสียสวนใหญ (2) อยางยั่งยืน เพื่อใหมีน้ําใชตลอดไปชั่วลูกชั่ว หลาน (3) อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหตนทุนการใชน้ําต่ํา สามารถแขงขันได

191


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ยุทธศาสตรที่กําหนดมี 4 ขอ คือ ยุทธศาสตรขอที่ 1 การจัดสรรน้ําและการใชน้ําตองทําอยางมีแผนที่สอดคลองกับโอกาสและขอจํากัด ของพืน้ ที่ประชาชนผูมีสวนไดเสียประโยชน และภูมิอากาศ ยุทธศาสตรขอที่ 2 ผูนําแผนไปใชตองเปนองคกรที่เปนตัวแทนของผูมีสว นไดเสียประโยชน ยุทธศาสตรขอที่ 3 การไดมาของผูบริหารองคกร ตองโปรงใส มีสวนรวมและเปนที่ยอมรับของผูมีสวน ไดเสียสวนใหญ ยุทธศาสตรขอที่ 4 รัฐฯ ตองใหการสนับสนุน จนกวาองคกรจะดําเนินการไดดวยตนเอง โดยมี กําหนดเวลาชัดเจน แผนปฏิบัติ แผนปฏิบัติ ตอบคําถามตอไปนี้ (1) ตองทํากิจกรรมอะไรบาง จึงจะบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายของแผนแมบทการจัดสรรน้ําและการ ใชน้ํา (2) ทํากิจกรรมไปทําไม (3) ใครรับผิดชอบทํากิจกรรม (4) ใชเงินในการทําเทาไร (5) ทํากิจกรรมชวงเวลาใด แผนปฏิบัติการนํารอง (ปแรก) (1) แผนปฏิบัติการ “ศูนยโฮมภูมิปญญาลุมน้ําหวยใหญ” อ.บานฝาง (2) แผนปฏิบัติการ “ศูนยโฮมภูมิปญญาลุมน้ําเชิญ” อ.หนองเรือ (3) แผนปฏิบัติการ “ศูนยโฮมภูมิปญญาลุมน้ําบอง” อ.ภูเวียง โดยกําหนดรูปแบบของแตละแผนปฏิบัติการ ดังนี้ ก. สํานักงานเลขานุการ • หัวหนาสํานักงาน • ผช.หัวหนาสํานักงาน • เจาหนาที่ประจําสํานักงาน 4-5 คน ข. โครงสรางคณะทํางาน • ดานประวัติศาสตรชุมชน • ดานวัฒนธรรมชุมชน • ดานภูมิศาสตรชุมชน • โมเดล • แผนที่ • เดินปา/รองเรือแพ • ดานทรัพยากรธรรมชาติ 192


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

• ดานสื่อสิ่งพิมพ/หลักสูตรทองถิ่น • ดานแผนอนุรักษและพัฒนาลุมน้ํา • ดานเศรษฐกิจชุมชน ค. ที่ปรึกษาศูนยโฮมปญญาลุมน้ํา • ที่ปรึกษาภายในชุมชน • ที่ปรึกษาภายนอก • มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ง. แผนงบประมาณ • ปแรก 150,000 บาท/ป (คาประสาน+วัสดุอุปกรณ) • ปที่สอง โครงการตอเนื่อง 150,000 บาท/ป • โครงการขยายผล 150,000 บาท/ป จ. ที่มาของงบประมาณ • งบอุดหนุนจากองคการบริหารสวนทองถิ่น • ศูนยจัดหาเอง โดยการจัดกิจกรรมหารายได • มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิตประสานทุน

บทสรุป พื้นที่ อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง อําเภอบานฝางเปนอําเภอที่ตั้งอยูเหนืออางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน ประชาชนบางสวนอพยพออกจากบริเวณที่น้ําทวมทับหลังกอสรางเขื่อนอุบลรัตน ป พ.ศ. 2507 3 อําเภอ นี้มีพื้นที่ 3,168 ตารางกิโลเมตร ทั้งที่อยูบริเวณริมอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตน แตก็ไมสามารถนําน้ําจากเขื่อนอุบลรัตนมาใช ประชาชนรอบเขื่อนอุบลรัตนจึงกดดันฝายราชการ ฝายการเมือง หรือหนวยงานที่เกี่ยวของคนหาวิธีและขอ กฎหมายตาง ๆ เพื่อจะนําน้ําในอางเก็บน้ําเขื่อนอุบลรัตนที่เห็นมาใชใหเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต นั่นคือที่มา ของโครงการศึกษาโครงขายน้ํา 3 อําเภอ จากผลการศึกษาขอมูลทั้งหมดรวมทั้งการประมวลความตองการของประชาชนในพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอจาก การรวมประชุมสัมมนา 3 ครั้ง ผูเชี่ยวชาญสามารถจัดทําแผนแมบท แผนปฏิบัติการ และโครงการตางๆ ทั้งที่ เปนโครงการจากผูเชี่ยวชาญเสนอเห็นสมควรใหเกิดขึ้น และโครงการที่เกิดจากความตองการของประชาชนใน ชุมชน โดยงบประมาณทั้งสิ้นในการดําเนินการตามแผนแมบทที่เสนอคือ 8,340,433 ลานบาท (แปดพันสามรอยสี่ สิบลานสี่แสนสามหมื่นสามพันบาทถวน) สามารถแยกไดดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

แผนแมบทการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา จํานวน 6,411.96 ลานบาท แผนแมบทการจัดสรรน้ําและการใชน้ํา จํานวน 13.65 ลานบาท แผนแมบทการอนุรักษแหลงน้ํา จํานวน 1,734.823 ลานบาท แผนแมบทการแกไขปญหาอุทกภัย จํานวน 20.0 ลานบาท และ แผนแมบทการแกไขปญหาคุณภาพน้ําและสิ่งแวดลอม จํานวน 124.36 ลานบาท 193


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ในสวนของแผนแมบทที่ 3, 4 และ 5 มีงบประมาณทับซอนกัน เนื่องจากเปนโครงการที่เสนอในลักษณะ เดียวกัน และสามารถแกไขปญหาไดทั้ง 3 แผนแมบท

ขอเสนอแนะ หากอําเภอภูเวียง อําเภอหนองเรือ และอําเภอบานฝาง จังหวัดขอนแกน สามารถพัฒนาโครงการตางๆ ไดตามแผนแมบทการบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการแลวจะสามารถนําไปสูการเพิ่มรายไดของประชาชนในพื้นที่ 3 อําเภอ ถาหากวาพื้นที่ทั้ง 3 อําเภอ พัฒนาระบบการเกษตรตามที่โครงการไดเสนอไว รวมถึงระบบการปลูก พืชอื่นๆ ที่มีระบบตลาดรองรับอยางครบวงจร โดยตามการคาดการณชี้ใหเห็นวาประชาชนในพื้นที่จะไดรับ ประโยชนจากโครงขายน้ําทั้งสิ้นประมาณ 18,000 ครัวเรือน มีพื้นที่การเกษตรที่ไดรับผลประโยชนประมาณ 302,400 ไร และมีรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน 87,900 บาท/ป

รายงานการติดตามแผนปฏิบัติงานโครงขายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บานฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอยางบูรณาการ” ระหวางป พ.ศ. 2547-2552 1. แผนแมบทจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา จํานวนงบประมาณตามแผน 6,411.96 ลานบาท องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน จัดงบประมาณสําหรับแผนนี้เพียงปละ 12 ลานบาท เทานั้น โดยรวม ตลอดระยะเวลา 5 ป ไดรับงบประมาณสนับสนุนเพียง 60 ลานบาท องคการบริหารสวนตําบล ไมมีการจัดหาและ พัฒนาแหลงน้ําตามแผนแมบทนี้เลย เพียงแตมาการขุดลอกหนาฝายเพื่อกักเก็บน้ําตามลําหวยตางๆ เทานั้น สําหรับกรมชลประทานไมมีโครงการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํานี้เลย ปญหาที่พบตามแผนงานที่ 1 คือเมื่อฝาย บริหารองคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน นําแผนที่ไดไปบรรจุในแผนปฏิบัติงาน 5 ป องคการฯ แลว สมาชิก องคการบริหารสวนจังหวัด (สอบจ.) ในพื้นที่ก็จะแปลญัตติปรับลด เพื่อนําเงินงบประมาณไปใชในโครงการอื่น ซึ่ง จะเกิดผลทางการเมืองมากกวานํางบประมาณทั้งหมดมาปฏิบัติตามแผน หลังมีการปฏิรูประบบราชการ มีการ แบงภารกิจเกี่ยวกับการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา ใหเปนภารกิจหนาที่ขององคการบริหารสวนทองถิ่น กรม ชลประทานก็ไมมีโครงการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ํา ตามแผนนี้เลยแมแตโครงการเดียว องคการบริหารสวน ทองถิ่นที่ไดรับภารกิจการจัดหาและพัฒนาแหลงน้ําจากชลประทานแลวกลับไมมีงบประมาณเพียงพอตอการดําเนิน โครงการตามแผนเพราะองคการบริหารสวนตําบล มีงบประมาณเพียง 10-15 ลานบาท เทานั้น จึงไมมีงบประมาณ เพียงพอที่จะดําเนินการตามแผนงาน ซึ่งจะตองใชงบประมาณตั้งแต 5 ลานบาทขึ้นไป สวนกรมพัฒนาที่ดินไมมี โครงการตามแผนงานนี้เลยตลอดระยะเวลา 5 ป 2. แผนงานแมบทจัดสรรน้ําและการใชน้ํา จํานวนงบประมาณตามแผน 13.65 ลานบาท สําหรับการดําเนินการในปแรกมูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต และองคการบริหารสวนจังหวัด ไดเขาไปจัดตั้ง ศูนยโฮมปญญาลุมน้ํา ซึ่งไมไดเปนไปตามแผนงานเทาที่ควร เนื่องจากมีงบประมาณจํานวนจํากัด แตก็ไดทํา เครือขายเวทีโฮมภูมิปญญาลุมน้ําอยูทุกป จนทําใหเกิดเครือขาย และพัฒนาเปนคณะทํางานลุมน้ําพองสวนบน โดยมี นายถวิล ชาวกะตา กํานันตําบลดินดําเปนประธาน สวนดานการอนุรักษปาตนน้ํา นายวุฒิพงศ ศุภรมย เปนแกนนําเครือขาย

194


โครงข่ายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บ้านฝาง “แผนพัฒนาและบริหารน้ําอย่างบูรณาการ”/ โยธิน วรารัศมี

ตลอดระยะเวลา 5 ป มีความสับสนเกิดขึ้นหลังจากปฏิรูประบบราชการในดานภารกิจ ในการจัดสรรและ จัดใชน้ํา ซึ่งเดิมหนวยงานที่มีบทบาทเกี่ยวของในเรื่องนี้มี 2 หนวยงานคือ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและ สหกรณ และสํานักงานสูบน้ําดวยพลังไฟฟา กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี แตเมื่อมีการปฏิรูประบบ ราชการทําใหสํานักงานสูบน้ําดวยพลังไฟฟา ถูกยายโอนมาอยูที่สํานักงานโครงการชลประทานจังหวัด จึงไมมี ความชัดเจนวาภารกิจหนาที่การจัดสรรน้ําและใชน้ําขนาดเล็ก เปนบทบาทหนาที่ของใคร ตลอดระยะเวลา 5 ป จึง ไมมีการจัดสรรงบประมาณในสวนนี้เลย จนมาถึงตนป พ.ศ. 2552 เครือขายประชาชนลุมน้ํา 3 อําเภอ และ มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ไดรวบรวมความตองการของราษฎรไปที่สํานักงานจังหวัด เพื่อกดดันใหยุทธศาสตร จังหวัด เพิ่มพื้นที่ชลประทานตามพันธนกิจของจังหวัดที่กําหนดไว จึงเกิดโครงการสถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม ระบบส ง น้ํ า บ า นหนองกุ ง เซิ น 7,500,000 บาท และสถานี สู บ น้ํ า ด ว ยไฟฟ า พร อ มระบบส ง น้ํ า บ า นไคร นุ น 21,476,000 บาท ซึ่งไดงบประมาณกลางปเพื่อฟนฟูเศรษฐกิจปพ.ศ. 2552 ศูนยโฮมปญญาลุมน้ํา จะมีหนาที่ จัดตั้งกรรมการจัดสรรน้ํา เพื่อหาขอยุติการจัดสรรน้ําและจัดใชน้ําจึงจะเริ่มมีบทบาทมากขึ้น 3. แผนแมบทในการอนุรักษแหลงน้ํา จํานวนงบประมาณตามแผน 1,734,823 บาท มีเพียงการขุดลอกหนาฝายขององคการบริหารสวนตําบล ในเขต 3 อําเภอ ซึ่งอยูในระหวางรวบรวม ขอมูลอยางเปนทางการอีกครั้งหนึ่ง สวนการปลูกและฟนฟูปาตนน้ํา สํานักงานจังหวัดขอนแกน และองคการ บริหารสวนจังหวัดไดทําการปลูกปาและสรางฝายฉลอน้ําตามพระราชดําริบริเวณเทือกเขาภูเวียง อําเภอภูเวียง ใน ระหวางป พ.ศ. 2548-2550 ซึ่งอยูระหวางการรวบรวมขอมูลอยางเปนทางการอีกครั้ง สวนการลดและควบคุม มลพิษไมมีแผนงานที่ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากหนวยงานใดเลย อุ ป สรรคที่ พ บในการปฏิ บั ติ ง านตามแผน คื อ การจั ด การงบประมาณ ซึ่ ง ไม มี ก ฎหมายใดกํ า หนดให หนวยงานที่เกี่ยวของ ใหปฏิบัติตามแผน โครงขายน้ํา 3 อําเภอ หนองเรือ ภูเวียง บานฝาง “แผนพัฒนาและบริหาร น้ําอยางบูรณาการ” แผนงานตางๆ ที่ประชาชนรวมคิดขึ้น เมื่อรัฐนําไปปฏิบัติแลวจึงไมสอดคลองตอเจตนารมณ รัฐธรรมนูญ หากเปนเชนนี้เรื่อยไป ไมวารัฐหรือภาคเอกชนที่ทําการศึกษา หรือจัดทําแผนงานในการบริหารจัดการ น้ํา ทั้งแผนรวมหรือ แผนชุมชน หากไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณก็ไมสามารถปฏิบัติตามแผนไดเลย เมื่อ เรื่องเปนเชนนี้ ประเด็นจึงอยูที่วาฝายการเมืองคิดเชนไร เพราะฝายการเมืองสามารถแปลญัตติงบประมาณได ตามความปรารถนาหากมีเสียงเพียงพอ ประเด็นปญหาที่จะกาวตอไป ใหสมเจตนารมณของรัฐธรรมนูญ ป 2550 สวนที่ 8 วาดวยแนวนโยบาย ดานที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม คือตองมีกฎหมายน้ํา หรือจะชื่อกฎหมายอะไรก็แลวแต ตองมี ขอกําหนดวาหากรัฐหรือเอกชน จะทําการอะไรที่มีผลกระทบตอ ดิน น้ํา ปา ในพื้นที่ลุมน้ําแลว ตองไดรับความ เห็นชอบจากคณะกรรมการลุมน้ําเสียกอน หากรัฐหรือเอกชน จะพัฒนาจัดหา จัดสรร ทรัพยากรน้ําแลว จะตองยึด ตามแผนงานที่เกิดขึ้นจากขบวนประชาชนเทานั้น ถึงจะสอดคลองตอบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ อุปสรรคปญหาตางๆ ในเรื่องการจัดการทรัพยากรน้ําถึงจะหมดไป

195


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

เอกสารอางอิง มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต, 2552. สรุปผลการติดตามงาน ผลการศึกษาเพื่อจัดทําแผนพัฒนา และบริหาร จัดการน้ําอยางบูรณาการในพื้นที่ อําเภอหนองเรือ อําเภอภูเวียง อําเภอบานฝาง สถาบันแหลงน้าํ และสิ่งแวดลอม คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต จังหวัดขอนแกน องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2547. รายงานฉบับสมบูรณ "การศึกษาจัดทํา แผนพัฒนา และบริหารจัดการน้ําอยางบูรณาการในเขตพื้นที่ อําเภอหนองเรือ อําเภอ ภูเวียง อําเภอบานฝาง”. องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2548. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป องคการบริหารสวน จังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2548. องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2549. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป องคการบริหารสวน จังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2549. องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2550. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป องคการบริหารสวน จังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2550. องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2551. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป องคการบริหารสวน จังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2551. องคการบริหารสวนจังหวัดขอนแกน, 2552. ขอบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป องคการบริหารสวน จังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2552.

196


บทที่ 11 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมเพือ่ การจัดการทรัพยากรน้ํา อยางมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

บทคัดยอ บทความนี้เสนอวาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมจากกรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ เปนเครื่องมือสําคัญตอการเพิ่มประสิทธิภาพการใชและการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําในลุมน้ํามูลในระยะยาว เพราะเปดโอกาสใหชุมชนทองถิ่นมีสวนรวมในกระบวนการประเมินตั้งแตกอน ระหวางและหลังการประเมินผล กระทบโดยเฉพาะการดําเนินการตามมาตรการลดผลกระทบเนื่องจากประชาชนมีศักยภาพในการดําเนินการตาม มาตรการและเพื่อทําใหประชาชนเปนเจาของโครงการตางๆอยางแทจริงและรัฐและหนวยงานตางๆที่เกี่ยวของตอง ใหการสนับสนุนดานงบประมาณ และความรูตางๆแกภาคประชาชน ในระหวางการประเมินผลกระทบนั้น ประชาชนในพื้นที่สามารถเสนอความวิตกกังวลตางๆตอโครงการ อยางเปดเผย พรอมทั้งเสนอทางเลือกตางๆเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําที่ทําใหเกิดผลกระทบตอชุมชน ท อ งถิ่ น ให น อ ยที่ สุ ด เช น การกํ า หนดการทดระดั บ น้ํ า ในตั ว ฝายและลํ า น้ํ า บนฐานการบู ร ณาการความรู แ บบ วิทยาศาสตรและความรูทองถิ่นโดยคํานึงถึงสภาพพื้นที่ภูมินิเวศและผลกระทบเรื่องน้ําทวมตอบานเรือนและที่ทํา กินโดยเฉพาะในพื้นที่ปาบุงปาทามที่เปนพื้นที่ทรัพยากรที่สําคัญของทองถิ่นในฐานะที่เปนแหลงอาหาร รายได ทําเลเลี้ยงสัตว แหลงดินปนหมอ และพื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรมที่สําคัญของทองถิ่น การเสนอแนวทางการบริการ จัดการฝายหัวนาที่ใหรัฐตองคํานึงถึงความสมดุลของระบบนิเวศและระบบลุมน้ําเพราะในลําน้ํามูลมีโครงการฝาย และเขื่อนจํานวนมากที่อยูใกลเคียงกันกับฝายหัวนา การจัดการน้ําที่จะตองอิงกับขอมูลการใชทรัพยากรของ ชาวบาน แผนการลดผลกระทบที่มาจากภาคประชาชนที่คาดวาจะไดเสียประโยชน การเคารพในสิทธิภูมิปญญา และสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากร รวมทั้งขอกฎหมายที่เกี่ยวของ อีกทั้งการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทาง สังคมนี้ยังถูกกํากับโดยคณะกรรมการติดตามกํากับการดําเนินการประเมินผลกระทบที่มาจากภาคสวนวิชาการ ชาวบาน และองคกรพัฒนาเอกชนที่ทําหนาที่ใหคําปรึกษาการจัดทําการประเมินผลกระทบ ตลอดจนบทบาทของผู มีสวนไดสวนเสียกลุมอื่นๆ เชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ หนวยงานภาครัฐที่ควรสนับสนุนใหการบริหาร จัดการน้ําดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพไดโดยเฉพาะการดําเนินการตามมาตรการลดผลกระทบและการติดตาม ตรวจสอบมาตรการลดผลกระทบจากการดําเนินการตามมาตรการลดผลกระทบ


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

บทนํา หลักการจัดการสิ่งแวดลอมทีส่ ําคัญที่สุดประการหนึ่งคือการหามาตรการหรือเครื่องมือปองกันปญหา สิ่งแวดลอมเอาไวลวงหนาอยางรัดกุมและครอบคลุมขอบเขตของผลกระทบสิ่งแวดลอมที่คาดวาจะเกิดขึ้นตอวิถีชีวิต ของผูคนดานเศรษฐกิจและสังคมรวมทั้งเพือ่ ลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตอระบบนิเวศนั้นๆ และเนนการมีสวนรวม จากภาคประชาชน ทั้งนี้เครือ่ งมือดังกลาวยังสงผลระยะยาวตอประสิทธิภาพการใชและจัดการทรัพยากรน้ําอีกดวย เครื่องมือหรือมาตรการที่วานี้จะตองมี 2 ระดับไดแก ระดับยุทธศาสตรหรือนโยบาย ที่เรียกกันวา “การประเมินผล กระทบตอสิ่งแวดลอมเชิงยุทธศาสตร (Strategic Environmental Assessment, SEA)” 1 และ ระดับโครงการ ที่เรียกวา “รายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Environmental Impact Assessment, EIA) ซึ่งในระดับนี้จะตอง เนนการมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการจัดทํารายงานประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมพรอมทั้งกําหนด ขอบเขตการศึกษาผลกระทบดานสังคมและเศรษฐกิจชุมชน อยางไรก็ตาม ที่ผานมาการประเมินผลกระทบทางสังคมในระดับแผนและนโยบายมักมีบทบาทในฐานะตัว ประกอบของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (Becker 1997 และ Barrow 2000) สําหรับประเทศไทยแลว ความสําคัญและความจําเปนของการประเมินสิ่งแวดลอมทางสังคมโดยการมีสวนรวมของภาคประชาชนนั้นเพิ่ง มีการกลาวถึงอยางกวางขวางและถี่ยิบมากขึ้นในชวง 10 กวาปที่ผานมาโดยเฉพาะในกลุมคนที่เกี่ยวของกับ การจัดการทรัพยากรทรัพยากรน้ําที่มาจากการสรางเขื่อนที่สรางผลกระทบของทางสิ่งแวดลอมและสังคมตอระบบ นิเวศและวิถีการดํารงชีพของคนทองถิ่นโดยเฉพาะโครงการพัฒนาขนาดใหญของรัฐ เชน เขื่อนปากมูล ฝายราษีไศลและอื่นๆ เพราะโครงการเหลานี้ไมมีการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม รองรอยความ ขัดแยงในชุมชน ความวิตกกังวล และปญหาทางสังคมและเศรษฐกิจหลังโครงการยังคงดํารงและฝงลึกจนยาก จะเยียวยาใหเหมือนเดิมได ภายหลังที่มีการปรับปรุงแกไขพระราชบัญญัติสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2535 ซึ่งได กลายมาเปนรากฐานในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (อีไอเอ) ถึงปจจุบันนี้ (ปาริชาติ ศิวะรักษ 2543) โดยมี การประกาศกฎกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมเพื่อกําหนดประเภทโครงการหรือกิจการไมวารัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน โดยมีกระบวนการของการทําอีไอเอ และในกฎหมายไดกําหนดวาโครงการที่จะตองจัดทํา รายงานอีไอเอมีจํานวน 22 ประเภท โดยที่หลักการของการทํารายงานผลกระทบสิ่งแวดลอมตองทําตามกรอบที่ ทางหนวยงานของรัฐเปนผูกําหนดซึ่งครอบคลุมใน 4 หัวขอกวางๆ ไดแก ผลกระทบสิ่งแวดลอมดานกายภาพ

1

“SEA เปนเครื่องมือที่ใชประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมในนโยบาย แผน หรือโครงการตั้งแตในระยะเริ่มแรกของการตัดสินใจ SAE จึงมีลักษณะ เปนกระบวนการที่รอบดาน (comprehensive) และเปนระบบในการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมของนโยบาย แผนหรือโครงการใดๆ โดย การพิจารณาทางเลือกตางๆที่มีอยู SEA เปนเครื่องมือที่ใชประกอบการติดสินใจที่สามารถตรวจสอบไดจากสาธารณะ (Therivel et al., 1992 อาง ใน มิ่งสรรพ ขาวสอาด และคณะ. 2549. แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2550-2554. ) วิธีการของSEA จะเนนการรวบรวมขอมูลไป ใหกับผูมีอํานาจในการตัดสินใจ โดยมีขั้นตอนดังนี้ (ก) การปรึกษาหารือกับผูมีสวนไดสวนเสียเพื่อกําหนดขอบเขตและกลั่นกรอง (ข) การพัฒนา ฐานความรูโดยอาจนําเครื่องมือการวิเคราะหที่เหมาะสมเขามาชวย (ค) การจัดลําดับความสําคัญของประเด็นและการวิเคราะหวิธีการที่เปน ทางเลือกหลายๆอยางโดยอาศัยขอมูลจากผูมีสวนไดสวนเสียและผูเชี่ยวชาญ (ง) การสรางแผนปฏิบัติการและกรอบการบริหารจัดการที่มีทั้ง วิธีการในการใหคําปรึกษา การจัดการกับความแตกตางดานความรู การประเมินทางเลือก และการนําไปสูการปฏิบัติ และ (จ) การพัฒนากรอบ การนําไปปฏิบัติจริงและกรอบการตรวจสอบ” (อางใน มิ่งสรรพ ขาวสอาด เรื่องเดียวกัน)

198


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

ผลกระทบสิ่งแวดลอมดานชีวภาพ ผลกระทบตอคุณคาการใชประโยชนของมนุษย และผลกระทบตอคุณภาพชีวิต (สนธิ คชวัฒน 2548) แตกฎหมายการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมยังไมมีจนปจจุบัน ดว ยบทเรี ยนดัง กล าวข างต น จึง มีข อ เรี ยกรอ งจากภาคประชาสั ง คมและภาควิช าการใหมี ก ฎหมายที่ ครอบคลุมมากขึ้นเรื่องการมีสวนรวมของภาคประชาชนในการควบคุมและดูแลคุณภาพสิ่งแวดลอม โดยแนวคิด ดังกลาวระบุไวชัดเจนในรัฐธรรมนูญป 2540 และตอมา ไดมีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการรับฟงความ คิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 ที่ระบุวากอนเริ่มดําเนินการโครงการของรัฐ หนวยงานของรัฐที่เปน ผูรับผิดชอบ โครงการตองจัดใหมีการเผยแพร ใหประชาชนทราบ และจะรับฟงความคิดเห็นของประชาชน และในปเดียวกัน สํานักงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมและสํานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ได ร ว มกั บ ธนาคารโลกดํ าเนิ น การจั ด ทํ าคู มื อ “แนวทางการมี ส ว นร ว มของประชาชนและการประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดลอมทางสังคมในกระบวนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม” ซึ่งเปนความพยายามในการผนวกการมีสวน รวมของประชาชนในการจัดการสิ่งแวดลอมที่ปรากฏในรัฐธรรมนูญป 2540 ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย การรับฟงความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. 2548 (อางในhttp://www.onep.go.th/eia/pp_book/pp_book1.pdf) เพื่อ เปนกรอบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม ตอมาในรัฐธรรมนูญฉบับป 2550 ก็ไดระบุการมีสวนรวมของภาคประชาชนในการจัดการทรัพยากรอีก เชนกัน โดยนัยแลวรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับนี้ไดปรับเปลี่ยนบทบาทของภาครัฐจากการเปนดูแล กําหนดและวาง แนวทางการจัดการและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมโดยตรงมาเปน “ผูสนับสนุนและสงเสริมสงเสริมและสนับสนุนให ประชาชนมีสวนรวมในการสงวน บํารุงรักษา และใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพอยางสมดุล รวมทั้งมีสวนรวมในการสงเสริม บํารุงรักษาและคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมตามหลักการ พัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อใหดํารงชีวิตไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่ดี” รวมทั้งในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2550 ไดกําหนดใหมี "องคการอิสระดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ" ไวในมาตรา 67 วรรค 2 ในหมวดสิทธิชุมชน (สัญชัย สูติพันธวิหาร 2552) กระนั้นก็ตาม การนําการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมเพื่อการจัดการ ทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพก็ยังไมเปนรูปธรรม ดังนั้นบทความนี้จึงตองการจะสื่อสารเพื่อชี้ใหเห็นถึงการมี สวนรวมของภาคประชาชนในการกระบวนรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมและการธํารงไวซึ่งคุณภาพชีวิตและการ ดํารงชีพของทองถิ่นอยางปกติของชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพในพื้นที่ที่มีโครงการ พัฒนาขนาดใหญ

วัตถุประสงค บทความนี้มีจุดมุงหมายเพื่ออธิบายการเพิ่มประสิทธิภาพการใชน้ําโดยกระบวนการประเมินผลกระทบ สิ่ ง แวดล อ มทางสั ง คม โดยมี เ นื้ อ หาสํา คั ญ ในการนํา เสนอในบทความคื อ คื อ 1) บริ บ ทของฝายหั ว นา 2) กระบวนการและขั้ น ตอนการมี ส ว นร ว มของภาคประชาชน และ 3) การประเมิ น ผลกระทบทางสั ง คมกั บ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ํา

199


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ขอบเขตการศึกษา บทความนี้ใชกรณีศึกษาจากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมของโครงการฝายหัวนา จังหวัด ศรีสะเกษ (ดูแผนที่ประกอบ รูปที่ 1) ที่ผูเขียนเปนหัวหนาโครงการที่ไดดําเนินงานรวมกับทีมที่ปรึกษาทําการ ประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ มหาวิทยาลัยขอนแกน ที่ไดดําเนินการ ระหวางปลายป 2550 – เมษายน 2552 ดังนั้นขอมูลทั้งหมดที่นําเสนอมาจากรายงานการประเมินดังกลาวที่ได รวบรวมขอมูลโดยวิธีกรวิจัยเชิงคุณภาพ ปริมาณ และวิจัยแบบมีสวนรวม สวนวิเคราะหขอมูลในบทความนี้มาจาก มุมมองของผูเขียนเปนหลัก

200


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

รูปที่ 1 แผนทีแ่ สดงโครงการชลประทานภายใตโครงการผันน้ําโขง ชี มูล

201


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

รูปที่ 2 แผนทีแ่ สดงโครงการชลประทานภายใตโครงการผันน้ําโขง ชี มูล

202


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

ผลการศึกษา 1. บริบทฝายหัวนา 1.1 ความเปนมาของฝายหัวนา โครงการฝายหัวนาเปนองคประกอบหนึ่งในโครงการโขงชีมูล ซึ่งโครงการโขง ชี มูลไดริเริ่มโดยกรมพัฒนา และสงเสริมพลังงานกระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมนับตั้งแต ป พ.ศ. 2530 (หลังจากการปฏิรูป ระบบราชการป พ.ศ. 2542 โครงการดังกลาวรับผิดชอบโดยกรมชลประทาน) โดยจุดมุงหมายของโครงการโขง ชี มูล คือการจัดหาน้ําเพื่อการชลประทานใหครอบคลุมพื้นที่ภาคอีสานที่มีมากถึง 4.98 ลานไร ครอบคลุมพื้นที่ 15 จังหวัด (ยกเวนจังหวัด นครพนม มุกดาหาร สกลนคร และหนองบัวลําภู) เพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนน้ําและ แกไขปญหาความเสียหายจากน้ําทวมในพื้นที่ลุม ปรับสภาพดิน และการสรางงานในภาคเกษตรกรรมโดยการสราง ฝายตางๆ และเขื่อนในลุมน้ําชีและมูลเพื่อเก็บน้ําเปนระยะๆ ถึงกวา 30 แหง (กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2543) โดยใชงบประมาณจํานวนมากถึง 226,000 ลานบาท และจะใชเวลาในการสรางถึง 42 ป แบงเปน 3 ระยะคือ ชวงแรก 9 ปคือระหวางป พ.ศ. 2534-2543 โดยมีเปาหมายที่จะสรางฝายใหไดถึง 14 แหง ในแมน้ํามูล 5 แหง ลํา น้ําชี 5 แหง และที่อื่นๆอีก 4 แหง (ฝายวิชาการ สมัชชาคนจน 2543) กลาวเฉพาะโครงการฝายหัวนา โครงการนี้ตั้งอยูในแมน้ํามูลบริเวณเขตบานกอก ตําบลหนองแกว อําเภอ กันทรารมย จังหวัดศรีสะเกษ โดยตั้งหางจากฝายราษีไศล ประมาณ 90 กิโลเมตร และหางจากเขื่อนปากมูล (ปลาย แมน้ํามูล) ประมาณ 160 กิโลเมตร ใชงบประมาณกอสรางรวมทั้งสิ้น 2,150.98 ลานบาท โดยวัตถุประสงคหลักของ ฝายคือการพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการชลประทานและอุปโภคบริโภค ซึ่งตามแผนที่ตั้งไว โครงการเริ่มกอสรางในป พ.ศ. 2535 และคาดวาจะสรางแลวเสร็จและสามารถเก็บกักน้ําไดในปงบประมาณ พ.ศ. 2544 และระบบการ กระจายน้ํา (คลองชลประทาน) จะสรางแลวเสร็จในป พ.ศ. 2546 ผลประโยชนของโครงการที่คาดวาจะไดรับคือ ความสามารถในการสูบน้ําเพื่อชวยการเกษตรในพื้นที่ช ลประทานซึ่งแบงเปน 2 ระยะ โดยระยะแรกใชน้ําใน ประเทศไทยซึ่งมีพื้นที่ชลประทานในฤดูฝน 77, 300 ไร ฤดูแลง จํานวน 23,100 ไร สวนระยะที่สองจะใชน้ําที่ผันมา จากแมน้ําโขง ซึ่งจะสามารถรองรับพื้นที่ชลประทานในฤดูฝน 154,000 ไร และในฤดูแลงได 77,000 ไร คาดวา พื้นที่ชลประทานทั้งหมดของโครงการนี้มีมากกวา 100,000 ไร ในพื้นที่คลองสงน้ํา PL8 และ PL3 โดยหมูบานที่ คาดวาจะไดรับประโยชนมีประมาณ 61 หมูบาน ใน เขตอําเภอกันทรารมย อําเภอเมืองจังหวัดศรีสะเกษ และ อําเภอเมืองของจังหวัดอุบลราชธานี (กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน เพิ่งอาง) นับแตป พ.ศ. 2546 การสรางตัว ฝายหัวนาเกือบจะแลวเสร็จเหลือเพียงการถมดินกั้นแมน้ํามูลเพื่อเปลี่ยนเสนทางเดินของน้ํา จนถึงวันนี้โครงการนี้ ยังไมไดใชประโยชนเพื่อการชลประทานแตอยางใด นับตั้งแตเริ่มการสํารวจโครงการและดําเนินการกอสรางฝายหัวนาป พ.ศ. 2534 ปญหาเกี่ยวกับมวลชนก็ เริ่มเกิดขึ้นไปพรอมกันโดยปญหาดังกลาวไดลุกลามขยายวงกวางออกไปจนถึงระดับชาติจนกลายเปนหนึ่งใน 16 ปญหาของสมัชชาคนจนที่นําเสนอตอรัฐบาลชวงป พ.ศ. 2543 เพื่อใหดําเนินการทําอีไอเอ แมวาแตเดิมนั้นกรม พัฒนาและสงเสริมพลังงานที่เปนเจาของโครงการฝายหัวนาไดเคยวาจางบริษัทที่ปรึกษาดําเนินการศึกษาความ เปนไปไดทางสิ่งแวดลอมซึ่งทําแลวเสร็จในป พ.ศ. 2543 และมีฉบับปรับปรุงแกไขออกมาในป พ.ศ. 2544 แตรายงานการศึกษาความเหมาะสมของโครงการฝายหัวนาที่ดําเนินการโดยบริษัทที่ปรึกษาไมไดรับความเห็นชอบ 203


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

จากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เนื่องจากรายงานมีขอบกพรองประการสําคัญ คือ 1) ขาดการมีสวนรวมของชุมชนในกระบวนการศึกษาทั้งระหวางและหลังการศึกษา 2) กรอบการศึกษาไดละเลยประเด็นเชิงพื้นที่เพราะถูกกําหนดจากนักวิชาการผูเชี่ยวชาญภายนอกเปน หลัก โดยเฉพาะระบบนิเวศทองถิ่นแบบ “ปาบุงปาทาม” ตลอดจนพืชพันธธรรมชาติที่เปนแหลงอาหาร ยารักษาโรค และ รายไดของคนในทองถิ่น ในฐานะที่เปนกลไกใหเศรษฐกิจทองถิ่นไหลเวียนและสราง ความมั่นคงตอระบบเศรษฐกิจทองถิ่น รวมทั้งสิทธิการใชและการเขาถึงทรัพยากรสวนรวม มาตรการ ลดผลกระทบ การชดเชยที่เปนธรรม องคความรูทองถิ่นในการจัดการระบบชลประทาน 3) การแสดงระดับผลกระทบสิ่งแวดลอมและสังคมของรายงานนี้โดยมากแสดงในเชิงบวก ซึ่งขัดแยงกับ ความเปนจริงที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังจนทําให สผ. และผูชํานาญการไมยอมรับรายงานการศึกษา ผลกระทบสิ่งแวดลอมฉบับนี้ (กนกวรรณ มะโนรมย สุรสม กฤษณะจูฑะ และ สดใส สรางโศรก 2548) รั ฐ บาลในสมั ย นั้ น ได แ ต ง ตั้ ง คณะกรรมการกลางเพื่ อ แก ไ ขป ญ หาสมั ช ชาคน และมี ม ติ ค รม.วั น ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2543 เห็นชอบ 1) ใหระงับการถมลําน้ํามูลเดิมไวกอนเพื่อศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคม ตามขอเรียกรองของ สมัชชาคนจน กรณีฝายหัวนา 2) ใหเปดเผลขอมูลรายละเอียดโครงการตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 3) เห็นชอบใหตรวจสอบทรัพยสินของราษฎรที่คาดวาจะเสียหาย 4) ใหระงับการถมลําน้ํามูลเดิมเพื่อศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคม และการสํารวจทรัพยสิน สมัชชาคนจน (ฝายวิชาการ สมัชชาคน อางแลว) ภายหลังที่รัฐบาลมีมติเห็นชอบใหชะลอการใชฝายตามขอเรียกรองของสมัชชาคนจน เจาของโครงการใน ปจจุบันคือกรมชลประทานไดเปดเผยขอมูลรายละเอียดโครงการตาม พ.ร.บ. ขอมูลขาวสาร พ.ศ.2540 และ ดําเนินการตรวจสอบทรัพยสินของราษฎรที่คาดวาจะเสียหายและดําเนินการใหทําการศึกษาโดยการสํารวจรายชื่อ ของชาวบานสมัชชาคนจนและจัดทําบัญชีการรังวัดจัดทําแผนที่แปลงกรรมสิทธิ์ (ร.ว. 43 ก.) ที่ไดดําเนินการรังวัด ครั้งแรก ในป พ.ศ. 2545-2546 และ สํารวจครั้งที่สอง ในป พ.ศ. 2549 รวมการสํารวจทั้งสองครั้งมีผูที่คาดวาจะได ผลกระทบทั้งหมดจํานวน 728 ราย (ขอมูลสมาชิกสมัชชาคนจนที่ไดรับผลกระทบจาก เขื่อนหัวนา 2549) และในป พ.ศ. 2542 กรมชลประทานเปนผูรับผิดชอบดําเนินการใหมีการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดลอมและสังคมใหม ทั้งหมด โดยมอบหมายให 3 มหาวิทยาลัยในภูมิภาคไดแก มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนผูดําเนินการศึกษาผลกระทบดังกลาวในชวงปลายป พ.ศ. 2550

204


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

1.2 สภาพของพื้นที่ฝายหัวนา พื้นที่โครงการฝายหัวนาครอบคลุม 5 อําเภอของจังหวัดศรีสะเกษ ไดแกอําเภอเมือง กันทรารมย ราษีไศล ยางชุมนอย และอุทุมพรพิสัย ชุมชนในพื้นที่ลุมน้ํามูลจากฝายหัวนาไปจนถึงฝายราษีไศลอาศัยในเขตที่เรียกวา “พื้นที่ราบลุมราษีไศล” ซึ่ง ศรีศักร วัลลิโภดม (2545/2533) ไดใหความเห็นวา บริเวณที่ลุมซึ่งเรียกวาเขต “ที่ราบลุม ราษีไศล” คือ พื้นที่ราบลุมนับตั้งแตเขตอําเภอราษีไศลไปจนถึงบริเวณที่แมน้ํามูลและชีมาบรรจบกัน ซึ่งอยูเหนือ บริเวณฝายหัวนาขึ้นไป บริเวณที่เรียกวาที่ราบลุมราษีไศลนี้มีพัฒนาการชุมชนบานและเมืองเกาแกกวาเขตที่สูง หรือเขตบริเวณที่เรียกวา “ทุงกุลารองไห” อีกทั้งที่ราบลุมราษีไศล มีรองรอยการสืบเนื่องของผูคนหลายยุคหลาย สมัย นับตั้งแตชุมชนโบราณที่มีการขุดคนพบเครื่องปนดินเผา มีรองรอยของชุมชนที่ทําเกลือหรือถลุงเหล็ก ระบบนิเวศทองถิ่นที่สําคัญในพื้นที่ราบลุมนี้คือ “ระบบนิเวศแบบบุงทาม” (flood plain) ซึ่งเปนพื้นที่ซึ่งอยู ในที่ต่ํา บริเวณริมแมน้ํา ในฤดูฝนน้ําทวมถึงบางสวนเปนเขตพื้นที่ราบลุม (ลาดลุม) สลับที่ดอนบริเวณริมมูลหรือ สาขาของแมน้ํามูล ที่เรียกตามภาษาของคนทองถิ่นวา “บุงทาม” (floodplain) ชาวบานอธิบายคําวา “บุง” คือ พื้นที่ลุมที่อยูติดกับลําน้ําและมีน้ําขังอยูคลายบึงหนอง สวนคําวา “ทาม” หมายถึงพื้นที่ที่มีน้ําทวมขังเปนบริเวณ กวางในฤดูน้ําหลากและในฤดูแลงพื้นที่บริเวณเดียวกันนี้จะกลายเปนพื้นที่สําหรับเปนแหลงเพาะปลูกทํานา สวนผัก ทํา ไร เลี้ย งสั ตว ลาสั ต ว ต ม เกลื อ นํ าดิน มาปน หมอ หรื อ ภาชนะดิ น เผา เก็ บ ของป า และอื่ น ๆ ซึ่ ง การอธิ บ าย ความหมายโดยชาวบานสอดคลองกับการนิยามของนักวิชาการที่ศึกษาในเรื่องกลาวเชน ประสิทธิ์ คุณุรัตน ที่ อธิบายความหมายของพื้นที่ “ทาม” วา “พื้นที่ราบลุมริมฝงแมน้ํา เปนที่ราบน้ําทวมถึง จะถูกน้ําทวมในฤดูน้ําหลาก สภาพพื้นที่มีลักษณะเปนที่ลุม เปนที่ดอนสลับกันไป ประกอบดวยแองน้ํา หนองน้ํา และรองน้ําที่เรียกวา “กุดหลง” มากมายบางแหงเปนที่ลุมต่ํา มีน้ําแชแข็งตลอดป เรียกวา “บุง” ทั้งบริเวณปกคลุมดวยพืชพันธไมหลากหลายชนิดตามระดับของพื้นที่ สวนใหญ เปนพวกไมพุม ไมหนามที่ทนตอสภาพน้ําทวม หรือน้ําแชแข็งไดดี ทําใหบริเวณที่เปนพื้นที่ทามและพื้นที่บุง ถูก เรียกวา “ปาบุงปาทาม” หรือมักเรียกสั้นๆวา ปาทาม บริเวณทามจะไดรับดินตะกอนใหม จากการพัดพามาทับถม ของสายน้ํา ดินทามจึงเปนดินที่มีคุณภาพความอุดมสมบูรณสูง” (สนั่น ชูสกุลและคณะ 2550:1) ในแงการจัดการทรัพยากรปาบุงปาทามและทรัพยากรน้ํานั้นพบวาชาวบาน มีความรูในการจัดการน้ําเพื่อ การเกษตรมายาวนาน เชน ชาวบานในเขตอําเภอราษีไศลมีวิธีการจัดหาน้ําเพื่อทํานาปรังดวยตัวเอง ที่มีระบบการ จัดการน้ําในพื้นที่บุงทามโดยจัดระบบการใชเครื่องสูบน้ํารวมกัน เชน ชุมชนบานรองอโศกและหนองแคสวนสวรรค นั้น พบวา ชาวบานริเริ่มทํานาปรังตั้งแตป พ.ศ. 2527 ชาวบานไดรวมกลุมขอเครื่องสูบน้ําจากกรมชลประทาน ชาวบานแบงกลุมผูทํานาออกเปน 7 กลุมๆ ละ 20-30 คน ตั้งเครื่องสูบน้ําในทาน้ําตางๆที่อยูริมแมน้ํามูล ไดแก ทาสับปลากั้ง, ทาชาง, ทาแต, ทาบานบัว โดยแตละทาจะมีชุดคลองสงน้ําขอบตนเอง ชวงที่มีการเริ่มทํานาปรัง ใหม ๆ ชาวบานทุกหลังคาเรือนที่ทํานาปรังจะชวยกันขุดคลองสงน้ําสายหลัก และเจาของนาจะขุดคลองซอยแยก เขาที่นาของตนเอง สําหรับการสูบน้ําเพื่อทํานาปรังนั้นทางชลประทานจะใหน้ํามันฟรีครั้งละ 200 - 300 ลิตร หากน้ํามันที่หนวยงานชลประทานใหฟรีไมเพียงพอกับการสูบน้ํา ชาวบานก็จะสมทบเงินกันซื้อน้ํามันมาสูบเอง การจัดการดังกลาวจะผานคณะกรรมการการทํานาปรังซึ่งมี 3 คน เพื่อดูแลเครื่องสูบน้ําและจัดสรรการสูบน้ํา โดย จะมีการเก็บเงินจากสมาชิกคนละ 100 บาท เพื่อเปนกองกลางในการซอมเครื่องสูบน้ํา และคาใชจายอื่น ๆ ใน การสูบน้ํา (สนั่น ชูสกุล และคณะ: เพิ่งอาง) 205


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

สวนชาวบานในเขตพืน้ ที่คลองสงน้ํา PL8 ของฝายหัวนาใน 4 ตําบลไดแก ตําบลหนองแกว ตําบล หนองแวง ตําบลทาม และตําบลละทาย อ.กันทรารมย มีความตองการน้ําเพื่อการเกษตรเปนอยางมาก โดยเฉพาะ ในชวงฝนทิ้งชวงและชวงฤดูแลงเนื่องจาก ชุมชนมีกิจกรรมการผลิตการเกษตรแบบเขมขนทั้งป เชน การปลูก หอมแดง พริก ถั่วลิสง และอืน่ ๆ มากกวาพื้นที่อื่นๆ และในปจจุบันชาวบานมักจะเผชิญกับปญหาฝนแลงการทํานา ไดรับความเสียหาย ชาวบานจึงพยายามแกปญหาเฉพาะหนาเมื่อเกิดภาวะฝนทิ้งชวงโดยเฉพาะในฤดูกาลทํานา ดวยการประสานกับผูใหญบา นเพื่อใหนําปญหาความเดือดรอนการขาดแคลนน้ําในการเกษตรมานําเสนอตออบต. เพื่อใหอบต.ประสานงานไปยังโครงการชลประทานศรีสะเกษเพื่อใหสูบน้ําจากแมน้ํามูลมายังคลองชลประทาน PL8 สวนอบต.สนับสนุนงบประมาณในการจายคาไฟฟาใหกับกรมชลประทาน ขณะเดียวกันชาวบานบางกลุมที่ไมไดรับ น้ําดังกลาวก็ใชวิธีชวยเหลือตนเองเบื้องตน โดยการสูบน้าํ จากสระน้ําที่ขุดหรือ เจาะบาดาลในพื้นที่นาของตนขึ้นมา ใช แตชาวบานกลุมนี้ก็ยังเห็นวาวิธีการสูบน้ําดังกลาวนี้ใชตนทุนการเพาะปลูกที่สูงมาก ทั้งคาไฟและคาน้ํามัน โดยรวมแลวประชาชนในพื้นที่ที่มีคลองสงน้าํ มีความคาดหวังสูงมากมาโดยตลอดที่จะไดใชน้ําจากฝายหัวนาเพื่อ การเกษตรตลอดทั้งป ในดานความเปนอยูพื้นฐานของประชากรในพื้นที่ พบวาอยูในขั้นที่ดีถึงดีมากเนื่องจาก ชาวบานไดรับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน เชน ไฟฟา ถนน สวม และอื่นๆ รวมทั้งชาวมีกจิ กรรมการผลิตใน ครัวเรือนตลอดป มีพืชเศรษฐกิจที่สําคัญคือขาวทั้งนาปและนาปรัง นาทาม ปลูกหอม กระเทียม พริก การเลี้ยงวัว ควาย การเก็บหาของปา พืชพรรณและสัตวน้ําจากที่ราบลุมราษีไศลที่มีระบบนิเวศแบบบุงทาม ซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจ หลักของทองถิน่ และมีพืชชนิดอื่นๆในบางพื้นที่ เชน ยางพารา หนอไมฝรั่ง ถั่วลิสง ความหลากหลายในการผลิต ตลอดปดังกลาวสามารถสรางรายไดของครัวเรือนอยางเปนกอบเปนกํา (กนกวรรณ มะโนรมย และคณะ 2552) 2. กระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม 2.1 กอนการประเมิน การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมสรางขึ้นเพื่อประเมินผลกระทบสําหรับโครงการพัฒนาตางๆที่ คาดวาจะเกิดขึ้นกับครอบครัว กลุมคน ชุมชน และ ทองถิ่น ที่คาดวาจะเกิดขึ้นจากการกอสรางโครงการวาจะ กอใหเกิ ดการเปลี่ยนแปลงตอ ชุมชนท องถิ่นมากนอยเพียงใดและระดับใดในเรื่อ ง วิถีก ารดํารงชีวิตทางสัง คม เศรษฐกิจ ระบบวัฒนธรรม ความเชื่อ ความสัมพันธทางสังคม สิทธิภูมิปญญา สิทธิของชุมชนในการเขาถึง พึ่งพา ใชและจัดการทรัพยากรและระบบนิเวศนั้นๆ ซึ่งการประเมินดังกลาวนี้จะตองดําเนินการควบคูไปกับการประเมินผล กระทบสิ่งแวดลอมโดยการเนนใหประชาชนที่คาดจะไดรับผลกระทบทั้งทางลบและทางบวกจากโครงการไดรับการ สง เสริม และสนั บ สนุน จากหน ว ยงานเจา ของโครงการให เข าร ว มในกระบวนการประเมิ น ผลกระทบทางสั ง คม นับตั้งแตการพัฒนาขอบเขตของการศึกษา (Term of Reference, ToR) การกําหนดวิธีการศึกษา การวิเคราะห ขอมูล การนําเสนอความกาวหนาของการศึกษาตอคณะกรรมการที่เกี่ยวของและกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย และการ ตรวจสอบความถูกตองแมนยําของรายงาน ทั้งนี้การไดเขารวมการประเมินผลกระทบผานกระบวนการตางๆ ดังกลาวจะทําใหประชาชนสามารถรวมคาดคะเนผลกระทบได พรอมกับมีสวนรวมในการนําเสนอมาตรการในการ ลดผลกระทบทางสังคม การติดตามตรวจสอบมาตรการการดําเนินงานเพื่อลดผลกระทบ การรวมเสนอทางเลือก ของโครงการและหรือการปรับเปลี่ยนโครงการใหสอดคลองกับระบบนิเวศ สภาพสังคมและเศรษฐกิจของทองถิ่น เพื่อลดผลกระทบทางลบแกชุมชนใหมากที่สุดและเพื่อใหชุมชนเขาใจผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นโดยเปรียบเทียบ กับความคุมคาและประโยชนที่คาดวาจะไดจากโครงการ ดังนั้นกอนการประเมินผลกระทบจะตองคํานึงถึงประเด็น ดังตอไปนี้ 206


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

2.1.1 บริบทของพื้นที่ บริ บ ทของพื้ น ที่ ทั้ ง ทางสิ่ ง แวดล อ ม ภู มิ นิ เ วศท อ งถิ่ น เศรษฐกิ จ วั ฒ นธรรมและสั ง คมของชุ ม ชนมี ความสําคัญอยางยิ่งที่ผูประเมินผลกระทบจะตองทําการศึกษาเพื่อใหไดขอมูลอยางลึกซึ้งละเอียดรอบดานเพราะ บริบทเหลานี้จะเปนขอมูลสําคัญในการทําความเขาใจวิถีการดํารงชีวิตของชุมชนในอดีตและปจจุบันรวมทั้งเปน ฐานขอมูลสําคัญในการทํานายและคาดการณผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นในชุมชนโดยเฉพาะการสูญเสียทรัพยากร ทองถิ่นที่จะสงผลกระทบโดยตรงและออมตอชุมชนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และเปนขอมูลสําหรับการกําหนด แนวทางและมาตรการลดผลกระทบตลอดจนแนวทางการติดตามมาตรการการลดผลกระทบ 2.1.2 ผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders) ผูมีสวนไดสวนเสียเปนองคประกอบสําคัญมากของการประเมินผลกระทบทางสังคมเพราะโครงการจัดการ น้ําขนาดใหญยอมมีผลกระทบในวงกวางกับระบบนิเวศทางกายภาพ ชีวภาพ และ สังคมของทองถิ่น การมีกลุมผูที่ เกี่ยวของที่หลากหลายกลุมและหลายระดับยอมชวยใหรายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมมีความ รอบด า นมากและละเอี ย ดรอบคอบมากยิ่ ง ขึ้ น สํ า หรั บ กรณี ศึ ก ษาของจากโครงการฝายหัว นาพบวา กลุ ม คนที่ เกี่ยวของสามารถแบงได 3 ระดับดังนี้ ระดับชุมชน ไดแก 1) กลุมผูที่คาดวาจะเสียประโยชนไดในที่นี้คือชาวบานฝายสมัชชาคนจน 2) กลุมที่ คาดวาจะไดประโยชน หมายถึงชาวบานที่ตองการฝายหัวนาที่อาศัยในพื้นที่ที่มีคลองสงน้ํา 3) องคกรปกครองสวน ท อ งถิ่ น ที่ ไ ด ส นั บ สนุ น ชาวบ า นในการสู บ น้ํ า ช ว งฤดู แ ล ง โดยขอความร ว มมื อ จากโครงการชลประทานจั ง หวั ด ศรีสะเกษ และมีบทบาทในการจัดสรรงบประมาณเพื่อการพัฒนาทองถิ่น ซึ่งทุกกลุมนี้จะตองมีผูแทนเขามารวมกับ การประเมินผลกระทบในฐานะนักวิจัยชาวบาน ระดับจังหวัด ไดแก สวนราชการตางๆ ที่ปฏิบัติราชการในระดับจังหวัดซึ่งเปนกลุมที่คาดวาจะมีสวนรวม มากในการปฏิบัติตามมาตรการลดผลกระทบตางๆที่เสนอโดยทีมที่ปรึกษาซึ่งเห็นชอบและประสานงานเพื่อขอ ความรวมมือโดยเจาของโครงการ หนวยงานดังกลาว เชน สํานักงานเกษตรจังหวัด สํานักงานปศุสัตวจังหวัด สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด เปนตน ระดับชาติ เปนหนวยงานที่สําคัญมากเพราะกลุมคนเหลานี้สามารถชี้อนาคตของผลการศึกษาในเชิง วิ ช าการและเชิ ง การตั ด สิ น ใจทางนโยบายต อ โครงการ ดั ง นั้ น กลุ ม นี้ ป ระกอบด ว ย ที ม ที่ ป รึ ก ษา ฝ า ยติ ด ตาม การศึกษาผลกระทบ ฝายปรึกษาดานวิชาการ และ ฝายตรวจสอบและกลั่นกรองรายงาน (สผ. คณะกรรมการ ผูชํานาญการ สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ) และ ครม.ที่ตองตัดสินใจเชิงนโยบาย การที่โครงการ ฝายหัวนามีคณะกรรมการระดับชาติคอยติดตามกํากับมากกวาโครงการอื่นๆ ที่ผานมา 2.1.3 ทีมที่ปรึกษา ทีมที่จะทําการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและทางสังคมควรจะเปนผูที่มีประสบการณในพื้นที่ที่คาดวา จะมีโครงการเพราะประเด็นความขัดแยงระหวางกลุมตางๆมีอยูในพื้นที่ หากทีมศึกษาไมมีความคุนเคยกับกลุม ตางๆมากอนยอมยากในการเขาถึงขอมูลหรืออาจถูกกีดกันไมใหเขาไปศึกษาไดงายและยิ่งหากมีเวลาจํากัดยิ่งเปน การยากมากที่จะดําเนินงานใหแลวเสร็จไดทันในเวลาที่กําหนด หากกรณีไมมีนักวิชาการทองถิ่นที่มีผลงานโดยตรง 207


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ดานการประเมินผลกระทบ ทีมภายนอกจะตองหาวิธีการทํางานรวมกับนักวิชาการหรือภาคสวนตางๆในพื้นที่ให มากที่สุดเพื่อเขาไปดําเนินการ ทั้งนี้จากประสบการณการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมกรณีฝายหัวนา พบวาทีมที่ปรึกษาที่มาจากทีมสถาบันวิชาการทองถิ่นและรวมทํางานกับนักวิจัยชาวบานที่มาจากทุกกลุมยอมเปน วิธีการที่ดีและเหมาะสมมากที่สุดเนื่องจากขอมูลความจริงเกี่ยวกับโครงการกอสรางขนาดใหญมีความสลับซับซอน และเกี่ยวของกับขอมูลหลายระดับและครอบคลุมประเด็นทั้งระดับที่ลึกและกวางดังนั้นจึงไมสมควรที่จะมีขอสรุป ของผลการศึกษาเพียงเปนขอสรุปจากนักวิชาการฝายเดียว มีความสมควรอยางยิ่งที่จะมีขอสรุป ขอมูล ขอเท็จจริง เกี่ยวกับผลกระทบของโครงการจากหลากหลายมุมมองของนักวิจัยชาวบาน ดังที่ผูใหขอมูลทานหนึ่งกลาววา “เรื่องเดียวนาจะมีมุมมองจากหลายๆ ฝาย” เพื่อตรวจสอบและแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางกลุมผูศึกษา 2.1.4 นักวิจัยชาวบาน ในการดําเนินการประเมินผลกระทบดานสังคม นอกจากทีมที่ปรึกษาจะเปนนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย ในทองถิ่นแลว นักวิจัยชาวบานยังเปนกลุมคนที่เขามารวมทําการประเมินในครั้งนี้ การมีนักวิจัยที่เปนชาวบานนั้น สามารถชวยทําใหไดขอมูลจากมุมมองของคนใน (emic view) ซึ่งชวยสะทอนความคาดหวังและความวิตกกังวล ของชาวบานจากทุกกลุมในระดับพื้นที่ไดดีกวาบุคคลภายนอกอยางชัดเจนโดยมีขั้นตอนการคัดเลือกนักวิจั ย ชาวบานดังนี้ (1) เลือกพื้นที่ที่เกี่ยวของที่คาดวาจะไดรับผลกระทบหรือไดรับประโยชน โดยทีมประเมินผลการลงพื้นที่ สํารวจ และทําความรูจักชาวบานในพื้นที่โดยทําการสนทนา ซักถามแนะนําตัวกับชาวบาน (ใชเวลาใน พื้นที่ละ 2 ครั้ง ในการทําความคุนเคย) (2) ซักถามเกริ่นนําลักษณะโครงการและชวนเขารวมทํางานเปนนักวิจัยชาวบาน (3) อธิบายลักษณะและคุณสมบัติของนักวิจัยชาวบาน และทําความเขาใจรวมกันในภารกิจงานในพื้นที่และ ขอบเขตหนาที่ของนักวิจัยชาวบาน ตลอดจนแจกเอกสารที่เกี่ยวของเพื่อใหนักวิจัยชาวบานไดไปศึกษา เพิ่มเติม (4) ซัก ซ อ มทํ า ความเข า ใจแนวคํ า ถามและวิ ธี ก ารเก็ บ ข อ มู ล กั บ ผู ช วยนั ก วิ จั ย ชาวบ าน และให นั ก วิ จั ย ชาวบานเพิ่มเติมประเด็นที่นาสนใจ หากเห็นวาแนวคําถามยังไมครอบคลุมทุกประเด็น (5) ใหนักวิจยั ชาวบานปรึกษาชาวบานที่เปนผูรู (กรณีมีการเพิ่มประเด็นคําถาม) (6) ทําความเขาใจกับนักวิจัยชาวบานเกี่ยวกับการเลือกกลุมผูใหขอมูลโดยควรตองมีคุณสมบัติที่สําคัญไดแก มี มนุษยสัมพันธดี และมีความสามารถในการประสานงานในพื้นที่ได มีทักษะในการเก็บขอมูล การบันทึกขอมูล ตลอดจนทักษะในการสื่อสาร คือสามารถตั้งคําถาม และสามารถเปนผูนําในการประชุมได เปนผูที่ชาวบานให ความไววางใจที่จะใหขอมูล มีความรูในประเด็นที่เกี่ยวของเปนอยางดี และสามารถสละเวลาในการทํางานประจํา ได โดยมีบทบาทสําคัญคือ 1) ประสานงานกับผูใหขอมูลสําคัญเพื่อการประเมินสภาวะชนบทแบบมีสวน

รวม 2) รวมสัมภาษณและวิเคราะหขอมูลกับที่ปรึกษา 3) รวมชี้แจงทําความเขาใจการประเมินผล กระทบแบบมีสวนรวมแกชาวบานในพื้นที่ และ 4) ตรวจสอบขอมูลเกี่ยวกับประเด็นตางๆ 2.1.5 ขอบเขตการศึกษา (ToR) ทีมที่ปรึกษาจะตองดําเนินการจัดทําขอบเขตการศึกษาผลกระทบฯ โดยกระบวนการมีสวนรวมของทุกกลุม ในพื้นที่เพราะขอบเขตการศึกษาเปนเครื่องมือและกรอบคิดสําคัญในการเก็บรวบรวมขอมูลใหครอบคลุมประเด็น 208


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

ตางๆที่เกี่ยวของใหมากที่สุด เชน วิถีการทํามาหากิน ระบบนิเวศทองถิ่น และความกังวลตางๆของชุมชนเกี่ยวกับ โครงการ เปนตน ทั้งนี้ทีมที่ปรึกษาควรนําขอบเขตการศึกษาที่มาจาก สผ. มาประกอบดวย กระบวนการจัดทํา ขอบเขตการศึกษาตองใชเทคนิคการวิจัยแบบมีสวนรวม และ การจัดการประชุมตางๆ ไดแก การสนทนากลุมยอย การประชุมกลุมใหญ การประชุมกลุมเล็ก และการทําประชาคมหมูบานควบคูกัน 2.1.6 การชี้แจงการประเมินผลกระทบ ทีมที่ปรึกษาตองจัดเวทีเพื่อทําการชี้แจงโครงการศึกษาเพื่อประเมินผลกระทบกับผูมีสวนไดสวนเสียกอน การเริ่มการทํางาน ที่ประกอบดวยเจาของโครงการ ภาคสวนราชการที่เกี่ยวของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และ ชาวบ า นทุ ก กลุ ม โดยการนํ า เสนอความเป น มาของโครงการ ที ม ที่ ป รึ ก ษา ขอบเขตการศึ ก ษาในทุ ก ๆด า น กระบวนการขั้นตอนการประเมินผลกระทบโดยการมีสวนรวมของภาคประชาชน ระยะเวลาที่ใชการศึกษา การ นําเสนอผลการศึกษา เปนตน 2.2 ระหวางการประเมินผลกระทบ 2.2.1 วิธีการศึกษาขอมูล วิธีการประเมินวิถีชีวิตชุมชนและการจัดทํามาตรการลดผลกระทบกรณีฝายหัวนานั้น ไดดําเนินการภายใต แนวคิดการวิจัยวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ การประเมินสภาวะชนบทแบบตางๆไดแก การประเมิน สภาวะชนบทแบบเรงดวน (Rapid Rural Appraisal, RRA) และการประเมินสภาวะชนบทแบบมีสวนรวม (Participatory Rural Appraisal, PRA) และการประชุมหารือ ทั้งนี้เพื่อใหไดขอมูลเชิงลึกและกวางที่ครอบคลุมที่สุด ซึ่งจะกลาวถึงในขั้นตอนระหวางการประเมิน ดังรายละเอียดตอไปนี้ 1. การประเมินสภาวะชนบทแบบเรงดวน (Rapid Rural Appraisal, RRA) เปนการสัมภาษณ และสังเกตการณของคณะทํางานฝายตางๆ เพื่อทําความเขาใจและรับทราบความ คิดเห็นและขอวิตกกังวลของทั้งผูที่คาดวาจะไดรับประโยชนกับเสียประโยชนโดยรวมกันสัมภาษณเจาะลึกจากผูให ขอมูลสําคัญ (key informants) จากคําถามแบบกึ่งโครงสราง และการสังเกตการณในชุมชนเพื่อเขาใจวิถีการดํารง ชีพและการใชทรัพยากร จากนั้นนําขอมูลมาวิเคราะหสถานการณและปญหาของชุมชน หลังจากการประเมินสภาวะ ชนบทแบบเรงดวนแลว จึงดําเนินการขั้นการประเมินสภาวะชนบทแบบมีสวนรวม (Participatory Rural Appraisal, PRA) โดยในชวงแรก เปนการดําเนินการประเมินวิถีชีวิตของชุมชน ซึ่งไดคัดเลือกนักวิจัยชาวบาน เพื่อทําหนาที่ ประสานงานกับชุมชน และประสานงานการเก็บขอมูลกับกลุมตัวอยางประชาชนที่เปนผูใหขอมูลสําคัญ และได ดําเนินการสนทนากลุมยอย จํานวน 46 ครั้ง ซึ่งไดดําเนินการเก็บขอมูลในประเด็นหลักที่ประชาชนมีความกังวล เรื่องผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนของตน ทั้งผลกระทบตอผูที่คาดวาจะไดรับประโยชน และผูที่คาดวาจะไดรับ ผลกระทบ สามารถสรุปผลการดําเนินงานดังตอไปนี้ การประเมินสภาวะชนบทแบบเรงดวนเนินการ โดยมีผูให ขอมูลหลักมาจากตัวแทนทั้งฝายผูที่คาดวาจะไดรับประโยชน คือ และผูใหขอมูลหลักจากลุมผูที่คาดวาจะเสีย ผลประโยชน เพื่อทราบขอกังวลและปญหาที่คาดวาจะเกิดขึ้นหากใชฝายหัวนา

209


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

2. การประเมินสภาวะชนบทอยางมีสวนรวม (Participatory Rural Appraisal, PRA) หลั ง จากที่ ที ม ที่ ป รึ ก ษาได ข อ มู ล ภาพรวมด า นวิ ถี ชี วิ ต ระบบการทํ า มาหากิ น การใช ท รั พ ยากร การ เปลี่ยนแปลงของชุมชน และ ขอกังวลจากทั้งสองกลุมที่มาจากการใชเทคนิคการประเมินสภาวะชนบทแบบเรงดวน แลว ทีมที่ปรึกษาใชเทคนิคการประเมินสภาวะชนบทอยางมีสวนรวมโดยจะเขาไปทําหนาที่เปนเพียงผูอํานวยความ สะดวกในกระบวนการเรียนรูของนักวิจัยชาวบาน โดยที่นักวิจัยชาวบานหมายถึงชาวบานที่ไดรับการคัดเลือกจาก คณะผูประเมินรวมกับชาวบานใหมารวมเปนนักวิจัยรวมกับคณะ ที่ปรึกษาสําหรับเทคนิคในการประเมินสภาวะ ชนบทแบบมีสวนรวมนี้ จะใชกระบวนการสัมภาษณเจาะลึกจากผูใหขอมูลสําคัญรายบุคคล การสนทนากลุมยอย และการปรึกษาหารืออยางเปนทางการโดยนักวิจัยชาวบานรวมกับทีมที่ปรึกษาดําเนินการรวมกัน เชน ไดแบง ประเด็นรับผิดชอบในการสอบถามขอมูลใน 8 ประเด็นและแตละประเด็นจะมีนักวิจัยชาวบานรวมทีม 2 ฝายดังนี้ กลุมที่หนึ่ง : การพูดคุยสอบถามกับกลุมผูคาดวาจะไดรับประโยชน (1) ประเด็นเรื่องการใชน้ําในการเกษตร (2) ประเด็นเรื่องการปลูกหอม กลุมที่สอง : การพูดคุยสอบถามกลุมผูคาดวาจะเสียประโยชน (3) ประเด็นเรื่องน้ําทวม (4) ประเด็นเรื่องการทํานาทามและการทําการเกษตรในบุงทาม (5) ประเด็นเรื่องการเก็บหาของปาและการเลี้ยงสัตวในทาม (6) ประเด็นเรื่องการทําประมง (7) ประเด็นปนหมอ (8) ประเด็นดินเค็ม การศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเพื่อประเมินสภาพเศรษฐกิจของชุมชน การใชแบบสอบถามเพื่อสํารวจขอมูลเชิง ปริมาณถูกนํามาใชในการประเมินภาพกวางเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของทุกกลุมรวมจํานวน 963 ครัวเรือน และตอไดใชแบบสํารวจกับกลุมประชาชนที่คาดวาจะเสียประโยชนใหครอบคลุมทุกครัวเรือนซึ่งมี จํานวนทั้งสิ้น 728 ครัวเรือน เทคนิคสําคัญอื่นๆที่ใชเพื่อหาแนวทางการลดผลกระทบและติดตามตรวจสอบ การหามาตรการเพื่อลด ผลกระทบนั้นการหามาตรการเพื่อลดผลกระทบนั้นทีมที่ปรึกษาไดใชวิธีการที่หลากหลาย โดยที่วิธีการตางๆ ดังกลาวไดระบุในคูมือ “แนวทางการมีสวนรวมของประชาชนในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมใน กระบวนการวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม” (2548) ของ สผ. เชน การชี้แจงโครงการ การทําเอกสาร เผยแพรการพบปะอยางไมเปนทางการ การแถลงขาว การประชุมปฏิบัติการ การพบปะแบบไมเปนทางการ การ สนทนากลุมยอย การจัดทําเอกสารเผยแพร การปรึกษาหารืออยางเปนทางการการประชาสัมพันธแนวเขต และ น้ําทวมใหแกผูรับผลกระทบ เปนตน

210


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

2.2.2 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลดานสังคมเพื่อการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมจําเปนตองอาศัยขอมูลจาก ทีมที่ปรึกศึกษาที่ทําอีไอเอ เชน ขอมูลระดับน้ําทวม เพราะหากไมมีขอมูลนําเขาดานกายภาพหรืออุทกวิทยาก็ยาก ที่นกั สังคมศาสตรจะสามารถคาดการณหรือทํานายผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นไดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ของชาวบ านอั น เนื่อ งจากการเปลี่ ย นแปลงของระบบนิ เวศที่ ชุม ชนอาศั ย เช น การเปลี่ ย นแปลงการเขา ไปใช ประโยชนจากปาบุงปาทามในดานตางๆ ตัวอยางการวิเคราะหความเชื่อมโยงระหวางระดับการทดน้ําของฝายหัวนา และการเปลี่ยนแปลงของการใชและการเขาถึงพื้นที่ปาบุงปาทาม ขอมูลดานการประเมินอัตราการไหล การทดน้ํา และการคาดการณน้ําทวมที่ไดจากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมของวิศวกรที่ปรากฏในตารางไดถูกสงตอให ฝายประเมินผลกระทบทางสังคมและเศรษฐศาสตรเพื่อนําไปใชเปนฐานในการประเมินผลกระทบทางสังคมที่คาดวา จะเกิดขึ้นหากมีน้ําทวมพื้นที่ตางๆของชุมชน ไดแก ปาบุงปาทามที่ชาวบานประกอบกิจกรรมการผลิตและกิจกรรม ทางวัฒนธรรม เชน แหลงทํานา ทําเลสาธารณะเลี้ยงสัตว แหลงหาของปาและสัตวน้ํา พื้นที่ทําพิธีกรรม และแหลง ดินปนหมอ เปนตน ซึ่งฝายประเมินผลกระทบทางสังคมไดนําขอมูลสวนนี้ไปวิเคราะหรวมกับขอมูลที่ไดจากการ ประเมินวิถีการดํารงชีพในสภาพปจจุบันของชุมชน 2.2.3 การเขียนรายงาน สวนประกอบสําคัญที่สุดสวนหนึ่งของกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมคือการนําเสนอ รายงานการประเมินผลกระทบฯ ที่นี้หมายถึงการเขียนรายงานการศึกษาผลกระทบฯ เพื่อสงใหแกคณะอนุกรรมการ สองชุดไดแก 1) คณะอนุกรรมการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและผลกระทบทางสังคมจากการกอสรางฝาย หัวนา 2) คณะกรรมการกํากับดูแลงานที่ปรึกษาดานวิชาการ กอนที่จะสงตอให สผ. เพื่อสงไปยังคณะกรรมการ ผูชํานาญการตามขั้นตอนที่กําหนดโดย สผ. ตอไป โดยรวมแลวการเขียนรายงานการประเมินผลกระทบทางสังคมควรเขียนรายงานดวยภาษาวิชาการที่เขาใจ ง า ยสื่ อ ตรงไปตรงมา เพื่ อ สามารถสื่ อ กั บ กลุ ม คนมากมายหลายกลุ ม หลายระดั บ โดยเฉพาะกั บ กลุ ม ผู ที่ ไ ด รั บ ผลกระทบโดยตรงในทองถิ่น กลุมบุคคลทั่วไปที่สนใจประเด็นสิ่งแวดลอม และ รัฐบาล ดังที่ผูเขารวมในกระบวนการ ใหขอมูลกลาววา “ใชภาษาทองถิ่นหรือภาษาวิชาการงายๆที่ชาวบานสามารถอานและเขาถึงการใชประโยชนจาก โครงการไดงาย” สวนการเขียนประเด็นเกี่ยวระดับการประเมินผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นควรเขียนใหชี้ชัดลงไป วามีผลกระทบที่สําคัญแตละเรื่องคืออะไรและผลกระทบอยูในระดับใดบางเพื่อใหผูตัดสินใจสามารถเห็นภาพวา ทิศทางผลกระทบของโครงการที่คาดวาจะมีตอชุมชนเปนอยางไรและจะตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการอยางไร ที่ชี้ ผลกระทบตอวิถีการทําเกษตร การเขาถึงการใชประโยชนจากปาบุงปาทามในชวงที่ระยะเวลาที่น้ําทวมปาบุงปาทาม เพิ่มขึ้นจะสงผลกระทบตอการเก็บหาของปา ปลูกพืชฤดูแลง การปนหมอและอื่นๆในระดับ - 5 ในขณะที่ประโยชน จากการมีน้ําเพิ่มขึ้นจากการทดระดับน้ําที่ + 112 ม.รทก. จะทําใหชาวบานไดประโยชนในการทําการเพาะปลูกชวง ฤดูแลงซึ่งมีระดับผลกระทบ + 5 เปนตน 2.2.4 การเสนอรายงานการประเมินฯตอคณะอนุกรรมการฯและผูมีสวนไดสวนเสีย ระหวางการดําเนินการประเมินผลกระทบฯ ทีมที่ปรึกษาจะตองนําเสนอความกาวหนาตอคณะกรรมการ สองชุดดังที่กลาวไปแลวในหัวขอที่ผานมา กรณีการประเมินผลกระทบของฝายหัวนา ทีมที่ปรึกษาไดรายงานตอ คณะกรรมการจํานวน 5 ครั้ง ไดแก 1) รายงานการเริ่มงาน 2) รายงานความกาวหนาครั้งที่ 3) รายงานฉบับ 211


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

กลาง 4) รายงานความกาวหนาครั้งที่ 2 และ5) รายงานรางฉบับสุดทาย โดยทีมที่ปรึกษาตองสงรายงานแตละ ฉบั บ ให ค ณะอนุ ก รรมการได อ า นก อ นอย า งน อ ย 15 วั น ก อ นการประชุ ม ซึ่ ง ในวั น ประชุ ม เพื่ อ เสนองาน คณะอนุ ก รรมการฯ ได ใ ห ที ม ที่ ป รึ ก ษานํา เสนอการปรั บ แก ห รื อ เพิ่ ม เติ ม ข อ มู ล ตามที่ ค ณะอนุ ก รรมการได ใ ห ความเห็นหรือแนะนํามากอนหนานั้นจากนั้นที่ปรึกษาไดนําเสนอความกาวหนาของการดําเนินการที่ผานมา โดยทั่วไปคณะอนุกรรมการจะทําหนาที่รับฟงขอมูล ตั้งคําถามและ ตั้งขอสังเกตเกี่ยวกับวิธีการศึกษา ขอมูลที่ไดมา ความถูกตอง แมนยําของขอมูล การมีสวนรวมของประชาชน ขอเสนอแนะแนวการวิเคราะห และ การเขียนรายงาน สวนการนําเสนอความกาวหนาของรายงานการประเมินผลกระทบฯ กับผูมีสวนไดสวนเสียในระดับพื้นที่ ควรตองดําเนินการตลอดระยะเวลาของการทําการประเมินผลกระทบเพื่อปรึกษาหารือดานขอมูล ใหกลุมตางๆที่มี ความเห็นที่แตกตางกันมีสวนในการใหขอมูลและเสนอมุมมองเพิ่มเติมเรื่องเนื้อหา แหลงขอมูล และขอคิดเห็นตอ ขอมูลที่นําเสนอโดยทีมที่ปรึกษาตางๆ สําหรับกรณีฝายหัวนาไดดําเนินการประชุมหารือจํานวน 5 ครั้งในการ ประชุมแตละครั้งจะมีทั้งกลุมผูที่คาดวาจะไดและเสียประโยชนและสวนราชการในพื้นที่มารวมประชุม เชน การ ประชุม วันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ ศาลากลางจังหวัดศรีสะเกษ เรื่อง การหาแนวทางและมาตรการการลด ผลกระทบจากฝายหัวนาและแนวทางการจัดการฝายหัวนา โดยโครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและดานสังคม โครงการฝายหัวนา ซึ่งผูมีสวนไดสวนเสนอเสนอใหดําเนินการใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการฝายหัวนา โดยมีองคประกอบที่สําคัญคือตองมีการกําหนดสัดสวนของคณะกรรมการที่เหมาะสมโดยมาจากทุกภาคสวนที่ เกี่ยวของไดแก ภาครัฐ คณะกรรมการลุมน้ํามูลตอนลาง องคกรพัฒนาเอกชน ภาควิชาการ และ ภาคชาวบานผูที่ ไดรับประโยชนและเสียประโยชน ทั้งนี้ในสวนของภาคชาวบานนั้นจะตองมีจํานวนสัดสวนมากพอ และทําหนาที่ บริหารจัดการฝายหัวนาที่ตองพิจารณาวาระดับการทดน้ําที่ ควรจะพิจารณารวมกับการบริหารจัดการลุมน้ํามูล อยางมีประสิทธิภาพโดยรวมโดยและใหพิจารณาใหมีความสัมพันธและสอดคลองกับการบริหารจัดการฝายและ เขื่อนตางๆ ที่อยูในลุมน้ําเดียวกัน เชน ฝายราษีไศลและเขื่อนปากมูล ทั้งนี้เนื่องจากทั้ง 3 โครงการ (รวมทั้งฝายหัว นา) ตั้งอยูในลุมน้ํามูลตอนลางทั้งหมด ซึ่งหากโครงการใดโครงการหนึ่งดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งจะสงผล กระทบตอระบบลุมน้ําทั้งหมด เปนตน 3. การประเมินผลกระทบที่สงผลระยะยาวตอประสิทธิภาพการใชน้ํา โดยทั่ ว ไปแล ว ประสิ ท ธิ ภ าพการใช น้ํ า และการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า ในประเทศไทยโดยเฉพาะ โครงการขนาดใหญตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบันประสบปญหามาโดยตลอด การศึกษาของมิ่งสรรพ ขาวสะอาด และ คณะ (2544) พบวา นโยบายการจัดการน้ําของประเทศไทยขาดทั้งกติกาและเครื่องมือในการจัดสรรทรัพยากรน้ํา อยางมีประสิทธิภาพและขาดความเปนธรรมแกกลุมตางๆเพราะนโยบายของประเทศเนนการจัดหาน้ําสําหรับฤดู แลงเปนหลัก ผสมผสานกับการเพิ่มของประชากรและความเขมขนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา ทําใหโครงการจัดหาแหลงน้ําประสบปญหาการการตอตานจากประชาชนและการแกไขปญหาเรื่อง การชดเชยแกชุมชนที่ไดรับผลกระทบที่มักมีปญหาตามมารวมทั้งผลการะทบตอสภาพแวดลอมโดยเฉพาะดาน ระบบนิเวศของพื้นที่ ผูเขียนเห็นวาการมีเครื่องมือการจัดการทรัพยากรน้ําที่ดีจะสามารถลดความขัดแยงดานการจัดการน้ําทั้ง ระหวางชาวบานดวยกัน ระหวางชาวบานกับรัฐ และระหวางหนวยงานของรัฐดวยกัน และ เพื่อการใชและการ จัดการน้ําที่เหมาะสมตอภูมินิเวศ พื้นที่ทางสังคมวัฒนธรรม สิทธิการใชระบบนิเวศพื้นถิ่นที่มีอยูหลากหลายแบบ 212


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

ของชุ ม ชนในพื้ น ที่ โ ครงการ ดั ง นั้ น ผู เ ขี ย นจึ ง เสนอว า หนึ่ ง ในเครื่ อ งมื อ ดั ง กล า วได แ ก ก ารประเมิ น ผลกระทบ สิ่งแวดลอมทางสังคมโดยการมีสวนรวมของประชาชน จากกรณีศึกษาฝายหัวนาที่กลาวโดยละเอียดในหัวขอที่ 2 สามารถสรางประสิทธิภาพการจัดการทรัพยากรน้ําของโครงการฝายหัวนาในระยะยาวไดดวยเหตุผลตอไปนี้ 3.1 การบูรณาการความรูวิทยาศาสตรและความรูทองถิ่นในการจัดการน้ํา การจัดการทรัพยากรน้ําอยางมีประสิทธิภาพตองอาศัยฐานความรูแบบวิทยาศาสตรผสมผสานกับความรู ทองถิ่น จากการประเมินผลกระทบกรณีฝ ายหัวนาเกี่ยวกับขอ สรุปร วมในการทดระดับน้ํ าในฝาย พบว า การ ตัดสินใจเลือกระดับการทดระดับน้ําฝายหัวนาเพื่อการใชน้ําอยางมีประสิทธิภาพทั้งการมีน้ําใชในชวงฤดูแลง การ ระบายน้ําจากฝายในชวงฤดูฝนและการลดการสูญเสียจากน้ําทวมพื้นที่ปาบุงปาทามใหนอยที่สุดนั้น ขึ้นอยูกับการ เลือกระดับที่เหมาะสมของการทดน้ําของฝายหัวนาของชุมชนและและเจาของโครงการ ซึ่งแตเดิมนั้นบริษัทที่ ปรึกษาที่มีการศึกษาระดับการทดน้ําโดยไมมีการปรึกษาหารือกับชุมชนในป พ.ศ. 2544 ไดเสนอใหมีการทดระดับ น้ําที่ + 115 ม.รทก.และทางกรมชลประทานไดทําการปกปายบอกระดับน้ําทวมดังกลาวริมฝงแมน้ํามูลและในชุมชน ที่อยูติดกับแมน้ํามูลอยางชัดเจน (วันเพ็ญ วิโรจนกูฐและคณะ 2552) เปนผลใหกลุมสมัชชาคนจนไดยื่นขอ เรียกรองตอรัฐเพื่อใหมีการศึกษาผลกระทบใหมเพราะการทดระดับน้ําดังกลาวจะทําใหน้ําทวมบานเรือนและที่ทํา กินโดยเฉพาะปาบุงปาทามจํานวนมากทั้งนี้ชาวบานคาดการณน้ําทวมจากการใชความรูทองถิ่นที่ไดจากการสังเกต ระดับน้ําทวมตามธรรมชาติในป พ.ศ. 2521 และระหวาง ป พ.ศ. 2543 - 2545 ซึ่งเปนปที่น้ําทวมผิดปกติ โดยการ ทวมนั้นไดกินขอบเขตบริเวณกวางที่สรางความเสียหายตอทรัพยสินของชาวบาน (ฝายวิชาการสมัชชาคนจน อาง แลว) ดั งนั้นการประเมินผลกระทบสิ่ งแวดลอ มโดยทีมที่ป รึกษาดานสิ่งแวดล อมที่ไ ดทํางานควบคู กับที มการ ประเมินผลกระทบดานสังคมไดแลกเปลี่ยนขอมูลจากที่ไดจากภูมิปญญาชาวบานเรื่องประสบการณน้ําทวมชุมชน ตามสภาพธรรมชาติและปรึกษาหารือในการทดระดับน้ําที่ไดจากการจําลองดวยระบบคอมพิวเตอร เพื่อใหการทด ระดับน้ําสรางการสูญเสียตอชุมชนนอยที่สุด ทีมที่ปรึกษาจึงไดเสนอใหมีการทดน้ําที่ระดับ +112 ม.รทก. (แทนที่ ระดับ +115 ม.รทก. ตามที่บริษัทที่ ปรึกษาเคยเสนอในป พ.ศ. 2544) หลังจากที่คณะที่ปรึกษาไดทดลองศึกษารูปแบบการทดระดับน้ําที่ตางๆนับตั้งแต ระดับ +112 ม.รทก. +113 ม.รทก. + 114 ม.รทก. +115 ม.รทก. และ +116 ม.รทก. ซึ่งปรากฎวา “ระดับ +112 ม.รทก.เปนระดับที่เหมาะสมทางดานชลศาสตรและอุทกวิทยาเพราะคาดวาจะมีน้ําที่เพียงพอสําหรับการจายน้ําใน พื้นที่ชลประทานของโครงการสําหรับการปลูกขาวนาปเปนเต็มพื้นที่ PL3 และ PL8 รวม 77,300 ไร และสําหรับป แลงที่มีคาดการณยอนกลับ 100 ป (มีโอกาสขาดน้ํา 1%) และเมื่อพิจารณาจากปริมาณน้ําทาในคาบการยอนกลับ เดียวกัน ก็ยังสามารถขยายพื้นที่จายน้ําไดอีกถึง 100,000 ไร ประโยชนที่สําคัญอีกประการจากการทดน้ําเพื่อรักษา ระดับ ไวที่ ระดั บ +112 ม.รทก. นั่น ก็คือ การควบคุมใหลําน้ํ ามูล ชวงทายฝายหัวนามีอัตราการไหลที่ สม่ําเสมอ (flow regulation) เพื่อปองกันปญหาน้ําแหงในลําน้ํา ปองกันการเสียสภาพระบบนิเวศตามธรรมชาติ อันเปน สถานการณที่เกิดขึ้นจริงอยูในบางชวงในขณะนี้ นอกจากนี้ การทดน้ํารักษาระดับไวที่ +112 ม.รทก.นี้ เปนระดับน้ํา ที่มีความเสี่ยงนอยที่จะประสบปญหาในการเดินเครื่องสูบน้ําและประสบปญหาขาดน้ําในหนาแลง อันเนื่องมากจาก การที่ระดับน้ํามีโอกาสลดต่ําลงกวาคาระดับที่ไดออกแบบไวสําหรับการเดินเครื่องสูบน้ําทั้งของสถานีสูบน้ํา PL3 และสถานีสูบน้ํา PL8 (+110 ม.รทก.สําหรับ PL3 และ +109 ม.รทก. สําหรับ PL8) ซึ่งการทดระดับน้ําที่+112 ม.รทก. ดังกลาว คาดวาจะทําใหมีน้ําทวมพื้นที่บุงทามที่เพิ่มขึ้นจากเดิม 2 - 3 เดือนในชวงประมาณกลางเดือน พฤศจิกายนตอเนื่องถึงประมาณกลางเดือนมกราคม” (วันเพ็ญ วิโรจนกูฎ และคณะ 2552) 213


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

การบูรณาการขอมูลจากการประเมินผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเขากับการขอมูลที่ไดจากการประเมินผล กระทบทางสังคมเรื่องระดับการทดน้ําที่เหมาะสมพบวาโดยสภาพทางชลศาสตรตามธรรมชาติแลว ที่อัตราการไหล มากกวา 498 ลบ.ม./วินาที ในชวงผานฝายหัวนาของลําน้ํามูล ก็จะทําใหระดับน้ําที่บริเวณฝายมีระดับสูงกวา +112 ม.รทก. อยูแลว ซึ่งในแตละปโดยเฉลี่ยแลวจะมีระยะเวลาตอเนื่องกันประมาณ 60 วันที่น้ําในลําน้ําชวงนี้มีอัตราการ ไหลสูงกวาคาอัตราการไหลดังกลาว (กลางเดือนกันยายนถึงกลางเดือนพฤศจิกายนในแตละป) และอัตราการไหล สูงสุดเฉลี่ยรายวันมีคาประมาณ 1,800 ลบ.ม./วินาที ซึ่งที่อัตราการไหลสูงสุดเฉลี่ยรายวันนี้ จะเกิดน้ําทวมเออลน ออกนอกตลิ่งเปนแหงๆ ตลอดชวงระยะตั้งแตฝายราษีไศลไปจนถึงฝายหัวนา และน้ําจะทวมมากที่สุดที่บริเวณพื้นที่ ในเขตอําเภอราษีไศล โดยบางสวนที่เปนที่ลุมมีระดับภูมิประเทศต่ํากวาระดับตลิ่ง ก็อาจยังคงมีน้ําเออขังอยู ดังนั้น จะมีพื้นที่บางสวน มีน้ําเออขังนานกวา 3 เดือน ในขณะที่ขอบเขตน้ําทวมอันเกิดจากการทดระดับน้ําไวที่ +112 ม. รทก.นั้นถึงแมจะมีบริเวณพื้นที่นอยกวาน้ําทวมเนื่องจากน้ําหลากตามธรรมชาติ แตการทดน้ํารักษาระดับไวสําหรับ หนาแลงนี้จะเปนผลใหระยะเวลาที่ไดรับผลกระทบนั้นเพิ่มมากขึ้น กลาวคือสภาพน้ําทวมในพื้นที่อันเนื่องมาจาก การทดน้ํานั้นจะเปนผลใหมีระยะเวลาน้ําทวมขังเพิ่มมากขึ้นกวาเดิมดังที่กลาวมาแลว ดังนั้น ในหมูบานโกและ หมูบานโพนทรายที่มีการปนหมอคาดวาแหลงดินปนหมอจะไดรับผลกระทบจากระยะเวลาน้ําทวมขังเพิ่มมากขึ้น ประมาณปละ 2 ถึง 3 เดือนซึ่งดินบางแหงคาดวาจะทวมทั้งปและบางแหงจะถูกทวมบางเดือนและมีระยะเวลาที่ ทวมนานขึ้น ดังนั้นการที่น้ําทวมแหลงดินปนหมอจะทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศซึ่ง ยอมจะสงผลกระทบ โดยตรงตอผูมีอาชีพปนหมอ และอาชีพนี้จะสูญหายไปในที่สุด 3.2 การจัดการน้ําที่คํานึงถึงความสมดุลของระบบนิเวศที่อยูในลุมน้ําเดียวกัน การจัดการน้ําฝายหัวนายังตองเผชิญกับความซับซอนขึ้นไปอีกเนื่องจากฝายหัวนาเปนฝายที่ตั้งอยูตอทาย จากฝายราษีไศล ดังนั้นการจัดการทดน้ํา การปด การเปดใชฝายราษีไศล ดวยระบบเปด 8 เดือน ปด 4 เดือน ยอมจะสงผลกระทบตอการจัดการน้ําที่ฝายหัวนาโดยตรง เพื่อใหการจัดการฝายหัวนาและฝายอื่นๆดําเนินไปอยาง มีประสิทธิภาพ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมไดปรึกษาหารือกับผูที่เกี่ยวของทุกฝายเพื่อหาแนวทาง การจัดสรรน้ําของฝายหัวนาใหเกิดประโยชนสูงสุดแกทุกฝาย โดยมีขอสรุปวา จะตองมีการดําเนินการใหมีการจัดตั้ง คณะกรรมการบริหารจัดการฝายหัวนา โดยมีองคประกอบที่สําคัญคือตองมีการกําหนดสัดสวนของคณะกรรมการที่ เหมาะสมโดยมาจากทุกภาคสวนที่เกี่ยวของไดแก ภาครัฐ คณะกรรมการลุมน้ํามูลตอนลาง องคกรพัฒนาเอกชน ภาควิชาการ และ ภาคชาวบานผูที่ไดรับประโยชนและเสียประโยชน ทั้งนี้ในสวนของภาคชาวบานนั้นจะตองมี จํานวนสัดสวนมากพอ และ คณะกรรมการดังกลาวมีหนาที่ดังนี้ 1) ตั้งเกณฑบริหารจัดการทดระดับน้ําที่ + 112 ม.รทก.ใหชัดเจนโดยการมีสวนรวมของชาวบานที่ไดรับ ผลกระทบทางลบและทางบวก ทั้งนี้คณะกรรมการตองกําหนดระยะเวลาการทดน้ําและระบายน้ําใหเหมาะสมโดย ตองคํานึงถึงสภาพของระบบนิเวศทองถิ่นไดแก การอพยพของสัตวน้ํา พันธุปลา ฤดูกาล พืชพรรณที่เปนอาหาร ของคนและสัตวน้ํา 2) การบริหารจัดการฝายหัวนาจะตองพิจารณาการระดับการทดน้ําที่ + 112 ม.รทก.ควรพิจารณารวมกับ การบริหารจัดการลุมน้ํามูลโดยรวมโดยและใหพิจารณาใหมีความสัมพันธและสอดคลองกับการบริหารจัดการฝาย และเขื่อนตางๆที่อยูในลุมน้ําเดียวกัน เชน ฝายราษีไศลและเขื่อนปากมูลทั้งนี้เนื่องจากทั้ง 3 โครงการ (รวมทั้งฝาย 214


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

หัวนา) ตั้งอยูในลุมน้ํามูลตอนลางทั้งหมด ซึ่งหากโครงการใดโครงการหนึ่งดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งจะสงผล กระทบตอโครงการทั้งหมดโดยอัตโนมัติ เชน การปลอยหรือทดน้ําไวใช เปนตน 3) ใหมีการประชาสัมพันธและประสานกับราษฎรหรือหนวยงานที่เกี่ยวของในการปฏิบัติการทดและ ระบายน้ําฝายหัวนาตามที่คณะกรรมการกําหนดเพื่อไมใหเกิดความเสียหายหรือการสูญหายของทรัพยสินชาวบาน อันเนื่องมาจากผลกระทบในชวงตนๆของการทดหรือระบายน้ําในแตละครั้ง 3.3 ภูมิปญญาทองถิ่น กรรมสิทธิ์พื้นบาน และ สิทธิชุมชนในการจัดการน้ํา การจัดการทรัพยากรน้ําใหมีประสิทธิภาพในโครงการกอสรางขนาดใหญมากมายในลําน้ําเดียวกันจะตอง อาศัยขอมูลที่แมนยํา หลากหลาย มีความเปนวิทยาศาสตร ผสมผสานกับความรูชาวบานเนื่องจากระบบนิเวศลุมน้ํา มีความซับซอนทั้งในเชิงกายภาพ ชีวภาพ มิติสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจทองถิ่น นิเวศชุมชน และสุขภาพของ ประชาชน การบริหารจัดการน้ําที่ดีตองมีขอมูลดังกลาวเพื่อประกอบการบริหารจัดการ โดยที่ขอมูลดังกลาวจะตอง ใหความสําคัญกับความเปนชุมชนและสังคมที่เปนองครวมทั้งหมดซึ่งครอบคลุมความสัมพันธระหวางชุมชนและ ระบบนิ เ วศที่ เ ป น ฐานทรั พ ยากรที่ สํ าคั ญ เพื่ อ การเลี้ ย งชี พ ของภาคชนบท ดั ง นั้ น ผลกระทบใดๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จาก โครงการขนาดใหญจึงมิไดอยูจํากัดเฉพาะกับปจเจกบุคคลหรือเฉพาะครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง แตเกิดขึ้นกับ ทองถิ่นทั้งหมด จากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมแบบมีสวนรวมของภาคประชาชน กรณีฝายหัวนาพบวา การจัดการน้ําใหมีประสิทธิภาพจะตองสอดคลองกับภูมินิเวศและภูมิปญญาทองถิ่นในการใชทรัพยากรน้ําและพื้นที่ ปาบุงปาทาม (พื้นที่ชุมน้ํา) เชน มีการคาดวาระยะเวลาน้ําจะทวมพื้นที่ปาบุงบาทามเพิ่มจากเดิมประมาณ 1-2 เดือนจากที่เคยทวมตามธรรมชาติ ซึ่งคาดวาจะทําใหน้ําทวมพื้นที่ตางๆที่เปนแหลงหากินและพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และ ความเชื่อของชาวบาน เพราะถือวาการทดน้ําของรัฐไดลวงละเมิดตอระบบความเชื่อที่สําคัญของชุมชน นอกจากนี้ การชี้แจงและอธิบายเกี่ยวกับพื้นที่น้ํายังเปนการสรางความมั่นใจใหกับชาวบานเชิงจิตวิทยาเพราะจะสรางความ เขาใจอันดี การขอโทษและการใหเกียรติชาวบานตามระบบพื้นบานเพราะรัฐไดละเมิดกรรมสิทธิ์ของชาวบาน ดังนั้นจึงตองสนับสนุนใหชาวบานสามารถทําการผลิตขาวนาปรังในพื้นที่ทามหลังน้ําลดในพื้นที่ที่ไมมีคลองสงน้ํา ของโครงการชลประทานฝายหัวนาไปถึง โดยการสงเสริมใหมีการจัดการระบบชลประทานแบบชาวบาน เนื่องจาก ในพื้นที่ไดมีตนแบบ (best practice) การจัดการชลประทานชุมชนที่ดีที่ชาวบานดําเนินการเองมานับแตอดีตจน ป จ จุ บั น ได แ ก ช ลประทานชุ ม ชนหนองแค-สวนสวรรค อํ า เภอราษี ไ ศล ทั้ ง นี้ ก รมชลประทานจะต อ งทํ า หน า ที่ สนับสนุนในรูปแบบตางๆ ใหชาวบานที่อยูใกลกุดหรือหนองน้ํารวมกลุมกันเพื่อขุดคลองดินแบบงายๆ หรือจางรถ ไถขุด และใช "คันโซ" (โชงโลง) วิดน้ําจากกุดและหนองระบายสูแปลงนาตามคลองที่รวมกันขุดสําหรับกรณี ชาวบานที่มีที่นาติดกับหรือใกลกับลําน้ํามูลโดยเฉพาะฝงขวาของแมน้ํามูลที่ไมมีคลองสงน้ํานั้น กรมชลประทานควร สนับสนุนใหมีการใชเครื่องสูบน้ําจากแตละทามูลโดยที่สนับสนุนใหชาวบานรวมกลุมกัน ขึ้นอยูกับความตองการทํา นาปรังของแตละคน ทั้งนี้ใหดูตัวอยางจากกรณีชลประทานชุมชนในพื้นที่ที่ดําเนินการอยูแลว เปนตน ตัวอยางขางตนชี้ใหเห็นวาประสิทธิภาพการจัดการน้ําในลําน้ําที่มีโครงการขนาดใหญมีความซับซอนมาก ซึ่งจะสําเร็จหรือลมเหลวหรือถูกตอตานจากทองถิ่นหรือไมนั้นยอมขึ้นกับปจจัยภายในเชนกัน เชน การละเลย ประวัติศาสตรการจัดการน้ําที่มีฐานมาระบบกรรมสิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้ํา ของชาวบาน เพราะการนํา 215


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

ภูมิปญญาชาวบาน และระบบกรรมสิทธิพื้นบาน จะสามารถสรางหรือออกแบบและแนวทางการบริหารจัดการ ทรัพยากรน้ําไดอยางมีประสิทธิภาพได การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมเนนการประเมินที่ไมละเมิด สิทธิของทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรเนื่องจากเปนที่ประจักษชัดเจนจากการประเมินวิถีชีวิตชุมชนวาการพึ่งพิง ทรัพยากรทองถิ่นของชาวบานไมเพียงสะทอนใหเห็นประโยชนเชิงการใชสอยทรัพยากรของชุมชนเทานั้นแต สะทอนใหเห็นความสัมพันธอยางซับซอนระหวางระบบสิทธิภูมิปญญาทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรในระบบนิเวศ ทองถิ่นปาบุงปาทามของชุมชนที่มีความยั่งยืน คํานึงถึงการเขาถึงทรัพยากรอยางเทาเทียมกันของทั้งผูเปนเจาของ ผูดูแลรักษา และผูใชประโยชน ผานกติกา ขอตกลงของทองถิ่นภายใตระบบอาวุโสในการจัดสรรทรัพยากร ความ เชื่อเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ชุมชนนับถือรวมกันในพื้นที่ ซึ่งการครอบครองหรือการเขาไปใชประโยชน ดังกลาวมีความยืดหยุนเพราะไมมีลักษณะของการเปนเจาของอยางเด็ดขาดหรือแยกขาดจากระบบสิทธิอื่นๆ เชน สิทธิของรัฐและสิทธิของปจเจกบุคคล เปนตน ดังนั้นการที่รัฐจะเขาไปจัดการหรือดําเนินการในพื้นที่และผลของการ ดําเนินการดังกลาวคาดวาจะเกิดผลกระทบตอชุมชนในพื้นที่ที่มีสิทธิของรัฐทับซอนกับสิทธิแบบพื้นบานเชนนี้ รัฐ ควรตองเคารพสิทธิทองถิ่นและภูมิปญญาพื้นบานและการไมละเมิดสิทธิทองถิ่นของกลุมชาวบานกลุมตางๆ อีกทั้ง ยังสามารถบรรเทาหรือปองกันปญหาความแตกแยกทั้งในและระหวางชุมชนหรือระหวางกลุมตางๆ ในสังคมได เพราะสามารถนํากลุมคนทั้งสองฝายมาพูดคุยและหารือกันในเวทีเดียวในชวงที่มีการประเมินผลกระทบ ตั ว อย า งหนึ่ ง ที่ ชี้ ใ ห เ ห็ น การเคารพภู มิ ป ญ ญาชาวบ า นและสิ ท ธิ ชุ ม ชนในการจั ด การฝายหั ว นาคื อ การ พยายามหาขอสรุปและทางออกรวมกันอยางมีความเขาใจและคํานึงถึงผลประโยชนและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นแกแต ละฝายเรื่องการทดระดับน้ํา โดยกลุมชาวบานที่คาดวาจะไดประโยชนเสนอใหมีการเปดใชงานฝายหัวนา เพราะ ตองการใชน้ําในการทําการเกษตร ซึ่งชาวบานจะมีการทํานาป-นาปรังไดตลอดทั้งป จะเปนประโยชนในเวลาที่ฝน ทิ้งชวง โดยเฉพาะชวง 10 ปที่ผานมาฝนจะทิ้งชวงบอยมากขึ้น หากมีการเปดใชฝาย ชาวบานก็ยินดีจะชวยจายคา น้ํา ซึ่งคาใชจายในการสูบน้ําจะคิดเปนชั่วโมงละ 200 บาท เกษตรกรสามารถเฉลี่ยคาใชจายตามระยะทางของที่นา ได ปจจุบันมีสมาชิกของกลุมผูใชน้ําประมาณ 200 กวาคน ในขณะที่ฝายสมัชชาคนจนเห็นวา ปญหาเรื่องบุงทามเปนประเด็นสําคัญมากเชนกัน ซึ่งหากจะมีการใช ฝายหัวนาเพราะเห็นวา ชาวบานยังมีการพึ่งพาอยูมาก ซึ่งคนที่ไมมีที่ทํากินก็จะไปหาอยูหากินอยูในบุง-ทาม เชน หาเห็ด หาหนอไม ไปขาย ซึ่งจะมีการรวมสินคากอนที่จะนําไปขายในพื้นที่ตางๆทั่วประเทศ ทรัพยากรที่อยูในปา ทามทําประโยชนไดหลายอยาง เชน เลี้ยงวัว ควาย คนที่ไมมีนาขาวก็สามารถเผาถานไดตลอดป เปนตน ถามีการ ป ด เขื่ อ น ก็ เ สี ย ดายป า บุ ง -ทาม ซึ่ ง มั น ก็ เ ป น เหมื อ นการป ด กั้ น การทํ า มาหากิ น เพราะป า บุ ง ทามเป น เหมื อ น ซูปเปอรมารเก็ตของชาวบาน เพราะชาวบานจะหากินอยูตลอดทั้งป ถามีการใชฝายหัวนาคาดวาชาวบานจะไม สามารถใชประโยชนจากปาบุงทามไดเหมือนเดิม การประเมินผลกระทบไดสรางเวทีใหชาวบานทั้งสองฝายได พูดคุยปรึกษาหารือกันและฝายทีมที่ปรึกษาก็ไดนําเสนอขอมูลทางดานวิศวกรรมเกี่ยวกับระดับ และเสนอการทดน้ํา ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งขอเสนอดังกลาวเปนที่ยอมรับไดของทั้งสองฝาย ดังนั้นประสิทธิภาพการจัดการน้ําจะ เกิดขึ้นไดก็ตองอิงอยูกับการเคารพเสียง สิทธิภูมิปญญา การถอยทีถอยอาศัยและความเห็นอกเห็นใจกันระหวาง กลุมผูไดและผูคาดวาจะเสียประโยชน

216


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

3.4 กฎหมายและประสิทธิภาพการจัดการน้ํา การมี ส ว นร ว มของภาคประชาชนในการจั ด การน้ํ า ในช ว ง10 ป ยั ง ถู ก กํ า หนดและกํ ากั บ โดยกฎหมาย รัฐธรรมนูญอีกดวย เชน ในมาตรา 56 ของรัฐธรรมนูญป 2550 ที่กลาววา “สิทธิของบุคคลที่จะมีสวนรวมกับรัฐและ ชุมชนในการบํารุงรักษาและการไดประโยชนจาทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการ คุมครองสงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เพื่อใหดํารงชีพอยูไดอยางปกติและตอเนื่องในสิ่งแวดลอมที่จะไม กอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพหรือคุณภาพชีวิตของตน ยอมไดรับความคุมครอง ทั้งนี้ตาม กฎหมายบัญญัติ” (http://www.senate.go.th/web-senate/Senate/maincons.htm) และ ใน มาตรา 67 วรรค 20 กลาววา “การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงตอชุมชน ทั้งทางดานคุณภาพ สิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติจะกระทําไมได เวนแตจะไดศึกษาและประเมินผลกระทบตอคุณภาพ สิ่งแวดลอมและสุขภาพ และจัดใหมีกระบวนการรับฟงความคิดเห็นประชาชนและผูมีสวนไดเสียกอน รวมทั้งไดให องคการอิสระ ซึ่งประกอบดวยผูแทนองคการเอกชนดานสิ่งแวดลอมและสุขภาพ และผูแทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัด การศึกษาดานสิ่งแวดลอมหรือทรัพยากรธรรมชาติ ใหความเห็นประกอบกอนมีการดําเนินการดังกลาว" (www.mua.go.th/users/he-commission/doc/law/constitution) กรอบขอกฎหมายดังกลาวชี้นัยสําคัญคือการจัดการน้ําอยางมีประสิทธิภาพตองอาศัยหลายกลไก นอกจาก การมีสวนรวมของภาคประชาชนแลว ยังมี ตองมีเครื่องมือที่การประเมินผลกระทบ มีกลุมคนและองคกรอิสระที่ตอง เขามาเกี่ยวของกับกับการกํากับ กําหนด การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและสังคมอีกดวยทั้งนี้เพื่อใหการ ประเมินสะทอนปญหา สภาพความเปนจริงของพื้นที่ ความตองการโครงการ ผลกระทบและแนวทางการการลด ผลกระทบตางๆ แกชุมชน 3.5 บทบาทผูมีสวนไดสวนเสีย กลุ ม ผู มี ส ว นได ส ว นเสี ย มี อิ ท ธิ พ ลในการจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า ให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเช น กั น นอกจากกลุ ม ประชาชนทุกกลุมในพื้นที่ที่เขามามีสวนรวมในการประเมินผลกระทบแลว ยังมีกลุมผูที่เกี่ยวของกับการประเมินอีก ไดแก สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม (สผ.) ซึ่งจะทําหนาที่ตรวจสอบและพิจารณารายงานขั้นตนแลวสงตอ รายงานไปยั ง คณะกรรมการผู ชํ า นาญการเพื่ อ พิ จ ารณารายงานดั ง กล า วหากไม มี ก ารแก ไ ขก็ จ ะส ง ต อ ไปยั ง คณะกรรมการคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติเสนอความเห็นและขั้นตอนสุดทายคือเสนอตอไปยัง ครม.เพื่อ พิจารณาอนุมัติโครงการ แตกรณีฝายหัวนายังมีความพิเศษกวาโครงการอื่นเพราะ มีคณะอนุกรรมการ 2 ชุดไดแก 1) คณะอนุกรรมการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและผลกระทบทางสังคมจากการกอสรางฝายหัวนา (โดยมี อธิบดีกรมชลประทานทําหนาที่ประธาน) กรรมการประกอบดวย นักวิชาการอิสระ ผูแทนชาวบานฝานสมัชชาคน จน ผูแทนจากกรมชลประทาน และ ผูแทนจากสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และ 2) คณะกรรมการกํากับดูแลงานที่ปรึกษาดานวิชาการ ประกอบดวยนักวิชาการผูชํานาญการทางวิศวกรรมและ เศรษฐกิจ ที่มาจากกรมชลประทาน และ หัวหนาโครงการชลประทานศรีสะเกษ2

2

คณะกรรมการติดตามกํากับดูแลอีไอเอและเอสไอเอของฝายหัวนาไมไดอยูภายใตกรอบเดิมของสผ. ซึ่ง แตกรณีโครงการฝายหัวนานี้ มี เงื่อนไขที่แตกตางไปจากโครงการอื่นๆของรัฐโดยทั่วไมเพียงเหตุผลตามที่อธิบายในประการที่ 1 เทานั้น แตยังมีเหตุผลเรื่องมติครม. วันที่ 25 กรกฎาคม 2543 ที่เปนกรอบสําคัญมากที่สุดคือการใหศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมและสังคมใหมโดยการเนนการมีสวนรวมของภาค ประชาชน ซึ่งฝายหัวนาเปนหนึ่งใน 16 ปญหาสมัช ชาคนจนที่เสนอใหรัฐทบทวนนโยบายเกี่ยวกับโครงการกอสรางขนาดใหญของรัฐที่

217


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

คณะอนุกรรมการทั้งสองชุดนี้ไดทําหนาที่ติดตามและกํากับการประเมินผลกระทบ รับฟง และใหความเห็น ตอแนวทางการประเมินรวมทั้งมาตรการลดผลกระทบและแนวทางการลดผลกระทบที่ตองเกี่ยวของกับชุมชนและ หนวยงานภาครัฐในการตั้งงบประมาณในการดําเนินการตามแผนตางๆในการจัดการน้ําเพื่อลดผลกระทบตอชุมชน เชน การมีสวนรวมของกลุมผูมีสวนไดสวนเสียในการดําเนินการตามมาตรการลดผลกระทบที่มาจากการทําคันกั้น น้ําโอบล้ําน้ํามูลเพื่อปองกันน้ําทวมจากการทดน้ําของฝายหัวนาในชวงประมาณกลางเดือนพฤศจิกายนตอเนื่องถึง ประมาณกลางเดือนมกราคม ซึ่งคาดวาการทดน้ํานั้นจะทวมและจะสงกระทบตอพื้นที่ที่ติดกับคันกั้นน้ําทั้งเปนพื้นที่ ทํานาของชาวบาน พื้นที่ทําเลสาธารณะ พื้นที่ปาบุงปาทามที่ชาวบานใชรวมกัน ดังนั้นมาตรการสําคัญที่มาจาก ขอเสนอจากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมคือ เจาของโครงการและหนวยงานสวนทองถิ่นจะตอง ดําเนินการสํารวจพื้นที่ที่ติดกับคันกั้นน้ําใหครอบคลุมทั้งหมดพรอมจัดทําเขตหรือปกปายบอกระดับน้ําใหชุมชนได ทราบโดยทั่วกันวาพื้นที่ใดบางที่คาดวาน้ําจะทวมและเปนระยะเวลานานาเทาใด ทั้งนี้ควรตองประสานกับชุมชน เพื่อดําเนินการสํารวจตรวจสอบพื้นที่ติดคันกั้นน้ํากับแผนที่น้ําทวม รวมทั้งจัดการประชุมเพื่อชี้แจงและขอคํา ปรึกษาหารือกับชุมชนและชาวบานเพื่อทําความเขาใจกับเกี่ยวกับระยะเวลาที่น้ําทวมเพิ่มจากเดิมจะทําใหน้ําทวม พื้นที่ตางๆ ที่ติดกับคันกั้นน้ําที่เปนแหลงหากินของชาวบานและพื้นที่ทําเล หรือ พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อของ ชาวบาน ตลอดจนใหชุมชนมีสวนรวมทําแผนการพื้นฟู พรอมกันนี้เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพการใชน้ําในอนาคตหลังจากมีการใชฝายหัวนา ซึ่งการประเมินผล กระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมไดระบุชัดเจนวาเจาของโครงการจะตองดําเนินการใหมีการติดตามและประเมินผล กระทบทางสังคม (social impact monitoring) ในระยะสั้นและระยะยาว (ทุกๆ 3-5 ป) โดยเจาของโครงการ และ คณะกรรมการบริหารจัดการฝายหัวนาดําเนินการรวมกับชาวบานและหนวยงานทางวิชาการที่เกี่ยวของในระดับ ตางๆ ทั้งนี้เพื่อเพื่อรับทราบขอมูล ความเคลื่อนไหวและผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ และความคุมคาของ โครงการที่เกิดขึ้นจากการเปดใชฝายหัวนาในระยะยาวและนําผลการประเมินมาประกอบการหาแนวทางการพัฒนา ความเปนอยูของชาวบานใหดีขึ้นในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ โดยการดําเนินการติดตามและ ประเมินผลกระทบทางสังคม ดังกลาวจะตองเนนการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย (stakeholders) จากทุกภาค สวน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพ (capacity building) ของชาวบานและขาราชการสวนระดับพื้นที่ในการติดตามและ ประเมินผลกระทบทางสังคมในพรอมๆ กัน 3.6 แผนชุมชนเพื่อการฟนฟูระบบนิเวศและวิถีชีวิต การจัดทํามาตรการลดผลกระทบทางสังคมและการติดตามการดําเนินการตามมาตรการลดผลกระทบ จะตองดําเนินการโดยการปรึกษาหารือกับชาวบานที่คาดวาจะไดรับผลกระทบ และ เครือขายตางๆ เชน กรณีฝาย หัวนา นั้นนอกกลุมชาวบานสมัชชาคนจนแลว ยังมีเครือขายอื่นๆที่ไดเขามีสวนรวมในการดําเนินการตามาตรการ ลดผลกระทบ เชน เครือขายฮักแมมูนเมืองศรีสะเกษซึ่งเปนเครือขายที่ทํางานรวมกับชาวบานที่คาดวาจะไดรับ ผลกระทบในพื้นที่มายาวนาน มาตรการที่ปรากฏในการประเมินนี้ยังไดยึดแนวคิดการมีสวนรวมของภาคประชาชน การใหความสําคัญกับระบบกรรมสิทธิ์พื้นบาน การเคารพความรูทองถิ่น ความเชื่อพื้นบาน และสิทธิของชุมชนใน การใชและจัดการทรัพยากรสวนรวมและสวนบุคคล โดยที่ภาครัฐโดยเฉพาะหนวยงานเจาของโครงการและสวน คาดวาจะสงผลตอประชาชนในป 2543 ซึ่งรัฐไดแตงตั้งคณะกรรมเพื่อดูแล 16 ปญหาสมัชชาคนจน โดยมีการแตงใหมีคณะอนุกรรมการทํา หนาที่แตกตางไปตามแตละปญหา (ฝายวิชาการ สมัชชาคนจน เรื่องเดียวกัน)

218


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

ราชการตางๆที่เกี่ยวของและองคกรปกครองสวนทองถิ่นทําหนาที่สนับสนุนงบประมาณและสวนราชการที่เกี่ยวของ และสถาบั น วิ ช าการในท อ งถิ่ น สนั บ สนุ น ความรู ท างวิ ช าการที่ จํ า เป น และเหมาะสมเพื่ อ ร ว มดํ า เนิ น การตาม มาตรการลดผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับภาคประชาชนโดยเปดโอกาสใหประชาชนและเครือขายชุมชนทีมีอยู แลวผูดําเนินการหรือเปนเจาภาพ เชน เครือขายฮักแมมนู เมืองศรีสะเกษ โดยจะตองมีคณะทํางานหรืออนุกรรมการ ระดับปฏิบัติการเปนผูบริหารจัดการแตละแผนใหสอดคลองกับรายละเอียดของแผนปฏิบัติการแตละดาน สําหรับ ระดับคณะกรรมการอํานวยการจะตองดําเนินการใหมีการตั้งคณะกรรมการอํานวยการจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เปนคณะกรรมการ ทั้งภาครัฐ องคกรชุมชน องคกรพัฒนาเอกชน และสถาบันวิชาการ มีหนาที่ในการอํานวยการ สนับสนุนสงเสริม และการตรวจสอบติดตามประเมินผลโครงการ ตัวอยางแผนการลดผลกระทบโดยชุมชน กรณีการสูญเสียพื้นที่ทําเลเลี้ยงสัตวในปาบุงปาทามและปา ชุมชนในชวงน้ําทวมขังเพิ่มขึ้นนั้นเจาของโครงการและสวนราชการที่เกี่ยวของรวมทั้งชาวบานจะตองดําเนินการ สํารวจกลุมผูเลี้ยงวัวควายที่คาดวาจะไดรับผลกระทบจากการทดน้ํา ซึ่งตามแผนและมาตรการลดผลกระทบของ ชุมชนที่เสนอโดยชุมชนไดแก (ขอมูลภาคสนาม โครงการฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ 2552) 1. กลุมผูไดรับผลกระทบแตละชุมชนหรือแตละโซนพื้นที่ รวมวิเคราะหปญหา แสวงหาทางเลือกที่ เหมาะสมในการแกปญหาผลกระทบ 2. กลุมผูไดรับผลกระทบแตละพื้นที่สรางแผนและงบประมาณในการแกไขปญหาตามทางเลือกในรายงาน การศึกษา เพื่อใหมีการสงเสริมสนับสนุนตอโดยรัฐสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินการตามแผนดังกลาว ทั้งนี้ จะตองมีการสํารวจการสูญเสียรายไดของชาวบานจากบุงทามโดยละเอียดอีกครั้งโดยองคกรชุมชน รวมกับกรม ชลประทานและสถาบันทางวิชาการเพื่อหาแนวทางการชดเชยที่เปนธรรม 3. ตั้งกองทุนชวยเหลือโดยหนวยงานที่เกี่ยวของในรูปของกลุมสหกรณเพื่อใหมีการกูยืมแกเกษตรกรเพื่อ นําเงินไปลงทุนเพื่อเพิ่มรายไดกรณีการสูญเสียรายไดจากปาบุงปาทาม 4. การจัดหาพื้นที่ปาทดแทนการสูญหายไปของปาบุงปาทามและปาชุมชนเพื่อฟนฟูระบบนิเวศในพื้นที่ลุม น้ํามูลตอนกลาง ควรดําเนินการดังนี้ 1) การฟนฟูและดูแลปาสวนรวมของชุมชนโดยการสนับสนุนการจัดตั้งปาชุมชน 2) การสงเสริมการคุมครองและเพิ่มความสมบูรณของปาหัวไรปลายนาที่มีอยูในแปลงเกษตรของ ชาวบาน อยางมีแบบแผน เชน การสํารวจทรัพยากร การสนับสนุนการปลูกปาเพิ่มความสมบูรณ การสงเสริมการใชประโยชนอยางยั่งยืน การแปรรูป การใชสมุนไพร ฯลฯ 3) การสนับสนุนการปลูก “ปาครอบครัว” ซึ่งนาจะเปนแนวทางหลักในการสงเสริม โดยการสราง พื้นที่สีเขียวของประเทศในอนาคต และควรนําหลักกระบวนการของ “โครงการธนาคารตนไม” ที่ รัฐบาลกําลังมีนโยบายสงเสริมอยูในปจจุบันมาเปนหลักเสริม

219


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

บทสรุป การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมโดยการมีสวนรวมของประชาชนเปนเครื่องมือที่สําคัญที่คาด วาจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําระยะยาวสําหรับโครงการขนาดใหญทั้งนี้เพราะ เครื่องมือดังกลาวเนนใหผูมีสวนไดสวนเสียที่เกี่ยวของกับโครงการไดมีบทบาทสําคัญในการเสนอประเด็นที่เปน ขอบเขตการประเมิน แสดงความเห็นตอและความวิตกกังวลตอผลกระทบโครงการ การคาดคะเนผลกระทบที่คาด วาจะเกิดขึ้น ตลอดจนเสนอมาตรการลดผลกระทบเทานั้น กลุมคนตางๆยังมีบทบาทในการตรวจสอบรายงาน ประเมินผลกระทบทั้งในรูปของการเขารวมเปนคณะอนุกรรมการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและผลกระทบทาง สังคม และในฐานะผูที่คาดวาจะไดและเสียผลประโยชนจากโครงการในพื้นที่ที่ไดเขารวมประชุมปรึกษาหารือตอทีม ที่ปรึกษาตลอดระยะการประเมินผลกระทบ นอกจากนี้การประเมินดังกลาวยังชี้ใหเห็นถึงการเคารพสิทธิชุมชนและ สิทธิภูมิปญญาชาวบานในการจัดการทรัพยากรตามหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญ และที่ปรากฏในรูปแบบของประเพณี จารีต ความเชื่อ ภูมิปญญาชาวบานและกฎเกณฑทองถิ่นในการจัดการทรัพยากรที่ชุมชนไดมีการตกลงกันเองใน ชุมชนมายาวนาน ที่สามารถนํามาประกอบกับความรูทางวิทยาศาสตรในการบริหารจัดการน้ําใหมีประสิทธิภาพได ในอนาคต

กิตติกรรมประกาศ เนื่องจากบทความนี้ใชขอมูลประกอบจากการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคม กรณีฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ ดังนั้นผูเขียนขอขอบคุณนักผูรวมทีมประเมินผลทุกทานโดยเฉาะนักวิจัยชาวบานในพื้นที่โครงการ ฝายหัวนา คุณสนั่น ชูสกุล นักพัฒนาเอกชนอาวุโสที่มีคําแนะนําที่แหลมคมและมุมมองที่เปนประโยชนยิ่งตอการทํา การประเมิ น ผลกระทบโดยเฉพาะการนํ า เสนอแนวคิ ด เรื่ อ งสิ ท ธิ ชุ ม ชมชนในการจั ด การทรั พ ยากร รศ. ดร. ไชยันต รัชชกูล หนึ่งในคณะอนุกรรมการหัวหนาทีมการประเมินผลกระทบทางสังคมจากการกอสรางฝาย หั ว นา ที่ ใ ห คํ า แนะนํ า ในระหว า งการทํ า การประเมิ น ด า นวิ ช าการและแนวทางการเขี ย นรายงาน ขอขอบคุ ณ รศ. ดร. วันเพ็ญ วิโรจนกูฐ (หัวหนาทีม) และ ผศ. ดร. ฉัตรเพชร ยศพล ที่ปรึกษาการประเมินผลกระทบดาน สิ่งแวดลอมที่มีสวนในการทําใหการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมสามารถดําเนินการไดอยางบรรลุผล ขอขอบคุณผูชวยนักวิจัยไดแก คุณปยะนุช สิงหแกว คุณวิไล บุตะเคียน คุณพนา ใจตรง คุณคําปน อักษร และ คุณณัฐพงษ โลกภิบาล ที่ชวยประสานงานในการประเมินผลกระทบฯดังกลาว ทายสุดนี้ผูเขียนขอขอบคุณกรม ชลประทานที่สนับสนุนงบประมาณในทําการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสิ่งแวดลอมและสังคมในครั้งนี้

เอกสารอางอิง กนกวรรณ มะโนรมย สุรสม กฤษณะจูฑะ และนพพร ชวงชิง, 2552. การประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอมทางสังคม กรณีฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ (เอกสารอัดสําเนา) กนกวรรณ มะโนรมย สุรสม กฤษณะจูฑะ และ สดใส สรางโศรก, 2548. รายงานการวิจยั “รูปแบบการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมและสังคมในโครงการขนาดใหญของรัฐโดย กระบวนการมีสวนรวมของประชาชน: กรณีศึกษาฝายหัวนา อ.กันทรารมย จ. ศรีสะเกษ

220


การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ําอย่างมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ/ ผศ.ดร.กนกวรรณ มะโนรมย์

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.dopa.go.th/ กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน, 2543. โครงการฝายหัวนา. กรุงเทพฯ ขอมูลภาคสนาม โครงการฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ. วันที่ 1 กรกฎาคม 2552. ขอมูลสมาชิกสมัชชาคนจนที่ไดรับผลกระทบจาก เขื่อนหัวนา. 2549. ฝายวิชาการสมัชชาคนจน, 2543. 16 ปญหาสมัชชาคนจน. กรุงเทพฯ. โรงพิมพกังหัน ปาริชาติ ศิวะรักษ, 2543. การทบทวนกระบวนการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมในประเทศไทย. หนา143-184. ในธรรมาภิบาลการมีสวนรวมของประชาชนและกระบวนการทางดานสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพเดือนตุลา จํากัด. มิ่งสรรพ ขาวสะอาด และคณะ, 2544. แนวนโยบายการจัดการน้ําสําหรับประเทศไทย. สํานักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. สนธิ คชวัฒน, 2548. “การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ EIA/SIA/HIS”. เอกสารประกอบ ในงานประชุมเวทีสิ่งแวดลอม วันที่ 22 กันยายน 2548 ณ โรงแรมลายทอง จังหวัด อุบลราชธานีจัดโดยสถาบันวิจัยสังคมมหาวิทยาลัยเชียงใหมรวมกับสถาบันวิจัยและพัฒนาแหงประเทศ ไทย (TDRI)และ ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ํา โขง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี วันเพ็ญ วิโรจนกูฐ และ คณะ, 2552. การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและดานสังคม โครงการ ฝายหัวนา อําเภอกันทรารมย จังหวัดศรีสะเกษ. ศรีศักร วัลลิโภดม, 2545 (2533). “ศรีสะเกษ เขตเขมรปาดง” แองอารยธรรมอีสาน. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม. 463- 497. วิทยาลัยประชากรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.cps.chula.ac.th/html_th/pop_base/trend/trend_004.htm สนั่น ชูสกุล และ คณะ, 2550. โครงการสิทธิชุมชนศึกษา. สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สัญชัย สูติพันธวิหาร, 2552. องคการอิสระดานสิ่งแวดลอมสิทธิการมีสวนรวมในการจัดการสิ่งแวดลอม มติชนรายวัน. ฉบับวันที่ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2552 ปที่ 32 ฉบับที่ 11328.

221


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” การจัดการน้ําในลุ่มน้ําโขงในส่วนของประเทศไทย – โครงการมีส่วนร่วมของประชาชน

สํานักงานสถิติจังหวัดศรีษะเกศ. [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://sisaket.nso.go.th/nso/project/search/result_by_department.jsp ศูนยบริการขอมูลอําเภอ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย [ระบบออนไลน]. แหลงที่มา http://www.amphoe.com Barrow, C. J., 2000. Social Impact Assessment: an Introduction. London: Arnold. Becker. H. A., 1997. Social Impact Assessment: Method and Experience in Europe, North America and the Developing World. London: UCL Press.

222


ความหลากหลาย : ชาติพันธุ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุมน้ําโขง



บทที่ 12 นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ําโขง กรณีพื้นที่แมน้ําของ-ลานนา นิวัฒน รอยแกว1 และ นพรัตน ละมุล2 1 กลุมรักษเชียงของ เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา 2 โครงการสื่อชุมชนลุมน้ําโขง เครือขายอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา

บทคัดยอ บทความเรื่อง ‘นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ําโขง กรณีพื้นที่แมน้ําของ ลานนา’ เปนบทความสังเคราะหที่รวบรวมขอมูลและกลั่นกรองจากประสบการณการทํางานและการวิจัยโดย ชาวบาน กับงานวิจัยเพื่อทองถิ่น จากเอกสารเผยแพรขององคกร และจากทํางานฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติและ วัฒนธรรมในชุมชนทองถิ่น ในพื้นที่แมน้ําของ-ลานนา หรือพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง ของ เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา ในหวงเวลาเกือบทศวรรษที่ผานมา โดยมี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาสถานการณและผลกระทบของการจัดการทรัพยากรของรัฐในนามการพัฒนาที่ใชเศรษฐกิจ เปนตัวนํา ตั้งแตอดีตจนปจจุบัน การจัดการทรัพยากรโดยใชเศรษฐกิจเปนตัวนําไดทําลายทรัพยากรธรรมชาติทั้ง ของชุมชนทองถิ่นและของประเทศไปมหาศาล โดยที่รัฐแทบจะไมไดเขามาชวยเหลือชุมชนชายขอบในพื้นที่ลุมน้ํา อิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงมากนัก การพัฒนานําผลประโยชนและการชวยเหลือสวนใหญมุงตรงสูศูนยกลาง อํานาจในเมืองหลวง คนชายขอบไมไดรับผลประโยชนอะไรเลย ทวาคนชายขอบก็ยังอยูกันได อะไรที่ทําใหคนชาย ขอบหรือชุมชนทองถิ่นในพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงยังตั้งมั่นกันอยูได ในทามกลางกระแสการ พัฒนาที่ใชเศรษฐกิจเปนตัวนํากระจายรุนแรงไปทั่วโลก จากการพูดคุยแลกเปลี่ยนในการทํางานมาเกือบทศวรรษ และจากการทํางานวิจัยจาวบาน ทํางานวิจัยเพื่อ ทองถิ่น และการคนควา รวบรวมขอมูลผานการทํางานฟนฟูชุมชนทองถิน่ มากวา 5 ป เห็นวา การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติโดยใชเศรษฐกิจนํานั้นไมถูกตอง หากตองการใหเกิดความเปนธรรมและยั่งยืนในสังคม จําเปนตองจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใชนิเวศวัฒนธรรมจึงจะนํามาซึ่งการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน และเปนธรรม จากการศึกษาและทํางานพบวา ผูเฒาผูแกก็ใชนิเวศวัฒนธรรมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติให คงอยูมาจนปจจุบัน เชน การใชมังรายศาสตรในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติรวมกัน บทความนี้ยังตองการชี้ใหเห็นปญหาและผลกระทบจากการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในลุมน้ําโขงที่ใช เศรษฐกิจนําในการพัฒนา โดยมีกรณีที่ชัดเจนที่สุด 2 กรณี คือ การระเบิดเกาะแกงเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาด ใหญ และการสร า งเขื่ อ น นอกจากนี้ บทความนี้ ยั ง ต อ งการชี้ ใ ห เ ห็ น นิ เ วศวั ฒ นธรรมกั บ การจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนทองถิ่น ผานกระบวนการจัดการความรูแบบมีสวนรวม ในการคนหานิเวศวัฒนธรรม ของแตละชุมชนทองถิ่น แลวนําผลที่ไดมาเปนตนทุนหรือปรับใชในการฟนฟูชุมชนทองถิ่นในรอบ 7 ป ที่ผานมา ของเครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

บทนํา แมน้ําโขงหรือแมน้ําของในการเรียกชื่อแมน้ําสายนี้ของคนยวนหรือโยนกับคนลาว สวนคนสยามหรือคน ไทยและคนทั่วไปในปจจุบันเรียกวา แมน้ําโขง เปนแมนา้ํ ซึ่งมีลุมน้ําครอบคลุมพื้นที่ 7 ประเทศ คือ เริ่มตนน้ําที่ แผนดินธิเบต ไหลสูยูนนานในประเทศจีน ผานพมา ลาว ไทย กัมพูชาและออกสูทะเลจีนใตที่เวียดนาม มีประชากร หลากหลายชาติพันธุเกือบ 100 ลานคน เปนแหลงอารยะธรรมสําคัญ เชน สิบสองปนนา ลานนา ลานชาง และที่ สําคัญคือขอมโบราณ กลาวสําหรับแมน้ําของหรือโขงในเขตลานนา คือพื้นที่กายภาพของลุมน้ํากก-อิงและชายฝงโขงในเขต จังหวัดเชียงรายในปจจุบัน รวมทั้งพื้นที่ทับซอนบางสวนในอดีตของลานนาและลานชางคือสวนของแขวงบอแกว ในประเทศลาวปจจุบัน โดยมีกลุมชาติพันธุที่หลากหลาย เชน ยวนหรือโยน ลาว ลื้อ กํามุ เยา มง จีนฮอ ลาหู อาขา ไทใหญ ยอง กะเหรี่ยงหรือปกาเกอญอ กลุมชาติพันธุเหลานี้มีความสัมพันธกันมาชานานจนเกิดเปนบานเมืองใน ปจจุบัน โดยในเขตนี้มีเมืองโบราณสําคัญ เชน เชียงแสน เชียงของ เชียงราย เทิง และพะเยา พื้นที่ทางกายภาพที่กลาวถึงขางตนเมื่อมีความสัมพันธกับผูคนที่หลากหลาย ทั้งดวยการไปมาหาสูกันของ คนกับคน ทางสันดอยและทางสายน้ํา เมื่อมีความสัมพันธระหวางคนกับธรรมชาติ ทั้งดวยการทํามากินพึ่งพิง ทรัพยากรปา น้ําและดิน และเมื่อมีความสัมพันธกับธรรมชาติแลวก็ยังเชื่อมสัมพันธกับสิ่งเหนือธรรมชาติจนเกิด เปนวัฒนธรรมผี ศาสนา และความเชื่อหรือกฎการอยูรวมกันตางๆ เหลานี้ คือที่มาของคําวา ‘นิเวศวัฒนธรรม’ ซึ่ง สามารถสรุปสั้นๆ ไดวา คือความสัมพันธ คือจุดเชื่อมรวมกันของคนกับคน, คนกับธรรมชาติและคนกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ โดยตอจากนี้ไปจะกลาวถึงนิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง อันเปน ภาพแทนของแมน้ําของ - ลานนา

226


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง

รูปที่ 1 แผนทีแ่ มน้ําโขงตอนบนในเขตประเทศไทย แมน้ําอิงมีตนน้ํามาจากเทือกเขาผีปนน้ําในเขตจังหวัดพะเยา ไหลลงสูหนองเล็งทราย ลงสูกวานพะเยา แลวผานทุงลอ-ทุงดอกคําใต สูที่ราบปากแมน้ําอิง–ทุงสามหมอน แลวไหลลงแมน้ําโขงที่บานปากอิงใต อ.เชียงของ ลุมน้ําอิงนอกจากจะเปนแหลงทํานาที่สําคัญของทางภาคเหนือแลวยังเปนแหลงเพาะพันธุปลาทางธรรมชาติของ แมน้ําโขง กลาวคือปลาในลําน้ําโขงจะเขาสูแมน้ําอิงในชวงหนาน้ําหลากไปหากินและวางไขในระบบนิเวศของแมน้ํา อิง จนเปรียบไดวา ระบบนิเวศแมน้ําอิง เชน จํา, บวก, หนอง, ปาชุมน้ํา ฯ เปนมดลูกของแมน้ําโขง ผูคนมีวิถีหา อยูหากินกับทรัพยากรธรรมชาติเหลานี้มาชานาน ทั้งการทําประมงและทํานาหรือการเพาะปลูกอื่นๆ ตามฤดูกาล และระบบนิเวศยอยเหลานั้น แมน้ํากกมีตนน้ําในเขตเทือกเขาใกลชายแดนไทย-พมา ไหลผาน อ.ฝาง ในเชียงใหม เขาสูเชียงรายเปน พื้นที่ราบกวางใหญ ลงสูแมน้ําโขงที่ อ.เชียงแสน เปนแหลงเกษตรกรรมที่สําคัญของจังหวัดเชียงราย กอเกิดแหลง อารยะธรรมสําคัญ คือ เมืองโบราณเชียงแสน

227


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

สองฝงโขงจากสามเหลี่ยมทองคํา อ.เชียงแสน ถึงแกงผาได อ.เวียงแกน มีความยาว 84 กม. ทางตอน เหนือสุดเปนทางน้ําโลง มีเกาะสลับหาดทราย สวนตอนกลางกอนเขาสูเมืองเชียงของมีแกงผา เกาะหาดและระบบ นิเวศที่สลับซับซอน เรียกบริเวณนี้วา ‘คอนผีหลง’ มีความลึกที่สุดเหนือผาพระ ประมาณกวา 50 เมตร สวนปาก แมน้ําอิงจะเปนหาดทรายสลับเกาะแกงไปตลอดถึงผาได ระบบนิเวศในคอนผีหลงที่ทําใหมีพันธุปลามากมาย เมื่อเขาไปศึกษาพบวา ชื่อตางๆ มากมายนั้นเปน ระบบนิเวศทั้งหมด ซึ่งเปนชื่อที่ชาวบานตั้งกันในเชิงวัฒนธรรม และตางพึ่งพาหาอยูหากินกันมาอยางเปนระบบโดย ตลอดจากอดีตจนถึงปจจุบัน ระบบนิเวศยอยของแมน้ําโขงเขตนี้ ประกอบดวย 11 ระบบ คือ ริมฝง หาด หวย หลง หนอง รอง-ชอง คก แจม ดอนเกาะ ผา กวาน ดังรูปขางลาง

ผา หลง ริมฝง

หวย

หาดทราย

หาดหิน

หนอง คอน รอง

แจม

ซอง

คก

รูปที่ 2 ชื่อระบบนิเวศแมน้ําโขงบริเวณคอนผีหลง ระบบนิเวศเปนตัวที่กอใหเกิดชีวิตและดํารงชีวิต ซึ่งแตละระบบก็ไดเอื้อประโยชนตอสิ่งมีชีวิตในลักษณะที่ สัมพันธและแตกตางกันอยูในตัว โดยระบบนิเวศเหลานี้มีความสัมพันธกับน้ําขึ้นน้ําลงตามฤดูกาล กลาวคือ น้ําเริ่ม ขึ้นในเดือนพฤษภาคม ปลาจะออกมาวางไข ชาวบานจะจับปลาไดในเดือนกรกฎาคม ถึงสิงหาคม น้ําจะขึ้นเต็มที่ เดือนกันยายน-ตุลาคม น้ําจะเริ่มคอยๆ ลดลง และจะไปแหงสุดในเดือนมีนาคม-เมษายน ฤดูกาลของน้ําตาม ธรรมชาติที่สัมพันธกับระบบนิเวศที่หลากหลายทําใหเกิดพืชพันธุและปลามากมาย จากการศึกษาของนักวิจัยจาว บาน ในป พ.ศ. 2546-2547 พบวา พรรณพืชแมน้ําโขงในเขตนี้มีมากกวา 65 ชนิด พบพันธุปลา 100 ชนิด ปลา ธรรมชาติ 88 ชนิด ที่เหลือเปนปลาตางถิ่น ปลาบางชนิดจะอาศัยอยูในระบบนิเวศที่แตกตางกัน เชน แจม คก หาด ทราย หาดหิน ระบบนิเวศจึงถือเปนสิ่งสําคัญตอสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยูในแมน้ําโขง ไมเพียงเทานั้นแมน้ําโขงยังมี แมน้ําสาขาที่มีความสําคัญไมนอยไปกวากัน แมจะมีระบบนิเวศที่นอยกวาแมน้ําโขง แตมีความสําคัญไมแตกตาง กัน จากการศึกษาพบวา มีปลาอพยพมาวางไขและอาศัยในแมน้ําโขงเขตนี้ 20 ชนิด ซึ่งในจํานวนนี้มี ปลาบึก-ปลา 228


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

หนังน้ําจืดที่ใหญที่สุดในโลกรวมอยูดวย สวนปลาที่อพยพระหวางแมน้ําโขงแลวไปวางไขหรืออาศัยในแมน้ําสาขา พบ 54 ชนิด เพราะฉะนั้น ดังที่กลาวแลว แมน้ําสาขาก็มีความสําคัญไมตางไปจากแมน้ําโขง ระบบนิเ วศมีชื่ อเฉพาะนามตามแต ถิ่น หรื อการเรี ย กของชาวประมง หรือ เกี่ ยวเนื่ อ งกับ ความเชื่ อ และ ประวัติศาสตร เชน ‘ผาพระ’–ผาเปนระบบนิเวศที่เปนเอกลักษณของแมน้ําโขงเขตนี้ มีลักษณะเปนแทงหินหรือกลุม หินสลับซับซอนและมีรองน้ําลึกอยูใกลผาเสมอ ผาจะโผลพนน้ําในหนาแลงและมีตนไครแตกยอดเขียวขึ้นมา ใน หนาน้ําหลากบางก็จมน้ํา ตนไครจะเปอยยอยเปนอาหารปลา สําหรับผาพระซึ่งตั้งอยูทางทิศเหนือของบานเมือง กาน ริมฝงลาว เปนแทงหินที่สลักรูปพระ ตํานานกลาววา ในสมัยหนึ่งเจามหาชีวิตลาวซึ่งบวชเปนพระไดลองเรือมา เมืองเชียงแสน เรือที่มาไดชนแกงหินลมจมลง จนเจามหาชีวิตไดเสียชีวิตจึงมีการสลักรูปพระไวบนผา นามผาพระ นี้จึงสะทอนความสัมพันธทางประวัติศาสตรระหวางลานนาและลานชาง นอกจากนี้ระบบนิเวศที่แตกตางทําใหการอยูอาศัยของปลา สัตวน้ํา และพืชน้ําอื่นๆ เจริญเติบโตแตกตาง กัน นํามาซึ่งการใชเครื่องมือหาปลาที่แตกตางตามระบบนิเวศและฤดูกาล คนหาปลามีความรูในการเขาถึงปลาที่ หลากหลาย หากพิจารณาจากเครื่องมือหาปลาพื้นบานที่มีถึง 71 ชนิด โดยมีการออกแบบใหเหมาะสมกับระบบ นิเวศยอยและธรรมชาติของปลาแตละชนิด แบงเปน เครือ่ งมือดักปลา ลอปลา จับปลาและเครื่องมือที่ชวยในการ หาปลา โดยในฤดูน้ําแลงหรือน้ําลด ตามลําน้ําสาขาจะมีการใสคั่ง เพราะปลาที่คางอยูในวังน้ําหรือหนองน้ําจะลงมา ตามแมน้ําสาขาเพื่อเขาสูแมน้ําโขง สวนเดือน ตุลาคม - เมษายน ปลาจะลงมาอาศัยในคก คนหาปลาใชแห มอง และเบ็ดในการหาปลา ชวงหนาน้ําขึ้นปลาจะอพยพ คนหาปลาจะใชไซลั่น หรือไหลมองตามลั้งตางๆ นอกจาก เครื่องมือหาปลาจะปรับตามระบบนิเวศ, ชนิดของปลาและฤดูกาลน้ําแลว ชาวประมงยังมีการสังเกตหมายจาก ธรรมชาติในการหาปลาดวย เชน หากผลมะเดื่อสุกนั่นหมายถึงปลาโมงจะวายทวนน้ําขึ้นมา อยางไรก็ตาม มีพื้นที่ในการหาปลารวมกันพื้นที่หนึ่งของชาวประมงในแตละถิ่นของเขตนี้ ซึ่งเรียกวา ‘ลั้ง’ หรือ ‘ลวง’ เปนพื้นที่หาปลาหนาหมูหรือสวนรวม โดยจะมีการจัดการการใชและรักษาแบงปนรวมกัน เชน มีการวาง คิวการออกไปไหลมองหรือขายในบริเวณลั้ง การชวยกันลงแรกทําความสะอาดเอาขอนไม เศษไมใตน้ําบริเวณลั้ง ออก และยังมีความเชื่อพิธีกรรมในการไหวผีลวง ไหวผีน้ํารวมกัน เปนการใชกฎกติกาและความเชื่อตอสิ่งเหนือ ธรรมชาติมาใชในการจัดการทรัพยากร สะทอนรากฐานความคิดการเคารพในธรรมชาติ ความสัมพันธเหลานี้ซึ่ง ตอมาพัฒนามาเปนความสัมพันธในทางวัฒนธรรมระหวางชุมชนสองฝงแมน้ําโขง ในการเขารวมงานบุญ งาน ประเพณีอื่นๆ รวมกัน เชน การไหวธาตุ จากการศึกษาพบลั้งในแมน้ําโขง-ลานนา 11 แหง

229


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

รูปที่ 3 ระบบนิเวศแมน้ําโขงบริเวณเชียงแสน เชียงของ เวียงแกน ลั้งที่เปนกรณีศึกษาไดชัดเจนในเขตนี้ ซึ่งถูกกลาวถึงกันมานานและถูกศึกษาจากนักวิชาการและผูสนใจ ภายนอกอยูเสมอ คือ บริเวณลั้ง-ลวงจับปลาบึก บานหาดไคร บริเวณดอนแวง เปนระบบนิเวศเฉพาะที่ทําให สามารถจับปลาบึกไดปละครั้ง คือชวงหนาน้ําแลงพอเหมาะพอดีในรองทางวายผานของปลาบึก ประมาณชวง เม.ย. – พ.ค. ของทุกป หากน้ํานอย ปลาก็จะไมวายผาน หากน้ํามากกวาระดับรองน้ําเยอะ ปลาก็สามารถวายลงลึก หรือผานไปตามชองอื่นๆ ก็ได นอกจากนี้ดวยการจับปลาที่มีมาอยางยาวนานจึงมีการสงผานภูมิปญญาการจับและ การรักษา ผานพิธีกรรมการไหวผี ดังที่ ชาวประมงบอกวา ‘ปลาบึกเปนปลาผี ลาไมได ตองขอจากผี’ ผีที่ไหวคือผี ลวงหรือหลวง หรือผีใหญ ผีจะเปนผูบอกวา ปนี้จับไดกี่ตัว รวมทั้งการทําพิธีไหวผีรวมกันของชาวประมง ยังเกิด ความสัมพันธกันและการจัดคิวลงเรือออกหาปลา สวนในระบบนิเวศแมน้ําสาขา เชน แมน้ําอิง เปนพื้นที่ชุมน้ําใน/ใกลแมน้ําอิง มีระบบนิเวศยอย เชน ปา, หนอง, บวก, จํา ฯลฯ มีความเชื่อกํากับการเขาไปใชประโยชน เชน การไปเหยียบตาน้ําใน ‘จํา’ เปนสิ่งผิดผี รวมทั้งระบบนิเวศของปาชุมน้ําจะมีความแตกตางกัน ในหนาแลงจะเปนปา สําหรับเลี้ยงสัตว แตในหนาน้ําหลากจะ ทวมเปนที่อาศัย หากินของปลา การใชเครื่องมือหาปลาก็ปรับตามระบบนิเวศและฤดูกาล ซึ่งสิ่งเหลานี้จะเปนตัว กํากับวิถีชีวิตการหากิน การใชทรัพยากร ซึ่งตอมามีการพัฒนาเรื่องราวเหลานี้มาใชในการจัดการทรัพยากรยุค ปจจุบัน โดยการปรับความเชื่อและศาสนามาชวยในการจัดทําเขตอนุรักษพันธุปลาและปาชุมน้ําหรือปาชุมชนบน ดอย คือการบวชวังสงวนและการบวชปา ซึ่งจะกลาวรายละเอียดในบทตอไป

230


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

การใชนิเวศวัฒนธรรมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ นอกจากจะมีใหเห็นในการจัดการลั้ง/ลวงหาปลา ของชาวประมง และการประยุกตมาจัดการโดยการบวชวังสงวนหรือบวชปา แลวในอดีตยังมีพื้นที่การใชและดูแล แมน้ําโขงรวมกันผานวัฒนธรรมอีกมากมาย เชน การระบุแกงผา หรือระบบนิเวศใดวา มีผีเงือกหรือนาคอยูในจุดๆ ใดนั้น จนทําใหเกิดการยําเกรงในการไมกลาเขาไปจับสัตวน้ําในเขตนั้นมากนัก รวมทั้งกอนจับปลาหรือหาปลาใน เขตนั้นตองทําพิธีไหวผีน้ํา ไหวผีเงือกเสียกอน สิ่งเหลานี้มีมานานตั้งแตยุคลานนา โดยมีจารึกการจัดการทรัพยากร โดยใชนิเวศวัฒนธรรมอยูใน ‘มังรายศาสตร’ อยูมากมายหลายจุด เชน การจัดการเหมืองฝาย โดยมีระบบผีเหมือง ฝายเปนสําคัญ แมมังรายศาสตรจะมีฐานะเทียบเทากฎหมายของอาณาจักร ทวาก็ยังใหความสําคัญกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติหรือวัฒนธรรม เชน ‘ผูใดอุกอาจทําใหหอบูชาฝายเสียหาย ผิดผีฝาย ฝายทะลุพังเสีย ใหสรางหอบูชาฝาย ขึ้นดังเดิม แลวใหมันจัดเครื่องพลีกรรมบูชาใหถูกตอง แลวใหมันสรางฝายขึ้นใหเหมือนเดิม ผิมันสรางฝายไมได ให มันจัดการเลี้ยงดูผูคนที่มาสรางฝายนั้นจนกระทั่งแลวเสร็จ... ผิมันไมยอมสรางหอบูชา ไมยอมจัดหาเครื่องบูชา แต จะขอสรางฝายใหเหมือนเดิม อยายอมใหมันสราง ถึงวามันเปนผูกอสรางก็จะไมมั่นคง เพราะเหตุผิดผีหอ ใหมันหา เครื่องพลีกรรมบูชาใหจงไดกอน แลวจึงใหมันสรางฝาย...’ (ประเสริฐ ณ นคร 2521) เห็นไดวา สิ่งเหนือธรรมชาติใน ที่นี่เกี่ยวพันกับขวัญของคน การผิดผีฝายคือการทําลายขวัญของคนดวย ผีจึงมีความสําคัญกวา เพราะการเลี้ยงผี คือการเลี้ยงคน ใหคนไดมารวมกันปรับแกหรือทํางานรวมกัน แทจริงการผิดผีคือการผิดตอกติการวมของคนหรือ ขวัญรวมของคน ซึ่งนี่คือพลังของนิเวศวัฒนธรรม คือการมีจุดรวมกันแลวทํางานรวมกันทั้งคนและผีหรือขวัญ กําลังใจ กลาวโดยสรุป สาระสําคัญของนิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง มีความ หลากหลายไปตามบริ บ ทของระบบนิเ วศ ประวัติ ศ าสตร แ ละวั ฒ นธรรม ซึ่ ง คื อ การแสวงหาจุ ด รว มของคนกั บ ธรรมชาติ, คนกับคน และคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ เพื่อใหการอยูรวมกัน –การใชและการรักษาทรัพยากรอยาง ยั่งยืน อยางไรก็ตาม ในชวงสามทศวรรษที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงมากมายตอทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิต ผูคนในเขตนี้ ระบบนิเวศวัฒนธรรมถูกทําลายไปมาก ซึ่งจุดรวมของการอยูรวมกันของผูคนไดยายจากฐานนิเวศ หรือทรัพยากรธรรมชาติที่เชื่อมรอยโดยวัฒนธรรมการใช/การรักษาโดยพิธีกรรมความเชื่อหรือศาสนา มาเปนการ เชื่อมรอยโดยระบบเศรษฐกิจการเมืองของรัฐหรือการพัฒนาโดยใชเศรษฐกิจเปนตัวนําเพียงดานเดียว

การจัดการทรัพยากรโดยใชเศรษฐกิจเปนตัวนํา การจัดการทรัพยากรโดยใชเศรษฐกิจเปนตัวนําไดเขามาในประเทศลุมน้ําโขงตั้งแตสมัยยุคลาอาณานิคม ทวาก็ยังไมมีผลมากนักตอชุมชนทองถิ่นโดยทั่วไป สําหรับประเทศไทยการพัฒนาโดยใชเศรษฐกิจเปนตัวนําหรือ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อตอบสนองทางดานเศรษฐกิจเปนดานหลักเริ่มตนในป พ.ศ. 2504 โดยการ จัด การทรั พ ยากรและสิ่ ง แวดล อ มของประเทศส ว นใหญ จึ ง ขึ้ น ตรงต อ แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห ง ชาติ ฉบับที่ 1 อยางไรก็ตาม พื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง ซึ่งมีสถานะเปนพื้นที่ชายขอบของประเทศ มา ตั้งแตยุคสยาม และแมจะรวมเปนสวนหนึ่งของสยามในป พ.ศ. 2457 ทวาวิถีชีวิตของผูคนก็ยังหาอยูหากินกับ ทรัพยากรธรรมชาติและยังคงการจัดการทรัพยากรดินน้ําปา บนฐานของนิเวศวัฒนธรรม กระทั่งในราวทศวรรษที่ 231


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

2520 พื้นที่เขตนี้ยังเปนพื้นที่ชายขอบของการตอสูทางของสงครามระหวางพรรคคอมมิวนิสตกับรัฐบาล แมการ เปลี่ยนแปลงตอนิเวศวัฒนธรรมยังมีไมมากนัก แตก็มีการสรางถนนสายยุทธศาสตรเขามาในพื้นที่ราบและภูดอย และมีการเคลื่อนยายผูคนกลุมชาติพันธุบางสวนจากภูดอยลงสูพื้นราบ เพื่อการแยงชิงมวลชน เชน มง เยา ลาหู นอกจากนี้ ยังเปนยุคเริ่มตนของการสรางโครงสรางพื้นฐานดวยการกอสรางถนนหนทางไวมากมาย อยางไรก็ตาม การทําไร ทํานา และการประมงยังคงอยูบนฐานนิเวศวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงในระดับการผลิตการเกษตรและการประมงที่เขาสูระบบเศรษฐกิจการคาอยางเต็มระบบ เกิดขึ้นในยุคทศวรรษที่ 2530 ถึงตนทศวรรษที่ 2540 เมื่อลาวมีการเปดประเทศ ขณะเดียวกันรัฐไทยก็เริ่มนโยบาย เปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาการลงทุน พื้นที่ชายแดนเขตนี้ เปนฐานในการที่จะไปลงทุนในประเทศเพื่อนบาน ขณะเดียวกันก็บุกเบิกพื้นที่การเกษตรเชิงเดี่ยวหรือเกษตรสารเคมีขึ้นสูภูดอย และการทํานาเพื่อการคาโดยเพิ่ม ผลผลิตดวยสารเคมีในพื้นราบลุมน้ําอิง รวมทั้งอุตสาหกรรมการทองเที่ยวที่ขายวัฒนธรรมคนเมืองเหนือและ วัฒนธรรมกลุมชาติพันธุตางๆ โดยทั้งหมดผูกโยงอยูกับการตลาดและผลกําไร เพียงดานเดียว รวมทั้งการจัดการ ตางๆ ของรัฐที่รวมศูนยอํานาจและจัดการปญหาแบบเชิงเดี่ยวเสมอมา ทําใหมีการเรงขายที่ดิน เรงการเกษตร สารเคมี เรงโหมการทองเที่ยวและการจัดการทองเที่ยวเพื่อสนองธุรกิจเปนดานหลัก อยางไรก็ตาม ผลกระทบที่เกิดจากนโยบายรัฐตอการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในเขตนี้อยางมากที่สุดใน ทัศนะของคนชุมชนทองถิ่น เกิดขึ้นยุคปลายทศวรรษที่ 2540 ถึงทศวรรษที่ 2550 โดยนโยบายการคาเสรีของรัฐ และองคกรขามรัฐ โดยเฉพาะโครงการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญในลําน้ําโขง หรือที่เรียกกันทั่วไปวา โครงการ ระเบิดเกาะแกงเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญ รวมกันระหวางจีน พมา ลาว ไทย ซึ่งเปนโครงการหนึ่งใน แผนการเปดการคาเสรีอาเซียน-จีน และไทย-จีน โดยนักวิชาการและรัฐบาลมองวา หินผาที่อยูในลําน้ําโขงเปน อุปสรรคของการพัฒนาจึงตองระเบิดออกใหเรือพาณิชยขนาดใหญเขามาทําการคา ทวาชาวบานชุมชนในทองถิ่น เห็นวา หินผาคือบานของปลา คือแหลงกําเนิดของชีวิตมากมายในลําน้ําโขง ซึ่งการมองของรัฐและนักวิชาการก็ เหมือนกับการมองของนักลาอาณานิคมฝรั่งเศสที่เห็นวาหินผาเกาะแกงในลําน้ําโขงเปนหินโสโครก หากจะทํา การคากับแผนดินจีนตอนในตองระเบิดหินผาและเกาะแกงออกเชนกัน โครงการนี้ผลักดันหลักโดยรัฐบาลจีน ตามนโยบายมุงลงใตของมณฑลยูนนาน ในขณะเดียวกันรัฐบาลไทย ก็ทําสัญญารวมสี่ประเทศโดยไมคํานึงตอชุมชนทองถิ่นและไมคํานึงถึงอธิปไตยของรัฐวามีสวนประกอบมาจาก ประชาชน แมรัฐบาลไทยจะมาจากการเลือกตั้ง ทวาการตัดสินใจหรือทําสัญญาขอตกลงระหวางรัฐตองไดเห็นชอบ จากประชาชนดวยเชนกัน โดยโครงการนี้มุงระเบิดเกาะแกงออกจากแมน้ําโขงตั้งแตซือเหมา สิบสองปนนา ในจีนยูน นาน เรื่ อยมาถึ ง ชายแดนพม า-ลาว ถึง สามเหลี่ ย มทองคํ า ชายแดนไทย-ลาว และถึ ง หลวงพระบาง โดยมี แนวโนมจะผลักดันใหถึงปากแมน้ําโขง โดยแบงออกเปน 3 ระยะ ขั้นสุดทายคือทําใหแมน้ําโขงมีสภาพเหมือนคลอง สงน้ําสําหรับการเดินเรือ 500 ตัน จีนเปนผูผลักดันหลักที่ลงทุนทั้งการศึกษาวิจัยและการระเบิดเกาะแกง

232


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

รูปที่ 4 การระเบิดแกงผาตอนเหนือสามเหลีย่ มทองคํา โครงการนี้ชะลอไวในระยะที่ 2 ไวแคเพียงเหนือสามเหลี่ยมทองคํา-เชียงแสน ขึ้นไป สวนในชายแดน ไทย-ลาว ตั้งแตสามเหลี่ยมทองคํา-ผาได อ.เวียงแกน ไดรับการคัดคานจากชาวบานริมแมน้ําโขงและชุมชนทองถิ่น ในเขตนี้ไมเห็นดวย โดยมีเหตุผลสําคัญคือ เสนแบงพรมแดนรัฐในลําน้ําโขงระหวางไทยลาวยังไมชัดเจน ซึ่งเปน ปญหาตกทอดมาแตสมัยอาณานิคมฝรั่งเศส ซึ่งการระเบิดเกาะแกงทําใหตัวชะลอน้ําโดยธรรมชาติหายไป ทําใหรอง น้ําเปลี่ยนและตลิ่งพังทลาย เกิดหาดและสันดอนกลางโขงเพิ่มขึ้น เจาหนาที่โครงการนี้ใหเหตุผลของการชะลอ โครงการไวที่สามเหลี่ยมทองคํา เพราะเรื่องการแบงเขตแดนยังไมเรียบรอย ทวาชาวบานและชุมชนทองถิ่นริมโขง ไดยืนยันผานงานวิจัยจาวบานวา รัฐควรใหความสําคัญตอระบบนิเวศวัฒนธรรมในแมน้ําโขง ดังที่กลาวแลว ใน ตอนตน เพราะระบบนิเวศวัฒนธรรมนํามาซึ่งความมั่นคงทางอาหาร เพราะเกาะแกงและระบบนิเวศอื่นๆ ในแมน้ํา โขงเปนแหลงอาศัยของพืชน้ํา เชน ไกหรือสาหราย และเปนที่หาอยูหากินของปลา นอกจากนี้เกาะแกงหินผายัง เปนเขื่อนโดยธรรมชาติในฤดูน้ําหลากไมใหตลิ่งริมฝงซึ่งเปนพื้นที่เกษตรริมแมน้ําโขงตองพังทลายลงมา ดวยเหตุนี้ หากทําลายบานของปลาก็ทําลายวิถีชีวิตคนริมโขงดวย นอกจากนี้แมน้ําโขงยังเปนพื้นที่หนาหมูหรือจุดรวมกันใน การใชและแบงปนทรัพยากรกันของคนสองฝงพื้นที่สุดทาย เพราะที่ดินพื้นราบก็ถูกขาย ถูกรุกซื้อ ถูกรุกที่ไปเกือบ หมดแลว พื้นที่บนดอยก็กลายเปนปาสงวนแหงชาติไปหมดแลว เหลือพื้นที่ทางนิเวศวัฒนธรรมหรือพื้นที่หนาหมูที่ สุด ท า ยซึ่ ง เกี่ ย วโยงกั บ ความมั่ น คงทางอาหารและที่ สํ าคั ญ เกี่ ย วโยงกั บ อธิ ป ไตยของรั ฐ ด ว ย เพราะอยู ใ นแนว ชายแดน ดังนั้นโครงการนี้ตองชะลอไป พรอมกับเปนกรณีศึกษาสําคัญในโครงการตอๆ ไป ที่จะเกิดขึ้นภายหนาวา จําเปนตองศึกษาและใหความสําคัญกับระบบนิเวศวัฒนธรรมชุมชนทองถิ่น ตองเขาใจการจัดการทรัพยากรบนฐาน นิเวศวัฒนธรรมที่มีอยูมากอนในแตละทองถิ่น พรอมกับเขาใจบริบทความหลากหลายของแตละทองถิ่นในลุมน้ําโขง ดวย ไมใชเขาใจเพียงคําวา ‘พัฒนา’ ซึ่งเปนชื่อหนึ่งในภาษาไทยของคําวา ‘ทุนนิยม’ ซึ่งตองการเพียงกําไร ผลประโยชนสูงสุด บนตนทุนต่ําสุดที่ผลักตนทุนทางธรรมชาติ ทางทรัพยากร วัฒนธรรมและสังคมไปใหคนอื่นๆ กรณีการระเบิดเกาะแกงยังสงผลมาสูคนริมแมน้ําโขงอยูในปจจุบันแมจะยังไมระเบิดในเขตชายแดนไทยลาว ทว าผลกระทบที่ เกิด ขึ้น ไดยืน ยัน การศึกษาและขอ กังวลของชาวบานที่ วา ไมคุ มคาทางเศรษฐกิ จ และไม สามารถจะเดินเรือไดตลอดปตามแผนการ แมจะเปดทางเดินโดยการระเบิดเกาะแกงไปหมดแลวทางตอนเหนือของ ไทย เพราะการเดินเรือยิ่งลําบากขึ้นในหนาแลง เพราะไมมีชองทางเดินเรือ อีกตลิ่งก็พังทําใหเกิดสันดอนขึ้นมาใหม 233


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

นั่นเปนคําตอบแลววา ไมใชระเบิดเกาะแกงออกไปแลวจะคาขายทางเรือไดตลอดป รวมทั้งการที่มีถนนสาย R3A จากคุณหมิง-เชียงรุง-บอเต็นบอหาน-หลวงน้ําทา-บอแกว แลวเชื่อมตอกับถนนของไทยที่เชียงของโดยสะพาน มิตรภาพไทย-ลาว แหงที่ 4 การคาขายทางรถจะมีบทบาทสําคัญและคุมคากวาในระยะยาว อยางไรก็ตาม รัฐไทยก็ ยังมีโครงการกอสรางทาเรือขนาดใหญแหงใหมเพื่อรองรับเรือสินคาจากจีนบริเวณปากแมน้ํากก ในอําเภอเชียงแสน ขึ้นมาอีก โดยหากมองในทางเศรษฐกิจแลวก็ยังไมเห็นจุดคุมคากับทรัพยากรที่เสียไป เพราะบทบาทการคาขาย ทางเรือในลําน้ําโขงจะนอยลงทุกวัน ในขณะเดียวกัน พื้นที่หนาหมูของคนชายขอบ ทรัพยากรธรรมชาติในแมน้ํา โขงซึ่งเปนแหลงชีวิตของคนหาปลา-คนยากคนจน ตองถูกทําลายไปอยางไรคา ตัวอยางของการพัฒนาโดยใชเศรษฐกิจนํา นอกจากเรื่องการระเบิดเกาะแกงในลําน้ําโขงแลว ยังมีเรื่องการ สรางเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาปอนภาคอุตสาหกรรม หรือภาคเมือง รวมทั้งการสรางเขื่อนใหเดินเรือพานิชย ขนาดใหญด วย เพราะดวยสาเหตุของการระเบิดแก งทําใหทางน้ําเปลี่ย น ตลิ่ งพังจนเกิ ดสัน ดอนเพิ่มขึ้น และ หนาแลงน้ําก็แหง ทําใหตองมีการเปดปดน้ําเหนือเขื่อนใหสามารถเดินเรือไดอยูตลอดเวลา ทําใหวงจรน้ําขึ้นลงไม เปนไปตามธรรมชาติ จากการศึกษาชาวบานและชาวประมงยืนยันตรงกันวา น้ําในแมน้ําโขงขึ้น-ลงไมปกติ ไม เปนไปตามฤดูกาลอีกตอไป น้ําจะขึ้นและลงอยางรวดเร็วภายในสัปดาห ภาวะเชนนี้ทําใหการวางไขของปลาสับสน รวมทั้งพืชน้ําที่สําคัญคือ ไกหรือสาหรายแมน้ําโขง ซึ่งเปนพืชอาหารหลักของปลา โดยเฉพาะปลาบึก ตองแหงตาย เมื่อน้ําแหงเร็ว และเนาไปเมื่อจมน้ํามาก เพราะไกจะเติบโตในสภาวะที่อยูในระดับน้ําลึกประมาณ 50 ซ.ม. หากลึก หรือตื้นกวานี้ก็จะตายหรือเนาเปอยไป สิ่งเหลานี้นํามาซึ่งพันธุปลาและพืชลดจํานวนลงอยางมากมาย อยางไรก็ดี เรื่องการสรางเขื่อนในลําน้ําโขงยังสะทอนใหเห็นการจัดการทรัพยากรขามรัฐชาติเพื่อหนุนนํา เศรษฐกิจใหรุดหนาต อไปตามกระแสโลกาภิวัตน ที่ใหค วามสํ าคัญ ภาคของเศรษฐกิ จเสรีเปน สําคัญ โดยหาก กลาวถึงแมน้ําโขงยอมหมายถึงแมน้ําของคน 7 ประเทศ ดังที่กลาวแลว เพราะแมน้ําแมจะชื่อตางกันในแตละ ประเทศแตก็ไหลไปหากันทุกประเทศ โครงการที่มีผลกระทบดานลบตอลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงใน ลักษณะขามรัฐชาติก็คือ โครงการสรางเขื่อนขนาดใหญเพื่อผลิตกระแสไฟฟาของรัฐบาลจีนในมลฑลยูนนาน โดยมี แผนการสราง 8 เขื่อน สรางเสร็จและเปดใชแลว 3 เขื่อน คือ มันวาล, ดาเซาชาน และเสี่ยววาน โดยที่สรางเสร็จ และทดลองเปดใช 1 ประตูหรือ 1 เครื่องกําเนิดไฟฟา คือ เขื่อนจินหง ซึ่งอยูเหนือประเทศไทยไปจากสามเหลี่ยม ทองคํา 345 กิโลเมตร โครงการเหลานี้สรางผลกระทบตอระบบนิเวศวัฒนธรรมของคนกลางน้ําและทายน้ําอยาง มหาศาล โดยมุมมองความคิดของรัฐบาลจีนวา แมน้ําโขงในเขตนั้นซึ่งคนจีนเรียกวา หลานซางเจียง อยูในเขต อธิปไตยของจีน จีนสามารถจะกระทําอะไรก็ได กลาวสําหรับเขตพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง เริ่มเห็นผลของการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกในป พ.ศ. 2539 หลังจากเขื่อนมันวานเปดใชอยางเปนทางการ โดยเกิดปรากฏการณหนาแลงน้ําโขงแหงผิดปกติในปนั้น หลังจากนั้นเมื่ออีกสองเขื่อนเปดใชอยางเปนทางการก็ยิ่งสรางผลใหกระแสน้ําขึ้นลงไมเปนปกติ โดยเฉพาะในชวง ระเบิดเกาะแกงชวงเขตแดนจีน-พมา-ลาว และการเปดใหเรือสินคาจากจีนลงมาในหนาน้ําแลงยิ่งสรางภาวะน้ําขึ้น และลงไมปกติ คือขึ้นเร็วและลงเร็วจนชาวประมงไมสามารถอานวิถีแหงสายน้ําไดตามภูมิปญญาที่สืบทอดกันมา รวมทั้งกระแสน้ําที่ขึ้นลงไมปกติมีผลตอพืชน้ําชนิดสําคัญคือไก หรือสาหรายน้ําโขง และไกคือหนึ่งในหวงโซอาหาร ใหปลาและสัตวน้ําอื่นๆ เมื่อไกสูญหายหรือตายไปปลาก็จะมีผลตามมาคือ วงจรชีวิตที่ไมปกติ จํานวนชนิดและ พันธุปลาลดลง แนนอนวา สวนหนึ่งของการลดลงของจํานวนและชนิดพันธุปลาเกิดจากประมงที่ผิดวิธีดวย แตการ 234


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

ตัดหวงโซอาหารหรือทําลายหวงโซอาหารทั้งระบบของนิเวศแมน้ําโขงยอมเปนปจจัยสําคัญตอเรื่องนี้ กระทั่ง ชาวประมงในบางหมูบานตองเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต เสนทางการหาปลาที่เชื่อมรอยชุมชนตางๆ ตั้งแตเขตเหนือ สามเหลี่ยมทองคําเขาไทย-ลาว ไดสูญหายไป ชุมชนทองถิ่นหลายชุมชน เชน บานหวยลึก บานปากอิงใต ที่เปน ชาวประมงและลูกหลานตองปรับสูระบบเกษตรเชิงเดี่ยว ทวาดวยขอจํากัดของที่ดินในการเกษตร รวมทั้งการ บุกเบิกพื้นที่ใหมๆ ก็เปนไปไมไดอีก จึงตองอพยพเขาทํางานในเมืองใหญ การสรางเขื่อนมักมาพรอมคําวา ‘เขื่อนชวยใหทายน้ําไมแหงในหนาแลง และจะปองกันน้ําทวมหนาน้ํา หลาก’ ทวาหลังการเปดใชเขื่อนในแมน้ําโขงตอนบนแลว 3 เขื่อน ปรากฏผลตรงขามกันคือหนาแลงน้าํ แหงมาก แต ผูนิยมเขื่อนโดยเฉพาะรัฐจีนใหเหตุผลวา เกิดจากสิ่งแวดลอมของโลกโดยรวมที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหน้ําแหง แตไม ยอมรับวา เขื่อนเปนสวนสําคัญที่ทําใหน้ําโขงแหง อยางไรก็ตาม หลังจากเหตุการณน้ําทวมหนักในเขตน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง ใน วันที่ 9-15 ส.ค. พ.ศ. 2551 ที่ผานมา เปนบทเรียนและพยานสําคัญที่เกิดน้ําทวมทาย เขื่อนจีนอยางหนักที่สุดในรอบ 40 ป โดยมีรายงานน้ําทวมหนักหนาเขื่อนจีนจนมีประชาชนเสียชีวิต 40 คน และ ผูคนกวาแสนตองอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย เมื่อน้าํ หนาเขื่อนมีมากและประชาชนเสียชีวิตจึงจําเปนตองเปด เขื่อนปลอยน้ําลงมา พื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงเปนพื้นที่ราบแรกสุดทางตอนใตของจีน ปริมาณ น้ําโขงที่ขึ้นทวมอยางรวดเร็วในคืนเดียวเกือบสองเมตร ไหลยอนจากปากแมน้ํากกและอิงเขาไปในลําน้ําเกือบ 30 กม. โดยไมมรี ายงานปริมาณน้ําฝนที่ไหลมาจากตนแมน้ํากก-อิง แตอยางใด นอกจากนี้ยังมีขอมูลยืนยันไดจาก สถานีวัดระดับน้ําที่จินหง มีระดับน้ําสะสมใน 1 สัปดาห 1,400 กวา มม. เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2551 กระแสน้ํา เดินทางจากเมืองจินหงมาถึงอําเภอเชียงแสนใชเวลาประมาณ 5 วัน ซึง่ สอดรับกับปริมาณน้ําในแมน้ําโขงที่ เชียงแสนซึง่ มีความสูงถึง 10.68 เมตร ในเวลา 18.00 น. ของวันที่ 11-12 สิงหาคม พ.ศ. 2551 (ศูนยสํารวจอุทก วิทยาที่ 12 เชียงแสน สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 1 กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงธรรมชาติและสิ่งแวดลอม, 2551) มันเปนเครื่องยืนยันวาปริมาณน้ําที่ทวมในครั้งนัน้ มาจากการเปดเขื่อนจินหง

รูปที่ 5 เขื่อนจินหงซึ่งอยูไมไกลจากตอนเหนือของประเทศไทยไป 345 กม.

235


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

น้ําทวมครั้งนี้ ทําใหชาวบานเตรียมตัวไมทันเพราะในอดีตน้ําจะคอยๆ ขึ้น แตในครั้งนี้ไมสามารถรับมือได ทัน สรางผลเสียหายตอพื้นที่เกษตรริมโขง ตลิ่งพังทลายหลายจุด สัตวเลี้ยง บานเรือนและถนนหนทาง ทางการจีน ก็ตอบโตทางหนังสือพิมพวา จีนปดปลอยน้ําทวมไทยลาว โดยใหเหตุผลวาน้ําในเขื่อนยังสามารถรับน้ําไดอยู แตก็ ไมปฏิเสธวาไมเปดเขื่อนและก็ไมมีใครสามารถหามไมใหฝนไปตกเหนือเขื่อนได ดวยเหตุนี้จึงถึงเวลาแลวหรือยังที่ จะทบทวนการพัฒนาโดยใชเศรษฐกิจนําหนา เพราะมันสรางความเสียหายใหกับทรัพยากรธรรมชาติและชุมชน มากมาย และตองศึกษาตอไปวาแลวความเสียหายที่เกิดขึ้นใครจะเปนคนชดเชยใหกับชาวบาน ใหกับชุมชนทองถิ่น ไมใชหนาที่ของรัฐบาลไทยที่ใชเงินจากการเสียภาษีของคนไทย หรือแลวใครไดประโยชน หากไมใชจีนและกลุมทุน ที่ใชไฟฟาเพื่อการอุตสาหกรรม ซึ่งก็เปนบทพิสูจนวาสิ่งที่กระทําไปโดยไมเคารพระบบนิเวศหรือสิ่งที่เปนไปตาม ทางธรรมชาติอยางจริงจัง ยอมกอใหเกิดความเสียหายกับชุมชนที่อยูอาศัยในลุมน้ําโขง ซึ่งจากการสํารวจเบื้องตน ตอผลกระทบจากน้ําทวมครั้งนี้ในภาคเหนือตอนบน ประเมินความเสียหายไดไมต่ํากวา 85 ลานบาท และยังไมนับ รวมผลกระทบในภาคอีสานและในประเทศลาวซึ่งไดรับผลกระทบไมตางกัน

รูปที่ 6 ภาพน้ําทวมดานทาเรือเชียงของในป พ.ศ. 2551 น้ําทวมครั้งนี้จึงเปนบทเรียนสําคัญที่คําอางวา ‘เขื่อนชวยใหทายน้ําไมแหงในหนาแลง และจะปองกันน้ํา ทวมหนาน้ําหลาก’ ไมเปนจริงและไมสมควรนํามาใชอีกตอไป เพราะแทจริงแลว เขื่อนถูกออกแบบมาเพื่อผลิต กระแสไฟฟาปอนเขตอุตสาหกรรมในภาคตะวันออกของจีนและสงตอเมืองอุตสาหกรรมของไทยเทานั้นเอง ซึ่งก็คือ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจระบบตลาดทุนเสรี หรือที่มีชื่อ ‘เศรษฐกิจสังคมนิยมแบบเปด’ ของจีน โครงการเขื่อนในแมน้ําโขงและโครงการระเบิดเกาะแกงเปนกรณีตัวอยางของการจัดการทรัพยากรลุมน้ํา โขงขามรัฐชาติ ที่ใหบทเรียนอันมากมายตอชุมชนทองถิ่นริมน้ําโขงและตอรัฐไทย รวมทั้งตอการศึกษาองคความรู ในการจัดการทรัพยากรลุมน้ําโขง ซึ่งหากไมยอมเรียนรูและตระหนักตอผลกระทบของระบบเศรษฐกิจการเมือง กระแสหลักที่ครอบงําไปทั่วโลกตอระบบนิเวศวัฒนธรรมซึ่งมุงสูระบบเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ยอมนําไปสูความ เสี่ยงที่จะเกิดสงครามแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติในอนาคต

236


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

การจัดการทรัพยากรโดยใชนิเวศวัฒนธรรมและบทเรียนกับการปรับตัวของชุมชนทองถิ่น ผลกระทบที่เกิดขึ้นทําใหเกิดการตื่นตัวของชาวบานและองคกรชาวบานในชุมชนทองถิ่นเขตแมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง เชน เกิดการรวมตัวของกลุมรักษเชียงของ ซึ่งทํางานกิจกรรมดานสิ่งแวดลอมใน อ.เชียง ของ มากอนตั้งแตปพ.ศ. 2535 กับชมรมอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแมน้ําอิงตอนปลาย ซึ่งกอตั้งเมื่อ ปพ.ศ. 2543 และโครงการแมน้ําและชุมชน กอตั้งเมื่อ ปพ.ศ. 2542 โดยรวมตัวกันเปนเครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ วัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา โดยเริ่มแรกเมื่อทราบขาววา ทางรัฐบาลใหเจาหนาที่จีนเขามาระเบิดเกาะแกง ก็มีความหวาดกังวลของ ชาวบาน และเกิดการรวมตัวกันขอขอมูลขาวสาร เรียกรองขอมูลและความโปรงใสของตัวโครงการรวมฯ หลังจาก นั้นจึงประสานงานกับองคกรทองถิ่น องคกรพัฒนาเอกชน สื่อมวลชน นักวิชาการ และภาครัฐ ฝายความมั่นคง รวมทั้งฝายการเมืองดวย ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เรียกรองใหทบทวนผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเสนอใหมี การศึกษาวิจัยผลกระทบทางสิ่งแวดลอมใหละเอียดรอบคอบใหมอีกครั้ง ซึ่งครั้งแรกนั้น ทางฝายจีนเปนฝายจัดทํา รายงานการศึกษาผลกระทบดานสิ่งแวดลอมเพียงฝายเดียวและถูกวิพากษวิจารณวา เปนเพียงคูมือการระเบิดเกาะ แกงเทานั้น ขาดรายงานผลกระทบดานระบบนิเวศ ดานสังคม ดานวัฒนธรรม ซึ่งทางรัฐบาลก็ใหมีการจัดทํา รายงานผลกระทบทางดานสิ่งแวดลอม สังคมและวัฒนธรรมใหมอีกครั้ง ขณะเดียวกันเครือขายฯ ชาวบานก็ได รวมกันศึกษาวิจัยดวยเชนกัน ในชื่อที่วา ‘งานวิจัยจาวบาน’ ศึกษาความสําคัญของระบบนิเวศแมน้ําโขงทั้งแต สามเหลี่ยมทองคําจนถึงผาได และเจาะลึกในจุดที่เรียกวา คอนผีหลง รวมทั้งศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นหากมีการ ระเบิดเกาะแกงทั้งทางดานวัฒนธรรม สังคมและเศรษฐกิจดวย งานวิจัยจาวบานที่รวมกันทํางานระหวางเครือขายฯ และองคกรพัฒนาเอกชน ในครั้งนี้เปนครั้งแรกที่มีการ จัดการความรูของชาวบานหรือความรูรวมของคนเล็กคนนอยในเขตนี้ โดยมีกรอบการศึกษาในแนวทางนิเวศ วัฒนธรรม เพื่อนําผลการศึกษามาใชในการรณรงคใหการเรียนรูรวมกันของชาวบานและองคกรในชุมชนทองถิ่นเอง รวมทั้งใชในการเสนอแนะในระดับนโยบายตอสาธารณะในกรณีการระเบิดเกาะแกงแมน้ําโขง อี ก บทเรี ย นหนึ่ ง ก็ คื อ การทํา งานวิ จั ย เพื่ อ ท อ งถิ่ น ในเรื่ อ งงานวิ จั ย ประวั ติ ศ าสตร ท อ งถิ่ น เชียงของ-เวียงแกน: สังคมชายขอบทามกลางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง ซึ่งเปนการตอกย้ําการจัดการความรูจากมุมมองของคนใน และใหความเชื่อมั่นตอคนในชุมชนทองถิ่นและ องคกรทองถิ่นวา พวกเราก็สามารถจัดการความรูโดยตนเองได และกระบวนการศึกษาเชนนี้ของคนในชุมชน ประสานกับนักวิชาการ ทําใหเกิดความรูที่เชื่อมโยงกับความเปนจริงของชุมชนทองถิ่น ทําใหเกิดการรอยรัด คนขึ้นมารวมกันแลกเปลี่ยนไดมากมาย และสามารถนําไปสูการขยายผลตอยอดอีกมากมาย ในขณะเดียวกันเครือขายฯ ชาวบานก็ไดใชความรูจากการศึกษาที่ผานมา รวมทั้งการจะทํางานโครงการ พัฒนาหรืออนุรักษพื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติในชุมชนทองถิ่น เพื่อสรางรูปธรรมในการปรับตัวและพึ่งตนเองของ ชาวบาน โดยการทํางานการจัดการความรูหรืองานวิจัยจาวบาน เพื่อศึกษาหาความรูรวมหรือตนทุนที่มีอยูกอนแลว นํามาปรับประยุกตหรือตอยอดในการทํางาน เชน โครงการฟนฟูชุมชนทองถิ่นลุมน้ําอิงตอนปลายและชายฝงโขง เริ่มตนที่ 14 ชุมชน ครอบคลุมพื้นริมฝง โขง พื้นราบน้ําอิงและกลุมชาติพันธุบนภูดอย เพื่อสรางรูปธรรมในการ จัดการปาชุมชน การจัดการเขตอนุรักษพันธุปลา การฟนฟูวัฒนธรรม การทดลองจัดการทองเที่ยวโดยชุมชนและ 237


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

การจัดการเมืองใหนาอยู ซึ่งในปจจุบันเครือขายฯ ขยายผลการทํางานเปน 39 ชุมชน ในเขตอ.เชียงแสน เชียงของ ขุนตาล เทิง และเวียงแกน โดยมีการจัดตั้งเขตอนุรักษวังปลาในลุมน้ําอิงและโขงจํานวน 23 เขต การจัดตั้งปาชุมชน จํานวน 19 ปาชุมชน การสงเสริมกองทุนวัวในเขตปาชุมชนเพื่อเปนแนวกันไฟหรือการจัดการไฟปา (อันนี้เปนการ นําแนวคิดนิเวศวัฒนธรรมซึ่งตางจากหนวยงานของรัฐที่ปองกันไฟปาโดยการสรางแนวกันไฟซึง่ ตองจางคนใชคน จัดการ แตของชาวบานใชวัวเลี้ยงในปาชุมชน โดยไฟไมไหมปา เพราะวัวอยูในปามันก็กินหญาแลวคนที่ขึ้นไปดูวัว ก็เปนยามใหดวย เชน บานหวยคุ และอีกสองสามหมูบานทํามาแลวสองสามป ไฟก็ไมไหมปา ในขณะเดียวกันวัวก็ มีมูลคาทางเศรษฐกิจหรือธนาคารเคลื่อนที่ของชาวบานดวย เปนการจัดการปาโดยใชนิเวศวัฒนธรรมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอยางยั่งยืนและเอื้อตอชุมชนในการสรางเศรษฐกิจใหกับชุมชน) นอกจากนี้เครือขายฯ ยังมีการ ตอยอดการทํางานที่กาวไปสูระบบเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเองบนฐานการจัดทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม เชน การผสมเทียมและเพาะเลี้ยงพันธุปลาจากเขตอนุรักษมาเลี้ยงลูกปลาขาย รวมทั้งการปลอยลงแมน้ําดวย นอกจากการเลี้ยงวัวเพื่อจัดการไฟปาดวยนิเวศวัฒนธรรมแลว ยังมีอีกสามกรณีตัวอยางในพื้นที่อิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง ซึ่งไดนําความรูเรื่องนิเวศวัฒนธรรมมาใชในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กลาวคือ 1) การบวชวังสงวนหรือจัดตั้งเขตอนุรักษสัตวน้ํา โดยนําเอาความรูเรื่องลั้งหรือลวง ซึ่งเปนแหลงหาปลา รวมกันของคนสองฝงโขงมาจัดตั้งเปนวังสงวน โดยเลือกเอาวังสงวนที่เลิกใชรวมกันไปแลว หรือเลือกจากวังปลาที่ มีผีเงือกหรือนาค หรือวังปลาที่เชื่อกันวามีผีอยูมาเปนวังสงวนถาวร ใหเปนที่อยูและที่วางไขของปลาตลอดไป แต เหลือวังปลาอื่นๆ ในชุมชนไวหากิน เมื่อศึกษาถึงลั้ง-ลวงหรือวังปลารวมกันแลวจึงปรึกษาหารือรวมกัน จัดประชุม ร า งกฎกติ ก าในการดู แ ลรั ก ษาร ว มกั น บางส ว นก็ ไ ปศึ ก ษาดู ง าน รวมทั้ ง หากมี ก ารฝ า ฝ น ก็ มี บ ทลงโทษโดย คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นจากการประชุมของคนในชุมชนทั้งหมด หลังจากนั้นจึงนัดหมายหาวันดีจัดพิธีกรรมบวชวัง สงวน โดยใชพิธีสงฆเขามา และมีการกินเลี้ยงรวมกัน โดยเกือบทุกวังสงวนจะจัดพิธีบวชวังสงวนเกือบทุกป ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความพรอมของคนในชุมชน ในปจจุบันนอกจากในลําน้ําอิงและน้ําโขงฝงไทยแลว การบวชวังสงวนหรือ จัดตั้งเขตอนุรักษพันธุสัตวน้ําไดจัดตั้งในฝงลาว โดยคนลาวในชุมชนริมฝง เชน บานตนผึ้ง เมืองตนผึ้ง บานปากงาว ในลําน้ํางาว แขวงบอแกว และในแขวงอื่นๆ ของลาวอีกนับสิบแหง

238


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

รูปที่ 7 ภาพชาวบานลงจับปลาในลําน้ําอิงตอนหนาแลงในบริเวณที่เปดใหจับได 2) การบวชปาหรือการจัดตั้งปาชุมชน โดยการใชงานวิจัยจาวบานในการสํารวจปา สํารวจพันธุพืชหรือ จัดการความรูใหเห็นความสําคัญของปาที่เหลืออยูกอน หลังจากนั้นจึงนําความเชื่อหรือการบวชมาเปนหมายใน พิธีกรรมรวมกันที่จะดูแลอนุรักษปา หรือมาปรึกษาหารือรวมกันในการที่จะจัดตั้งเขตปาชุมชน สําหรับหลายชุมชน ก็ เ ริ่ ม ต น จากป ญ หาน้ํ า ห ว ยแห ง แล ง ป า ไม แ ทบเหลื อ หรื อ เกื อ บหมดไปแล ว มี แ กนนํ า เห็ น ความสํ า คั ญ จึ ง จั ด ปรึกษาหารือถึงความสําคัญของปา บางสวนก็พากันไปศึกษาดูงาน แลวกลับมาประชุมจัดตั้งคณะกรรมการดูแลปา ในชุมชน หลังจากนั้นจึงนําพิธีกรรมความเชื่อทางพุทธศาสนามาประยุกตใชในการบวชปา สวนใหญแลวชุมชนที่ จัดตั้งปาชุมชนโดยการใชการจัดการความรูหรือศึกษาความสําคัญของปาและพันธุพืชพันธุสัตวรวมกันกอนจะ มองเห็นการอนุรักษปาในมุมของการใชประโยชนจากปาแลวตองดูแลรักษาปา ดังคํากลาวที่วา กินจากปาก็ตอง ดูแลปา กินจากน้ําก็ตองดูแลน้ํา สวนชุมชนที่จัดตั้งปาชุมชนโดยไมจัดการความรูรวมกันกอนสวนใหญจะมองเห็น ปาอนุรักษในลักษณะที่ชาวบานไมสามารถเขาไปใชประโยชนอะไรจากปาได ไมมีการแบงเขตและประเภทการหาม ใชหรือการใช คือมองเห็นการอนุรักษเปนเขตหวงหามไวเฉยๆ

239


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

รูปที่ 8 ภาพปาชุมน้ําในหนาน้ําหลากทวม เขตแมน้ําอิง

รูปที่ 9 ภาพปาชุมชนในหนาแลงเขตแมน้ําอิง 3) เรื่องของปลาบึก เปนตัวอยางที่ดีอันหนึ่งในความลมเหลวของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใช เศรษฐกิจเปนตัวนํา แรกเริ่มเดิมทีเมื่อรอยปที่แลวชาวประมงจับปลาบึกโดยขอจากผีลวงผีหลวง จับไดแลวแบงกัน กิ น ทั้ ง หมู บ าน นานมาในยุ ค สมั ย ใหม มี ค านิ ย มที่ กิ น ปลาบึ ก แล ว บอกว า จะฉลาดเหมื อ นขงเบ ง เมื่ อ มี ก ารโหม โฆษณาการทองเที่ยวการจับปลาบึกมีราคาสูงยิ่ง การจับปลาจึงจับเพื่อขาย ในขณะเดียวกันรัฐไทยโดยกรมประมง ได อ อกกฎหมายห า มการจั บ ปลาบึ ก หากจั บ ปลาบึ ก ก็ ต อ งขออาญาบั ต ร และเพื่ อ ให ก รมประมงใช ผ สมเที ย ม เพาะพันธุ เพื่อปลอยลงแมน้ําลําคลองและเขื่อนหรืออางเก็บน้ํา และมีหลายสวนที่สงขายใหบอเลี้ยงปลาบึกในภาค ธุรกิจ โดยที่ชาวประมงถูกบีบถูกลาดวยการจัดการทรัพยากรโดยรัฐมาตลอดจนแทบจะสิ้นไปจากสายน้ําโขง ทวา ไมเคยมีแนวคิดใหความรูการจัดการปลาบึกแกชาวบานเลย ดวยความกลัวหรือขอกังวลที่วา ปลาบึกเปนปลาที่ใกล

240


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

จะสูญพันธุ จึงมีขอเสนอใหชาวประมงหยุดจับปลาบึกซึ่งมันก็ตรงดี แตการสูญพันธุของปลาใหญอยางปลาบึก หรือ ปลาอื่นๆ ยอมมีปจจัยมาจากหลายสาเหตุ

รูปที่ 10 ภาพปลาบึกที่จับไดเพียงหนึ่งตัวในป พ.ศ. 2552 ในรูปผูสื่อขาวชาวญี่ปุนใหความสนใจมาทําขาวเชนทุกป สาเหตุสําคัญเปนอันดับแรกคือ ระบบนิเวศจะตองเอื้อตอปลาบึกดวย ดังนั้นสิ่งที่คิดเปนอันดับแรกคือปลา บึกจะไมหมดไปจากน้ําโขงถาระบบนิเวศไมถูกทําลาย หินผาจะตองเอื้อใหปลาสามารถอยูได อันดับตอมาจะทํา อยางไรใหชาวบานที่เปนนักลาไดกลับมาเปนนักอนุรักษ อนุรักษทั้งปลาบึก อนุรักษทั้งแมน้ําโขง หากินกับปลาบึก หากินกับแมน้ําไดโดยไมแยกคนหาปลาออกจากน้ํา ไมแยกปลาออกจากระบบนิเวศ คนหาปลาอยูได ปลาก็อยูได ระบบนิเวศตองคงอยูดวย ปจจัยเอื้อเหลานี้ มันสัมพันธกันเปนนิเวศวัฒนธรรม โดยความเปนอยูของผูคนกับแมน้ํา ไมสามารถแยกออกจากกันได เรื่องนี้เปนเรื่องเดียวกันกับการไลคนออกจากปา ฉะนั้นจําเปนตองคิดใหมวา ระบบ นิเวศตองยั่งยืน ตองไมทําลายระบบนิเวศ และตองยกระดับชาวบานใหมีสวนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดย สามารถเขาถึงขอมูลและจัดการความรูไดเองดวย ยกตัวอยางเรื่องขององคความรู ชาวบานมีความรูในการจับปลาบึกแตในดานการอนุรักษจะทําอยางไร ตองใหชาวบานเขามามีบทบาทในสวนนี้ดวย การที่กรมประมงใหชาวบานจับปลาบึกกรมประมงพึ่งชาวบาน ไปเอา ไข เอาน้ําเชื้อ เพื่อมาผสมพันธุซึ่งเปนองคความรูของกรมประมง แตชาวบานไมรูเรื่องนี้เลย ทางกรมประมงตองคิด ใหม ในมุมมองของการลาปลาบึกสุดทายแลวชาวบานถูกเปนผูลา และยังมีการออกอาญาบัตรตั้งแตป พ.ศ. 2533 ซึ่งจริงๆ แลวการลาปลาบึกไมใชลากันตลอดป จะลากันเฉพาะปลายเดือนเมษายน – เดือนพฤษภาคมเทานั้น เพราะถาเลยชวงนี้ไปปลาจะไมขึ้นชองเดิมและก็ไมสามารถจับได กรมประมงตองคิดใหม โดยไมเอาชาวบานออก จากแมน้ําโขง แตตองใหชาวบานอยูกับแมน้ําโขง เปดใหมีการจับปลาในรูปแบบเพื่อการศึกษาและผสมเทียมได แลวคอยปลอยลงสูแมน้ําโขง ซึ่งทําใหเกิดวงจรในการอนุรักษอยางยั่งยืน ไดทั้งผลประโยชน ไดทั้งหนาตาและได ดูแลแมน้ําโขง เพราะชาวบานรูวาถาทําลายระบบนิเวศปลาก็ไมสามารถอยูได ตองยกระดับชาวบานโดยผาน งานวิจัยวา เราอยูกินกันมาอยางไร ใหเขาเขาใจระบบนิเวศวัฒนธรรม เพื่อนําไปสูการจัดการอยางยั่งยืน

241


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ในปจจุบันถาพูดถึงปลาบึกทุกคนจะนึกถึงเชียงของ แตจะทําอยางไรใหมันไดทั้งการทองเที่ยว ไดทั้ง การศึกษา เปลี่ยนทาลาใหกลายเปนทาทองเที่ยว สรางพิพิธภัณฑขึ้นและจางชาวบานที่เปนนักลาเขาไปทําใหมัน เกิดความสมบูรณในการเปนวิทยากร นี่เปนตัวอยางของแนวคิดการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยผานกรณีศึกษา การจับปลาบึกเปนตัวชี้ใหเห็นถึงการจัดการที่ถูกตอง ซึ่งตองใชฐานของชุมชนเปนตัวกําหนดไมใชใชฐานความคิด ขางนอกกําหนดขางใน แลวนําความรูของคนในชุมชนมารวมกัน วิเคราะหสังเคราะหสรุปรวมกันเปนองคความรู รวม แลวผสานกับความรูจากขางนอกที่สอดคลองกับฐานความรูรวมนี้เปนการตอยอด แลวพัฒนาลงมือปฏิบัติการ แลวนํากลับมาทบทวนบทเรียน เพื่อแกไขปญหาอุปสรรคและตอยอดสิ่งที่ทําไดดีใหดียิ่งขึ้น นี่คือการจัดการความรู แบบมีสวนรวมในแนวทางนิเวศวัฒนธรรม ซึ่งการทํางานที่ผานมาของเครือขายฯ ไดทํางานจัดการความรูโดยมี ยุทธศาสตรการทํางานที่สําคัญและสอดคลองกับเรื่องนิเวศวัฒนธรรมดังนี้ 1) การคนหาและสรางสํานึกทองถิ่นดานทรัพยากรธรรมชาติตองลดกระแสการพึ่งพาปจจัยภายนอกที่ สนับสนุนโดยนโยบายของรัฐ จํากัดการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานที่สงผลกระทบตอระบบนิเวศและวัฒนธรรมทองถิ่น ยกระดับองคความรูทองถิ่นในทุกดานเปนหลักสูตรการศึกษาทองถิ่น โดยเด็กและเยาวชนไดมีโอกาสเรียนรูกอน การเรียนรูการศึกษาภาพกวางของสังคม 2) การสรางรูปธรรมในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมทองถิ่น ตองสนับสนุนใหทองถิ่น กํ า หนดแผนและพื้ น ที่ ก ารอนุ รั ก ษ พื้ น ที่ แ สดงผลงานทางวั ฒ นธรรมท อ งถิ่ น ทั้ ง ในด า นความคิ ด และรู ป ธรรม ศิลปวัฒนธรรม โดยทั้งหมดเริ่มจากกระบวนการการมีสวนรวมของคนในทองถิ่น 3) การเคารพในความหลากหลาย ตองยอมรับวาประเทศไทยเกิดจากการรวมตัวกันของคนในแตละ ทองถิ่นหลากหลายกลุมชาติพันธุ คนทองถิ่นตองไดรับการสนับสนุนใหเขามีสวนรวมในการกําหนดนโยบายใน ระดับชาติและนานาชาติอยางแทจริง 4) การเคารพตอความเปนคนทองถิ่นและการเทาเทียมกันของมนุษย ใหความสําคัญของคนทองถิ่นในการ เขาถึงขอมูลขาวสารอยางเทาเทียม ทั้งในนโยบายที่มีผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม อยางไรก็ตาม ตองยอมรับวา ปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในลุมน้ําโขงอันกวางใหญ เปนปญหารวมกันของคน ทุกคน ชุมชนทุกชุมชนในลุม น้ําโขง การสานความรูและสานคนของแตละชุมชนทองถิ่นรวมกัน เพื่อจะรวมกันใน การแกไขปญหาที่เกิดมีในลุมน้ําโขงและเพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน ในลักษณะสภาประชาชนแมน้ํา โขง เพื่อเปนตัวแทนคนแตละชุมชนทองถิ่นในการทํางานดานนโยบายและอื่นๆ ทั้งนี้ ทีผ่ านมาเครือขายชาวบานใน ริมแมน้ําโขงภาคเหนือและอีสาน รวมทั้งเครือขายชาวบานในภาคกลางและใตไดมารวมกันสรางรูปธรรมในการ แกไขปญหาและการพึ่งพากันเองในเรือ่ งการพังทลายของฝงโขง ซึ่งมีสาเหตุมาจากปญหาของเขือ่ นและการระเบิด เกาะแกงในเดือนเม.ย. พ.ศ. 2552 ที่ผานมา และเพื่อเปนของขวัญถึงรัฐบาลไทย องคการสหประชาชาติ และ รัฐบาลจีน1 การรวมกันปกหลัก เสริมดิน ปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง ณ บานปากอิงใต อําเภอเชียงของ จังหวัด เชียงราย ในวันที่ 25 – 27 เมษายน พ.ศ. 2552 ครั้งนี้ ถือเปนการปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนการทํางานรวมกัน ซึ่ง จะสานกาวยางตอไปเปนสภาประชาชนลุมน้าํ โขงไดในอนาคต นอกจากนี้ไดเริ่มการประชุมกับตัวแทนชุมชนใน 85 ตําบล 6 จังหวัด ริมแมน้ําโขงในภาคอีสานดวยแลว ซึ่งสวนใหญเห็นดวยวา การจัดการความรูแบบมีสวนรวมในเรื่องนิเวศวัฒนธรรมแลวมารวมกันในประเทศไทยกอน 1

ดูรายละเอียดไดในเอกสารแนบหมายเลข 1

242


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

แลวนําเสนอในระดับนโยบายผานไปทางรัฐวา ประชาชนชุมชนริมฝงโขงตองการอะไร อยางไร? แลวคอยขยับให องคกรโลกบาลหันกลับมามองคนริมฝงโขงตอไป

ขอเสนอเบื้องตนตอรัฐไทยและองคกรขามชาติ 1. ขอเสนอตอรัฐชาติ

ถึงเวลาแลวที่รัฐชาติและองคกรของรัฐตองเรียนรูใหเกียรติและเคารพในคนและในความรูของคนในชุมชน ทองถิ่นตางๆ ซึ่งอยูในสถานะชายขอบของประเทศมาตลอด ตองเขาใจและจัดการปญหาหรือการสรางโครงการ พัฒนาตางๆ บนพื้นฐานของการใหเกียรติชุมชนทองถิ่น มีความโปรงใส และมีสวนรวมจากชุมชนทองถิ่น ในทุก ระดับขั้นตอน รัฐตองมุงสงเสริมการจัดการความรูแบบมีสวนรวมในเรื่องนิเวศวัฒนธรรม พรอมสงเสริมพัฒนาตอยอด ตามผลและแนวทางจากการวิจัยหรือจากการจัดการความรูรวมกันของชุมชนทองถิ่น, องคกรทองถิ่น และเครือขาย ชาวบานที่ทํางานในแนวทางการฟนฟูนิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นบนฐานการจัดการความรูรวมโดยตรง เพราะนิเวศ วัฒนธรรมคือจุดรวมสําคัญที่ทําใหชุมชนทองถิ่นสามารถพึ่งพิงและยืนอยูได นอกจากนี้ยังเปนที่มาของความมั่นคง ทางอาหารซึ่งเปนอธิปไตยของคนและของรัฐแบบหนึ่ง เปนความมั่นคงที่เชื่อมรอยกับความมั่นคงของดินแดนดวย ซึ่งเมื่อเชื่อมกับพื้นที่ตั้งทางกายภาพของแมน้ําโขงแลว รัฐไทยควรทําความเขาใจในการสนับสนุนชุมชนชายแดนมี ความเขมแข็งในทุกๆ ดาน เพื่อเตรียมพรอมรับมือกับกระแสจีนานุวัฒนที่เขามามีอิทธิพลในภูมิภาคลุมน้ําโขง รวมทั้งกระแสโลกาภิวัตนที่กระจายไปทั่วโลกแลวดวย เพราะหากชุมชนทองถิ่นชายขอบหรือชุมชนทองถิ่นทั่วไทย มีความเขมแข็งก็สงผลใหความมั่นคงของรัฐชาติเขมแข็งดวย 2. ขอเสนอขามรัฐหรือองคกรขามชาติ

เมื่อแมน้ําโขงเปนแมน้ํานานาชาติ การกระทําใดๆ ในเขตอธิปไตยของรัฐใดก็สามารถกระทําได ตราบ เทาที่ไมสงผลกระทบตอชุมชนทองถิ่นและรัฐชาติอื่นๆ และการกระทําใดๆ ตอแมน้ําโขงของรัฐชาติใดตองฟงเสียง และให เ กี ย รติ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น และรั ฐ ชาติ อื่ น ด ว ย นอกจากนี้ องค ก รข า มชาติ ใ นแม น้ํ า โขงและระดั บ โลก เช น คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC), ความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง (GMS), กลุมความรวมมือ ทางเศรษฐกิจอิรวะดี-เจาพระยาและแมน้ําโขง (ACMEC) หรือองคการสหประชาชาติ จําเปนตองมีความรวมมือหรือ ตัวกลางในการสานการจัดการผลประโยชนของรัฐชาติตางๆ ในลุมน้ําโขงที่เทาเทียมกัน โดยคํานึงถึงตนทุนของ ทรัพยากรธรรมชาติ วัฒนธรรมและชุมชนทองถิ่นตางๆ ในลุมน้ําโขงที่ตองสูญเสียและไดรับผลกระทบจากการ พั ฒ นาและยุ ท ธศาสตร ค วามร ว มมื อ ที่ เ ล็ ง แต ผ ลประโยชน ข องกลุ ม ทุ น รั ฐ กลุ ม ทุ น ข า มชาติ หรื อ เล็ ง ผลได แ ต เศรษฐกิจการเมืองกระแสหลักเพียงอยางเดียว แลวผลักภาระตนทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมให ชุมชนทองถิ่นไปใหประชาชนคนยากคนจนหรือคนชายขอบ เพราะในแตละรัฐ –ชุมชนทองถิ่นหรือชาวบานทั่วไปก็ ไมมีสิทธิ์เสียงในการตัดสินใจในระดับนโยบายของแตละรัฐหรือระดับขามรัฐอยูแลว ฉะนั้นการสงเสริมประชาธิปไตย แบบมีสวนรวมจึงเปนสิ่งสําคัญยิ่งยวดที่ตองใหเกิดขึ้นเปนวัฒนธรรมการทํางานแบบประชาธิปไตยที่แทจริงโดย มุงเนนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใชนิเวศวัฒนธรรมเปนตัวนํา

243


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

บทสรุป การพัฒนาหรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ใชเศรษฐกิจนําของไทยและโลก สรางความสูญเสียอยาง มหาศาลตอทรัพยากรธรรมชาติ สังคม ตลอดมา โดยภาระและตนทุนความทุกขยากตกอยูกับชาวบานในชุมชน ทองถิ่นตางๆ ดังกรณีลุมน้ําโขงในเขตภาคเหนือของไทย หรือพื้นที่ลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง เชน โครงการระเบิดแกงแมน้ําโขงเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญ โครงการสรางเขื่อนในแมน้ําโขงตอนบน ทําให วงจรขึ้น-ลงของน้ําไมเปนไปตามฤดูกาล ระบบนิเวศแมน้ําโขงถูกทําลาย พันธุปลาพันธุพืชลดลง ตลิ่งแมน้ําโขง พังทลาย สันดอนเกิดใหมจนรองน้ําลึกเปลี่ยนไป หนาแลงน้ําแลงผิดปกติ หนาน้ําหลากทวมทันทีทันใดอยาง รวดเร็วจากการเปดเขื่อน เชน เหตุการณใน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2551 ซึ่งประเมินคาเสียหายเบื้องตนไดไมต่ํากวา 85 ลานบาท จากผลกระทบและสถานการณการเปลี่ยนแปลงดังกลาว ทําใหชาวบานและชุมชนทองถิ่นปรับสูรณรงคให ทบทวนโครงการตางๆ เชน โครงการระเบิดแกงแมน้ําโขงตองชะลอโครงการไวแคสามเหลี่ยมทองคํา นอกจากนี้ ชาวบานยังตองปรับตัวโดยการใชงานวิจัยจาวบานหรือการจัดการความรูแบบมีสวนรวม เพื่อคนหาจุดรวมหรือ พื้ น ที่ ร ว มหรื อ องค ค วามรู ร ว มในเรื่ อ งนิ เ วศวั ฒ นธรรม แล ว นํ า มาพั ฒ นาต อ ยอดสร า งรู ป ธรรมในการจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม เชน การบวชวังสงวนจัดตั้งเปนเขตอนุรักษพันธุสัตวน้ํา การบวชปาพรอมจัดตั้ง เขตปาชุมชนและปาชุมน้ํา การเลี้ยงวัวเพื่อจัดการไฟปาและการผสมเทียมปลาพื้นบานเพื่อการปลอยลงแมน้ําโขง และเพื่อสรางรายไดเสริม นอกจากนี้ ชาวบ า นในชุ ม ชนท อ งถิ่ น พื้ น ที่ ลุ ม น้ํ าอิ ง -กก ตอนปลายและชายฝ ง โขง ได ร วมตั ว กั น เป น เครือขายที่ชื่อวา เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา ในการจัดกระบวนการสาน ความรู สานคน คนควาทํางานในการฟนฟูชุมชนทองถิ่นและเพื่อสานตอไปยังภาคอื่นๆ รวมทั้งในตางประเทศ ใน อนาคตที่จะจัดตั้งเปนประชาชนลุมน้ําโขง โดยสรุปแลวการพัฒนาหรือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืน เปนกระบวนการจัดการจากภายในตัว คน และชุมชนทองถิ่น ผสานกับปจจัยภายนอก ใหสามารถเขาใจอดีต เทาทันปจจุบัน และเชื่อมโยงอนาคต โดย การจัดการความรูแบบมีสวนรวม เพื่อคนหาจุดรวมหรือการอยูรวมกันของคนกับธรรมชาติ คนกับคน และคนกับสิ่ง เหนือธรรมชาติ เพื่อใหการอยูรวมกันอยางเปนธรรมและสันติ โดยการเคารพซึ่งกันและกัน ป จ จั ย ภายนอกโดยเฉพาะรั ฐ ต อ งเคารพแล ว เข า ใจและตระหนั ก รวมทั้ ง ส ง เสริ ม สิ ท ธิ ชุ ม ชนท อ งถิ่ น สนับสนุนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมโดยใชองคความรูนิเวศวัฒนธรรมเปนตัวนํา แกชุมชน ทองถิ่นใหทั่วถึงและตอเนื่อง ในขณะเดียวกันรัฐตองปกปองชุมชนทองถิ่นใหปราศจากผลกระทบดานลบของการ พัฒนาที่ใชเศรษฐกิจเปนตัวนําจากนโยบายของรัฐ จากนโยบายขององคกรรัฐขามชาติ จากองคกรโลกบาลตางๆ กลาวโดยเฉพาะประเด็นแมน้ําโขง รัฐไทยตองกระตือรือรนและสนับสนุนชุมชนทองถิ่นในการสานองค ความรูรวมในเรื่องนิเวศวัฒนธรรม แลวแสดงบทบาทเปนตัวของตัวเองในการปกปองการกระทําใดๆ ที่กระทบตอ นิเวศวัฒนธรรม-ความมั่นคงทางอาหารของชุมชนทองถิ่นซึ่งเชื่อมโยงกับความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งรวมผลักดัน วาระการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใชนิเวศวัฒนธรรมเปนตัวนําในเวทีระดับภูมิภาคลุมน้ําโขง และในเวทีโลก 244


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

ทายที่สุดนี้ บทความเรื่อง ‘นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ําโขง กรณีพื้นที่ แมน้ําของ-ลานนา’ ของกลุมรักษเชียงของ ไดนําเสนอสถานการณปญหาและผลกระทบ รวมทั้งบทเรียนขอสรุปและ ขอเสนอที่ควรทําความเขาใจ ผานมุมมองทางดานนิเวศวัฒนธรรมทองถิ่น ซึ่งกลั่นกรองมาจากการทํางานวิจัยจาว บาน การทํางานวิจัยเพื่อทองถิ่น เอกสารเผยแพร และจากการปฏิบัติจริงในการทํางานฟนฟูชุมชนทองถิ่น เพื่อการ แลกเปลี่ยนเรียนรู และนําไปปฏิบัติจริง ตอยอดไดในอนาคต รวมทั้งหวังวา เพื่อจะแสวงหาหนทางการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เปนธรรมและยั่งยืน เพื่อจะนําไปสูการอยูรวมกันอยางสันติของคนในทุกสังคม ในทุกประเทศ และในโลก

กิตติกรรมประกาศ บทความนี้ถือไดวาเปนขอสรุปเบื้องตนในเรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติโดยใชนิเวศวัฒนธรรมของ เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา ผูเขียนใชปญญาเทาที่มีจารึกออกมาเทาที่ ความสามารถและเวลาเอื้ออํานวย โดยหวังวา ตอไปภายหนาปญญาจะเพิ่มพูนขึ้นตามเวลา ผูเขียนขอขอบคุณ ชาวบาน และผูนําทองถิ่นทุกๆ คนที่ไดรวมทุกขรวมสุขกันในการทํางานตลอดเกือบสิบปที่ผานมา ขอขอบคุณอยาง ยิ่งตอเกาะแกง หินผา หาด คก หลง และระบบนิเวศทั้งดินน้ําปาที่ใหกําเนิดชีวิต ขอบคุณฝูงปลาที่ใหอาหารแกพวก เราตลอดมา ขอบคุณขาวทุกเม็ดจากฝมือของชาวนาในชุมชนที่สงเสบียงขาวใหพวกเรา ขอขอบคุณพิเศษ อาจารยนักวิชาการหลายทานที่เดินทางมาเยี่ยมเยียนแลวสอนวิชาระเบียบวิจัยแกพวก เราจนสามารถจัดการระบบความรูทองถิ่นไดบาง โดยเฉพาะอาจารยศรีศักร วัลลิโภดม และทีมงานของทาน ที่เคย ไดไปใหความรูแกพวกเราในงานวิจัยเพื่อทองถิ่น ในชวงป พ.ศ. 2546 – 2547 ขอขอบคุณเพื่อนพองนองพี่ทั้ง สื่อมวลชน นักกิจกรรม นักเขียนและศิลปนที่ใหกําลังใจพวกเราตลอดมา สุดทายขอขอบคุณเพื่อนรวมงานทุกคนในสํานักงานเครือขายฯ ของเรา ที่นําใจและความรูมาทํางาน รวมกันอยางไมเคยยอทอ และทํางานดวยความสุขกันเสมอมา แมเราจะยากไรเงินตรา

เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษย กลุมรักษเชียงของ พ.ค. 2552 ริมฝงแมน้ําโขง-เวียงเชียงของ

เอกสารอางอิง กลุมนักวิจัยทองถิ่นเชียงของเวียงแกน, 2547. รายงานการศึกษาวิจัยประวัติศาสตรทองถิน่ เชียงของ เวียงแกน: สังคมชายขอบทามกลางการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจการเมืองในอนุภูมิภาคลุมน้ํา โขง. โครงการศึกษาประวัติศาสตรโบราณคดีและชาติพันธุ สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 245


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

คณะวิจัยชาวบานเชียงของ-เวียงแกน, 2547. แมน้ําโขง: แมน้ําแหงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม. เชียงใหม: วนิดาเพรส (เครือขายแมน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต โครงการแมน้ําและชุมชน). คณะวิจัยชาวบานเชียงของ-เวียงแกน, 2549. ความรูทอ งถิน่ เรื่องพันธุปลาแมน้ําโขง. เชียงใหม: วนิดาเพรส (โครงการแมนา้ํ เพื่อชีวิต เครือขายแมน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต กลุมรักษเชียงของ เครือขายอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา). นพรัตน ละมุล บรรณาธิการ, 2548. จากสิบสองปนนาถึงหาดบาย หาดทรายทอง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพ พิมพ. (กลุมรักษเชียงของเครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา). นพรัตน ละมุล บรรณาธิการ, 2547. ทางเลือกแมน้ําโขง: การคาที่เปนธรรมและไมระเบิดแกง. กรุงเทพฯ : แซทโฟพริ้นติ้ง. (กลุมรักษเชียงของ เครือขายอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุม น้ําโขง-ลานนา โครงการแมน้ําและชุมชน). นพรัตน ละมุล, 2549. แมโขงโพสต: สวัสดีเชียงของ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ. นพรัตน ละมุล, 2549. แมโขงโพสต: เลยไปเลย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ. นพรัตน ละมุล, 2549. แมโขงโพสต: คิดถึงปลาบึก. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ. นพรัตน ละมุล, 2549. แมโขงโพสต: มรดกโลกเชียงแสน เวียงเกา vs เอฟทีเอ. 176 หนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ ภาพพิมพ. นพรัตน ละมุล, 2549. แมโขงโพสต: ออมอกแมอิง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ. ประเสริฐ ณ นคร, 2521. มังรายศาสตร. กรุงเทพ: แสงรุง การพิมพ. สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา, 2549. บทความสายน้ําของวัยเยาว. ใน วุฐิศาสนติ์ จันทรวิบูล, จากธิเบตถึงทะเลจีนใต 26 นักเขียนกับเรื่องเลาถึงแมน้ําโขง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพภาพพิมพ.

246


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

สุภาพร นิภานนท บรรณาธิการ, 2546. คอนผีหลง: บานของปลา พืชพันธุและผูคนแหงลําน้ําของ. กรุงเทพฯ: แซทโฟพริ้นติง้ (กลุมรักษเชียงของ โครงการแมน้ําและชุมชน เครือขายอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา). ศูนยสํารวจอุทกวิทยาที่ 12 เชียงแสน สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 1 กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอม, 2551. บรรยายสรุประดับน้ําอัตโนมัติแมน้ําโขง (AHNIP). Oasawa, K. Li, K. Deetes, P. and Higashi S. , 2003. Lancang-Mekong: A River of Controversy. International Rivers Network Mekong Watch Southeast Asia Rivers Network.

247


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ภาคผนวก จดหมายเปดผนึก เนื่องในโอกาสงานรวมพลังปกหลัก เสริมดิน ปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง ณ บานปากอิงใต อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในวันที่ 25 – 27 เมษายน 2552

248


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

ของขวัญถึงรัฐบาลไทย หมายเลข 1 กอนจะเปนของขวัญ เกือบสองทศวรรษที่ผานมา ทามกลางกระแสการพัฒนาของประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขง ซึ่งประกอบดวย จีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา และ เวียตนาม มีโครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นมากมาย เชน โครงการสราง เขื่อนในแมน้ําโขงตอนบนของจีนยูนนานจํานวน 8 เขื่อน (สรางเสร็จและเปดใชแลว 3 เขื่อน) โครงการระเบิดเกาะ แกงในลําน้ําโขงเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญ โครงการเขตการคาเสรีอาเชียน-จีน ฯลฯ โครงการพัฒนา เหลานี้สรางผลกระทบตอชีวิตของคนในชุมชนทองถิ่นริมฝงแมน้ําโขงอยางมหาศาล โดยเฉพาะในเขตแมน้ําโขง ภาคเหนือของไทย อ.เชียงแสน อ.เชียงของ อ.เวียงแกน จ.เชียงราย กระแสน้ําในลําน้ําโขงเปลี่ยนแปลงไปเพราะ การเปดปดเขื่อนของจีนเพื่อการเดินเรือพาณิชยของจีนไดขึ้นลงคาขาย ทั้งเพื่อการปลอยน้ําจากภาวะน้ําทวมในเขต หนาเขื่อนของจีน นอกจากนี้กระแสน้ําที่เปลี่ยนทางหลังจากระเบิดเกาะแกงเหนือสามเหลี่ยมทองคําขึ้นไปยังทําให สายน้ําไหลแรงจนผืนดินสองฝงโขงพังทลายไปปละหลายสิบไร ทั้งหมดนี้ทําใหวิถีชีวิตคนริมฝงโขงแทบลมสลาย เพราะปริมาณพันธุปลาลดลง พื้นที่เกษตรริมฝงโขงถูกน้ําทวม จนความมั่นคงทางอาหารและผืนดินริมฝงสูญสลาย บางชุมชนผูคนตองอพยพไปหากินตางถิ่น หลายชุมชนตองเปลี่ยนอาชีพ กลาวสําหรับ เหตุการณเมื่อวันที่ 9-15 สิงหาคม 2551 เกิดน้ําทวมหนักที่สุดในรอบสี่สิบปในเขตแมน้ําโขงอิงและกกตอนปลาย สาเหตุหลักมาจากการเปดเขื่อนในจีนอยางฉับพลัน เพราะน้ําทวมหนักหนาเขื่อนจนมีรายงาน ขาวของทางการจีนวา มีผูเสียชีวิต 40 คน และผูคนหลายแสนคนตองอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย ดวยเหตุนี้น้ําจึง ทวมฉับพลันเพียงในวันเดียวเกือบสองเมตร น้ําโขงหนุนเขาสูแมน้ําอิงและกกซึ่งเปนแมน้ําสาขาลึกเขาไปเกือบ 30 กิโลเมตร กอผลใหพื้นที่เกษตร สัตวเลี้ยง บานเรือนและผืนแผนดินชายฝงเสียหายอยางมหาศาล หลังน้ําลดลงใน วันที่ 15 สิงหาคม 2551 สํารวจผลกระทบประเมินคาความเสียหายเบื้องตนเปนเงินไมต่ํากวา 85 ลานบาท หลังจากน้ําทวมใหญแลวเครือขายชาวบานในแมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงไดรวมกันฟนฟูชุมชน ทองถิ่นริมน้ําโขงตามกําลังที่พอมี ทั้งการฟนฟูอาชีพ กองทุนเมล็ดพันธุและสัตวเลี้ยง อยางไรก็ตาม สําหรับแผนดิน ไทย-ผืนดินริมฝงโขงไดสูญเสียไปกับกระแสน้ําโขงอยางมากเชนที่บานหวยลึก และบานปากอิงใต การเขามา ชวยเหลือของหนวยงานรัฐเปนไปอยางลาชา ดวยความกังวลและดวยความรักผูกพันที่มีตอแผนดินเกิดจึงทําให เครือขายชาวบานลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และเครือขายอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา ไดรวมพลังปกหลัก เสริมดิน ปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง ณ บาน ปากอิงใต อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในวันที่ 25 – 27 เมษายน 2552 นี้ โดยมีเครือขายชาวบานจากเครือขายรักทะเลกรุงเทพฯ และสิ่งแวดลอมบางขุนเทียน เครือขายคนไทย พลัดถิ่น จ.ระนอง จ.ประจวบคีรีขันธ เครือขายสิทธิคนจน จ.ภูเก็ต เครือขายชุมชน จ.พังงา เครือขายผูไดรับ ผลกระทบจากเหมืองทองพิจิตร เครือขายฟนฟูลุมน้ําทะลสาบสงขลา เครือขายผูไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อน บานกุม เครือขายฟนฟูเกาะลันตา กลุมฮักบานเฮาพะเยาเมืองนาอยู เครือขายชุมชนศรัทธาจ.ชายแดนใต เครือขาย ผูประสบภัยสึนามิ เครือขายองคกรชุมชนเมืองเชียงใหม เครือขายองคกรชุมชนเมืองอุบล กลุมรักสิทธิลุมน้ําโขง และโครงการแมน้ําเพื่อชีวิต ไดมารวมแรงรวมใจกันในการสรางแนวปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง เพื่อเปนพลังการ พึ่งตนเองของคนเล็กคนนอยซึ่งไมเคยไดรับการเอาใจใสอยางจริงจังจากรัฐบาล และเพื่อเปนของขวัญปใหมลานนา 249


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ถึงรัฐบาลไทยในการที่จะรับของขวัญนี้อยางตระหนักรูและหันมาใสใจในชุมชนทองถิ่นริมฝงโขงซึ่งถูกกระทําจาก นโยบายพัฒนาในประเทศลุมน้ําโขง ของขวัญถึงรัฐบาลไทย หมายเลข 1 ของขวัญถึงรัฐบาลไทยในครั้งนี้ ขอมอบใหเพื่อเปนอนุสรณเตือนใจวา ถึงเวลาแลวที่รัฐบาลไทย โดยเฉพาะ รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ตองตระหนักและหันกลับมาทบทวนแนวนโยบายและการทํางานชวยเหลือชุมชน ทองถิ่นซึ่งไดรับผลกระทบจากนโยบายการพัฒนาของประเทศในลุมน้ําโขง เพราะชุมชนทองถิ่นเปนรากฐานความ มั่นคงของประเทศ หากแผนดินและวิถีชีวิตคนชายขอบริมฝงแมน้ําโขงลมสลายแลวประเทศชาติจะอยูไดอยางไร นโยบายการพัฒนาในประเทศลุมน้ําโขงที่ผานมาเปรียบไดดั่งการปลอยใหประเทศชาติสูญเสียอธิปไตยทางอาหาร แลวและกําลังนํามาซึ่งการสูญเสียอธิปไตยแหงรัฐ นอกจากนี้ ของขวัญชิ้นนี้มอบใหเพื่อเตือนสติวา ตอจากนี้รัฐบาลไทยตองมีนโยบายและแผนพัฒนาที่ให เกียรติคนยากคนจน คนชายขอบ เคารพและสนับสนุนชุมชนทองถิ่นในทุกที่ของประเทศไทยใหมีความเขมแข็ง โดยเฉพาะเมื่อเครือขายชาวบานหรือชุมชนทองถิ่นไดรวมตัวกันพึ่งตนเองดวยลําแข็งลําขาของคนเล็กคนนอยแลว จําเปนที่รัฐบาลตองหนุนเสริมชุมชนทองถิ่นเหลานั้น โดยไมใชมีเพียงแนวนโยบายที่ใหสิทธิพิเศษและโอกาสแต เพียงองคกรภาคทุนเศรษฐกิจหรือองคกรทุนขามรัฐแตเพียงดานเดียว แนวนโยบายและการทํางานของรัฐบาลไทย ตอจากนี้ไปตองอยูบนพื้นฐานของการเคารพตอธรรมชาติและมีความเทาเทียมตอมนุษย เพราะการพัฒนาที่เคารพ ธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษยเทานั้นจะนํามาซึ่งความสงบสุข ความมั่นคงของประเทศชาติ เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษยชาติ

250


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

ของขวัญถึงองคการสหประชาชาติ หมายเลข 1 กอนจะเปนของขวัญ แมน้ําโขงคือแมน้ํานานาชาติของ 6 ประเทศ คือจีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียตนาม ทุกประเทศมี สิทธิในการใชประโยชนจากแมน้ําอยางเทาเทียมกันโดยไมริดรอดสิทธิของประเทศอื่น อีกทั้งมีหนาที่ตองพิทักษ รักษาดูแลแมน้ําโขงใหสามารถใชรวมกันอยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม ในเกือบสองทศวรรษที่ผานมา ทามกลางกระแสการพัฒนาของประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขง ไดมีโครงการพัฒนาทางเศรษฐกิจเกิดขึ้นมากมาย ซึ่งโครงการสวนใหญถูกผลักดันอยางหนักจากรัฐบาลจีนที่มุงการ พั ฒ นาในเขตตะวั น ตกคื อ ยู น นาน และต อ งการเป ด ประเทศรุ ก ด า นตลาดเศรษฐกิ จ ลงทางใต คื อ อาเซี ย น โดย โครงการที่ผลักดันโดยจีนสวนใหญไดละเลยและลิดรอนสิทธิของประเทศปลายน้ํา นอกจากนี้ยังมุงเนนแตดาน เศรษฐกิจที่ตักตวงทรัพยากรธรรมชาติจากประเทศอื่นๆ ในลุมน้ําโขง โดยละเลยการพิทักษรักษาใหแมน้ําโขงมีการ ใชอยางยั่งยืน ทั้งนี้รัฐบาลจีนมองวา แมน้ําโขงตอนบนตั้งแตธิเบตถึงสิบสองปนนาเปนเขตอธิปไตยของจีน รัฐบาล จีนสามารถกระทําการใดๆ ก็ได โครงการที่มีผลกระทบอยางหนักตอคนทายน้ํา โดยเฉพาะในเขตประเทศไทย อ.เชียงแสน จ.เชียงของ อ.เวียงแกน จ.เชียงราย เชน โครงการสรางเขื่อนในแมน้ําโขงตอนบนของจีนยูนนานจํานวน 8 เขื่อน (สรางเสร็จ และเปดใชแลว 3 เขื่อน) โครงการระเบิดเกาะแกงในลําน้ําโขงเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญ โครงการเขต การคาเสรีอาเชียน-จีน และโครงการเขื่อนแมน้ําโขงตอนลางซึ่งกําลังพัฒนาอยูอีก 11 แหง ฯลฯ โครงการพัฒนา เหล านี้ ส ร า งผลกระทบต อ ชี วิ ต ของคนในชุ ม ชนท อ งถิ่ น ริ ม ฝ ง แม น้ํ า โขงอย า งมหาศาล กระแสน้ํ า ในลํ าน้ํ า โขง เปลี่ยนแปลงไปเพราะการเปดปดเขื่อนของจีนเพื่อการเดินเรือพาณิชยของจีนไดขึ้นลงคาขาย ทั้งเพื่อการปลอยน้ํา จากภาวะน้ํ า ท ว มในเขตหน า เขื่ อ นของจี น นอกจากนี้ ก ระแสน้ํ า ที่ เ ปลี่ ย นทางหลั ง จากระเบิ ด เกาะแก ง เหนื อ สามเหลี่ ยมทองคํ าขึ้น ไปยั งทํ าให สายน้ําไหลแรงจนผื นดิน สองฝงโขงพั งทลายไปป ละหลายสิบ ไร อี กปริ มาณ พันธุปลาลดลง พื้นที่เกษตรริมฝงโขงถูกน้ําทวม จนความมั่นคงทางอาหารและผืนดินริมฝงสูญสลาย บางชุมชน ผูคนตองอพยพไปหากินตางถิ่น หลายชุมชนตองเปลี่ยนอาชีพ ทั้งหมดนี้ทําใหวิถีชีวิตคนริมฝงโขงแทบลมสลาย กลาวสําหรับ เหตุการณเมื่อวันที่ 9-15 สิงหาคม 2551 เกิดน้ําทวมหนักที่สุดในรอบสี่สิบปในเขตแมน้ําโขงอิงและกกตอนปลาย สาเหตุหลักมาจากการเปดเขื่อนในจีนอยางฉับพลัน เพราะน้ําทวมหนักหนาเขื่อนจนมีรายงาน ขาวของทางการจีนวา มีผูเสียชีวิต 40 คน และผูคนหลายแสนคนตองอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย ดวยเหตุนี้น้ําจึง ทวมฉับพลันเพียงในวันเดียวเกือบสองเมตร น้ําโขงหนุนเขาสูแมน้ําอิงและกกซึ่งเปนแมน้ําสาขาลึกเขาไปเกือบ 30 กิโลเมตร กอผลใหพื้นที่เกษตร สัตวเลี้ยง บานเรือนและผืนแผนดินชายฝงเสียหายอยางมหาศาล หลังน้ําลดลงใน วันที่ 15 สิงหาคม 2551 สํารวจผลกระทบประเมินคาความเสียหายเบื้องตนเปนเงินไมต่ํากวา 85 ลานบาท หลังจากน้ําทวมใหญแลวเครือขายชาวบานในแมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงไดรวมกันฟนฟูชุมชน ทองถิ่นริมน้ําโขงตามกําลังที่พอมี ทั้งการฟนฟูอาชีพ กองทุนเมล็ดพันธุและสัตวเลี้ยง อยางไรก็ตาม สําหรับแผนดิน ไทย-ผืนดินริมฝงโขงไดสูญเสียไปกับกระแสน้ําโขงเปนอยางมาก เชนที่บานหวยลึก และบานปากอิงใต การเขามา ชวยเหลือของหนวยงานรัฐไทยเปนไปอยางลาชา ดวยความกังวลและดวยความรักผูกพันที่มีตองแมน้ําโขงซึ่ง เปรียบเหมือนแมผูหลอเลี้ยงชีวิต จึงทําใหเครือขายชาวบานลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงรวมกับองคกร 251


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ปกครองสวนทองถิ่น ไดรวมพลังปกหลัก เสริมดิน ปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง ณ บานปากอิงใต อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในวันที่ 25 – 27 เมษายน 2552 นี้ วันนี้ เครือขายชาวบานจากเครือขายรักทะเลกรุงเทพฯ และสิ่งแวดลอมบางขุนเทียน เครือขายคนไทย พลัดถิ่น จ.ระนอง จ.ประจวบคีรีขันธ เครือขายสิทธิคนจน จ.ภูเก็ต เครือขายชุมชน จ.พังงา เครือขายผูไดรับ ผลกระทบจากเหมืองทองพิจิตร เครือขายฟนฟูลุมน้ําทะลสาบสงขลา เครือขายผูไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อน บานกุม เครือขายฟนฟูเกาะลันตา กลุมฮักบานเฮาพะเยาเมืองนาอยู เครือขายชุมชนศรัทธาจ.ชายแดนใต เครือขาย ผูประสบภัยสึนามิ เครือขายองคกรชุมชนเมืองเชียงใหม เครือขายองคกรชุมชนเมืองอุบล และกลุมรักสิทธิลุมน้ํา โขง ไดมารวมแรงรวมใจกันในการสรางแนวปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง เพื่อเปนพลังการพึ่งตนเองของคนเล็กคนนอย และเปนการตอบแทนความรักตอสายน้ําโขง ตอทรัพยากรธรรมชาติวา ชุมชนทองถิ่นริมฝงโขงและเครือขายองคกร ชุมชนของไทยที่ไดอยูไดกินไดอาบใชจากแมน้ําโขงจะรวมแรงกันพิทักษรักษาใหแมน้ําโขงเปนสายน้ํานานาชาติ ไมใชแมน้ําของประเทศใหญประเทศใด และเพื่อใหยั่งยืนสืบไปชั่วลูกหลาน ของขวัญถึงองคการสหประชาชาติ หมายเลข 1 ของขวัญที่ไดมอบแดองคการสหประชาชาติในครั้งนี้ ขอมอบใหเพื่อเปนอนุสรณเตือนใจวา ถึงเวลาแลวที่ องคกรสหประชาชาติ ตองตระหนักและหันกลับมาทบทวนแนวนโยบายของแตละประเทศในลุมน้ําโขงในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนและเปนธรรม โดยเฉพาะการทํางานชวยเหลือชุมชนทองถิ่นซึ่งไดรับผลกระทบจาก นโยบายการพัฒนาของประเทศในลุมน้ําโขง องคการสหประชาชาติควรเห็นความสําคัญของชุมชนทองถิ่นทั่วโลก ไมใชเพียงแตการใหความสําคัญและการประสานใหเกิดการเชื่อมระหวางองคกรรัฐกับรัฐเทานั้น เพราะแทจริงแลว ชุมชนทองถิ่นเปนรากฐานความมั่นคงของประเทศและของโลก หากแผนดินและวิถีชีวิตคนชายขอบริมฝงแมน้ําโขง ลมสลายแลวทุกประเทศในลุมน้ําโขงจะอยูไดอยางไร หากผลกระทบจากการพัฒนาของรัฐบาลในลุมน้ําโขงดําเนิน ไปเชนปจจุบันนี้เรื่อยไป แลวใครจะไปรูวาสักวันหนึ่งอาจจะเกิดสงครามแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติขึ้นในลุมน้ําโขง อย า งหนั ก ก็ เป น ได การเคารพในสิ ทธิ แ ละไม ริ ด รอนสิ ท ธิข องประเทศต น น้ํ าและปลายน้ํ า รวมถึง การจั ด การ ทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นลุ ม น้ํ า โขงอย า งยั่ ง ยื น และเป น ธรรม คื อ สิ่ ง สํ าคั ญ อย า งยิ่ ง ที่ อ งค ก ารสหประชาชาติ แ ละ นานาชาติควรจะใหความใสใจ เพื่อใหกอเกิดการอยูรวมกันของคนในลุมน้ําโขงและคนในโลกอยางสันติ นอกจากนี้ ของขวัญชิ้นนี้มอบใหเพื่อเตือนสติวา ตอจากนี้องคการสหประชาชาติตองเปนตัวกลางที่มี นโยบายและแผนพัฒนาที่ใหเกียรติคนยากคนจน คนชายขอบ เคารพและสนับสนุนชุมชนทองถิ่นในทุกที่ของโลกให มีความเขมแข็ง โดยเฉพาะเมื่อเครือขายชาวบานหรือชุมชนทองถิ่นไดรวมตัวกันพึ่งตนเองดวยลําแข็งลําขาของคน เล็กคนนอยแลว จําเปนที่รัฐบาลชาติตางๆ และองคการสหประชาชาติตองหนุนเสริมชุมชนทองถิ่นเหลานั้น โดย ไมใชมีเพียงแนวนโยบายที่ใหสิทธิพิเศษและโอกาสแตเพียงองคกรภาคทุนเศรษฐกิจหรือองคกรทุนขามรัฐแตเพียง ดานเดียว แนวนโยบายและการทํางานขององคการสหประชาชาติตอจากนี้ไปตองอยูบนพื้นฐานของการเคารพตอ ธรรมชาติและมีความเทาเทียมกันของมนุษย เพราะการพัฒนาที่เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกัน ของมนุษยเทานั้นจะนํามาซึ่งความสงบสุข ความมั่นคงของประเทศชาติ ของคนในลุมน้ําโขงและของโลกอันเปนที่ รักรวมกันของเรา เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษยชาติ 252


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

ของขวัญถึงรัฐบาลจีน หมายเลข 2 กอนจะเปนของขวัญ เรา-ประชาชนริมฝงโขงประเทศไทยและทาน-รัฐบาลจีนซึ่งมีประชาชนในมณฑลยูนนานและเขตปกครอง พิเศษธิเบตตางอยูรวมลุมน้ําโขงเดียวกัน แมจะใชชื่อตางกันวาหลานซางหรือแมน้ําของหรือโขง แตก็เปนแมน้ํา เดียวกันที่ไหลถึงกันดวยความสัมพันธที่ดีตลอดมา เราและทานก็รูวา แมน้ําโขงคือแมน้ํานานาชาติของ 6 ประเทศ คือ จีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียตนาม และตางก็รูวา ทุกประเทศมีสิทธิในการใชประโยชนจากแมน้ําอยาง เทาเทียมกันโดยไมริดรอดสิทธิของประเทศอื่น อีกทั้งมีหนาที่ตองพิทักษรักษาดูแลแมน้ําโขงใหสามารถใชรวมกัน อยางยั่งยืน อยางไรก็ตาม ในเกือบสองทศวรรษที่ผานมา หลังจากทานไดเปดประเทศเขาสูระบบเศรษฐกิจการตลาด แบบสังคมนิยม ทานไดมุงพัฒนาระบบเศรษฐกิจใหประเทศของทานเจริญรุงเรืองเปนอยางมากจนนับวาเปนผูนํา ของโลกอีกประเทศหนึ่ง ทานเพิ่มการขยายระบบเศรษฐกิจการตลาดมุงสูภาคตะวันตกคือ มลฑลยูนนานใหเจริญ ทัดเทียมกับภาคตะวันออก โดยเฉพาะการพัฒนาในแมน้ําโขง ทานไดลงทุนในการพัฒนาเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา อยางมหาศาลในสายน้ําโขง แมทานจะมองวา แมน้ําโขงตอนบนอยูในพื้นที่ของประเทศทาน เปนอธิปไตยของ ประเทศจีนที่จะสามารถกระทําการใดๆ ก็ได ทวาเมื่อทานก็รูวาสายน้ํายอมไหลจากที่สูงลงสูที่ต่ํา สายน้ําโขงไหล เชื่อมตอกันจนถึงประเทศของเราและประเทศอื่นๆ ทายน้ํา การที่ทานมีแผนการสรางเขื่อนในแมน้ําโขงตอนบน จํานวน 8 เขื่อน (ทราบวาสรางเสร็จและเปดใชแลว 3 เขื่อน) ทานเคยคิดบางไหมวา คนทายน้ําไดรับผลกระทบ รุนแรงเพียงใด? นอกจากนี้ โครงการระเบิดเกาะแกง ในลําน้ําโขงเพื่อการเดิน เรือพาณิชยข นาดใหญลงมาคาขายทาง ตอนลางซึ่งมีทานเปนผูผลักดันหลักนั้น แมจะชะลอโครงการไวเพียงแคสามเหลี่ยมทองคํา ทวาผลกระทบที่ตามมา ตอเราก็มีมากมายมหาศาลในปจจุบัน ดังที่เราเคยสงของขวัญไปถึงทานครั้งหนึ่งแลวในวันที่ 24 เมษายน 2547 กับ ทีมสํารวจแมน้ําโขงของทาน ทั้งนี้หากนับรวมโครงการเขตการคาเสรีอาเชียน-จีน และโครงการเขื่อนแมน้ําโขง ตอนลางซึ่งกําลังพัฒนาอยูอีก 11 แหง ฯลฯ ก็นับไดวา ความทุกขยากที่เกิดมีของคนประเทศทายน้ําจะทวีความ รุนแรงยิ่งขึ้น โครงการพั ฒนาเหล านี้ สร างผลกระทบต อชี วิต ของคนในชุม ชนทอ งถิ่ นริ มฝ งแมน้ํ าโขงอย างมหาศาล กระแสน้ําในลําน้ําโขงเปลี่ยนแปลงไปเพราะการเปดปดเขื่อนของทานเพื่อการเดินเรือพาณิชยขนาดใหญไดขึ้นลงมา คาขาย ทั้งเพื่อการปลอยน้ําจากเหตุน้ําทวมในเขตหนาเขื่อนของจีน นอกจากนี้กระแสน้ําที่เปลี่ยนทิศทางหลังจาก ระเบิดเกาะแกงเหนือสามเหลี่ยมทองคําขึ้นไปยังทําใหสายน้ําไหลแรงจนผืนดินสองฝงโขงพังทลายไปปละหลายสิบ ไร อีกทั้งปริมาณพันธุปลาลดลง พื้นที่เกษตรริมฝงโขงถูกน้ําทวม จนความมั่นคงทางอาหารและผืนดินริมฝงสูญ สลาย บางชุมชนผูคนตองอพยพไปหากินตางถิ่น หลายชุมชนตองเปลี่ยนอาชีพ ทั้งหมดนี้ทําใหวิถีชีวิตคนริมฝงโขง แทบลมสลาย กลาวสําหรับ เหตุการณเมื่อวันที่ 9-15 สิงหาคม 2551 เกิดน้ําทวมหนักที่สุดในรอบสี่สิบปในเขตแมน้ําโขงอิงและกกตอนปลาย สาเหตุหลักมาจากการเปดเขื่อนในประเทศของทานเปนสําคัญ เพราะน้ําทวมหนักหนาเขื่อน 253


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

จนมีรายงานขาวของทางการจีนวา มีผูเสียชีวิต 40 คน และผูคนหลายแสนคนตองอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย เรา เขาใจดีวา ทานก็รักประชาชนของทานเชนเดียวกับที่เราก็รักพี่นองทายน้ําของเรา ทวาการปลอยน้ําจากเขื่อนลงมา อยางฉับพลัน โดยไมยอมบอกขาวกันลวงหนา มันไดทําใหคํากลาวอางที่ทานมักอางเสมอวา เขื่อนชวยปองกันน้ํา ทวมในหนาน้ําหลากและจะปลอยน้ําไมใหแมน้ําแหงขอดในหนาแลงนั้นไมเปนความจริง เพราะดวยเหตุการณครั้งนี้น้ําไดทวมฉับพลันเพียงในวันเดียวเกือบสองเมตร น้ําโขงหนุนเขาสูแมน้ําอิงและ กกซึ่งเปนแมน้ําสาขาลึกเขาไปเกือบ 30 กิโลเมตร สงผลใหพื้นที่การเกษตร สัตวเลี้ยง บานเรือนและผืนแผนดิน ชายฝงเสียหายอยางมหาศาล หลังน้ําลดลงในวันที่ 15 สิงหาคม 2551 สํารวจผลกระทบประเมินคาความเสียหาย เบื้องตนเปนเงินไมต่ํากวา 85 ลานบาท เราไมแนใจวา ทานจะชดใชคาเสียหายเหลานี้และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นใน อนาคตไดหรือไม? อยางไรก็ตาม หลังจากน้ําทวมใหญแลวเครือขายชาวบานในแมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขงได รวมกันฟนฟูชุมชนทองถิ่นริมน้ําโขงตามกําลังที่พอมี ทั้งการฟนฟูอาชีพ กองทุนเมล็ดพันธุและสัตวเลี้ยง อยางไรก็ ตาม สําหรับแผนดินไทย-ผืนดินริมฝงโขงไดสูญเสียไปกับกระแสน้ําโขงเปนอยางมาก เชน ที่บานหวยลึก และบาน ปากอิงใต ดวยความกังวลและดวยความรักผูกพันที่มีตอแมน้ําโขงซึ่งเปรียบเหมือนแมผูหลอเลี้ยงชีวิต จึงทําให เครือขายชาวบานลุมน้ําอิง-กก ตอนปลายและชายฝงโขง รวมกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และเครือขายอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา ไดรวมพลังปกหลัก เสริมดิน ปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง ณ บาน ปากอิงใต อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ในวันที่ 25 – 27 เมษายน 2552 นี้ วันเดียวกันนี้ เราทั้งหลายจาก เครือขายชาวบานจากเครือขายรักทะเลกรุงเทพฯ และสิ่งแวดลอมบางขุน เทียน เครือขายคนไทยพลัดถิ่น จ.ระนอง จ.ประจวบคีรีขันธ เครือขายสิทธิคนจน จ.ภูเก็ต เครือขายชุมชน จ.พังงา เครือขายผูไดรับผลกระทบจากเหมืองทองพิจิตร เครือขายฟนฟูลุมน้ําทะลสาบสงขลา เครือขายผูไดรับผลกระทบ จากการสรางเขื่อนบานกุม เครือขายฟนฟูเกาะลันตา กลุมฮักบานเฮาพะเยาเมืองนาอยู เครือขายชุมชนศรัทธา จ.ชายแดนใต เครือขายผูประสบภัยสึนามิ เครือขายองคกรชุมชนเมืองเชียงใหม เครือขายองคกรชุมชนเมืองอุบล กลุมรักสิทธิลุมน้ําโขง และโครงการแมน้ําเพื่อชีวิต ไดมารวมแรงรวมใจกันในการสรางแนวปองกันตลิ่งพังริมฝงโขง เพื่อเปนพลังการพึ่งตนเองของคนเล็กคนนอยและเปนการตอบแทนความรักตอสายน้ําโขง ตอทรัพยากรธรรมชาติ วา ชุมชนทองถิ่นริมฝงโขงและเครือขายองคกรชุมชนของไทยที่ไดอยูไดกินไดอาบใชจากแมน้ําโขงจะรวมแรงกัน พิทักษรักษาใหแมน้ําโขงเปนสายน้ํานานาชาติ ไมใชแมน้ําของประเทศใหญประเทศใด และเพื่อใหยั่งยืนสืบไปชั่ว ลูกหลาน ของขวัญถึงรัฐบาลจีน หมายเลข 2 ของขวัญที่ไดมอบแดทาน-รัฐบาลจีนในครั้งนี้ ขอมอบใหเพื่อเปนอนุสรณเตือนใจวา ถึงเวลาแลวที่รัฐบาล จีนตองตระหนักและหันกลับมาทบทวนแนวนโยบายของตนในการพัฒนาลุมน้ําโขง ตองรับฟงเสียงของคนทายน้ํา เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนและเปนธรรม อยาคิดแตเพียงวา แมน้ําในบานของฉัน ฉันสามารถทํา อะไรก็ได

254


นิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุ่มน้ําโขง กรณีแม่น้ําของ-ล้านนา / นิวัฒน์ ร้อยแก้ว

เราขอย้ําอีกครั้งวา การทําลายทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิตประชาชนเพื่อกลุมนายทุนธุรกิจ โดยการ สรางเขื่อนผลิตกระแสไฟฟาจากมลฑลยูนนานไปใหคนรวยในภาคตะวันออกของประเทศทาน เปนการทรยศตอ หลักการอันยิ่งใหญของพรรคคอมมิวนิสตของทาน ที่มีหัวใจอยูที่ประชาชนผูยากไร และประชาชนของทานกับ ประชาชนในประเทศทายน้ําก็เปนมนุษยเชนเดียวกัน การทํารายแมน้ําโขงซึ่งเปนที่พึ่งพาของคนจนกวารอยลานคน ในภูมิภาคนี้มานับพันป เพื่อกลุมนายทุนหรือชนชั้นนํา ยอมเปนการตอกย้ําวา หลักการความเทาเทียมกันของ มนุษยในอุดมการณสังคมนิยมคอมมิวนิสตของทานไมมีอีกตอไป เราขอกลาวย้ําอีกวา ประชาชนคนยากคนจน คนชุมชนทองถิ่นเปนรากฐานความมั่นคงของประเทศในลุม น้ําโขงและของโลก หากแผนดินและวิถีชีวิตคนชายขอบริมฝงแมน้ําโขงลมสลายแลวทุกประเทศในลุมน้ําโขงจะอยู ไดอยางไร หากทาน-รัฐบาลจีนยังไมทบทวนการพัฒนาที่ไมเทาเทียมในลุมน้ําโขงที่ผานมาและปลอยใหดําเนินไป เชนปจจุบันนี้ แลวใครจะรับประกันไดวา สักวันหนึ่งจะไมเกิดสงครามแยงชิงทรัพยากรธรรมชาติขึ้นในลุมน้ําโขง อย า งหนั ก ก็ เป น ได การเคารพในสิ ทธิ แ ละไม ริ ด รอนสิ ท ธิ์ข องประเทศต น น้ํ าและปลายน้ํ า รวมถึง การจั ด การ ทรัพยากรธรรมชาติในลุมน้ําโขงอยางยั่งยืนและเปนธรรม คือสิ่งสําคัญอยางยิ่งที่รัฐบาลจีนและรัฐบาลในประเทศลุม น้ําโขงตองตระหนักเปนอยางยิ่ง เพื่อใหการอยูรวมกันของคนในลุมน้ําโขงและคนในโลกเกิดสันติสุข นอกจากนี้ ของขวัญชิ้นนี้มอบใหเพื่อเตือนสติวา หากทานยังไมทบทวนนโยบายการพัฒนาที่มีผลกระทบ ตอคนทายน้ํา บนหลักการการพัฒนาที่เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษย เพื่อความสงบ สุขของคนในลุมน้ําโขง เราทั้งหลายจะเดินทางกันไปเยี่ยมเยียนสถานฑูตของทานในทุกประเทศ เคารพธรรมชาติและศรัทธาในความเทาเทียมกันของมนุษยชาติ

255


บทที่ 13 ผลกระทบขามพรมแดนจากการพัฒนาแมน้ําโขง มิติดานสังคมและสิ่งแวดลอม เพียรพร ดีเทศน และสุมาตร ภูลายยาว โครงการแมน้ําเพื่อชีวิต

บทนํา: แมน้ําโขงพรมแดนไทย-ลาว แมน้ําโขงไหลผานในเขตประเทศไทยแบงออกเปน 2 ชวง คือ ชวงตอนบนกั้นพรมแดนระหวางพื้นที่ จ.เชียงรายกับแขวงบอแกวของลาว และแมน้ําโขงชวงตอนลางเปนเสนกั้นพรมแดนระหวางประเทศไทยกับลาว ใน พื้นที่ 6 จังหวัด ไดแก จ.เลย จ.หนองคาย จ.นครพนม จ.มุกดาหาร จ.อํานาจเจริญ และ จ.อุบลราชธานี กอนไหล เขาไปในประเทศลาวอีกครั้งที่แขวงจําปาสัก งานวิจัยจาวบาน เชียงของ-เวียงแกน (2549) ซึ่งทําโดยชุมชนริมแมน้ําโขงบริเวณพรมแดนไทย-ลาว ตอนบน ระบุถึงความสลับซับซอนของระบบนิเวศแมน้ําซึ่งเอื้อตอการดํารงชีพของชุมชน นักวิจัยชาวบานสํารวจพบ พันธุปลาทั้งสิ้น 96 ชนิด โดยมีปลาธรรมชาติหรือปลาทองถิ่น 86 ชนิด ในจํานวนพันธุปลาทั้ง 96 ชนิดนั้นมีปลาหา ยาก และใกลสูญพันธุทั้งหมด 13 ชนิด สภาพของแมน้ําโขงมีลักษณะเปนแกงหินและหนาผาตามธรรมชาติ ระดับ น้ําในฤดูแลงและฤดูน้ําหลากมีความแตกตางกันสูงถึง 20 เมตร มีแมน้ํากกและแมน้ําอิงเปนน้ําสาขาหลัก สวนแมน้ําโขงในเขตจังหวัดเลย นับตั้งแต อ.เชียคาน ถึงอ.ปากชม มีชวงที่แมน้ําโขงยังคงความอุดม สมบูรณ มีแมน้ําสาขาสําคัญคือ แมน้ําเหือง แมน้ําเลย งานวิจัยภาคสนามของโครงการแมน้ําเพื่อชีวิตรวมกับชุมชน ริมน้ําโขง สํารวจพบพันธุปลาในน้ําโขงชวงพรมแดนไทย-ลาว ในเขตจังหวัดเลย อยางนอย 200 ชนิด พื้นที่ดอน ทรายที่โผลพนน้ําหลังน้ําลด ชาวบานยังไดลงไปจับจองเพื่อทําการเกษตรนานาชนิด เชน ถั่ว มะเขือ แตง ตลอดจน ผักตางๆ กลาวไดวาพืชผลทางการเกษตรจากดอนทรายแมน้ําโขงเปนพื้นที่แหงความมั่นคงทางอาหารของชุมชน ริมน้ํา เพราะพืชผลเหลานี้นอกจากจะใชบริโภคอยูในทองถิ่นแลวยังกระจายไปจําหนายตามพื้นที่ตางๆ ในเขตภาค อีสานและฝงลาวอีกดวย

วิถีชีวิตสองฝงโขงกอนการมาของเขื่อน สําหรับผูคนในถิ่นนี้แมน้ําโขงเปรียบเสมือนเสนเลือดหลักที่หลอเลี้ยงชีวิต ประชาชนในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตมากกวา 100 ลานคน มีชีวิตพึ่งพาแมน้ําโขงและน้ําสาขา เปนทั้งแหลงอาหารที่สําคัญ แหลงน้ําใช เพื่อการเกษตร การเดินทาง การขนสง และอีกหลายกิจกรรมในวิถีชีวิตของผูคนในถิ่นนี้ วงจรน้ําขึ้น-น้ําลงตาม ธรรมชาติในทุกป สงผลใหเกิดระบบการผลิตที่ยั่งยืน ทั้งการปลูกขาว ทําไร ทําสวน พรอมดวยความหลากหลาย ของชนิดพันธุปลาที่มีมากเปนอันดับ 3 ของโลก ลุมน้ําแหงนี้จึงเปนเหมือนแมที่หลอเลี้ยงชีวิตชุมชนหลากหลายเชื้อ ชาติในภูมิภาคนี้ตลอดมาอยางยาวนาน


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

สายน้ําโขงที่เชียงราย สําหรับชุมชนที่ตั้งอยูตามริมฝงแมน้ําโขงทั้งสองฝงบริเวณชายแดนไทย-ลาว ใน จ.เชียงราย ชุมชนจํานวน มากไมมีพื้นที่ในการปลูกขาว หรือมีเปนจํานวนนอย ชุมชนเหลานี้จึงหาปลาขาย เพื่อนําเงินไปซื้อขาวหรือนําปลา ไปแลกขาว อยางเชนที่บานปากอิงใต อ.เชียงของ จ.เชียงราย คนในวัยแรงงานสวนมากจะประกอบอาชีพหาปลา เลี้ยงครอบครัว บางครอบครัวที่มีพื้นที่ในการเพาะปลูกก็ปลูกขาวเพียงเพื่อบริโภคภายในครอบครัว การปลูกขาว และการหาปลาในแมน้ําโขงจึงมีความสัมพันธกับคนในชุมชนสองฝงโขงตั้งแตอดีตมาจนถึงปจจุบัน ในชวงหนาแลงชุมชนตางทําการเพาะปลูกพืชผักตามริมชายหาด เกาะ หรือดอนทรายที่โผลพนน้ํา การ โดยชาวบานจะลงมือทําการเกษตรในชวงปลายเดือนตุลาคมเปนตนไป เกษตรริมโขงสามารถพบไดทั้งสองฝงแมน้ํา คือทั้งลาวและไทย พืชผักที่ปลูกนั้นก็จะเปนพืชผักพื้นบาน เชน ถั่ว ผักกาด เปนตน ขณะที่ไปทําการเพาะปลูก ชาวบานบางคนก็นําเครื่องมือหาปลาจําพวก สวิง จ๋ํา ไปดวย เพื่อหาปลาตามริมฝงมาเปนอาหาร แมแกวใส ธรรมวงค (2550) ชาวบานหาดทรายทอง อ.เชียงของ กลาววา “หลังออกพรรษาไปแลว น้ําเริ่ม ลด ตรงเกาะแสนตอดอนทรายจะโผลพนน้ําขึ้นมา ผูเฒาผูแกก็จะไปจับจองพื้นที่ปลูกถั่ว บางคนไดมาก บางคนได นอยตางกันออกไป แลวแตการจับจองกอนหลัง ถั่วที่ปลูกไวน้ําก็ไมตองไปรด ปลอยไวอยางนั้น พอถึงเวลาเก็บก็ไป เก็บ บางสวนก็ขาย บางสวนเอาไวกิน เหลือจากขายและกินก็เก็บเอาไวทําเชื้อในปตอไป” ระบบนิ เ วศแม น้ํ า โขงก อ นมี ก ารพั ฒ นาแม น้ํ า โขงตอนบนนั้ น มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ ด ว ยระบบนิ เ วศที่ สลับซับซอน ซึ่งมีความสําคัญกับชุมชนสองฝงโขงเปนอยางมาก งานวิจัยจาวบาน ซึ่งไดทําการศึกษาวิจัยเรื่อง ระบบนิเวศในแมน้ําโขง นักวิจัยชาวบานไดจําแนกระบบนิเวศในแมน้ําโขงบริเวณพรมแดนไทย-ลาวตอนบนไดถึง 11 ระบบ ไดแก ผาหรือแกง คก ดอน หาด รอง หลง หนอง แจม ริมหวย ริมฝง กวาน ระบบนิเวศทั้งหมดนี้มีความ แตกตางกันออกไป บางระบบนิเวศมีพรรณพืชเกิดขึ้น เชน แกงหิน ในชวงหนาน้ําหลากตนไครบนแกงจะจมอยูใต น้ําและเนาเปอยเปนอาหารของปลา สวน คก ในชวงฤดูน้ําหลากปลาจะวายเขาไปตามคกที่ถูกน้ําทวม และวายเขา ไปวางไขในแมน้ําหรือลําหวยสาขาของแมน้ําโขง พอถึงฤดูน้ําลดปลาที่เขาไปวางไขในแมน้ําสาขาและลําหวยก็จะ อพยพลงมาสูแมน้ําโขงอีกครั้ง กระแสน้ําในแมน้ําโขงในชวงฤดูฝนจะยกระดับสูงขึ้น และหนุนเขาไปในแมน้ําสาขา เชน แมน้ําอิง แมน้ํา กก แมน้ํารวก แมน้ําคํา คนหาปลาก็จะเขาไปหาปลาตามลําน้ําสาขา เพราะแมน้ําโขงในชวงหนาน้ําหลากกลายเปน น้ําใหญ การหาปลาคอนขางลําบาก นอกจากนี้ผาหรือแกงยังไดชวยตานทานการไหลของน้ําที่ไหลเร็วและแรงไดอีก ดวย เมื่อถึงชวงปลายเดือนตุลาคม น้ําในแมน้ําโขงจะคอยๆ ลดระดับลง และลดลงจนต่ําสุดในชวงเดือนเมษายนตนเดือนพฤษภาคม ซึ่งในชวงกลางฤดูแลงราวเดือนกุมภาพันธ-เดือนเมษายน น้ําในแมน้ําโขงจะใส ตามแกงหิน หรือหาดหินจะมีไก-สาหรายน้ําโขงเกิดขึ้น ไกที่เกิดนั้นก็จะเปนทั้งอาหารของคนและของปลา ชวงที่น้ําโขงลดระดับลง ระบบนิเวศบางชนิด เชน คก หาด รอง หลง หนอง ก็เปนพื้นที่ซึ่งคนสองฝงโขง ทั้งลาวและไทยก็จะเขาไปใชประโยชนแตกตางกันออกไป เชน ผูชายไปหาปลาตามคก ผูหญิงไปปลูกผักตามดอน สําหรับการหาปลานั้น ในชวงปลายเดือนเมษายนถึงตนเดือนพฤษภาคมของทุกปจะเปนชวงที่มีการจับปลาบึก จาก สถิติที่บันทึกการจับปลาบึกไดของคนหาปลาพบวา กอนการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน ปลาบึกที่จับไดมีจํานวนมาก 257


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

พอพุม บุญหนัก (2549) เลาใหฟงถึงการจับปลาบึกวา “ปลาบึกจะขึ้นมาในชวงหลังปใหมเมือง (หลัง สงกรานต) ชวงนั้นน้าํ ลดลงในน้ําโขงมีที่จับปลาบึกไดไมกี่ที่แตที่จับไดมากที่สุดก็เปนตรงดอนแวงบานหาดไคร เพราะน้ํามันกวางและมีรองน้าํ ลึกเพียงแหงเดียวในชวงหนาแลง ชวงที่จับปลาบึกไดระดับน้ําไมนาจะเกิด 4 เมตร” พออุน ธรรมวงค (2550) คนหาปลาบานหาดทรายทองกลาววา “แมน้ําโขงกอนลาวแตกประมาณป 18 และ หลังป 18 เปนแมน้ําที่อุดมสมบูรณ ชาวบานหาปลาตามวัง ตามหาด เกาะตรงทายบาน และตรงเกาะแสนตอคนไป หาปลากันเยอะ มีทั้งบานหาดบาย หาดทรายทอง แตกอนเปนบานเดียวกัน บานดอนทีก็มีมาหาปลาแถวเกาะแสน ตอ เกาะปลาสะปากเหมือนกัน มันไมมีใครเปนเจาของพื้นที่หรอก แตกอนหาปลาไดเยอะ” สายน้ําโขงที่เลย สายน้ําโขงสัมผัสแผนดินไทยอีกครั้ง ที่ปากน้ําเหือง บานทาดีหมี อ.เชียงคาน ไหลเรื่อยผาน อ.เชียงคาน และ อ.ปากชม จ.เลย บริเวณปากน้ําเหือง เปนพื้นที่หาปลาที่สําคัญอีกแหงหนึ่ง ชาวบานจากหมูบานริมโขงทั้งฝง ไทยและลาวตางลงหาปลารวมกัน โดยยึดหลักการหาปลาวา หากใครหาตรงจุดใดก็จะหาจุดนั้น ไมกาวล้ําเขาไปใน เขตของคนอื่นที่ไดวางเครื่องมือหาปลาไวเปนประจําอยูแลว และปจจุบันนี้ใชวิธีวางเครื่องมือไวแลวมายามชวงเชา และเย็น แตก็มีคนหาปลาจํานวนหนึ่งที่หาปลาดวยการไหลมอง (ตาขาย) ทั้งวัน ชุมชนปากน้ําเหืองเคยมีเรือหา ปลากันแทบทุกหลังคาเรือน พื้นที่อ.เชียงคาน และ อ.ปากชม มีลักษณะเปนเกาะ ดอนทราย และแกงหินโขดหินปรากฏอยูทั่วไป จาก สภาพดังกลาวนี้ทําใหมีปลาอาศัยอยูเปนจํานวนมาก กลางลําน้ําโขงทุกที่จึงมีเรือหาปลาลอยลําอยูกลางสายน้ํามิได ขาด สวนดอนทรายก็เปนที่ปลูกพืชผักสวนครัว และพืชเศรษฐกิจอยางถั่วดําในบางหมูบาน ชาวบานในพื้นที่นี้มี ชีวิตพึ่งพาแมน้ําโขงเปนหลักทั้งการหาปลา การใชน้ําในการทําเกษตรริมโขง น้ําในการอุปโภค ตลอดจนธุรกิจ ตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเดินเรือเพื่อการทองเที่ยว ระดับแมน้ําโขงเคยเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของฤดูกาล ตั้งแตเดือน 6 (พฤษภาคม) ฝนเริ่มตก ระดับน้ํา ก็จะเริ่มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ พรอมการเปลี่ยนสีของน้ําจากใสเปนสีขุน ฝูงปลาจากทางตอนลางก็จะอพยพขึ้นมาตามน้ํา คนหาปลาแถบนี้ระบุวาในชวงเริ่มหนาฝนนี้ปลาทั้งขนาดใหญและขนาดเล็กจะพากันอพยพขึ้นไปวางไขตามเกาะ แกงและหวยสาขาที่มีระบบนิเวศเอื้อใหปลาวางไข น้ําโขงจะเพิ่มระดับขึ้นจนเต็มฝงในเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ซึ่ง ชาวบานเรียกวา “ชวงน้ําขึ้น” ในชวงนี้ชาวบานจะลงหาปลาเปนหลัก หลังจากนั้นน้ําโขงจะเริ่มลดระดับลงเรื่อยๆ เมื่อฤดูกาลเปลี่ยนเขาสูฤดูหนาว และฤดูรอน ซึ่งในชวงสองฤดูนี้ชาวบานเรียก ‘ชวงน้ําลด’ พอหลา โพธิ์ไทร (2549) คนหาปลาบริเวณปากน้ําเหือง กลาววา “ไทบาน (ชาวบาน) ทั้งคนไทยและพี่นอง ชาวลาวที่อยูแถวปากน้ําเหืองก็หาปลากันเปนสวนใหญ เพราะปลาอยูแถวนี้ เปนชวงที่น้ําเหืองไหลมาลงแมน้ําโขง จึงเปนแหลงหาอยูหากินของปลาหลากหลายชนิด “ไทบานหาปลากันที่ปากน้ําเหืองนี่มาหลายชั่วอายุคนแลว หา ปลาก็ใชมอง จั่น ลอบ เบ็ด เมื่อกอนปลาเยอะมาก อยากกินปลาก็กอไฟตั้งหมอน้ําไวรอ แลวลงมากูเครื่องมือหาปลา ที่ใสไวก็มีกับขาวกินกันสบาย เมื่อกอนที่น้ําขึ้นลงตามฤดูกาล เมื่อถึงฤดูน้ํามาก น้ําโขงก็จะคอยๆ ขึ้นไปเรื่อยๆ ถึง ฤดูแลงน้ําลด น้ําโขงก็จะลดลงไปเรื่อยๆ เปนแบบนี้ตามธรรมชาติ” 258


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

พอสี ไชยจันทร (2549) อายุ 60 ป ชาวบานผาแบน ต.บุฮม อ.เชียงคาน ระบุวา “เมื่อกอนไทบานมีเรือหา ปลาทุกหลังคาเรือน หาปลากันทุกบาน น้ําโขงเมื่อกอนถึงฤดูน้ําขึ้นก็จะคอยๆ ขึ้นตลอด ถึงฤดูน้ําลงก็จะลดลง เรื่อยๆ จนถึงระดับที่เคยเปนทุกป “ไทบานกางมองทิ้งไวในน้ําโขงตอนเชา พอตกเย็นก็มายามดูวามีปลาติดมอง หรือไม ปลาที่ไดจะเปนปลาเพี้ย ขายกิโลกรัมละ 100 บาท ปลาปาก ปลาแกง ก็กิโลกรัมละ 100 บาท ชวงไหนได ปลามากราคาก็จะลดลงเหลือกิโลกรัมละ 70-80 บาท ขายใหกับคนในหมูบานเดียวกันและหมูบานใกลเคียง” “เมื่อ 5 ป 10 ปกอน อยากกินปลาก็ตั้งหมอรอไวไปหาก็ไดปลามากิน”

รูปที่ 1 แมน้ําโขงที่อ.เชียงคาน จ.เลย เปนแหลงอาหารและรายไดที่สําคัญของชุมชน การพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน ในชวงหลังทศวรรษ 1980 สาธารณรัฐประชาชนจีนเขามีบทบาทสําคัญในการพัฒนาแมน้ําโขง บทบาท ของจีนเกิดขึ้นภายใตนโยบายการมุงพัฒนาภูมิภาคตะวันตกของจีนใหเติบโตทางเศรษฐกิจ หนึ่งในนโยบาย เหลานั้นคือ นโยบายการพัฒนาแมน้ําลานชาง หรือแมน้ําโขงตอนบน ใหเปนเขต ซึ่งประกอบไปดวยโครงการสราง เขื่อนขนาดใหญกั้นแมน้ําโขงเพื่อเปนแหลงพลังงาน โครงการนิคมอุตสาหกรรม และโครงการปรับปรุงแมน้ําโขง เพื่อการเดินเรือเชิงพาณิชยจากซือเหมา ลงไปยังหลวงพระบาง • ระเบิดแกง ปรับปรุงรองน้ําเพื่อการเดินเรือ การระเบิดแกงแมน้ําโขงเพื่อการเดินเรือเชิงพาณิชยขนาดใหญอยูภายใตขอตกลงการเดินเรือระหวาง 4 ประเทศในลุมน้ําโขงตอนบน ไดแก จีน พมา ลาว และไทย โดยจีนเปนผูประสานงานในการสํารวจรายละเอียดและ 259


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ออกแบบ และสนับสนุนงบประมาณ โดยแบงออกเปน 3 ชวง ดังนี้ ชวงแรก ระเบิด 11 แกง และ 10 กลุมหิน เพื่อใหสามารถเดินเรือระวางบรรทุกอยางต่ํา 100 ตัน ไดเปน ระยะเวลาอยางนอยรอยละ 95 ในรอบป ชวงที่สอง ระเบิด 51 แกงและดอน เพื่อใหสามารถเดินเรือระวางบรรทุกอยางต่ํา 300 ตัน ไดเปนระยะเวลา อยางนอยรอยละ 95 ในรอบป ระยะที่สาม ปรับปรุงทางน้ําใหมีลักษณะคลายคลองเพื่อใหสามารถเดินเรือระวางบรรทุกอยางต่ํา 500 ตัน ไดเปนระยะเวลาอยางนอยรอยละ 95 ในรอบป ขณะนี้ไดดําเนินการระเบิดแกงและทําการตกแตงลําน้ําบางสวนบริเวณพรมแดนพมากับลาว จนสามารถ เดินเรือขนาด 300 ตันลงมาจนถึงเชียงแสนไดแลว สวนแกงคอนผีหลง บริเวณพรมแดนไทย-ลาว รัฐบาลไทยไดมี มติระงับโครงการ และใหทํารายงานการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) ใหม รวมทั้งทํา TOR ทางน้ําระหวาง ไทยกับลาวใหม ภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2546 • เขื่อนกั้นแมน้ําโขง สําหรับโครงการเขื่อน จีนวางแผนที่จะสรางเขื่อนผลิตกระแสไฟฟาบนแมน้ําโขง ชวงกลางและลางของ แมน้ําหลานชาง (แมน้ําโขงในเขตจีน) ทั้งหมด 13-15 แหง ไดแก Manwan, Dachaoshan, Xiaowan, Jinghong, Nuozhadu, Ganlanba, Mengsong, Gongguoqiao, Gushui, Wulilong, Lidi, Huangdeng และ Miaowei (Xinhua Yunnan Channel 2004) นอกจากนี้ยังมีแผนสรางเขื่อนทางตอนบนของแมน้ําหลานชาง ทางเหนือของมณฑล ยูนนานอีก 7 แหง ไดแก Gushui, Huangdeng, Wunonglong, Lidi, Miaowei, Tuoba และ Dahuaqiao ปจจุบัน จีนไดกอสรางเขื่อนกั้นแมน้ําโขงแลวเสร็จ 3 เขื่อน โดยเขื่อนแรก คือ เขื่อนมันวาน สรางแลวเสร็จเมื่อป 2539 เขื่อนตาเฉาชาน และเขื่อนจิงหง สวนอีก 2 เขื่อนอยูระหวางกอสราง คือ เขื่อนเซี่ยวหวาน และเขื่อนนั่วซาตู

รูปที่ 2 เขื่อนมันวาน เขื่อนกั้นแมน้ําโขงแหงแรกในยูนนาน ประเทศจีน

260


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

ผลกระทบขามพรมแดนจากการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน การพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน สรางผลกระทบอยางรุนแรงตอระบบนิเวศและชุมชนที่พึ่งพาแมน้ําโขงทาง ตอนลางลงไป รวมทั้งแมน้ําสาขาของแมน้ําโขง รายงานฉบับนี้ศึกษาวิจัยในพื้นที่แมน้ําโขงบริเวณชายแดนไทยลาว 2 เขต ไดแกเขต อ.เชียงแสน อ.เชียงของ และอ.เวียงแกน จ.เชียงราย และเขตอ.เชียงคาน อ.ปากชม จ.เลย การศึกษาพบวา ลักษณะประการหนึ่งของผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน ก็คือ ปญหาสิ่งแวดลอมในลักษณะขามพรมแดน ซึ่งมีแนวโนมจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ การพัฒนาทาง ตอนบนของลุมน้ําโดยเฉพาะในเขตประเทศจีน ไมเพียงแตสงผลกระทบตอระบบนิเวศบริเวณพรมแดนไทย-ลาว ที่ จ.เชียงรายเทานั้น แตพบวาขยายลงมาถึงบริเวณพรมแดนไทย-ลาว ที่ จ. เลย ดวยเชนกัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศแมน้ําโขงที่ จ.เชียงราย 1. ความผันผวนของระดับน้ํา ปริมาณกระแสน้ําทั้งปในแมน้ําโขงชวงกอนจะไหลลงทะเลที่ประเทศเวียดนามเปนน้ําที่มาจากเขตประเทศ จีนประมาณ 15-20 เปอรเซ็นต ในขณะที่น้ําในแมน้ําโขงที่อยูในประเทศกัมพูชา เมื่อถึงเดือนเมษายน น้ําที่มีอยูใน แมน้ําโขงเปนน้ําที่มาจากจีนถึง 45 เปอรเซ็นต (Blake 2001) และปริมาณน้ําจากพื้นที่รับน้ําในเขตประเทศจีนมี สวนสําคัญมากตอกระแสน้ําในชวงหนาแลงของแมน้ําโขงสวนที่ไหลผานประเทศไทยและลาวซึ่งคาดวามีมากกวา 60 เปอรเซ็นต หลังจากเกิดการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน ทั้งการระเบิดแกงเพื่อการเดินเรือและการสรางเขื่อนในประเทศ จีนไดสงผลกระทบตอประเทศทายน้ําอยางหลีกเลี่ยงไมได วัฏจักรน้ําทวม-น้ําแลงของแมน้ําโขงที่เคยเปนไปตาม ตามฤดูกาลเปลี่ยนแปลงไป เมื่อเขื่อนเริ่มมีการกักเก็บน้ําทําใหวงจรระดับน้ําในแมน้ําโขงเปลี่ยนแปลงไปอยาง สิ้นเชิง แมน้ําโขงในอดีตกอนการสรางเขื่อนเคยขึ้นสูงสุดในเดือนสิงหาคมเปนตนไป เมื่อถึงเดือนธันวาคมน้ําใน แมน้ําโขงก็จะคอยๆ ลดระดับลง จนแหงลงเต็มที่ในเดือนเมษายน แตภายหลังจากการดําเนินโครงการสรางเขื่อน และการระเบิดแกง พบวาระดับน้ําในแมน้ําโขงเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัดเจนโดยเฉพาะในชวงฤดูแลง การระเบิดแกงแมน้ําโขงที่ดําเนินการตั้งแตปลายป พ.ศ. 2544 ไดทําใหเกิดความผันผวนของระดับน้ําใน แมน้ําโขง ความไมแนนอนของกระแสน้ําในแมน้ําโขงไดทวีความรุนแรงมากขึ้น เมื่อมีการกอสรางเขื่อนเซี่ยวหวาน และเขื่อนจิงหง ซึ่งเขื่อนเซี่ยวหวานเมื่อสรางเสร็จจะมีความสูงถึง 292 เมตร ขณะที่เขื่อนจิงหงตั้งอยูลางสุดของ แมน้ําโขงตอนบนในจีน หางจากสามเหลี่ยมทองคํา อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายเพียงประมาณ 280 กิโลเมตร นอกจากนั้นการทําขอตกลงระหวางจีน พมา ลาว และไทยในการควบคุมน้ําเพื่อใหสามารถเดินเรือขนาดใหญในฤดู แลงได จะทําใหวัฏจักรการขึ้น-ลงของน้ําเปลี่ยนไปในแมน้ําโขงเปลี่ยนไป ระดับน้ําที่ขึ้นๆ ลงๆ ตามอิทธิพลของการใชงานเขื่อนและการระเบิดแกงแมน้ําโขง โดยเฉพาะในชวงกลาง ฤดูแลงราวเดือนมกราคม-เมษายน ไดสงผลกระทบตอระบบนิเวศของแมน้ําโขงอยางหลีกเลี่ยงไมได หมายถึงวา ผลกระทบเหลานั้นยังไดสงผลโดยตรงกับพันธุปลา พรรณพืช และวิถีชีวิตของชาวบานทั้งสองฝงโขงดวยเชนกัน ดังที่จะอธิบายในสวนตอไป 261


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

2. การทับถมของตะกอนทราย การทับถมของตะกอนทรายเห็นไดอยางชัดเจนในบริเวณ “คก” ซึ่งเปนที่อยูอาศัยที่สําคัญของปลาในฤดู น้ําลด โดยตะกอนทรายเขาทับถมจนคกตื้นเขินมาตั้งแตป พ.ศ. 2545 เชน บริเวณคกหลวง ซึ่งเปนคกขนาดใหญ ที่อยูติดกับฝงลาวในเขตอ.เวียงแกน จ.เชียงราย รวมถึงคกอื่นๆ เชน คกสองหอง คกปากทีน เมื่อคกถูกทรายทับ ถม หมายถึงการที่ระบบนิเวศสําคัญของแมน้ําโขงอันเปนที่อยูอาศัยของปลาถูกทําลาย คกที่ตื้นเขินทําใหคนหา ปลาสามารถหาปลาในคกไดนอยลง หรือบางคกก็ไมสามารถหาปลาไดเลย พอทองพัน ดวงธิดา (2550) คนหาปลาบานหวยลึก อ.เวียงแกน จ.เชียงราย อาศัยหาปลาในบริเวณคกห ลวงมานานกวา 20 กวาปกลาววา ไมเคยเห็นคกหลวงจะตื้นเขินอยางนี้มากอน ตื้นเขินจนมีแตทรายไมมีน้ํา ในฤดู แลงไมสามารถหาปลาไดเลย อุยเสาร ระวังศรี (2549) คนหาปลาวัย 76 ป กลาววา “พอน้ําโขงมันแหงลงมา เดี๋ยว 2-3 วันมันก็ขึ้น เปน อยางนี้ปลาไมมีหรอก ตั้งแตจีนทําเขื่อนมันก็เปนอยางนี้ น้ําโขงมันขึ้น-ลง น้ําสาขา น้ําหวยก็แหงลงดวย เพราะน้ํา โขงมันลง น้ําหวยน้ําสาขาที่ไหลลงน้ําโขงก็ถูกดึงลงมาดวย น้ําสาขาก็แหง หวยก็แหง ปลาก็หาที่อยูในน้ําสาขา ลําบาก “อยางดอนทรายบางดอนไมมี พอมาปนี้มีดอนทราย อยางหาดจั่นปนี้ทรายมูนกวาปกอน หวยโตนน้ําก็ นอย เพราะน้ําโขงดึงน้ําจากหวยโตนลงมาเยอะ อยางคกหัวงามก็แทบไมเปนคก เพราะทรายจากดอนหัวงามมา มูน คกนี้ปลามันเขาไปอยูน้ํามันลึก แตพอทรายมูนปดทางน้ําที่ไหลเขาคกไว ปลาก็เขาไปไมได” ขณะที่ระบบนิเวศแบบดอนไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลของน้ําและกระแสน้ําที่ เชี่ยวขึ้นในฤดูน้ําหลาก ทําใหเกิดการกัดเซาะดอนทราย ซึ่งใชเปนพื้นที่ทําการเกษตรริมโขง พื้นที่ดอนบางที่มี ขนาดเล็กลง บางที่หายไปทั้งดอน เชน ดอนมะเตาที่บานดอนที่ อ.เชียงของ เปนตน 3. การพังทลายของตลิ่ง การพังทลายของตลิ่งเกิดจากกระแสน้ําไดเปลี่ยนทิศทางการไหล กระแสน้ําพุงเขาทําลายตลิ่งทั้งสองฝง น้ํา ชาวบานสังเกตเห็นวา ความเร็วของกระแสน้ําไดเพิ่มขึ้น ตางจากในอดีตที่ผานมา พื้นที่ที่ไดรับความเสียหาย ครอบคลุมทั้งที่อยูอาศัย ที่สาธารณะของหมูบาน และพื้นที่เพาะปลูกพืชผักริมฝงของหมูบาน หลายหมูบานที่อยู ติดกับแมน้ําโขงตองประสบกับปญหานี้ เชน บานตนผึ้ง สปป.ลาว บานแซว บานปงของ บานสวนดอก บานสบ ยาบ อ.เชียงแสน บานดอนที่ บานผากุบ บานเมืองกาญจน บานดอนมหาวัน บานปากอิง อ.เชียงของ บานแจม ปอง บานหวยลึก อ.เวียงแกน 4. การลดลงของไก การเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศแมน้ําโขงไดสงผลกระทบอยางรุนแรงตอไก-สาหรายแมน้ําโขง เนื่องจากไก เปนพืชที่มีความออนไหวตอสภาพแวดลอมเปนอยางมาก คือ ลักษณะการเกิดขึ้นของไกโดยสวนมากไกจะเกิดที่ ระดับน้ําลึกไมเกิน 40-45 เซนติเมตร น้ําตองใสสะอาดและแสงแดดสองถึง งานวิจัยจาวบานพบวา ตั้งแตป พ.ศ. 2545 บริเวณหาดหิน ซึ่งเปนแหลงกําเนิดไกมีตะกอนทรายทับถม ขณะที่น้ําโขงขุนขน ทําใหไกไมสามารถจะเกิดได เพราะไกจะเกิดก็ตอเมื่อน้ําใสเทานั้น การที่ระดับน้ําขึ้น-ลง 262


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

ผิดปกติทําใหไกที่เกิดขึ้นมาใหมไดเพียงแควันสองวันตองจมน้ําหรือแหงตาย สวนไกที่ยังพอเก็บไดคุณภาพก็ไมดี เพราะน้ําขุนขนจากตะกอนทรายพัดมาติดกับไกทําใหลางออกยาก งานวิจัยจาวบานพบวา ไกมีจํานวนลดลง ชวง ระยะเวลาในการเก็บไกจึงสั้นลงกวาเดิม จากที่เคยเก็บได 4– 5 เดือนก็เก็บไดเพียงเดือนเดียวเทานั้น

รูปที่ 3 กลุมแมบานริมโขงเก็บไก สาหรายแมน้ําโขง ซึ่งลดจํานวนลงหลังการเปลี่ยนแปลงของแมน้ํา ผลกระทบตอพันธุปลาและการหาปลา งานวิจัยจาวบานพบวา การหาปลาในแมน้ําโขงนั้นตองการสภาพน้ําในแมน้ําโขงที่ทรงตัว หากน้ําจะขึ้น หรือลงตองเปนไปตามธรรมชาตินั่นก็คือ คอยๆ ขึ้นหรือลง การที่ระดับน้ําโขงขึ้น-ลงไมปกติทําใหปลาไมเดินทาง ออกหากินและเดินทางไปวางไข ทําใหคนหาปลาจับปลาไดนอยลง ตัวอยางเชน ปลาสรอยที่ชาวบานใชทําปลารา และเคยมีชุกชุม ปจจุบันไมอพยพขึ้นมาตามปกติ และมีจํานวนนอยมาก อีก ตั วอย า งหนึ่ง คื อ ปลาหวาน ปลายอน ในอดีต การไหลมองของคนหาปลาจะใช ม องตาขนาด 3.5 เซนติเมตร ไหลในชวงน้ําเริ่มขึ้นปลายเดือนเมษายน ปลาหวาน ปลายอน จะติดมองที่ไหลประมาณ 1 รอบ ได ปลารวมกันไมต่ํากวา 4-5 กิโลกรัม แตปจจุบันไหลมอง 1 รอบ ไดปลาหวานปลายอนรวมกัน 4-5 ตัวก็ถือวาได ปลามากแลว ผลกระทบทางเศรษฐกิจสังคมของคนหาปลา ลั้ง หรือ พื้นที่หาปลา แตละแหงไมวาจะเปนพื้นหินหรือทรายจะมีความเรียบของพื้นน้ําที่สม่ําเสมอและ สวนใหญมีรองน้ําเดียวจึงทําใหสามารถจับปลาได แตในปจจุบั นพื้นที่ใตน้ําที่เปนลั้งหาปลาของชาวบานไม ราบเรียบสม่ําเสมอ เกิดสันดอนหินและสันดอนทรายขึ้นมาใหม บางพื้นที่ก็แบงเปนสองรองน้ําจึงทําใหหาปลา ลําบากและหาปลาไดนอยลง

263


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

การขึ้น-ลงของน้ําที่ไมปกติ ก็มีสวนใหชาวบานไมสามารถใชเครื่องมือจับปลาไดเชนกัน เชน เบ็ดที่ปกไว ริมฝงน้ําอาจเปลี่ยนเปนอยูเหนือน้ําเมื่อระดับน้ําลดลงทันทีในระยะเวลาเพียงชั่วขามคืน ที่สําคัญก็คือ การขึ้น-ลง ของน้ําไมปกติทําใหปลาไมอพยพตามฤดูกาล คนหาปลาจึงไมสามารถใชความรูทองถิ่นในการคาดการณการ อพยพของปลาไดดังเดิม ผลกระทบที่ตามมาก็คือ คนหาปลาสามารถหาปลาไดนอยลง คนหาปลาบานปากอิงระบุวา การผันผวนของ กระแสน้ํา และระดับน้ําทั้งในชวงฤดูแลงและฤดูฝน ทําใหจํานวนปลาที่จับไดลดลงถึงรอยละ 50 ทําใหคนหาปลา หลายคนตองเปลี่ยนไปทําอาชีพอื่นหรือตองออกไปทํางานตางถิ่น เนื่องจากไมสามารถยึดการหาปลาเปนอาชีพหลัก ไดอีกตอไป จํานวนเรือหาปลาที่เคยมีประมาณ 70-80 ลํา ไดลดลงเหลือเพียงประมาณ 30 ลําเทานั้น ความรุนแรงของปญหานี้เกิดมากที่สุดในฤดูแลงที่ผานมา จนทําใหชาวบานหาปลาไดไมคุมกับคาน้ํามันเรือ คนหาปลาชาวไทยและลาวที่ผาได ทางใตสุดของแมน้ําโขงบริเวณพรมแดนไทย-ลาวทางตอนบน ระบุวา การที่ปลา ไมเคลื่อนยายออกหากินและอพยพขึ้นไปขางบนทําใหจํานวนคนหาปลาที่ไหลมองในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2550 เหลือเพียง 2 รายจากปกติที่มีคนหาปลามากกวา 70 ราย นายทองสวรรค พรมราช (2550) ผูใหญบานบานหวยลึก กลาววา “เมื่อกอนที่บานหวยลึกจะมีเรือออกหา ปลาในน้ําโขงวันหนึ่ง 15 ลําขึ้นไป คนหนึ่งออกหาปลาวันละ 2-3 เที่ยว เขาคิวกันหาปลาตามจุดตางๆ ที่มีปลาชุก ชุม ระดับน้ําโขงขึ้นลงตามระยะเวลาคงที่ตลอดทุกป โดยปกติน้ําจะขึ้นตั้งแตเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน และจะทรง ตัวไปเรื่อยจนถึงเดือนมีนาคมน้ําก็จะเริ่มแหง แตปจจุบันน้ําขึ้นลงเร็วมาก ถาขึ้นตอนเย็น ลดลงตอนเชาเปนอยางนี้ ทุกวัน “ออกไปหาปลาในแตละวันใชเครื่องมือหาปลาอยางเชนมอง ใชมองยาว 25 วา ครั้งหนึ่งไดปลาอยางนอย 10-20 ตัว ทําใหมีรายไดวันละไมต่ํากวา 100 บาททุกวัน “ระดับน้ําเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไมคงที่เมื่อประมาณ 4-5 ปที่ผานมา ขึ้นลงไมเปนเวลา และน้ําแหงมากขึ้นมาประมาณ 3 ปแลว ทําใหชาวบานหาปลายากขึ้น “สังเกตจากการขึ้น-ลงของน้ํา วาถาวันไหนมีเรือสินคาลองมาจากจีนวันนั้นน้ําจะขึ้นมาก เขาใจวาจีนอาจจะ มีการกักเก็บน้ําไวเมื่อจะนําสินคามาสงก็จะมีการปลอยน้ําออกมาเพื่อใหเรือสินคาเดินไดสะดวกและไดขึ้นไปดูที่ เชียงแสนก็สังเกตเห็นวาถาวันไหนมีเรือสิ้นคาจากจีนมาสงของน้ําจะขึ้นมาก เขาใจวาจีนตองมีการกักเก็บน้ําไวหรือ สรางเขื่อนไวกักเก็บน้ําอยางแนนอน ทําใหเดี่ยวนี้หาปลายากมากขึ้น” พอจันดี สายใจ (2550) ชาวบานผากุบ อ.เชียงของ กลาววา “ตอนนี้คนหาปลาบานผากุบจริงเหลือ ประมาณ 4 คน จากแตกอนมีหลายสิบคน มันหาไมไดก็เลยไมมีใครอยากจะหา เพราะเดี๋ยวน้ําขึ้น เดี๋ยวน้ําลง ใสไซ ลั่นไวตอนเย็นวันนี้ พรุงนี้มาดู ไซอยูบนบกแลว น้ํามันหนีละไซ เปนอยางนี้จะเอาปลามาจากที่ไหน ปลามันก็หลง น้ําหมด แตกอนเมื่อ 7-8 ปกอนเคยหาปลาขายวันหนึ่งได 300-400 บาท ตอนนี้บางวันก็ไมไดเลยสักตัว ทั้งที่บาน เราคนหาปลาก็ไมเยอะ ไมรูวาปลามันลดลงไดยังไง”

264


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

พอมวน ลิพัน (2551) อายุ 65 ป คนหาปลาบานปากเนียม ต.หวยพิชัย อ.ปากชม จ.เลยกลาววา “พอหา ปลามาตั้งแตอายุ 10 กวาป หาปลาเปนอาชีพ บริเวณหาปลาก็จะเปนที่บุงไผ หาดบัว แกงบวบ เมื่อกอนปลาเยอะ ชวงนี้ปลาไมคอยมี บางวันหาได บางวันก็ไมได เดี๋ยวนี้หาปลาไมคอยได น้ําขึ้น-ลงผิดปกติขึ้นประมาณอาทิตยหนึ่ง จากนั้นก็ลง “สมัยกอนมีเกาะแกงมาก เดี๋ยวนี้ทรายไหลมาถมหายไปหมด แตกอนมีปลาตัวใหญหลายชนิดทั้งปลาแข ปลาเคิง ปลานาง ปลาปาก ปลาคาว ปลาเลิม เดี๋ยวนี้หายไปนานแลว ทั้งที่ยอนกลับไปประมาณ 5 ปกวาหรือเกิน กวานั้นยังมีอยู ปหนึ่งมีรายได 3-4 หมื่นกวาบาท เดี๋ยวนี้อยางมากก็หมื่นกวาบาท ปลาก็หาไดบาง ไมไดบาง ตอนนี้ หาปลาไมคอยได จีนเขามาสรางเขื่อน นี่คือปญหาละ วิถีชีวิตของเราก็เปลี่ยนไปดวย ธรรมชาติซื้อหากันไมได บาน เราอยูกันมากรอยกวาปแลว” การที่คนหาปลาหยุดหาปลานั้นเกิดขึ้นแทบตลอดสองฝงแมน้ําโขง บางคนหาปลาหลอเลี้ยงชีวิตและ ครอบครัวมาตลอดชีวิตก็ตองหันหลังใหแมน้ํา ผลที่ตามมาก็คือ ระบบเศรษฐกิจที่ขึ้นอยูกับการหาปลาซบเซาลง ขณะที่ราคาปลาแพงมากขึ้นเกือบเทาตัวเนื่องจากหาปลายากขึ้นทุกวัน ผลกระทบตอการทําเกษตรริมโขง เกษตรริมโขงมีความสําคัญตอชาวบานทั้งในแงของความมั่นคงทางอาหารและความมั่นคงทางเศรษฐกิจ แตการทําเกษตรริมโขงเริ่มประสบกับปญหาตั้งแตป 2540 หรือ 1 ปหลังการสรางเขื่อนมันวานเสร็จและเปดใชงาน โดยปกติแลว คนทําเกษตรริมโขงจะเริ่มเพาะปลูกหลังน้ําลด และตามธรรมชาติแลว น้ําโขงจะไมขึ้นอีก แตในชวง ดังกลาวเปนตนมา น้ําโขงจากทางตอนบนไดหลากลงมาทวมพื้นที่เกษตรหลังจากชาวบานลงเมล็ดพันธุหรือกลา พันธุไปแลว บางครั้งน้ําทวมชวงใกลเก็บเกี่ยวพรอมที่จะนําไปขาย ทําใหผลผลิตเสียหาย มีคุณภาพต่ํา และขาย ไมไดราคา พอจันดี สายใจ (2550) บานผากุบ อ.เชียงของ กลาววา “น้ําทวมแปลงปลูกถั่วตรงริมน้ําหลายไร ตรงหวย ตุ น้ําโขงก็หนุนเขามา พอน้ํามันหนุนเขามาน้ําจากหวยก็ขึ้นสูง ผิดปกติตรงที่น้ําทวมครั้งนี้มันทวมหลังออกพรรษา “ตรงผาฟา น้ําทวมแปลงปลูกมะเขือมวง แปลงถั่ว มะเขือมวงกําลังออกลูกพอดี เจาของสวนกําลังจะเก็บไปขาย พอ น้ําทวมก็ขายไมไดแลว บางคนกําลังลงถั่ว ก็เสียหายไปหลายพันบาทอยู เพราะตองไปซื้อพันธุถั่วมาปลูกใหม ขาวโพดเหมยนี่ตองปลูกใหมหมด เพราะน้ําทวมมันตาย “ชาวบานก็แปลกใจอยูวาน้ํามันมาไดยังไง มันหนาออก พรรษาแลว ปกติน้ํามันจะนองชวงในพรรษาเทานั้น“ สําหรับชาวบานแลว ความเสียหายตอที่ดินริมโขงนั้นหมายถึง การขาดรายไดของครอบครัว ทําใหชาวบานซึ่งสวนใหญคือคนที่ไรที่ดินทํากินตองดิ้นรนหาชองทางทํามาหากิน อยางอื่นตอไป ผลกระทบจากการเดินเรือขนาดใหญ แมวาปจจุบันยังไมมีการระเบิดแกงคอนผีหลงและแกงอื่นๆ บริเวณพรมแดนไทย-ลาว แตแมน้ําโขง บริเวณพรมแดนไทย-ลาวก็มีการเดินเรือพาณิชยซึ่งทําใหเกิดผลกระทบตอคนหาปลาแลวในระดับหนึ่ง โดยเฉพาะ อยางยิ่งการเดินเรือเร็วทองเที่ยวระหวางเชียงแสนกับหลวงพระบาง เนื่องจากเรือเร็วมีเสียงดังและทําใหเกิดคลื่น ขนาดใหญ เชนเดียวกับเรือสินคาที่วิ่งระหวางหวยทรายและเชียงของกับหลวงพระบาง 265


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

คนหาปลาระบุวา เสียงและคลื่นจากเรือใหญจะรบกวนการอพยพหรือการออกหากินของปลา ซึ่งเปนอีก สาเหตุหนึ่งที่ทําใหคนหาปลาจับปลาไดนอยลง คนหาปลาหลายคนที่ตองหยุดหาปลาในตอนกลางวันเนื่องจากการ รบกวนของเรือเร็วและเรือสินคาขนาดใหญ โดยเลี่ยงลงหาปลาดวยการวางเบ็ดในตอนกลางคืนแทน เสียงและคลื่น จากเรือใหญและเรือเร็วยังทําใหคนหาปลาเลิกใชเครื่องมือหาปลาพื้นบานบางชนิด เชน เบ็ดน้ําเตา เพราะการใช เบ็ดน้ําเตาตองอาศัยความเงียบและน้ํานิ่งปลาถึงจะกินเบ็ด ในอนาคตหากมีการเดินเรือสินคาขนาดใหญที่ระวางบรรทุกน้ําหนัก 500 ตัน คนหาปลาเชื่อแนวา การใช เครื่องมือหาปลาในแมน้ําโขงอาจจะลดนอยลงอีก เพราะคนหาปลาเลิกใชเครื่องมือหาปลา นั่นหมายถึงการสูญเสีย ความรูทองถิ่นที่มีคาที่เกี่ยวของกับเครื่องมือหาปลาอยางถาวรนอกจากนั้น หากมีการเดินเรือขนาดใหญของจีนลง มาจนถึงเชียงของ คนหาปลายังจะมีความเสี่ยงมากขึ้นเนื่องจากคลื่นเรือสินคาของจีนมีขนาดใหญมาก ดังนั้นหาก มีการเดินเรือสินคาขนาดใหญของจีนอยางจริงจังหลังการระเบิดแกงคอนผีหลง คนหาปลาก็จะมีความเสี่ยงสูงมาก และอาจจะทําใหตองเลิกหาปลาเชนเดียวกับที่คนหาปลาแถบเชียงแสนเผชิญชะตากรรมนี้มาแลวหลังการกอสราง ทาเรือเชียงแสน ซึ่งกอนหนาที่จะมีทาเรือ คนหาปลาที่เชียงแสนรวมบานสบคํามีประมาณ 120-130 คน แต ปจจุบันอยูเพียงประมาณ 40 คนเทานั้น ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบนิเวศแมน้ําโขงที่ จ.เลย ตั้งแตปากน้ําเหือง บริเวณบานทาดีหมี ต.ปากตม อ.เชียงคาน เรื่อยลงมาจนถึงบริเวณตลาดปากชม อ.ปากชม พบวาภายหลังการพัฒนาแมน้ําโขงตอนบน บริเวณดังกลาวมีความเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศอยาง กวางขวาง 1. การเปลี่ยนแปลงของรองน้ํา และสันดอนทราย หนึ่งในระบบนิเวศสําคัญเฉพาะถิ่น คือ พื้นที่ริมน้ําที่ชาวบานเรียกวา “บุง” ในบุงจะมีแมงกระพรุนน้ําจืด หรือที่ชาวบานเรียกวา “แมงหยุมหวะ” อาศัยอยู ระบบนิเวศแบบบุงจะเกิดขึ้นในชวงหนาน้ําลด และในบุงจะเปนที่ อาศัยสําคัญของปลา ชาวบานในชุมชนจะมีกิจกรรมที่ทํารวมกันคือการลงบุงในชวงหนาแลง พอเพิ่มศักดิ์ พิสัยพันธุ (2550) พรานปลาที่อาศัยอยูในอ.เชียงคานและหาปลามากวา 20 ป กลาววา “แมน้ําโขงเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน เดี๋ยวนี้น้ําโขงขึ้น-ลงผิดปกติ ตลิ่งริมโขงพังทลายทรุดตัวลงมา และกินเนื้อที่เขาไป ในเขตบานและที่ทํากิน “รองน้ําเปลี่ยนทางเดิน แตกอนรองน้ําลึกจะอยูทางฝงลาว บริเวณริมฝงก็จะมีแกงหินผาเต็ม ไปหมด แลวริมฝงโขงก็เริ่มเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โดยมีทรายทับถมหินผาใหจมอยูใตทรายเกือบหมด ดอนทรายก็จะอยู ทางฝงลาว สวนรองน้ําลึกก็จะกินเนื้อที่เขามาทางฝงไทยทุกป” พอหลา โพธิ์ไทร (2549) คนหาปลาบานทาดีหมี ที่หาปลาอยูบริเวณปากน้ําเหือง มากวา 30 ปกลาววา “สภาพของแมน้ําโขงเมื่อกอนจะมีหินผาอยูริมฝงทั้งไทยและลาว เมื่อน้ําลดหินผาก็จะโผลพนน้ํา มีตนไคร และ หญาขึ้นคลุม แตตอนนี้ทรายไหลมาทับถม กลายเปนดอนทรายที่มีแนวยาวเปนกิโลแทบไมมีแกงผา ปลาก็ไมมีที่ อาศัยและวางไขตามแกงหิน สวนรองน้ําก็กินเนื้อที่เขามาทางฝงไทยทุกป น้ําก็เปลี่ยนทางเดินไหลเซาะฝงไทย มากขึ้น “เมื่อสิ่งแวดลอมเปลี่ยนไปจากเดิมปลาก็อยูไมคอยได ไมรูหายไปไหนหมด บางวันก็หาได บางวันก็หา ไมได เมื่อกอนลงมามือเปลาจับปลาตามซอกหินผาก็ไดปลาไปกินแลว เดี๋ยวนี้ขนาดมีเครื่องมือชวยจับยังหาไม 266


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

คอยไดเลย” การไหลของน้ําโขงที่ผิดปกติไปจากเดิม ทําใหตลิ่งพังทลาย สงผลใหชาวบานสูญเสียที่ทําการเกษตรริม โขง เนื่องจากดินพังทลายกินพื้นที่ทําการเกษตรของชาวบานทุกป และไมมีเสนทางสัญจรไปมาในการหาปลาหรือ ลงไปใชประโยชนตางๆ บริเวณแมน้ําโขงและไมมีทาจอดเรือหาปลา เพราะตลิ่งสูงชันทําใหวิถีชีวิตของชาวบาน เปลี่ยนแปลงตามไปดวย พอวิญู ไชยจันทร (2550) อายุ 58 ป ชาวบานผาแบน อ.เชียงคาน ใหขอมูลวา “เวลาน้ํามา กระแสน้ําจะ แรงเซาะดินริมตลิ่งพังลงมา ตนไมใหญนอยก็ลมลงตามดิน ตลิ่งพังทุกป ที่ปลูกพืชผักไวกินริมตลิ่งก็ไมคอยมีแลว ซื้อผักในตลาดกินกันเสียสวนใหญ อยาวาแตที่ปลูกผักเลย ที่จอดเรือก็ไมคอยมีเพราะตลิ่งสูงชันมาก หาทางไปมา ลําบาก ทําใหลงไปหาปลาหรือลงไปแมน้ําโขงลําบากกวาแตกอนมาก“ 2. ผลกระทบตอพรรณปลาและสัตวน้ํา พรรณปลาสัตวน้ําที่อาศัยอยูในแมน้ําโขงไดรับผลกระทบจากระบบนิเวศที่เปลี่ยนแปลงเมื่อมีการพัฒนา แมน้ําโขงตอนบน ซึ่งสามารถประเมินไดจากปริมาณปลาที่ชาวบานจับไดที่ลดลงอยางตอเนื่อง พอทวี สิทธิแกว (2550) อายุ 63 ป ชาวบานเชียงคาน ใหขอมูลวา “เมื่อกอนปลามีมาก หาไดทุกวันมี รายไดทุกวัน จับแตปลาตัวใหญสวนตัวเล็กที่ติดมองก็จะปลอยไปถายังไมตาย เดี๋ยวนี้บางวันก็หาได บางวันก็ไมได แลวแตดวง น้ําโขงขึ้น-ลงไมเหมือนเมื่อกอน ปลามันอยูไมได เวลาปลาวางไขมันตองอาศัยสภาพน้ําที่เหมาะสม เดี๋ยวนี้น้ําขึ้นๆ ลงๆ แลวแตเขาจะปลอยมา (จากเขื่อน) น้ําโขงไมขึ้น-ลงตามธรรมชาติ ปลาก็อยูไมได ปลาเล็กเกิด มาก็อยูไมไดทําใหจํานวนปลาลดลง ปลาหายากมากขึ้น การทํามาหากินของชาวบานก็ฝดเคืองขึ้นจากแตกอน” แมบุญเผื่อ สมชิต (2550) แมคาปลาในตลาดอ.ปากชม กลาววา “ปนี้ (2550) น้ําลงเร็วกวาทุกป ปกติ เดือน 3 (กุมภาพันธ) ปลาจะเริ่มขึ้นแลว แตปนี้ปลาไมคอยมี ตางจากปกอนๆ อยางปลามางวันหนึ่งรับซื้อได 20-30 กิโล ปลาเนื้อออนก็วันหนึ่ง 30-50 กิโล แตปนี้วันหนึ่งรับซื้อไดแค 5-10 กิโลเทานั้น ปลามีนอยมาก ดอนทรายโผล เร็วกวาทุกป น้ําโขงก็แหงเร็ว คงเปนสาเหตุใหไมคอยมีปลาขึ้น“ 3. ผลกระทบตอวิถีชีวิตของคนริมโขง วิถีชีวิตของกลุมชาวบานที่มีอาชีพหาปลาเริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด หลังระบบนิเวศของ แมน้ําโขงถูกทําลาย โดยเฉพาะในชวง 3-4 ปที่ผานมา ความเปลี่ยนแปลงสามารถวัดไดจากจํานวนเรือหาปลาของ ชาวบานที่มีจํานวนลดลง เชนที่ลวงหาปลาดอนไข อ.เชียงคาน จากที่เคยมีเรือหาปลาพื้นบานกวา 50 ลํา ปจจุบันมี เรือที่อยูในทะเบียนเรือหาปลาเพียง 38 ลํา การออกเรือหาปลาในแตละวันก็ลดจํานวนลงเรื่อยๆ บางวันออกหาปลา 20 ลํา บางวันก็เหลือเพียงไมถึง 10 ลํา สวนลวงหาปลาที่แกงคุดคู อ.เชียงคาน มีเรือหาปลา 50 ลํา แตหลังจากที่ แมน้ําโขงเกิดการเปลี่ยนแปลง 3-4 ปที่ผานมา มีเรือที่ออกหาเปนประจําเพียง 20 ลํา นายวัน แกวยาศรี (2549) อายุ 42 ป หนึ่งในจํานวนคนหาปลาบริเวณแกงคุดคู กลาววา “น้ําไมทรงตัว อยางเมื่อกอนชวงน้ําขึ้นก็จะคอยๆ ขึ้นเรื่อยๆ ตามฤดูกาล ปลาก็จะขึ้นไปวางไข พอหมดฝนถึงชวงน้ําลดก็จะลดลง 267


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

เรื่อยๆ ตามฤดูกาลของมัน ปลาที่ขึ้นไปวางไขก็จะกลับลงมา เปนอยางนี้มาตลอด คนหาปลาจึงรูวาควรจะจับปลา ชวงไหน ปลามันก็คงรูสึกถึงการเปลี่ยนแปลง ปลามันอาจอยูไมไดทําใหหาปลาไดยากขึ้น บางวันก็หาไมไดเลยสัก ตัว คนหาปลาเดี๋ยวนี้ก็เริ่มหันไปทําสวน บางชวงที่หาปลาไมคอยไดก็รับจางกอสราง จากเมื่อกอนหาปลาเปนอาชีพ ไดวันละไมต่ํากวา 1,000 บาทเลยทีเดียว” ในอดีตคนหาปลาใชเครื่องมือหาปลาพื้นบานหลากหลายชนิดที่เหมาะสมกับการจับปลาแตละชนิด แตละ ฤดู คือ ในชวงหนาน้ําลดก็จะใชมองตาถี่เพื่อจับปลาเล็กที่อพยพขึ้นมาทางตอนบน เชน ปลาปาก ปลามาง ปลา แปบ เปนตน และเมื่อถึงหนาน้ําแดง เมื่อน้ําโขงเริ่มยกระดับขึ้น คนหาปลาก็จะใชมองตาใหญจับปลาที่มีขนาดใหญ เชน ปลาแข ปลาเลิม เปนตน สวนหนาน้ําหลากก็จะวางเครื่องมือประเภท ตุม ลอบ จั่น ไซ ไวริมตลิ่งดักจับปลา แตปจจุบันจํานวนปลาที่จับไดลดลง ประกอบกับการไหลอยางผิดปกติของแมน้ําโขง ที่ไหลแรงและเชี่ยว บวกกับระดับน้ําที่ขึ้น-ลงไมเปนไปตามฤดูกาลเชนเมื่อกอน จึงทําใหวางเครื่องมือจับปลาไดลําบาก ปจจุบันคนหา ปลาจํานวนหนึ่งจึงตองปรับมาใชมองขนาดตาเล็กสุดไปจนถึงใหญสุด โดยนํามองตาถี่หรือตาเล็กประกบกับมองตา ใหญ เพื่อจะชวยใหไดปลาทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ วิถีชีวิตของคนหาปลาก็เริ่มเปลี่ยนแปลงจากหาปลาเปน อาชีพตลอดทั้งป ก็ตองหันไปทําอาชีพอื่น โดยหาปลาเปนอาชีพเสริม หาปลาเฉพาะในชวงน้ําเริ่มขึ้น และหาอีก ชวงหนึ่งคือชวงน้ําลดในเดือนมีนาคม-เมษายน

โครงการเขื่อนบนแมน้ําโขงตอนลาง ไทย-ลาว-กัมพูชา 1. โครงการเขื่อน นับตั้งแตปลายป พ.ศ. 2550 เปนตนมา ไดมีความเคลื่อนไหวของหนวยงานทั้งภาครัฐและบริษัทเอกชน ในการรื้อฟนโครงการเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาบนแมน้ําโขงสายหลักทางตอนลาง โดยมีทั้งสิ้น 11 โครงการ (ดูตาราง 1) ตั้งอยูบนแมน้ําโขงในเขตประเทศลาว พรมแดนไทย-ลาว และกัมพูชา ตารางที่ 1 สรุปขอมูลโครงการเขื่อนกั้นแมน้ําโขงตอนลาง ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2551 โครงการ ประเทศ กําลัง บริษัทผูดําเนินการ/พัฒนา สถานะ ผลิต โครงการ (เมกกะ วัตต) ลาว 1,230 ตาถัง (จีน) MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได ปากแบง 1,410 ปโตรเวียดนาม MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได หลวงพระบาง ลาว ลาว 1,260 ช.การชาง MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได ไซยะบุรี ลาว 1,818 ชิโนไฮโดร และ ไชนาอิเลคโทร MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได ปากลาย นิกส พรมแดนไทย- 1,000 ตาถัง (จีน) MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได สานะคาม ลาว 268


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

โครงการ

ปากชม บานกุม

ประเทศ

กําลัง ผลิต (เมกกะ วัตต) พรมแดนไทย- 2,030 ลาว พรมแดนไทย- 2,330 ลาว ลาว 800 ลาว 360

บริษัทผูดําเนินการ/พัฒนา โครงการ

กระทรวงพลังงาน

สถานะ

ศึกษาความเปนไปไดเบื้องตน

อิตาเลียนไทย และเอเชียคอรป MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได (ฮองกง) เจริญเอนเนอรยีแอนดวอเตอร MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได ลาดเสือ เมกะเฟรส (มาเลเซีย) PDA พัฒนาโครงการ ดอนสะฮอง จะกอสรางแลวเสร็จ พศ. 2558 กัมพูชา 980 บริษัทจากรัสเซีย MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได สตึงเตรง กัมพูชา 2,600 ชิโนไฮโดร (จีน) MoU เพื่อศึกษาความเปนไปได ซําบอ ที่มา การนําเสนอของรัฐบาลลาวและกัมพูชา Regional Multi-stakeholder Consultation on MRC’s Hydropower Program เวียงจันทน กันยายน พ.ศ. 2551 2. ขอกังวลตอผลกระทบดานสังคมและสิ่งแวดลอม ผลกระทบตอระบบนิเวศและชุมชนในลุมน้ําโขงตอนลาง ยอมเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมไดหากโครงการเขื่อน บนแมน้ําโขงตอนลางเกิดขึ้น หนึ่งในประเด็นหลัก คือ ผลกระทบตอพันธุปลาในแมน้ําโขง และน้ําสาขา ซึ่งเปนที่ ทราบกัน ดีวาพัน ธุปลาในลุมน้ําโขงมีห ลากหลายถึง 1,300 ชนิด ในแตละปการประมงมี มูลคาถึ ง 2,000 ลา น ดอลลารสหรัฐ นับเปนประมงน้ําจืดอันดับ 1 ของโลก ดร.แพททริก ดูแกน นักวิชาการจาก World Fish Center กลาววา (2008) เขื่อนทั้งหมดที่จะสรางกั้นแมน้ําโขงจะสรางผลกระทบอยางใหญหลวงตอพันธุปลา และประชาชนที่ พึ่งพาทรัพยากรปลาจากแมน้ําโขง ซึ่งเฉลี่ยแลวประชากรน้ําโขงตอนลางไดรับสารอาหารจากปลาเฉลี่ยปละ 29-39 กิโลกรัมตอคน จากการประชุมของคณะผูเชี่ยวชาญปลาตอเรื่องเขื่อนน้ําโขง ซึ่งจัดโดย MRC รายงานวา ผูเชี่ยวชาญเห็น ตรงกันวา ปจจุบันไมมีเทคโนโลยีใดๆ ที่จะบรรเทาผลกระทบได เนื่องจากปลาในลุมน้ําโขงรอยละ 70 เปนปลาที่ อพยพเพื่อขึ้นไปวางไขทางตอนบน เสนทางอพยพนับตั้งแตปากน้ํา ทะเลสาบเขมร ขึ้นไปจนถึงพรมแดนไทย-ลาว ที่สามเหลี่ยมทองคํา จ.เชียงราย คาดการณวาประชากรกวา 60 ลานคนที่พึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติในลุมน้ําโขง ตอนลาง 4 ประเทศ จะไดรับผลกระทบตอวิถีชีวิตซึ่งสัมพันธอยางแนบแนนกับการประมง ตรงกันกับที่ผูเชี่ยวชาญ สรุปในการศึกษา วา “ เขื่อนบนแมน้ําโขงตอนกลางและตอนลางจะสรางผลกระทบใหญหลวงตอการประมง และมี ตนทุนมหาศาลทั้งในดานเศรษฐกิจและสังคม” (Dugan 2008) 3. คํ า ถามตอ มาตรการดา นสิ ่ง แวดลอ มและสัง คม ของโครงการเขื ่อ นแมน้ํ า โขงโดยบริษ ัท เอกชน แมโครงการเขื่อนบนแมน้ําโขงเหลานี้จะไมใชโครงการใหม แตหลายโครงการมีการวางแผนไวนับตั้งแตยุค สงครามเย็น อาทิ เขื่อนผามอง หรือโครงการเขื่อนปากชมในปจจุบัน แตเปนที่นาสังเกตวา โครงการเหลานี้ลวนมี 269


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

ตัวละครใหมที่ไมเคยมีมากอน กลาวคือ มีผูพัฒนาโครงการเปนบริษัทเอกชนทั้งดานอุตสาหกรรมพลังงานและ อุตสาหกรรมกอสรางจากประเทศตางๆ ทั้งในและนอกภูมิภาค รวมทั้งมีแนวโนมวาแหลงทุนและแหลงเงินกูที่ สนับสนุนโครงการเหลานี้เปนธนาคารเอกชน มิใชสถาบันทางการเงินระหวางประเทศ (International Financial Institution-IFIs) ตามที่เคยมีมา เหล า นี้ ทํ า ให เ กิ ด ข อ กั ง วลและคํ า ถามว า การลงทุ น ในโครงการเขื่ อ นขนาดใหญ กั้ น แม น้ํ า โขงโดย ภาคเอกชน จะใชมาตรฐานดานสังคมและสิ่งแวดลอมอยางไร โดยเฉพาะเมื่อโครงการเหลานี้มิไดอยูในประเทศตน สังกัดของบริษัทเจาของโครงการ และยังไมมีมาตรการจัดการแมน้ําโขง ในฐานะแมน้ํานานาชาติ อยางเปนรูปธรรม ที่ผานมา ยังไมพบวาบริษัทหรือหนวยงานเจาของโครงการปฏิบัติตามมาตรฐานตางๆ ในการดําเนินโครงการ ไมวา จะเปน การเปดเผยขอมูลตอสาธารณะและผูไดรับผลกระทบ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม (EIA) การ ประเมินผลกระทบเชิงยุทธศาสตร (SIA) และการสงเสริมการมีสวนรวมของผูไดรับผลกระทบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการเขื่อนบนแมน้ําโขงตอนลางเหลานี้มีลักษณะเปนเขื่อนชุด แตกลับมีเจาของที่หลากหลาย แตละโครงการ เขื่อน โรงไฟฟา และอางเก็บน้ํา เปนของบริษัทตางๆ ที่รับสัมปทานจากรัฐบาลเจาของพื้นที่ จึงทําใหเกิดความ กังวลวา อนาคตของแมน้ําโขงจะมีการจัดการอยางไร โดยเฉพาะความสูญเสียตอการประมงที่มีมูลคาสูงที่สุดในโลก และผลกระทบทางสังคมอันจะเกิดตอเนื่องมาและหลีกเลี่ยงไมได

เอกสารอางอิง คณะนักวิจัยจาวบานชียงของ-เวียงแกน, 2549. ความรูทองถิ่นเรื่องพันธุปลาแมน้ําโขง. เชียงใหม: โครงการ แมน้ําเพื่อชีวิต เครือขายแมน้ําเอเชียตะวันออกเฉียงใต. ทองสวรรค พรมราช. สัมภาษณ, 1 มกราคม 2550. พอจันดี สายใจ. สัมภาษณ, 11 กุมภาพันธ 2550. พอทองพัน ดวงธิดา. สัมภาษณ, 1 มกราคม 2550. พอทวี สิทธิแกว. สัมภาษณ, 14 กุมภาพันธ 2550. พอพุม บุญหนัก. สัมภาษณ, 18 เมษายน 2549. พอเพิ่มศักย พิสัยพันธุ. สัมภาษณ, 14 กุมภาพันธ 2550. พอมวน ลิพัน. สัมภาษณ, 10 ตุลาคม 2551. พอวิญู ไชยจันทร. สัมภาษณ, 14 กุมภาพันธ 2550. 270


ผลกระทบข้ามพรมแดนจากการพัฒนาแม่น้ําโขง มิติด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม / เพียรพร ดีเทศน์

พอสี ไชยจันทร. สัมภาษณ, 17 มีนาคม 2549. พอหลา โพธิ์ไทร. สัมภาษณ, 17 มีนาคม 2549. พออุน ธรรมวงศ. สัมภาษณ, 2 กุมภาพันธ 2550. แมแกวใส ธรรมวงศ. สัมภาษณ, 2 กุมภาพันธ 2550. แมบุญเผื่อ สมชิต. สัมภาษณ, 4 พฤษภาคม 2550. วัน แกวยาศรี. สัมภาษณ, 4 กรกฎาคม 2549. อุยเสาร ระวังศรี. สัมภาษณ, 17 ตุลาคม 2549. Blake, David, 2001. “China’s Lancang Dams Endanger Millions both Upstream and Downstream”. International Rivers Network World Rivers Review, Vol. 16, No 3. Dugan, Patrick, 2008. “Mainstream dams as barriers to fish migration: International learning and implications for the Mekong”. Fisheries Research and Development in the Mekong Region Mekong River Commission. Vol. 14, No. 3 December. [online] available http://www.mrcmekong.org/Catch-Culture/vol14_3Dec08/mainstream-dams-barriers.htm Mekong River Commission, 2008. Regional Multi-Stakeholder Consultation on its emerging Hydropower Programme. Xinhua Yunnan Channel, 2004. July 21. [T.V. program]

271


บทที่ 14 สานตองานวิจัยไทบาน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร ปาบุงปาทาม ลุมน้ําสงครามตอนลาง สรรคสนธิ บุณโยทยาน เกษตรและสหกรณ จังหวัดสกลนคร

บทคัดยอ งานวิจัยไทบาน เปนผลงานการศึกษา ดานนิเวศ ประวัติศาสตร เศรษฐกิจ ของหมูบ านปากยาม บานทา บอ บานยางงอย และบานอวน ซึ่งตั้งอยูในพื้นที่ชุมน้ําของแมน้ําสงครามตอนลาง อําเภอศรีสงคราม จังหวัด นครพนม ดําเนินการในชวงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2546 – เดือนมีนาคม พ.ศ. 2548 โดยความรวมมืออยางใกลชิด ระหวางผูนําชุมชน และนักวิชาการ ภายใตการสนับสนุนของโครงการอนุรักษและใชประโยชนทางความหลากหลาย ทางชีวภาพอยางยั่งยืน ในพื้นที่ชุมน้ําลุมแมน้ําโขง และไดรับงบประมาณจากสหภาพสากลวาดวยการอนุรักษ ผลการวิจัยพบวาลุมน้ําสงครามตอนลางยังมีความอุดมสมบูรณของพื้นทีช่ ุมน้ํา ซึ่งประกอบดวยปาบุง ปาทาม เปน ที่สะสมของพืชนานาชนิด และเปนแหลงแพรพันธุข องปลาธรรมชาตินับรอยสายพันธุ จนอาจพูดไดวาเปน “ตูกับขาวของชุมชน” แตหากมองอีกมุมก็พบวาพื้นที่ชุมน้ําแหงนี้กําลังถูกคุกคามอยางมากจากการแสวงผลประโยชนทั้งโดยความตั้งใจและรูเทาไมถึงการณ หากปลอยใหสถานการณเปนไปเชนนี้ความอุดมสมบูรณจะเสื่อมสลาย ในอนาคตอันใกล ดังนัน้ ผลงานวิจัยไทบานควรจะถูกหยิบยกขึ้นมาสานตอใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติอยางเปน รูปธรรม มากกวาจะปลอยใหเปนเพียงเอกสารทางวิชาการที่วางอยูบนหิ้งหนังสือ

บทนํา เปนที่ทราบดีวาโครงการตางๆที่ดําเนินการโดยภาครัฐ หรือองคกรในประเทศและองคกรสากล ลวนแต ประสบชะตาเดียวกันเมื่อเดินมาถึงจุดสิ้นสุดอายุโครงการ หากไมมีการสานตอโดยชุมชน หรือองคการปกครองสวน ทองถิ่น ในพื้นที่นั้นๆ งานวิจัยไทบานในพื้นที่ชุมน้ําของลุมน้ําสงครามตอนลาง อําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม ไดจุดประกายใหชุมชนไดตระหนักถึงความสําคัญของการใชทรัพยากรธรรมชาติอยางชาญฉลาด ซึ่งจะนําไปสูการ อยูรวมกันแบบ win-win ระหวางผูคนในชุมชน กับความหลากหลายทางชีวภาพของลุมน้ํา แตปญหาสําคัญที่ยัง ขบกันไมแตกก็คือ จะเริ่มตนตรงไหน ใครจะเปนตังตั้งตัวตี และใชงบประมาณของใคร ขอเสนอในบทความชิ้นนี้จะ ชี้ใหเห็นแนวทางที่เปนรูปธรรม และนาจะเริ่มปฏิบัติไดในเวลาอันรวดเร็ว และไมตองใชงบประมาณมาก โดยยึด หลั ก การ “ใช จุ ด แข็ ง ให เ ป น ประโยชน ” เนื่ อ งจากลุ ม น้ํ า สงครามตอนล า งอยู ไ ม ห า งจากเส น ทางเศรษฐกิ จ East - West Corridor และสะพานขามแมน้ําโขงแหงที่สาม ในอนาคตอันใกลจะมีระบบเชื่อมโยงในดานการคา การ ลงทุน อยางมาก อีกทั้งจังหวัดนครพนม และสกลนครถูกจัดใหเปนศูนยกลางการศึกษาของอนุภูมิภาคอินโดจีน (Education Hub) จะทําใหมีผูคนหลั่งไหลผานเขาออกตลอดเวลา หากมีการจัดการใหพื้นที่เหลานี้เปนแหลง ทองเที่ยวในเชิงธรรมชาติ ที่ประกอบดวยสถานที่เยี่ยมชมที่แปลกตา จัดบริการนํานักทองเที่ยวเขาสูสถานที่โดย พาหนะ “ไบโอดีเซล ขับเคลื่อนสี่ลอขนานแท” (Genuine Biodiseil Powered 4-Wheels Drive) พรอมกับอาหาร จากธรรมชาติที่ไดบรรยากาศ ขณะเดียวกันสามารถจัดใหเปนแหลงเรียนรูขนาดใหญของนักเรียน นักศึกษา และ ผูสนใจ ที่ตองการสัมผัสกับขอมูลที่เปนจริง


สานต่องานวิจัยไทบ้าน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม ลุ่มน้ําสงครามตอนล่าง / สรรค์สนธิ บุณโยทยาน

ทําความรูจักกับลุมน้ําสงครามตอนลาง จากบางตอนของเรื่องราว “ชีวิตในปาทาม ปาชายเลนน้ําจืดของ แผนดินอีสาน” โดยนิตยสาร sarakadee.com ในหนามรสุม ผืนน้ําคืบเขากลืนผืนดินแถบลุมน้ําสงครามหายไปเปนแสนๆ ไร ทุงทาปาทามและพื้นที่ บางสวนของหมูบานจมอยูใตน้ํา เปนชวงเวลาที่ตนไมใบหญาจะไดนทิ รานอนในเปลแมน้ําอยางสงบนานรวม 3 เดือน สายนทีเออเขาครอบครองทองทุง ระดับน้ําไมลึกนักแตแผกวางจนมองหาขอบเขตไมเห็นฝง แมน้ําสงครามที่ กวางไมกี่ชวงความยาวเรือแจว-ในยามปรกติ เมื่อฤดูฝนเดินทางมาถึง ระดับน้ําจะคอยๆ เออทนลนฝงแลว ลามเขาไปยังทุงทามและหมูบาน อยางชา ๆ แตแนนอนและมั่นคงอยางไมอาจตานทานหรือแข็งขืน เปนเชนนี้อยู ทุกป ตลอด 3-4 เดือนในชวงฤดูน้ําหลาก เปนปรากฏการณธรรมดา เปนธรรมชาติของลุมน้ําสงครามที่คนทองถิน่ ไมเคยนึกรังเกียจ ไมคิดตอตานเปลี่ยนแปลง เพราะสภาพการณดังกลาวนี้ที่นําความอุดมสมบูรณมาสูถิ่นฐานบาน ชอง พอน้ํามาทุกอยางก็เปลี่ยนไปหมด บุง หนอง ปาไผ ในทาม จมหายอยูใตพื้นน้ําทั้งหมด ผุดโผลอยูบางเพียง ปลายยอดกับพุมสูงของไมใหญที่ยืนชะลูดเปนหลักหมุดอยู กลางเวิ้งน้ํา ใหจําไดวาตรงนั้นคือทีไ่ หน และเปนที่พึ่งใหนก หนู งู และนานาสัตว ไดขึ้นไปอาศัย แลวชาวบานก็ลองเรือ ออกไปสอยเอามาแกงกิน ถนนและทางเดินก็จมลงใตน้ํา การสัญจรของชาวบานริมฝงน้ําสงครามในยามนี้อาศัยเรือ กันเปนหลัก ไปไหนตอไหนกันดวยเรือแจวหรือไมก็เรือ เครื่องทาย แลนตัดไปบนผืนน้ําซึ่งลึกลงไปขางใตคือถนน และทองทุงที่เคยเปนผืนนา ทุงเลี้ยงสัตว หรือแมกระทั่งปาบุงปาทาม ที่บัดนี้ลวนแตมีน้ําแผลามไปถึง และเรือก็แลน ตามไปได น้ําทวมทน เปลี่ยนหมูบานและทองทุงเปนทุงน้ํา แตก็อยางที่วาไมมีใครรังเกียจการมาของกระแสน้ําหลาก น้ําทวมนองและน้ําก็นําความอุดมสมบูรณมาดวยอยางมหาศาล พอน้ํามาปาก็เปนของน้ําและเปนที่อาศัยวางไขและ หากินของฝูงปลา ใหเหลาชาวประมงพื้นบานออกลากันอยางกับเปนเทศกาลของ ลุมน้ํา วางเบ็ด ใสมอง ดักขายจับ ปลากันเหนือยอดไม ซึ่งมีผืนปาทามจมอยูเบื้องลาง แลนเรือกันเหนือทองถนน และวางเบ็ด ขายหาปลากันกลางผืน ปา วิถีชีวิตบนทุงน้ําอยางนี้มันไมยิ่งกวา amazing หรือ unseen หรอกหรือ ? นี่เปนฉากแหงชีวิตที่ถูกจัดวางมาโดย ธรรมชาติ ลุมน้ําสงครามตอนลาง อําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม มีระบบนิเวศนเปนพื้นที่ชุมน้ํา ในฤดูฝนน้ําจะ หลากจากการหนุนของแมน้ําโขง เปนแหลงแพรพนั ธุปลาธรรมชาติที่ใหญที่สุดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน สวนฤดูแลงจะเหลือน้ําอยูเพียงในตัวแมน้ํา ปาบุง ปา ทาม เปนแหลงอาหารขนาดใหญของชุมชน สัตวเลี้ยง และปลาธรรมชาติ อาจเรียกไดวาเปน “ตูกับขาวของ ชุมชน” ถาดูเผินๆ อาจคิดวาเปนปาเสื่อมโทรม เพราะ มีสภาพไมเหมือนปาดงดิบ แตนี่คือระบบนิเวศน ที่มี อายุยาวนานนับลานป ตามทฤษฏีความอยูรอดของสิ่ง ที่เหมาะสมของทานชาล ดาวินส ระยะทางราว 420 กิโลเมตรของแมน้ําสงคราม กําเนิดจากบนสันภูผาเหล็ก ในเขตอําเภอสองดาว จังหวัด สกลนคร ไหลโคงขึ้นไปทางเหนือ ผานอําเภอหนองหาน อําเภอบานดุง จังหวัดอุดรธานี อําเภอบานมวง อําเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร แลวเขาสูเขตอําเภอพรเจริญ อําเภอเซกา จังหวัดหนองคาย แลววกกลับลงมาสู ตอนลางของแมน้ําที่อําเภออากาศอํานวย จังหวัดสกลนคร เขาอําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม แลวออกไป 273


รายงานการประชุมงานสัมมนา “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

บรรจบกับแมน้ําโขงที่ไชยบุรีอําเภอทาอุเทน เมื่อเดินทางมาราวครึ่งทาง สายน้ําสงครามลดระดับมาอยูที่ความสูง ประมาณ 140 เมตร (จากระดับน้ําทะเลปานกลาง) ระยะทางตอจากนั้นไปอีกราว 200 กิโลเมตรจนกระทั่งบรรจบ กับแมน้ําโขง ลําน้ําสงครามไหลผานความความลาดเทเพียง 4 เมตร-เทานั้น ! หรือพูดอีกแบบคือ ในระยะ 200 กิโลเมตร จากชวงกลางลําน้ําไปจนถึงปากน้ําไชยบุรี ถาจะหาความตางระดับของแมน้ําสงคราม 1 เมตร ก็ตอง วัดในระยะที่หางกันราว 25 กิโลเมตร สายน้ําสงครามตอนลางจึงไหลระบายไปอยางเชื่องชา ขณะที่พื้นที่รับน้ําฝน กวางใหญถึง 8 ลานไร และเปนบริเวณที่มีปริมาณน้ําฝนสูงถึง 1,800 มิลลิเมตรตอปมากที่สุดในภาคอีสาน อีกทั้งใน ฤดูน้ําหลาก ระดับน้ําในแมน้ําโขงก็เพิ่มสูงขึ้น เออหนุนไหลยอนเขามารวมกับกระแสน้ําหลากของลําน้ําสงคราม หลากลนตลิ่งออกไปตามพื้นที่ราบต่ําสองฟากฝง รวมถึงลําน้ําสาขาอยาง หวยคอง หวยซาง หวยน้ําฮี้ น้ํายาม น้ําเมา น้ําอูน หวยโขง หวยซิง ฯลฯ ทวมลามไปถึงในทุงในทามเปนทุงน้ํากวางใหญถึง 5-6 แสนไร ในพื้นที่ 3 จังหวัด นครพนม สกลนคร หนองคาย และทวมนองอยูอยางนั้นในราวเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายนของทุกป ซึ่งถือ เปนชวงน้ําขึ้นของปาทามลุมน้ําสงคราม ฤดูน้ําหลากป พ.ศ. 2548 กระแสน้ําเริ่มเออทวมในชวงกลางเดือนสิงหาคม คนในหมูบานริมแมน้ําสงคราม อยางที่บานทาบอ ก็เห็นการมาของน้ํากอนใคร หมูบานทาบอตั้งอยูบนลาด เนิน ทางฝงขวาของแมน้ํา ในตําบลทาบอสงคราม (อําเภอศรีสงคราม นครพนม) ตรอกซอยหลายสายในหมูบาน ทอดเชื่อมจากริมฝงขึ้นมายังถนนสาย 2177 อากาศอํานวย-ศรีสงคราม ที่ทอดผานไปทายหมูบาน บานของพอ หนอก ตั้งอยูชวงกลางซอย หางจากฝงน้ําขึ้นมาราวครึ่งกิโลเมตร ชวงสัปดาหกอนหนานี้พอหนอกเริ่มเห็นน้ํา สงครามทวมเต็มฝงขึ้นมาแลว จากนั้นก็คอยๆ เออขึ้นมาในหมูบาน ผานใตถุนเรือนหลังที่อยูใกลฝง ขอบน้ําไล ระดับขึ้นมาตามถนน แตจนกระทั่งเย็นวานนี้ก็ยังมาไมถึงบานของแก 15 สิงหาคม พ.ศ. 2548 พอหนอกตื่นเชามาก็ พบวาระดับน้ําขึ้นผานพนหนาบานของแกไปแลว บานของคนริมแมน้ําสงครามแทบทั้งหมดเปนเรือนเสาสูง ถึงฤดู น้ําทวมใตถุนบานก็เปนผืนน้ํา เหมือนปลูกบานอยูกลางทะเลสาบ ยามลงจากเรือนจะไปมาหาสูกันตองใชเรือเปน หลัก บานของพอหนอกเองเปนบานชั้นเดียวปลูกติดพื้นแตถมฐานขึ้นสูง ซึ่งกอนสรางแกสังเกตมากอนแลววา โดยปรกติน้ําสงครามจะทวมขึ้นมาไมถึงระดับพื้นบาน สุรชัย ณรงคศิลป หรือพอหนอก เปนลูกผูชายแหงทาบอ สงครามที่คนทองถิ่นยอมรับนับถือมากกวากํานัน แกเปนหัวเรี่ยวหัวแรงคนสําคัญของชุมชนในการฟนฟูดูแลแมน้ํา สงคราม หลังแมน้ํารอดพนจากโครงการสรางเขื่อนปดปากแมน้ํามาได ยอนหลังไปราวสิบป กอนหนานี้ในชวงปลายป พ.ศ. 2538 จู ๆ ชาวลุมน้ําสงครามตอนลางก็ไดรับแจงจาก ผูวาราชการจังหวัดนครพนมวาจะมี “โครงการพัฒนาลุม น้ําสงคราม” รายละเอียดของโครงการฯ กําหนดใหสราง “ประตูระบายน้ํา” ปด-เปดได 5 บาน ความกวางบานละ 15 เมตร ที่บานนาเพียงใกลปากน้ําไชยบุรี ที่อําเภอทาอุเทน เพื่อปองกันน้ําทวมจากการไหลยอนของน้ําจากแมน้ําโขง และปดกักเก็บน้ําไวใชในฤดูแลง ใน ระดับ 139.5 ม.รทก. (เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง) มีพื้นที่น้ําทวมถาวร 187,500 ไร เขื่อนแมน้ําสงครามมี ที่มาจากการมอง “น้ํา” ในลุมน้ําสงครามวาเปนปญหา อุทกภัย แตโดยความจริง การสรางประตูกั้นแมน้ําโขงไหล ยอนเขาไปนั้นเปนการปดกั้นน้ําสงครามไมใหไหลลงโขงเชนกัน หนําซ้ําการสรางประตูระบายน้ําความกวางรวม เพียง 75 เมตรจะยิ่งทําใหน้ําทวมขังนานกวาเดิม เพราะปากน้ําสงครามในฤดูน้ําหลากกวางถึง 2 กิโลเมตร ชาวลุม น้ําสงครามเรียนรูที่จะอยูกับสภาพการณเชนนี้มาแตบรรพกาล และรูวาน้าํ พัดพาเอาปุยและนําปลามาวางไขหากิน อยูในบุง-ทาม จนมีคํากลอนพื้นบานที่ขับวา “น้ําเอาปลามาฝาก น้ําหนีจากฝากปลาไว”

274


สานต่องานวิจัยไทบ้าน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม ลุ่มน้ําสงครามตอนล่าง / สรรค์สนธิ บุณโยทยาน

นับกันวาแถบนี้เปนแหลงเพาะพันธุปลาน้ําจืดใหญที่สุดในประเทศไทย ซึ่งมีปรากฏการณธรรมชาติทํานอง เดียวกับทะเลสาบเขมรและลุมน้ําแอมะซอน ขบวนการเคลื่อนไหวคัดคานการสรางเขื่อนแมน้ําสงครามจึงเกิดขึ้นใน ทองถิ่นตอสูเรียกรองกันมายาวนาน ทั้งยื่นหนังสือคัดคานถึงผูวาราชการจังหวัดและนายกรัฐมนตรี จนถึงการรวม ชุมนุมกับสมัชชาคนจน กระทั่งคณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2545 (เห็นชอบตามมติของ คณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ) ใหระงับโครงการสรางเขื่อนแมน้ําสงคราม เนื่องจากผลกระทบสูงและไมคุมทุน จากนั้นมาก็มีองคกร สถาบันการศึกษา มากมายหลายแหงเขามาศึกษาวิจัย ในหมูบานมักมีนักศึกษา นักวิชาการ หมุนเวียนกันเขามาศึกษาเรียนรูวิถีของชุมชนไมไดขาด ชาวบานมักพูดกันอยางภาคภูมิใจวา หลายคนไดปริญญา ไดมาจบดอกเตอรจากหมูบานของเขา นาผิดหวังอยูบางก็ตรงที่ผลการศึกษาวิจัยเหลานั้นไมเคยถูกนํากลับมาใชใน ชุมชน เมื่อกลางป พ.ศ. 2546 ชาวบานใน 4 ชุมชนของอําเภอศรีสงคราม (บานปากยาม บานทาบอ บานอวน และบานยางงอย) จึงไดรวมมือกันสรางองคความรูขึ้นมาเปนฐานขอมูลของชุมชน-โดยชุมชนเอง ในรูปของงานวิจัย ไทบาน ในนาม “เครือขายนักวิจัยไทบานลุมน้ําสงครามตอนลาง” ซึ่ง สุรชัย ณรงคศิลป ก็เปนคนหนึ่งในทีมนักวิจัย แตนั่นเปนฐานะที่เพิ่งไดมาทีหลัง เดิมทีพอหนอกคือพรานปลาโดยสายเลือด พอหนอกออกหาปลาในแมน้ําสงคราม ทุกวัน ดวยเครื่องมือและสถานที่อันสอดคลองเหมาะสมตามฤดูกาล ในยามแลง ที่หาปลาของแกมักอยูแถวๆ ลําซิ่ง ดอนออมแกว ครั้นถึงหนาน้ํา หวยซิงกลายเปนเหมือนทะเลสาบ แกตองแลนเรือไกลขึ้นไปทางเหนืออีก เชาวันนี้ (15 สิงหาคม พ.ศ. 2548) พอหนอกลงเรือเล็กคูชีพลําเดิมซึ่งบัดนี้สามารถเอาขึ้นมาจอดไดถึง หนาบันไดบาน ขับแลนไปเหนือผืนน้ําซึ่งเคยเปนถนนกลางบานอยูเมื่อสัปดาหที่แลว มุงหนาออกลําน้ําซึ่งบัดนี้แผ กวางสุดตา และถาแกจะเบี่ยงออกนอกฝงบางก็ไมมีอุปสรรคแตอยางใด ใบพัดทายเรือของแกไมไดกินน้ําลึกนัก ที่ ตองระวังอยูบางก็เพียงสุมทุมพุมไผกะซะอันรกเรื้อที่เรืออาจเขาไปเกย ซึ่งแกก็จดจําตําแหนงไดท้ังสิ้นจากการดูไม ใหญที่ผุดโผลอยูเปนหลักหมายตา เชาวันนี้ ที่วางขายของพอหนอกอยูไกลขึ้นไปจากที่เคยหาอยูเปนประจํา ฝายลําซิงและทางเดินในทาม แถบนั้นจมอยูใตน้ําทั้งหมด ปาทามดอนออมแกวโผลใหเห็นเพียงยอดไม ระดับน้ําสูงขึ้น พรานปลาก็ตองตามน้ําขึ้น ไป จนถึงบริเวณที่เปนทุงหญาลาดตอขึ้นไปจดปาโคกซึ่งระดับน้ํารุกคืบขึ้นมาเรื่อย ๆ ไสเดือนที่เคยอยูใตดินก็ผุด ขึ้นมาเหนือพื้นดิน และพากันเลื้อยหนีน้ําขึ้นไปสูที่สูงกวา พวกที่หนีทันก็ขึ้นไปออกันอยูแนนตามเนินดินแคบ ๆ ที่ ยังโผลพนน้ํา ที่ยังไมถึงที่สูงก็คืบคลานกันตอ ไอที่ไปไมทันก็คลานอยูตามพื้นดินใตน้ํา แนนหนาจนเหยียบแทบไม ถึงพื้นดิน กลายเปนเหยื่อใหปลาตามขึ้นมากิน และพวกพรานปลาอยางพอหนอกก็มาวางขายดักปลากันแถวนี้ เปน สายโซอาหารที่ลูกแมน้ําสงครามเรียนรูกันจากภาพจริงโดยไมตองพึ่งคําอธิบายใดในตํารา ที่ทาบอน้ําทวมถึงเกือบ ทั่วบาน ที่หมูบานปากยาม (ตําบลสามผง อําเภอศรีสงคราม) ซึ่งอยูหางขึ้นไปทางเหนือน้ํา ก็มีสภาพเปนคลายเกาะ “แมน้ําสงครามอยูทางดานตะวันตกของหมูบาน น้ํายามไหลมาจากทางตะวันออก ลอมไปทางทิศเหนือของหมูบาน ไปออกแมน้ําสงคราม บานเราจึงชื่อบานปากยาม สวนดานทิศใตก็เปนสายหวยคลองเอี่ยน ตอนน้ําสงครามขึ้นสูงก็ เออเขาทวมที่ราบลุมริมฝง และลําน้ําสาขาจะเชื่อมตอเปนผืนน้ําเดียวกัน หมูบานเหมือนเปนเกาะอยูกลางน้ํา” สุริยา โคตะมี (อายของ) พูดถึงภูมิประเทศของหมูบาน และอาจดวยชัยภูมิเชนนี้ที่ทําใหหมูบานอุดมสมบูรณยิ่งนัก

275


รายงานการประชุมงานสัมมนา “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

หมูบานปากยามแตเดิมมาเคยเปนที่พักชั่วคราวของพอคาเกลือจากแถวคํามวน ประเทศลาว ตอมาก็ กลายเปนที่พักพิงของผูอพยพจากหลายถิ่น คนไทจากอุบลราชธานี ไทจากนครพนม จนถึงญวนอพยพสมัย สงครามโลกครั้งที่ 2 จากนั้นบานปากยามก็กลายเปนทาเรือของแมน้ําสงคราม ครั้นการสัญจรทางเรือลด ความสําคัญลง หมูบานบนดอนคลายเกาะก็สรางวิถีประมงและการทําปลาราขึ้นแทน อายของไดชื่อวาเปนพราน โตงของหมูบานโตง หรือโพงพางใชดักที่น้ําไหลในชวงน้ําสงครามเริ่มลด ดักไวขามคืน เชามาก็ไปเปดถุงทายโตง เอาปลา “สังเกตดูระดับน้ํา และดูปลาบอน (บวน) น้ํา” ความจัดเจนแมน้ําของอายของบอก พอพนชวงน้ําแดง (น้ํา หลาก) แลวก็เริ่มลงโตงได “ปากโตงกวาง 10-20 เมตร สูงราว 3-4 เมตร ยาว 40-80 เมตร” เขาอธิบายโครงสราง ของโพงพางใหพอเห็นภาพกอนนําลงน้ํา “ผูกเชือกที่ปาก โยงขึ้นมายึดไวบนฝงทั้งสองดาน ความกวางของปากโตง จะกินพื้นที่ราว 1 ใน 4 ของความกวางแมน้ํา และตองกะใหดีในดานความลึกดวย เพราะผิดไปสักเมตรก็จะไมได ปลาเลย พวกปลาเนื้อออน ปลาหนัง จะลองลงติดพื้นดิน” แตถาวางถูกจุด ในชวงน้ําลงที่ปลาชุกชุมนักนั้น ยาม (กู) ดูไดทั้งเชา-เย็น ยามทีหนึ่งอาจไดปลาถึงครึ่งตัน ทํารายไดใหเจาของเปนหลายพันหรืออาจเปนหมื่นบาท ดวยปลาจํานวนมากมายอยางนั้นเอง ที่ทําใหปากยามกลายเปนหมูบานเลื่องชื่อในเรื่องปลารา ความจริง นั่นเปนงานของเมีย แตอายของก็พอเลาแทนได “เลือกปลาเอามาทําความสะอาด ปาดทองเอาขี้ออก จากนั้นก็สะ ลาวหรือวาหมักนั่นเอง เอาลงโอง หมักไว ของปนี้เก็บไวกินปหนา ดูวาพอไมคาวก็ถือวาเปนปลาราแลว” พรอมกับ เผยสูตรและเคล็ดลับแบบไมปดบัง “ใชปลา 5 กิโล ตอเกลือ 3 กิโล แตละเจาก็มีสูตรไมเหมือนกันนะ การปรุงก็ ตางกัน เขามักโรยรํานิดหนอยดวย ใสรําคั่วปลาราจะหอมนากิน และเปนสีชมพูสวย” และตบทายดวยคําการันตีไม เกินจริง “ทุกวันนี้ปลาราจากปากยามขึ้นชื่อ สงขายทั่วประเทศ” สวนที่ไมขายก็หมักตอ ทําน้ําปลา ในบานปากยาม มีโรงน้ําปลาอยูหลายเจา ของพอใหญหนุมาน บงบุตร ก็เปนเจาหนึ่ง เปนกิจการของครอบครัวที่แกทํารวมกับลูก ๆ จากปลาราหมักตอไปในสภาพและอุณหภูมิที่เหมาะสมอีกราวครึ่งป ก็พรอมจะตมกรองเปนน้ําปลา ลูกชายของพอ ใหญเลาวา พอเขาหนารอนแดดดี ปลาราจะยิ่งเปอยไว ขางบานมีโองมังกรขนาด 350 ลิตร วางเรียงรายอยูใตเพิงที่ มุงหลังคาไวโปรง ๆ ใหลมโกรกไดและแสงแดดสองถึง เปดฝาโองไวดวยจะชวยเรงการเปลี่ยนสภาพใหเร็วขึ้น ปลา ราโองหนึ่งทําน้ําปลาไดราว 70 แกลลอน ปรุงรสดวยน้ําตาลเล็กนอย แลวสงขายตามบานลูกคาประจํา แกลลอนละ 50 บาท ลูกพอคาน้ําปลาเลาดวยวา ครอบครัวเขาจะผลิตราวปละ 100 โองเทานั้น เพียงพอตอจํานวนสมาชิกใน แถบหมูบานริมแมน้ําสงคราม 3-4 อําเภอ น้ําปลาอยางดีจากปากยามยังไมมีวางขายตามรานคาทั่วไป ผลิตกัน ในบานและบริการสงถึงบาน ไมมีการขายสง ไมผานมือพอคา เพราะเขาหวงการแอบอาง ปลอมปน และมากกวา นั้น เขาบอกวา “เจอกันมันคักกวา ไดความสัมพันธกันดวย”

ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ปาบุง ปาทาม ของพื้นที่ชุมน้ําลุมน้ําสงครามตอนลาง ตัวอยางของบทความจากสํานักขาวสํานักขาวประชาธรรม วันที่ 6 กุมภาพันธ พ.ศ. 2549 นครพนม งานวิจัยไทบานระบุชัด พื้นที่ชุมน้ําลุมน้ําสงครามตอนลางเขาขั้นวิกฤต เผยระดับน้ําผันผวนผิดปกติ ปลาลดจํานวน วางไข ตะไครน้ําตาย ทําน้ําบางชวงเนา ชี้ทุกกรณีกระทบชุมชนโดยตรง ซ้ํารายปาบุงทามก็โดนผลกระทบเต็มๆ โดยเฉพาะจากโครงการพัฒนาของรัฐ แนะชุมชนทองถิ่นตองรวมพลังฟนฟู ผูสื่อขาวรายงานวา ระหวางวันที่ 1 – 3 ก.พ. ที่ผานมา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) โดยโครงการอนุรักษและใช ประโยชนความหลากหลายทางชีวภาพอยางยั่งยืนในพื้นที่ชุมน้ําลุมน้ําโขง (MWBP) รวมกับองคกรพันธมิตรรวม จัดงาน วันพื้นที่ชุมน้ําโลกซึ่งวันดังกลาวตรงกับวันที่ 2 ก.พ.ของทุกปขึ้น ณ บานปากยาม ต.สามผง อ.ศรีสงคราม 276


สานต่องานวิจัยไทบ้าน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม ลุ่มน้ําสงครามตอนล่าง / สรรค์สนธิ บุณโยทยาน

จ.นครพนม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรความรูความเขาใจเกี่ยวกับการอนุรักษและใชประโยชนความ หลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ําอยางยั่งยืน โดยเฉพาะปาบุงปาทามในพื้นที่ชุมน้ําลุมน้ําสงครามตอนลาง ภายในงานมีการจัดกิจกรรมตางๆ อาทิ การจัดนิทรรศการตางๆ ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษและใช ประโยชนจากความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ํา การจัดเวทีวิชาการในประเด็นที่เกี่ยวของกับพื้นที่ชุมน้ํา และที่สําคัญมีการนําเสนองานวิจัยไทบานลุมน้ําสงครามตอนลาง และเผยแพรองคความรูจากงานวิจัยองชุมชนที่ เกี่ยวกับทรัพยากรและพันธุปลาที่พบในลุมน้ําสงครามตอนลาง ตลอดจนเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนและ เยาวชนเกี่ยวกับกิจกรรมการอนุรักษปาบุงปาทามดวย ผูสื่อขาวรายงานผลการวิจัยไทบานดังกลาววา นับแตป พ.ศ. 2546 เปนตนมาจะสังเกตเห็นวาระดับน้ําขึ้น น้ําลงในแมน้ําสงครามตอนลางมีการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติ การ เปลี่ยนแปลงที่เห็นไดชัดเจนที่สุดคือในฤดูแลงของป พ.ศ. 2546 ซึ่งน้ําสงครามลดลงอยางเห็นไดชัดและลดลงมาก ขึ้นในฤดูแลงป พ.ศ. 2547 ซึ่งการขึ้นลงของน้ําในลํา น้ําสงครามสัมพันธโดยตรงกับน้ําในลําน้ําโขง งานวิจัยไทบานระบุอีกวา ระดับน้ําในแมน้ําโขงจะชวยพยุง ระดับน้ําในแมน้ําสงครามไว เมื่อน้ําโขงลดระดับขึ้นและลงไมปกติทําใหชาวบานไมสามารถใชเรือเดินทางหรือไปหา ปลาได ผลจากการที่ น้ําสงครามขึ้นลงผิดธรรมชาติไดสงผลใหตะไครน้ําตายเปนสาเหตุใหน้ําในลําน้ําสงครามเนา เสีย รวมทั้งการวางไขของปลาบางชนิดลดลงมาก เชน ปลาสรอย ปลากุม เปนตน นอกจากนี้ยังทําใหบริเวณหาด ทรายสองฝงลําน้ําไมสามารถจัดงานประเพณีของหมูบานในฤดูแลงได เชน งานทําบุญหมูบานและงานกีฬาตางๆ ขณะที่บางประเพณีตองยกเลิกกลางคันเนื่องจากระดับน้ําเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วทั้งที่ตอนบนไมมีฝนตกลงมา นายสุริยา โคตะมี ประธานเครือขายนักวิจัยไทบานลุมน้ําสงครามตอนลาง กลาววา การขึ้นลงของน้ําที่ เปลี่ยนแปลงสงผลใหปลาเกิดความสับสนกับสภาพที่ตางไปจากธรรมชาติ การอพยพขึ้นลงและพฤติกรรมการ วางไขที่ไมถูกฤดูกาลทําใหปลามีปริมาณลดลง นั่นคือสงผลตอรายไดของชาวบานที่ลดลงตามไปดวย เพราะ ชาวบานที่นี่มีอาชีพหาปลาเปนหลักเนื่องจากนาขาวเสียหายจากน้ําทวมทุกป “ผลกระทบตางๆ ที่เกิดขึ้นสวนหนึ่ง เกิดจากโครงการพัฒนาลุมน้ําสงครามของภาครัฐที่ไมเขาใจสภาพความเปนจริงของพื้นที่วาชาวบานตองการอะไร แมรัฐอาจหวังดีแตความหวังดีนั้นสงผลรายกับชาวบาน และเมื่อบอยครั้งเขาทําใหชาวบานตองลุกขึ้นมาตอสูเพื่อให ธรรมชาติกลับคืนมาคงความอุดมสมบูรณเหมือนเดิมอีกครั้ง” นายสุริยา กลาว ดานดร.สมศักดิ์ สุขวงศ ที่ปรึกษาอาวุโสศูนยฝกอบรมวนศาสตรชุมชนแหงภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (RECOFTC) กลาววา พื้นที่ชุมน้ํานัน้ มีความแตกตางจากพื้นที่อนุรกั ษทั่วไปเพราะพื้นที่อนุรักษมีมาตรการทาง กฎหมายเปนตัวบังคับ แตพื้นที่ชุมน้ําซึ่งคนที่นี่เรียกวาปาบุงปาทามมีความหลากหลายทางชีวภาพและคนสามารถ เขาไปใชประโยชนได โดยการใชประโยชนจากปาบุงปาทามนั้นจะเปนองคความรูเฉพาะของทองถิ่น เชน การเก็บ หายาสมุนไพรในปาทาม รวมทั้งการใชประโยชนอยางอื่นที่คํานึงถึงการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพไป ดวย ดร.สมศักดิ์ กลาว ตอวา ปจจุบันพื้นที่ชุมน้ําในหลายพื้นที่กําลังถูกทําลายโดยสาเหตุหลักๆ มาจาก โครงการ พัฒนาตางๆ รวมทั้งโครงการการจัดสรรที่ดิน เชน การออกเอกสารสิทธิ์ ส.ป.ก. 4-01 ใหเกษตรกรและการสงเสริม อาชีพใหมๆ เชน การปลูกยูคาลิบตัสรวมทั้งยางพาราในปาทาม ขณะที่โครงการพัฒนาขนาดใหญเชน สนามบิน สุวรรณภูมิไดทําลายระบบนิเวศนพื้นที่ชุมน้ําผืนใหญของภาคกลางไปแลว นอกจากนี้ การสรางเขื่อนก็เปนสาเหตุ สําคัญที่ทําลายระบบนิเวศนปาทาม ทําลายความมั่นคงในชีวิต และทําใหปาบุงปาทามไมทําหนาที่เหมือนเดิม ซึ่งจะ 277


รายงานการประชุมงานสัมมนา “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

สงผลกระทบไปยังชุมชนในพื้นที่ดวย ในตอนทาย ดร.สมศักดิ์กลาวเพิ่มเติมวา ปจจุบันทรัพยากรทองถิ่นสวนใหญ จะถูกครอบครองโดยกลุมอํานาจทองถิ่น ทําใหชาวบานไมสามารถเขาถึงทรัพยากรตางๆ ไดอยางเต็มที่เพราะขาด อํานาจตอรอง ดังนั้น หากจะแกปญหาดังกลาวชุมชนตองสรางอํานาจขึ้นมาตอรองกันเอง เพื่อดูแลจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น นายรัฐพล พิทักษเทพสมบัติ ผูจัดการโครงการ MWBP พื้นที่สาธิตลุมน้ําสงคราม กลาวถึงความสําคัญใน การทํางานที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่ชุมน้ําวา พื้นที่ชุมน้ําแตละพื้นที่มีการนิยามความหมายที่ตางกันออกไป โดยจําแนกตามลักษณะพื้นที่ของตนเอง ซึ่งเรื่องนี้เปนเรื่องใหญเพราะจะมีการใหคุณคาไมเทากัน อยางกรณีปาบุง ปาทามลุมน้ําสงครามในปจจุบันเปนพื้นที่เสี่ยงเพราะคนไมรูจักคุณคาคิดวาไมมีประโยชนจึงถูกทําลายลงอยาง รวดเร็ว นายรัฐพล กลาวตอวา ดังนั้นงานวิจัยไทบานที่จัดทําขึ้นโดยชุมชนจึงเปนเครื่องมือสําคัญที่จะเชื่อมรอย เรื่องราวตางๆ พรอมทั้งชี้ใหเห็นคุณคาของระบบนิเวศนปาบุงปาทามและสงตอไปยังสาธารณะใหรับรูได นอกจากนี้ ยัง ตอ งคิ ดค นร วมกัน ตอ ไปว าจะทํ าอยา งไรที่ จะนําศัก ยภาพและองคค วามรู ที่เ กิด จากงานวิ จัย ไทบา นกลับ มา เอื้อประโยชนกับชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค เพื่อใหมีการใชทรัพยากรในพื้นที่ชุมน้ําในลุมน้ําสงครามตอนลางอยางชาญฉลาด วิธีดําเนินการ 1. จัดทําแนวขอบเขตพื้นที่อนุรักษอยางใหเห็นชัดเจน โดยใชเครื่องหมายอยางใดอยางหนึ่ง โดยคัดเลือก บริเวณปาบุง ปาทาม ที่หมูบานทาบอ ตําบลทาบอสงคราม อําเภอศรีสงคราม จังหวัดนครพนม เปน พื้นที่เปาหมาย 2. ทบทวนระเบียบการใชประโยชนจากทรัพยากรในพื้นที่อนุรักษ โดยยึดหลักการ “ใชอยางชาญฉลาด” 3. จัดทําโปรแกรมการทองเที่ยวเชิงธรรมชาติ โดยพาหนะ “ไบโอดีเซล ขับเคลื่อน 4 ลอ ขนาดแท” เปน เกวียนเทียมควาย หรือขี่หลังควาย เพื่อใหนักทองเที่ยวไดสัมผัสกับธรรมชาติ ปาบุง ปาทาม อยาง ใกลชิด และโปรโมททางเว็ปไซด รายการทีวีของรัฐ สื่อชนิดตางๆ เคเบิ้ลทีวีในจังหวัด และจังหวัด ใกลเคียง โดยรับความรวมมือจากสํานักงานการทองเที่ยวแหงประเทศไทย เขต 4 นครพนม 4. ใหมหาวิทยาลัยนครพนม และมหาวิทยาลัยในจังหวัดสกลนคร บรรจุเปนเนื้อหาสวนหนึ่งของการเรียน เชน วิชาวัฒนาธรรมแองสกลนคร และวิชาตางๆ ที่เกี่ยวของกับทองถิ่น

เจาของโครงการ และบทบาทหนาที่ 1. องคการบริหารสวนตําบลทาบอสงคราม • จั ด ทํ าข อ มู ล ของสภาพพื้ น ที่ สถานที่ แ ละเรื่ อ งราวที่ น า สนใจ เพื่ อ กํ า หนดโปรแกรมการท อ งเที่ ย ว ในแตละฤดูกาล • จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อปฏิบัติงานตามโครงการ • จัดทํางบประมาณประจําปเพื่อปรับปรุงแหลงทองเที่ยว และประชาสัมพันธโครงการ 278


สานต่องานวิจัยไทบ้าน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร์ ป่าบุ่งป่าทาม ลุ่มน้ําสงครามตอนล่าง / สรรค์สนธิ บุณโยทยาน

2. องคการบริหารสวนจังหวัดนครพนม • ใหการสนับสนุนในดานงบประมาณแก อบต.ทาบอสงคราม ในสวนที่เกินขีดความสามารถ • ประชาสัมพันธใหสวนราชการ ภาคเอกชน และประชาชน ไดทราบถึงโปรแกรมการทองเที่ยว

สรุป งานวิจัยไทบานเปนเอกสารที่มีคุณคาอยางยิ่งตอการนํามาสานตอใหเกิดประโยชนอยางเปนรูปธรรม เพราะไดบรรจุขอมูลเกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุมน้ําของลุมน้ําสงครามตอนลางอยางละเอียด และเปนคําตอบชัดเจนวาหากไมมีการบริหารจัดการที่เหมาะสมระหวางการใชประโยชน กับการอนุรักษระบบนิเวศ หรือเรียกงายๆ วา “ใชอยางชาญฉลาด” และปลอยใหความรูเทาไมถึงการณ ผสมผสานกับการตักตวงผลประโยชน อยางไรความรับผิดชอบ ในไมชาปาบุงและปาทาม ที่วิวัฒนาการมานานนับลานปจะถึงกาลอวสานในอนาคตอันใกล และเมื่อถึงจุดนั้นลูกหลานของเราคงตองลุกขึ้นมาร่ํารอง และโหยหาทรัพยากรธรรมชาติที่พวกเขานาจะไดรับเปน มรดกจากเราๆ ทานๆในวันนี้

เอกสารอางอิง เครือขายนักวิจัยไทบานลุมน้ําสงครามตอนลาง, 2548. นิเวศวิทยา และประวัติศาสตรปาบุง ปาทาม ลุมน้ํา สงครามตอนลาง. เชียงใหม: สํานักพิมพวนิดา เพรส.

279


บทที่ 15 แมน้ําโขง: ดินแดนงดงามแหง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร และชาติพันธุ มุมมองจากประสบการณของสมาชิกรัฐสภา เตือนใจ ดีเทศน มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา

ผูจุดประกายรักษแมน้ําโขง สํานึกคุณงามความดีของแมน้ําโขง ไมอาจแยกออกจากชีวิตของผม ผมไดปฏิบัติตอแมน้ํา สายน้ํา ดวยการ ปกปองเตือนสติผูคนในทองถิ่น อยากเห็นบานนี้เมืองนี้ใชประโยชนอยางเหมาะสมควบคูกับการดูแลรักษา ผมคงไม สามารถยับยั้งการพัฒนาในยุคปจจุบัน ซึ่งมุงผลประโยชนทางเศรษฐกิจสูงสุด แตผมคาดหวังวา จากจุดเล็กๆ ของ ผมกับเพื่อนพองชาวบานและกัลยาณมิตรอีกหลายคน จะนําไปสูความเขาใจของผูคนที่เพิ่มขึ้นนับรอย พัน หมื่น แสน ลานคน ผมอยากใหเปนแรงดลใจ เปนพลังใหนักสรางเศรษฐกิจทั้งหลาย ไดทบทวนโครงการขนาดใหญที่กําลัง เกิดขึ้น เราจะชวยกันลดพลังงานไฟฟาไดอยางไร เพื่อใหเปาหมายการสรางเขื่อนลดลงหรือยุติจากแมน้ําโขง เรา จะชวยกันสรางทางเลือกอยางไร ใหมีการคาขายในลุมแมน้ําโขง โดยไมตองใชเรือขนาดใหญ ซึ่งตองระเบิดเกาะ แกง ขุดลอกสันดอน ทําใหแมน้ําโขงกลายเปนเพียงคลองสงน้ํา สงเรือ เราจะทําอยางไรใหแผนดิน ลุมน้ําโขง ได กลายเปนแผนดินแหงประวัติศาสตรและวัฒนธรรมอันงดงามของมนุษยชาติ ซอนอยูภายใตทรัพยากรธรรมชาติอัน อุดมสมบูรณ กาวพนจาการเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ปลอยควันพิษ สารพิษ ดับชีวิตและจิตวิญญาณของผูคนในลุม น้ําแหงนี้ (สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา 2549) อุดมการณอันมั่นคงของกลุมรักษเชียงของไดจุดประกายใหดิฉันเขามารวมขบวนเพื่อพิทักษปกปองแมน้ํา โขงใหดํารงอยูคูโลกกลุมรักษเชียงของ ทําหนาที่ “ชวยคนหาขอมูล รายละเอียดของโครงการตางๆ เพื่อเตรียม ถายทอดใหชาวบานในพื้นที่และตอสาธารณชน” โดยเชื่อมประสานกับชุมชนทองถิ่น และทุกหนวยงานที่เกี่ยวของ ดวยจิตวิญญาณอันบริสุทธิ์ หนักแนน และแนวแน

ทํางานเชื่อมโยงกับคณะกรรมาธิการของวุฒิสภาและผองกัลยาณมิตร เมื่อไดขอมูลของโครงการระเบิดเกาะแกงในแมน้ําโขง เพื่อการเดินเรือพาณิชยที่มีขนาดใหญเพิ่มขึ้นถึง 150 ตัน 300 ตัน 500 ตัน ใหเดินเรือไดตลอดทั้งปไมเวนแมชวงฤดูแลง กลุมรักษเชียงของจึงมุงรณรงคใหชุมชน ทองถิ่น ตระหนักถึงปญหาและผลกระทบ และสื่อสารใหสาธารณชนเขาใจ รวมทั้งประสานใหฝายตรวจสอบการ บริหารงานของรัฐบาล (วุฒิสภา) ลงมาศึกษาสถานการณในพื้นที่


แม่น้ําโขง : ดินแดนงดงามแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์ มุมมองจากประสบการณ์ของสมาชิกรัฐสภา / เตือนใจ ดีเทศน์

ดิฉันในฐานะสมาชิกวุฒิสภา จ.เชียงราย และเปนกรรมาธิการสิ่งแวดลอม จึงนําเสนอปญหาปญหาตอที่ ประชุ ม คณะกรรมาธิ ก ารฯ (กมธ.) เมื่ อ ต น ป พ.ศ. 2545 เพราะเป น เรื่ อ งเร ง ด ว นซึ่ ง ประธาน กมธ. คื อ สว.พนัส ทัศนียานนท นักกฎหมายสิ่งแวดลอมไดนําคณะลงพื้นที่ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2545 คณะ กมธ.ได ลงเรือดูคอนผีหลง ซึ่งเปนเปาหมายที่จะถูกระเบิดตามโครงการ และศึกษาวิถีชีวิตของชุมชนริมฝงโขง ที่จะไดรับ ผลกระทบจากโครงการนี้ ขอมูลที่ กมธ.ไดรับรูคือ แมน้ําโขงมีความสําคัญระดับนานาชาติ ตนธารจากที่ราบสูงธิเบต ปลายทางคือ ทะเลจีนใตในเวียดนาม ความยาวทั้งสิ้น 4,900 กิโลเมตร เปนแมน้ําที่มีความสมบูรณอันดับสองของโลก (รองจาก แมน้ําอะเมซอน) เปนแหลงที่อยูอาศัยโดยพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติอันอุดมของชนนับรอยกลุมชาติพันธุ จํานวน ประมาณ 60 ลานคน “แมน้ําโขงจึงเปนที่หมายปองของกลุมคนหลากหลายเปาหมาย ทั้งนักสรางเขื่อน นักการเมือง นักสราง เศรษฐกิจ นักลงทุน นักทองเที่ยว และนักวิชาการ ที่มาศึกษาวิจัย จนไดปริญญาโท เอก กันมากมาย แตไมสงผลให คนในท อ งถิ่ น เข า ถึ ง ข อ มู ล ชาวบ า นเป น ผู ทํ า หน า ที่ ต อบคํ า ถาม ให ข อ มู ล ต อ กลุ ม คนเหล า นี้ ซึ่ ง มั ก ต อ งการ เปลี่ยนแปลงแมน้ําโขงใหเปนแมน้ําแหงความมั่งคั่งเพื่อตอบสนองความตองการที่เกินพอดีของมนุษย” (สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา 2549) ปญหาการบริหารจัดการแมน้ําโขงในฐานะแมน้ํานานาชาติ โดยการมีสวนรวมของประชาชน เกี่ยวของกับ หนาที่ของคณะกรรมาธิการฯ อีก 2 คณะ คือ กมธ.ตางประเทศ ซึ่ง สว.ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ เปนประธานและ คณะกรรมาธิการการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่ง สว.เจิมศักดิ์ ปนทอง เปนประธาน ทั้ง 3 กมธ.นี้ ในฐานะฝายนิติ บัญญัติจึงติดตามศึกษาขอมูล ตรวจสอบ ประสานความรวมมือ ทั้งระดับฝายบริหารของประเทศไทยกับฝายบริหาร ของประเทศลุมน้ําโขง คือ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน กมธ.การมีสวนรวมของประชาชนไดนําคณะเอกอัครราชทูตไทยประจําประเทศตาง ๆ มาเยือนชนชาติ พันธุลูกแมน้ําโขง ทั้งกลุมอาขาบนภูเขาแหงน้ําแมจัน และชุมชนไทยวน ไทยลื้อ ขมุ ริมฝงโขง เพื่อเรียนรูภูมิ ปญญาที่มนุษยอยูรวมกับธรรมชาติ โดยมีธรรมชาติเปนศูนยกลาง อยูรวมกันอยางสอดคลอง มีสํานึกของการ แบงปนกัน เปนรากฐานของธรรมชาติและคนในสังคม

ประวัติศาสตร ศาสนา และวัฒนธรรม ริมฝงโขง ที่เชียงราย ตํานานทองถิ่นเชียงของกลาววา คนกลุมแรกๆที่เขามาอาศัยอยูริมแมน้ําโขง คือ ชาวบานตํามิละ เปนคน เผาลัวะหรือละวา มีเรื่องปรากฏใน “ตํานานพระพุทธเจาเลียบโลก” ซึ่งเปนตํานานที่พบทั่วไปในภาคเหนือ เลาถึง การที่พระพุทธเจาเสด็จตามบานเล็กเมืองนอยตางๆเพื่อโปรดสัตว เปนมูลเหตุใหเกิดบานเมืองขึ้นตามเสนทางที่ พระพุทธองคเสด็จ อํานาจพระพุทธเจามีเหนืออํานาจภูตผีปศาจ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่กลุมชาติพันธุตางๆ เชื่ออยูเดิม ความเชื่อเหลานั้นจึงถูกปรับใหเปนพุทธแบบเดียวกัน เกิดสํานึกรวมทางวัฒนธรรมและจริยธรรมที่คอยๆ ปรับเปน แบบเดียวกัน เปนการเชื่อมโยงวิวัฒนาการทางประวัติศาสตรของสังคมบานเมืองภาคเหนือ ตํานานชี้ใหเห็นการ เผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูชนชาติพันธุในลุมแมน้ําโขงตอนบน โดยผสมผสานพระพุทธเขากับความเชื่อเดิม ซึ่งจะ 281


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

พบได ทั่ ว ไป ในหลั ก ฐานตํ า นานวั ด ที่ เ ขี ยนขึ้ น ในช ว งพุ ท ธศตวรรษที่ 21หั ว หน า กลุ ม ตํ ามิ ล ะได นํ า พวกมาเฝ า พระพุทธเจา เมื่อไดฟงพระพุทธเจาเทศนาธรรมแลวศรัทธาจึงหันมายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา ตามบันทึกในพงศาวดารเชียงตุงเลาถึง การกอกําเนิดของชนชาติลัวะวา คนทั้งหลายออกมาจากน้ําเตาใบ เดียวกัน ลัวะออกมาเปนพวกแรก กะเหรี่ยงออกมาเปนพวกที่สอง ตอมาเปนคนไท หลังจากชาวบานตํามิละแลว มี กลุมชาติพันธุอื่นๆเขามาอยูในเชียงของ คือ คนเมืองหรือคนยอน ลื้อ ลาว ขมุ เยา มง อาขา จีนฮอ(ยูนนาน) โดย อาศัยอยูทั้งที่ราบและภูเขาสูง อาณาจักรเดิมของลัวะ คือ บริเวณแหลมสุวรรณภูมิ และมณฑลยูนนานตอนใต เมื่อ ถูกขอม ไท ลาว จามรุกราน ก็แตกพายไปอยูตามปาเขาหางไกล ปจจุบันชาวลัวะตั้งถิ่นฐานอยูใน 6 ประเทศลุมน้ําโขง คือ จีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา เวียดนาม ชาวลัวะใน ไทยกระจายตัวอยูในจังหวัดลําปาง อุทัยธานี สุพรรณบุรี เชียงราย เชียงใหม ตาก นาน แมฮองสอน หมูบานลัวะ ใหญที่สุดอยูที่บานปอหลวง อําเภอฮอด เชียงใหมปจจุบันมีกลุมคนที่ตองการเขามาลงทุน และประกอบธุรกิจจะเปน คนตางถิ่น ตางชาติ มีความพยายามพัฒนาเชียงของใหเปนเมืองการคา โดยมิไดคํานึงถึงวิถีชีวิตความเปนอยูของ คนในทองถิ่นดั้งเดิมหรือประวัติศาสตรตั้งแตอดีต” (กลุมรักษเชียงของ 2549) การพัฒนาที่ถาโถมเขามาเพื่อใหเปนเมืองการคาและเมืองทองเที่ยว โดยไมคํานึง ความตองการของคน ทองถิ่น ถาคนเชียงของไมสามารถกําหนดความเปนไปของบานเมืองของตนได อาจทําใหคนที่นี่ตองทิ้งบานสูเมือง ที่ไมเคยรูจักก็เปนได เปนการสูญสลายของคนเชียงของคลายกับบานตํามิละในอดีต ขออยาใหเหตุการณเชนอดีต เกิดขึ้นกับชาวเชียงของอีกเลย

วิถีชีวิตชาติพันธุริมฝงโขงที่เชียงของ การตั้งถิ่นฐานของชนชาติพันธุในเชียงของ มีอายุยาวนานนับพันป ประกอบดวยคนยวนหรือคนเมือง คนลัวะหรือละวา คนลาว ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยูที่ราบริมฝงแมน้ําโขง น้ําอิง ถัดไปใกลเชิงดอย ติดลําหวย เปนชาวกํามุ (ขมุ) สวนบนดอยเปนชาติพันธุมง ลาหู เมี่ยน (เยา) จีนฮอและอาขา ชนเหลานี้อยูกับระบบนิเวศที่หลากหลาย คือระบบนิเวศบนภูเขา ระบบนิเวศทุงนา ซึ่งเปนแหลงปลูกขาว ระบบนิเวศริมแมน้ํา เฉพาะในแมน้ําโขงมีระบบนิเวศถึง 11 ระบบ ซึ่งมีความหลากหลายทางชีวภาพของพันธุปลา และสัตวน้ําอื่น ๆ รวมทั้งสัตวเลื้อยคลานที่เปนอาหารของมนุษย งานวิจัยจาวบานพบพันธุปลา 100 ชนิด เปนปลา ในธรรมชาติ 88 ชนิด พันธุปลาหายาก 14 ชนิด พันธุพืช 65 ชนิด นอกจากนี้ยังมีนกน้ําและนกอพยพจํานวนมาก “คนเชียงของเรียนรูอารมณธรรมชาติของแมน้ําวาจะขึ้นลงอยางไร สามารถปรับตัวในการหาอยูหากินไดดี ในฤดูหนาวหรือฤดูแลงจะมีคนหาปลามากมายจากเชียงของถึงคอนผีหลง แตในฤดูน้ําหลากคนหาปลาจะไปหาปลา ในแมน้ําสาขาเพราปลาจะวายตามน้ําหลาก ตามหามดแมงกัลปกลิ่นดินหอมจากตนน้ําอิง ไปผสมพันธุและวางไขใน บริเวณลุมน้ําอิง แลววายกลับมาเมื่อน้ําลด ซึ่งลูกปลาของแมปลาทั้งหลายโตเต็มวัย พรอมจะผจญน้ําโขงแลว” (สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา 2549)

282


แม่น้ําโขง : ดินแดนงดงามแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์ มุมมองจากประสบการณ์ของสมาชิกรัฐสภา / เตือนใจ ดีเทศน์

หวงโซอาหารเชนนี้ไดหลอเลี้ยงผูคนสองฝงโขงมายาวนาน ตะกอนดินที่ถูกพัดมาจากแดนไกล ไดใหปุย ตามธรรมชาติแกเกษตรกรริมโขง คนเชียงของไดปลูกผักสดอรอยไรสารพิษไวกิน ในตําบลเวียงมีบานหวยไครที่ขึ้น ชื่อเรื่องปลูกผักอรอย และบริเวณวัดหลวงใกลผาถานมีการเพาะในผืนทรายริมน้ําโขง จนไดชื่อวาเปนถั่วงอกที่สด และอรอยที่สุด สาหรายแมน้ําโขง ที่ชื่อวา “ไก” เปนอาหารลือชื่อของชาวเชียงของและเปนอาหารของปลาบึก ปลา หนังน้ําจืดขนาดใหญ ที่สุดในโลก จั บไดแ หงเดียวที่หาดไคร บริเวณหวยดอนแวงซึ่งมีน้ําตื้นและแคบในเดือ น เมษายน – พฤษภาคม ทุกปจงึ เปนฤดูจับปลาบึกของกลุมชาวประมงปลาบึก

รวมพลัง 4 ประเทศทายน้ํา คณะกรรมาธิ การการมีสว นรวมของประชาชนชุ ดแรกของวุ ฒิสภา นํ าโดย สว.เจิมศั กดิ์ ปนทอง และ คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย นําโดย สว.นิรันดร พิทักษวัชระ ไดวางแผนเยือน 3 ประเทศลุมน้ําโขงตอนลาง คือ ลาว กัมพูชา เวียดนาม และประเทศตนน้ําคือ จีน เพื่อศึกษาสภาพธรรมชาติลุมน้ํา โขงและแมน้ําสาขา วิถีชี วิตของผู คน ชนชาติพันธุ และพบนักวิชาการ องคกรอนุรั กษธรรมชาติ พบปะหารื อ รัฐมนตรีผูรับผิดชอบดานแมน้ําโขง รวมทั้งพระสงฆ ในชวง พ.ศ. 2546 -2548 คณะกรรมาธิการไดเห็นความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศในแมน้ําโขง โดยเฉพาะอยางยิ่งโตนเลสาบใน กัมพูชา ซึ่งมีประชากรที่รุกเขามาอยูในโตนทะเลสาบจํานวนมาก โดยทางการควบคุมไมได มีการรุกพื้นที่ปาเพื่อทํา การเกษตร ทําธุรกิจและการจับปลาเกินขนาดที่ธรรมชาติจะรองรับได ทองน้ําตื้นเขินจนเรือเดินไดยาก สองฝง แมน้ําจะเห็นบานเรือนชนชาติพันธุที่ใชชีวิตเรียบงาย สรางบานดวยวัสดุธรรมชาติ และหาอยูหากินกับแมน้ําโตนเลสาบขั้นเศรษฐกิจเพื่อยังชีพ นาเสียดายที่ท้งั ประชาชนและผูบริหารของ 3 ประเทศทายน้ํา แมจะรูวาการจัดการแมน้ําโขงในฐานะแมน้ํา นานาชาติอันเปนสมบัติที่ควรดูแลรักษารวมกันของ 6 ประเทศ จากตนน้ําถึงทายน้ํา แตประเทศตนน้ําคือจีน เปรียบเสมือนหัวมังกรอันหนักอึ้ง ยากที่จะผลักดัน เชิญชวน ขอรองใหหัวมังกรหันมารับฟงเสียงของ 4 ประเทศ ทายน้ํา คือ ไทย ลาว กัมพูชา เวียดนาม รวมทั้งการรับฟงเสียงของชนชาติพันธุในลุมน้ําลานชางของจีน ซึ่งจะตอง ถูกอพยพและไดรับผลกระทบจากการสรางเขื่อน นอกจากนี้ ความหวังที่จะเจรจาหาพลังความรวมมือจากพมาก็มองไมเห็นจุดที่จะเริ่มตนไดแมแตนอย ศูนยรวมที่เมืองเชียงของฝงไทย จึงเปนประกายความหวังแหงความรวมมือรวมใจ ที่จะเชื่อมกับลูกน้ําโขง 6 จังหวัดภาคอีสาน และ 4 ประเทศทายน้ํา รวมทั้งผูมีใจรักน้ําโขงจากทุกหนทุกแหงทั่วโลก เวทีรัฐสภาอาเซียน (ASEAN Inter Parliament Arenas Organization: AIPO) ซึ่งมีการประชุมทุก 2 ป ประเด็นความรวมมืออนุรักษแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ไมเคยมีโอกาสถูกบรรจุเปนวาระประชุมหลัก เปนไดแคเรื่อง เล็ก ๆ ในการประชุมพิเศษ (adhoc) เรื่องความรวมมือเพื่อการทองเที่ยวอยางยั่งยืน ซึ่งจัดที่กรุงเสียมราฐ ประเทศ กัมพูชา

283


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

งานของอนุกรรมาธิการความมั่นคงของฐานทรัพยากร คณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย วุฒิสภา ไดตั้งอนุกรรมาธิการความมั่นคงของ ฐานทรัพยากร ประชุมปฐมฤกษเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2547 ผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มารวมงานลวนเปน ผูเชี่ยวชาญดานการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพ ไดแก นายหาญณรงค เยาวเลิศ จากมูลนิธิคุมครองสัตวปา ดร.จิรากรณ คชเสนีย ดร.กัมปนาท ภักดีกุล จากคณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล นายสมศักดิ์ สุนทรนวภัทร จาก IUCN และนายยุทธนา วรุณปติกุล เลขานุการของคณะอนุ กรรมาธิการ โดยมีที่ปรึกษาคือ ดร.ชวลิต วิทยานนท จาก WWF และดร.สนิท ทองสงา ผูเชี่ยวชาญดานประมง เปนตน คณะกรรมาธิ ก ารให ค วามสําคั ญ กับ การบริ ห ารจั ด การแม น้ํ า โขง โดยความรว มมื อ ของทุก ภาคส ว นที่ เกี่ยวของ การดําเนินงานจนถึงตั้งแตปลายป 2547 ถึง ตนป 2549 ไดรวมมือกับองคกรประชาชนในพื้นที่ องคกร อนุรักษทั้งในประเทศและตางประเทศ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ หนวยงานรัฐ และมีการตั้งกระทูถาม ในที่ประชุมวุฒิสภา

รูปที่ 1 คณะกรรมมาธิการสิ่งแวดลอม วุฒิสภา และกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ลงพื้นที่บริเวณแกงคอนผีหลง จ.เชียงราย เพือ่ รับฟงขอมูลจากกลุมทองถิ่นและผูแทนชุมชนตางๆ เมื่อปลายป พ.ศ.2547 สรุปขอเสนอเพื่อสรางความหวัง ระดมพลัง เพื่อความมั่นคงในวิถีชีวิตของชาติพันธุลูกแมน้ําโขงและความ มั่นคงของฐานทรัพยากรชีวภาพ ดังนี้ 1) ควรมีการสงเสริมความรวมมือทางวิชาการ โดยการศึกษาวิจัยดานความหลากหลายทาง ชีวภาพอันอุดมสมบูรณของลุมน้ําโขง และแมน้ําสาขา รวมทั้งความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และภาษา อัน ทรงคุ ณ ค า ของนั ก วิ ช าการจากสถาบั น การศึก ษาใน 6 ประเทศลุ ม น้ํ า แม โ ขง แล ว พั ฒ นาเป น หลั ก สู ต รร ว ม องคความรูแมน้ําโขงของ 6 ประเทศ สงเสริมใหโรงเรียนในพื้นที่ลุมน้ําโขงไดถายทอดสูนักเรียนและชุมชน เพื่อ สรางความผูกพันทางจิตใจในฐานะเปนลูกแมน้ําโขงเดียวกัน 284


แม่น้ําโขง : ดินแดนงดงามแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์ มุมมองจากประสบการณ์ของสมาชิกรัฐสภา / เตือนใจ ดีเทศน์

2) ควรพั ฒ นาระบบฐานข อ มู ล ทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และความหลากหลายทาง ชีวภาพในลุมน้ําโขง และแมน้ําสาขาของทั้ง 6 ประเทศ เพื่อใหคนระดับพื้นที่และทุกภาคสวนที่เกี่ยวของเขาถึง ขอ มูล ไดส ะดวก โดยเชื่อ มโยงฐานขอ มูล ใหเ ปน หนึ่ง เดีย วกัน เพื่อ การเรีย นรูรว มกัน ของทั้ง ลุม น้ํา โขง และ ผูส นใจ ขอมูลของ MRC สวนใหญเปนภาษาอังกฤษ จึงควรแปลเปนภาษาราชการของทั้ง 6 ประเทศ และเปน ภาษาชาติพันธุหลัก หากเปนภาษาที่ไมมีตัวอักษรก็ควรใชภาษาพูดเพื่อการสื่อสารทั่วถึง 3) จัดสรางเวทีการปรึกษาหารืออยางสรางสรรคกับจีน เรื่องการพัฒนาลุมน้ําโขงตอนบน สราง เครื่องมือการใชกฎหมาย เพื่อการใชประโยชนจากแมน้ํานานาชาติ บนฐานของการมีสวนรวมของชุมชนทองถิ่น รัฐบาล และผูมีสวนไดเสียทุกฝาย ดวยหลักธรรมมาภิบาล และความโปรงใสของทั้งภาคประชาชนและรัฐบาลทั้ง 6 ประเทศ 4) องคกรที่ทํางานเกี่ยวของกับแมน้ําโขง ควรสรางกลไกการมีสวนรวมของประชาชน โดยเฉพาะ อยางยิ่งชนชาติพันธุชายขอบ ซึ่งเปนผูรับผลกระทบตอความมั่นคงในถิ่นที่อยู อาชีพ วิถีชีวิตโดยตรง โดยสนับสนุน การจัดตั้งสภาประชาชนลุมน้ําโขงจากผูมีสวนไดสวนเสียทุกฝาย ของทั้ง 6 ประเทศ (อานถอยแถลงสภาประชาชน แมน้ําโขงอยูทายบทความ) 5) ควรริเริ่มสรางความรวมมือระดับทองถิ่นระหวางไทยกับลาวโดยเนนที่จังหวัดเชียงรายกับแขวง บอแกว เพื่อรวมมืออนุรักษพื้นที่คอนผีหลง ที่ยังไมถูกระเบิดจากโครงการปรับปรุงแมน้ําโขงเพื่อการเดินเรือ พาณิชย นอกจากนี้ควรเสนอใหเกิดความรวมมืออนุรักษปลาบึก ชูประเด็นใหปลาบึกเปนสัญลักษณความอุดม สมบูรณของแมน้ําโขง เพื่อนําสูความรวมมือของทุกฝายในการรวมมืออนุรักษแมน้ําโขง ซึ่งเปนฐานทรัพยากรแหง ชีวิตของผูคนทั้ง 2 ฝง เพื่อรักษาวิถีชีวิตของชนหลากหลายชาติพันธุ ใหเปนมรดกทางวัฒนธรรมของโลก MRC และองคกรอนุรักษเชน WWF IUCN กับหนวยงานทองถิ่นและหนวยงานระดับชาติควรสนับสนุน โดยศึกษาขอมูลวิชาการดานปลาบึก 2 ระดับ คือ ระดับผูรูในชุมชน 2 ฝงแมน้ําโขง และเวทีวิชาการนานาชาติเรื่อง ปลาบึก เพื่อผลักดันใหเกิดผลระดับนโยบายของลาวและไทย ดิฉันไดริเริ่มเจรจากับรองเจาเมืองหวยทราย เรื่องความรวมมือระหวาง 2 เมืองในการอนุรักษปลาบึกและ คอนผีหลง เมือ่ เดือนพฤษภาคม 2548 โดยการประสานงานของนายอําเภอเชียงของและวัฒนธรรมอําเภอ ได ขอสรุปวาระดับเมืองหวยทรายพรอมรวมมือ แตควรเสนอตอรัฐบาลระดับชาติเพื่อการสั่งการและการสนับสนุนลงมา เปนลําดับขั้น 6) ควรริเริ่มโครงการความรวมมือระหวางไทย ลาว กัมพูชา เพื่อศึกษาวิจัยเรื่องปลาบึกและปลา อื่นๆ ในแมน้ําโขงและแมน้ําสาขา โดยเชิญผูรูในทองถิ่น เชน ชาวประมงอาวุโส และผูเชี่ยวชาญดานพันธุปลาใน ลุมน้ําโขง มารวมดวย 7) คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) ควรทบทวนบทบาทใหม โดยเนนเรื่องการมีสวนรวมของ ชุมชนทองถิ่นและผูมีสวนไดเสียทุกภาคสวน สนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่ออนุรักษทรัพยากรชีวภาพทั้งพันธุพืช ปลา 285


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

นก สัตวน้ํา สัตวในปาซึ่งเปนแหลงตนน้ําลําธาร สงเสริมหลักธรรมมาภิบาลในการบริหารแมน้ําโขงในฐานะที่เปน แมน้ํานานาชาติ ฝายบริหารและคณะเลขาธิการของ MRC ควรเปนตัวแทนจาก 6 ประเทศที่ใชแมน้ําโขงรวมกันคน นอกพื้นที่ควรรับตําแหนงเพียงที่ปรึกษา ไมควรเปนผูบริหารที่ชี้ทิศทางของ MRC 8) ควรมีสถาบันศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและสังคม (EIA) ระดับภูมิภาค ที่มีความเปนกลาง ทุกฝายใหความไววางใจ ทําหนาที่เปนองคกรศึกษา วิเคราะห เสนอแนะทิศทางการพัฒนาลุมน้ําโขงจากระดับ ทองถิ่น ระดับชาติ เพื่อใหเปนธรรมตอทุกภาคสวน สงผลกระทบเชิงลบนอยที่สุดตอระบบนิเวศ ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิถีชีวิตของผูคนหลากหลายวัฒนธรรม 9) นักการเมืองทุกระดับ ตั้งแตระดับทองถิ่น คือ อบต. เทศบาล อบจ. ในพื้นที่แมน้ําโขงสายหลักและ แมน้ําสาขา จนถึงระดับชาติ คือ สส. สว. ตองใหความสําคัญกับสถานการณและแผนการพัฒนาในลุมน้ํา เพื่อรักษา ลุมน้ําที่อุดมสมบูรณทางชีวภาพลําดับสองของโลกใหดํารงอยู และรักษามรดกโลกดานความหลากหลายทาง วัฒนธรรมของชาติพันธุใหดํารงความงดงามตลอดไป อันเปนการปองกัน แกไขปญหาภาวะโลกรอนและผลักดัน เปนวาระหารือในที่ประชุมรัฐสภาอาเซียนเพื่อสงผลใหเกิดกฎหมายแมน้ํานานาชาติที่ปฏิบัติไดจริง 10) ควรมีเวทีประชุมรวมของ GMS กับ MRC เพื่อปรับความสมดุลยระหวางการพัฒนาที่เนนความ เติบโตทางเศรษฐกิจ ธุรกิจเชิงพาณิชย อุตสาหกรรม การเติบโตของสังคมเมืองและเทคโนโลยีสมัยใหม กับการ พั ฒ นาที่ มุ ง อนุ รั ก ษ ท รั พ ยากรชี ว ภาพที่ ห ลากหลายและวิ ถี ชี วิ ต ของชนชาติ พั น ธุ ที่ เ ป น อยู อ ย า งเรี ย บง า ย มี ความสัมพันธกับมนุษย ธรรมชาติ และสิ่งเหนือธรรมชาติ ดวยมิติทางจิตวิญญาณ ในลักษณะสังคมเกษตร ประมงในชุมชนชนบท ที่บริโภคทรัพยากรและพลังงานในระดับยังชีพ จึงทําใหธรรมชาติแหงลุมน้ําโขงดํารงอยูได อยางยั่งยืน ประเทศไทยควรสงผูแทนชุดเดียวกันเขารวมประชุมทั้งเวที GMS และ MRC เพื่อเชื่อมโยงนโยบาย และขอตกลงใหสอดคลองกัน นาสังเกตวา Biodiversity Conservation Corridor ภายใต GMS มีแผนสํารวจพื้นที่ความหลากหลายทาง ชีวภาพที่ควรอนุรักษไว แตไทยกลับเสนอพื้นที่เทือกเขาตะนาวศรี และเขาใหญ ซึ่งไมไดเกี่ยวของกับพื้นที่ลุมน้ํา โขงโดยตรง 11) หนวยงานของสหประชาชาติ ไดแก UNDP, UNESCO, UNICEF, FAO ซึ่งมีภารกิจคุมครอง สิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน และสงเสริมหนวยงานรัฐและประชาสังคมใหปฏิบัติตามเปาหมายแหงสหัสวรรษใหม (Millennium Development Goals: MDGs) ควรใหความสําคัญกับแนวทางการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน เพือ่ รักษาทรัพยากรชีวภาพ ดิน น้ํา ปา ใหเปนแหลงความมั่นคงทางอาหาร อธิปไตยทางอาหารของชุมชนและชาติ แกไขปญหาความยากจนและอดอยากหิวโหย สรางความเขมแข็งและพึง่ ตนเองของชุมชนรากหญา โดยกํากับดูแล ไมใหองคกรทุนขามชาติ คือ ADB, World Bank, IMF, หรือขอตกลงการคาเสรีขามชาติ (FTA) รวมทั้งธุรกิจ สรางเขื่อนขามชาติเขาไปมีบทบาทในโครงการยักษใหญ คือ ขุดสรางเขื่อนทั้งตนน้ําและทายน้ํา อันจะทําใหแมน้ํา โขงสูญสิ้นศักยภาพที่จะหลอเลี้ยงชีวิตมนุษยนับรอยลานทัง้ ทางตรงและทางออม

286


แม่น้ําโขง : ดินแดนงดงามแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์ มุมมองจากประสบการณ์ของสมาชิกรัฐสภา / เตือนใจ ดีเทศน์

อนุ สั ญ ญาระหว า งประเทศ คื อ อนุ สั ญ ญาพื้ น ที่ ชุ ม น้ํา อนุ สั ญ ญาความหลากหลายทางชี ว ภาพ และ อนุสัญญาพื้นที่มรดกโลก ควรเปนกรอบในการกํากับโครงการพัฒนาทุกดานในลุมน้ําโขงสายหลัก และแมน้ําสาขา ทั้งโครงการระดับทองถิ่น ระดับชาติ และระดับภูมิภาค

ภาคผนวก: ถอยแถลงสภาประชาชนแมน้ําโขง (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 2548) จากการประชุม “บทบาทสภาประชาชนแมน้ําโขง ตอการมีสวนรวมในการพัฒนาภูมิภาคแมน้ําโขง” เนื่อง ในโอกาสการประชุมสุดยอด ความรวมมือดานเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion: จีเอ็มเอส) ครั้งที่ 2 วันที่ 4-5 กรกฎาคม 2548 ที่นครคุนหมิง ประเทศจีน ในวันที่ 30 มิถุนายน – 2 กรกฎาคม 2548 ณ โรงแรมริมกกรีสอรท จังหวัดเชียงราย กลุมองคกรภาคประชาสังคมในลุมแมน้ําโขง และองคกรพันธมิตร ดังรายนามขางทายนี้ ขอแถลงจุดยืนรวมกันดังตอไปนี้ สืบเนื่องจากการประชุมเรื่อง “การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และกลไกความรวมมือในภูมิภาค แมน้ําโขง” ในวันที่ 16 – 18 พฤศจิกายน 2547 ที่ผานมา ณ ศูนยประชุมสหประชาชาติ กรุงเทพฯ ซึ่งตัวแทน ชุมชน และองคกรภาคประชาสังคมในประเทศภูมิภาคแมน้ําโขง ไดเสนอคําประกาศกรุงเทพฯ ถึงรัฐบาลและ หนวยงานผูใหทุนระหวางประเทศซึ่งเกี่ยวของกับการพัฒนาในภูมิภาคแมน้ําโขง โดยมีสาระสําคัญแสดงความไม เห็นชอบกับแนวทางการพัฒนาในภูมิภาคแมน้ําโขงภายใตกรอบแนวคิดการพัฒนาที่มีอยู เนื่องจากความลมเหลวที่ เกิดขึ้นตามแผนการปฏิบัติงานดังกลาว ทั้งในเรื่องการมีสวนรวมของประชาชน ความโปรงใสในการดําเนินงาน ใน โครงการขนาดใหญจํานวนมากที่เปนอยูในปจจุบัน ซึ่งกําลังสรางความเดือดรอนอยางมากใหกับประชาชนใน ภูมิภาคแมน้ําโขง ผูซ่งึ มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่ดิน แมน้ํา และปาไมเปนปจจัยในการดํารงชีวิตที่สําคัญ ทั้งนี้ ในการ ประชุมดังกลาว ไดมีการจัดตั้งสภาประชาชนแมน้ําโขงขึ้น โดยจุดประสงคเพื่อใหเปนกลไกที่สําคัญ และเปนเวที สําหรับประชาชนในลุมแมน้ําโขง เพื่อมีบทบาทในการติดตาม และผลักดันการมีสวนรวมของประชาชนภายใตกลไก การพัฒนาในลุมแมน้ําโขง รวมทั้งเพื่อประสานเครือขายประชาชนในลุมแมน้ําโขง เพื่อสนับสนุนการพัฒนาตนเอง แสวงหาทางเลือก การสรางฐานการพัฒนาโดยแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติบน ฐานภูมิปญญา และวัฒนธรรมทองถิ่นอยางยั่งยืน ในนามตัวแทนชุมชนและองคกรภาคประชาสังคมในประเทศภูมิภาคแมน้ําโขง ผูรวมแบงปนแมน้ําหลาน ชาง-แมโขง และแมน้ํานู-สาละวิน ซึ่งมารวมตัวกันอยูในที่นี้ ในฐานะสภาประชาชนแมน้ําโขง ขอมีถอยแถลง เนื่อง ในโอกาสการประชุมสุดยอดผูนําความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Greater Mekong Subregion: จีเอ็มเอส) ตามขอเสนอของธนาคารพัฒนาเอเชีย (เอดีบี) ในชวงวันที่ 4-5 กรกฎาคม ที่จะถึงนี้ ณ นคร คุนหมิง ประเทศจีน ดังตอไปนี้ จากแนวทางการพัฒนาตามกรอบจีเอ็มเอส ตั้งแตเริ่มแรกกอตั้งในป 2535 โครงการตางๆ ภายใตแนวทาง การสนับสนุนเศรษฐกิจแบบตลาดทุนเสรีนิยมที่มุงหมายใหเชื่อมโยงกันระหวางประเทศในภูมิภาคแมน้ําโขง ซึ่งเนน การสนับสนุนการลงทุนธุรกิจภาคเอกชน เนนการสรางโครงสรางพื้นฐานเชื่อมตอในภูมิภาค เชน โครงการเขื่อน ขนาดใหญ การระเบิดเกาะแกงในแมน้ําโขง การผันน้ําขามลุมน้ํา และการจัดการปาไมเชิงพาณิชย ในประเทศ สมาชิกทั้ง 6 ประเทศคือ จีน พมา ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม โครงการตางๆ ที่กําลังเกิดขึ้นในแตละประเทศ กําลังสรางความแบงแยกและความขัดแยงอยางรุนแรงระหวางภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม เมืองและชนบท 287


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

การขูดรีดทรัพยากรธรรมชาติไดบอนทําลายตนทุนทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิต วัฒนธรรมของประชาชนในภูมิภาคแมน้ํา โขงอยางตอเนื่อง และไมมีทีทาวาจะหยุดยั้ง ตรงกันขาม รัฐบาลในภูมิภาคแมน้ําโขง รวมกับเอดีบี กลับเดินหนา ดําเนินการตามแผนการตอไป โดยละเลยปญหาความเดือดรอนของประชาชน และผลกระทบตอฐานตนทุน ทรัพยากรธรรมชาติ โดยไมมีการแกไขปญหาที่เกิดขึ้นอยางจริงจัง ที่ประชุมมีมติรวมกันวา โครงการภายใตกรอบจีเอ็มเอส ซึ่งดําเนินการอยูในปจจุบัน มีปญหาดาน ธรรมาภิบาล ความโปรงใส และการมีสวนรวมของประชาชน ในทุกโครงการที่ดําเนินการไปแลว เชน โครงการสราง เขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟาในประเทศตางๆ ที่เดนชัดคือ การสรางเขื่อนในประเทศจีน ซึ่งหลังจากเขื่อนมานวาน (Manwan) และเขื่อนตาเฉาซาน (Dachaoshan) สรางเสร็จลง ประชาชนในลุมแมน้ําโขงตอนลางในประเทศไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนามพบความเปลี่ยนแปลงระดับน้ําของแมน้ําโขง และจํานวนปลาลดนอยลง ทั้งนี้ ขอเสนอ เกี่ยวกับการสรางเขื่อนบนแมน้ําโขงสายหลัก และน้ําสาขาภายใตกรอบจีเอ็มเอส เกี่ยวของโดยตรงกับขอตกลงการ ซื้อขายไฟฟาในภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Regional Power Trading Operation Agreement) ซึ่งจะมีการลงนามใน บันทึกความเขาใจ (MOU) ในการประชุมสุดยอดผูนําที่นครคุนหมิงในครั้งนี้ดวย โครงการดังกลาวซึ่งมีความ สลับซับซอนในเรื่องทางเทคนิคและขั้นตอนการดําเนินการ นับไดวาเปนการเสนอโดยปราศจากการมีสวนรวมของ ประชาชนในแตละประเทศโดยสิ้นเชิง ไมมีการใหเหตุผลในเรื่องความจําเปน และความคุมทุนของโครงการ รวมทั้ง ปญหาโครงสรางและความเปนอิสระในการกํากับดูแลและความพรอมของกลไกการปฏิบัติงาน ทั้งในระดับประเทศ และระดับภูมิภาคแตอยางใด สําหรับโครงการระเบิดเกาะแกงในแมน้ําโขงเพื่อการเดินเรือพาณิชย เปนโครงการที่มีผลโดยตรงตอความ เสี่ยงตอการสูญพันธุของปลาบึก และปลาเศรษฐกิจที่สําคัญอื่นๆ และการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพใน แมน้ําโขง และการกัดเซาะฝงน้ําอยางรุนแรง ขอตกลงเขตการคาเสรีและนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ กอใหเกิด ปญหาทั้งประเด็นความขัดแยงในเรื่องความสูญเสียทรัพยากร และระบบเศรษฐกิจในทองถิ่นของประชาชน และ ปญหาในเรื่องผลประโยชนทางดานการคาและเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งกําลังเปนที่ถกเถียงกันอยางหนักในขณะนี้ เชนเดียวกันกับปญหาที่เกิดจากการขยายถนน เพื่อรองรับการแลกเปลี่ยนทางการคาระหวางประเทศ ไดสราง ความเดือดรอนใหประชาชนที่อาศัยอยูริมสองขางทาง ทั้งการอพยพโยกยาย ปญหาการสูญเสียที่ดินซึ่งไมมีการ ฟนฟูและชดเชยการสูญเสียที่เหมาะสม และการขยายตัวของปญหาสังคมตางๆ ทั้งเรื่องการคาแรงงาน และปญหา จากการขายบริการทางเพศ ดังที่ปรากฏอยูในกรณีทางหลวงหมายเลขหนึ่ง ซึ่งเชื่อมโยงประเทศกัมพูชากับประเทศ เวียดนามอยูอยางรุนแรงในขณะนี้ ทั้งนี้ ยังรวมถึงปญหาทุจริตคอรัปชั่นในโครงการตางๆ เหลานี้ ดวยจิตสํานึกของความรวมมือภายในภูมิภาคเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและเปนธรรม พวกเราขอเสนอ หลักการและแนวทางสําหรับการประชุมสุดยอดผูนําจีเอ็มเอส ที่กําลังจะมาถึงในวันที่ 4 – 5 กรกฎาคม 2548 ดังตอไปนี้ 1. ขอใหหยุดยั้งแผนงาน หรือโครงการที่กําลังอยูในระหวางการเสนอดังที่กลาวมาแลวขางตนไวในทันที จนกวาจะมีการปรึกษาหารือกับประชาชน อยางโปรงใสและกวางขวางเสียกอน

288


แม่น้ําโขง : ดินแดนงดงามแห่งความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร์ และชาติพันธุ์ มุมมองจากประสบการณ์ของสมาชิกรัฐสภา / เตือนใจ ดีเทศน์

2. ทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาคแมน้ําโขงเปนสวนหนึ่งของระบบนิเวศที่ประชาชนทั้งหมดในภูมิภาคเปน เจาของรวมกัน ดังนั้น รัฐใดรัฐหนึ่ง หรือองคกรทางการเงินระหวางประเทศหนึ่งใด เชน ธนาคารพัฒนาเอเชีย จึงไม มีสิทธิที่จะตัดสินใจในการพัฒนาใดๆ โดยพลการ ซึ่งจะมีผลกระทบขามพรมแดนตอวิถีชีวิต และตอฐาน ทรัพยากรธรรมชาติในภูมิภาคแมน้ําโขงอยางที่เปนอยู ประชาชนในภูมิภาคแมน้ําโขง ขอยืนยันสิทธิในการกําหนด อนาคตของตนเอง สิทธิในการใชทรัพยากรธรรมชาติ รวมมีสวนในการดําเนินการจัดการทรัพยากรในแนวทางการ พัฒนาเศรษฐกิจอยางยั่งยืน 3. รัฐบาลของประเทศในภูมิภาคแมน้ําโขง ควรดําเนินการจัดการและปกปองทรัพยากรธรรมชาติ บน พื้นฐานของการเคารพในสิทธิ และจิตวิญญาณแหงความสมานฉันทของประชาชนในภูมิภาค เพื่อกอผลประโยชน อยางเทาเทียมกัน โดยคํานึงถึงประเด็นดานอธิปไตยของประชาชาติและของภูมิภาค โดยเฉพาะในประเด็นแมน้ํา ขามพรมแดน ประเด็นตนน้ํา-ปลายน้ํา และประเด็นสิทธิมนุษยชนของประชาชนพื้นถิ่นและชุมชนของกลุมชาติพันธุ มิใชคํานึงถึงเรื่องเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีแตเพียงอยางเดียว 4. หนวยงานที่เกี่ยวของ ทั้งในประเทศและระดับภูมิภาค รวมทั้งเอดีบี ตองทําการติดตามตรวจสอบ ประเมินโครงการ และแสดงความรับผิดชอบตอสังคมและทรัพยากรสิ่งแวดลอมที่สูญเสียไป จากโครงการพัฒนา ขนาดใหญภายใตกรอบจีเอ็มเอสที่ผานมาอยางจริงจัง กอนที่จะเสนอโครงการใหม เชนในโครงการซื้อขายไฟฟาใน ภูมิภาค จะตองทําการศึกษาเพื่อทบทวนแผนการพัฒนาโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําที่มีอยู และขอเสนอเกี่ยวกับ โครงขายสายสงไฟฟาในภูมิภาคแมน้ําโขงอยางรอบดาน วาขอเสนอที่มีอยูในปจจุบัน ยืนอยูบนพื้นฐานของการ พัฒนาที่ยั่งยืนและเทาเทียมหรือไม 5. หนวยงานระหวางประเทศควรเปลี่ยนบทบาทจากการสนับสนุนดานการเงินสําหรับโครงการขนาดใหญ ซึ่งบอนทําลาย มาสูการสงเสริมการลงทุนในโครงการขนาดเล็ก เชน โครงการพลังงานหมุนเวียน (เขื่อนขนาดใหญ ไมใชพลังงานหมุนเวียน) ซึ่งทั้งประหยัดตนทุน และเอื้อประโยชนใหแกชุมชนทองถิ่น แทนที่จะสนับสนุนการ ทําลายลางจากโครงการขนาดใหญดังที่เปนอยู ทั้งนี้พวกเรา ในนามผูเขารวมการประชุม “บทบาทสภาประชาชนแมน้ําโขง ตอการมีสวนรวมในการ พัฒนาภูมิภาคแมน้ําโขง” ขอยืนยันความตองการที่จะใหรัฐบาลของประเทศในลุมน้ําโขงทั้งหมด และธนาคาร พัฒนาเอเชีย ดําเนินการโดยยึดหลักการมีสวนรวมของประชาชน ความโปรงใส ธรรมาภิบาล โดยพวกเรา ซึ่ง มารวมกันริเริ่มสภาประชาชนแมน้ําโขง มีเจตนารมณอันแนวแนในการทําหนาที่ตรวจสอบ และผลักดันใหการ ดําเนินการเปนไปอยางจริงจังและตอเนื่องตอไป รวมทั้งจะรวมกันแสวงหาทางเลือก เพื่อใหการพัฒนาลุมน้ําโขง เปนการพัฒนาที่มีความสมดุล มีเสรีภาพ และเปนธรรม นํามาซึ่งสันติสุขอยางแทจริง

289


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

องคกรรวมจัด คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คณะกรรมาธิการตางประเทศและคณะกรรมาธิการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย วุฒิสภา โครงการฟนฟูนิเวศวิทยาในอินโดจีนและพมา มูลนิธิฟนฟูชีวติ และธรรมชาติ กลุมรักษเชียงของและองคกรเครือขายตาง ๆ

กิตติกรรมประกาศ ขอขอบคุ ณ อุ ด มการณ อั น มั่ น คงของกลุ ม รั ก ษ เ ชี ย งของ โดยแกนนํ า สํ า คั ญ คื อ ครู ตี๋ นิ วั ฒ น ร อ ยแก ว สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา และผองเพื่อน ที่ทํางานรวมกับชาวบานในอําเภอเชียงของ เวียงแกน เชียงแสน และ ดินแดนลุมน้ําโขงอื่น ๆ ดวยความเคารพ ศรัทธา ที่ไดจุดประกายใหดิฉันเขามารวมขบวนเพื่อพิทักษปกปองแมน้ํา โขงใหดํารงอยูคูโลกและจักรวาล จนเปนกัลยาณมิตรกันอยางตอเนื่อง โดยมี “วัชระและกุง แหงตํามิละเกสตเฮาส” เปนผูสนับสนุนบานพรอมอาหารและเครื่องดื่มรสเลิศ จากใจอันอบอุน ออนโยน

เอกสารอางอิง กลุมรักษเชียงของ, 2549. “กวาจะเปนเชียงของ”. ใน นพรัตน ละมุล, MEKONG POST. กรุงเทพ: โรงพิมพภาพพิมพ. กลุมรักษเชียงของ, 2549. “การหายไปของบานตํามิละ- เชียงของ”. ใน นพรัตน ละมุล, MEKONG POST. กรุงเทพ: โรงพิมพภาพพิมพ. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ, 2548. หนังสือระเบิดแกงแมน้ําโขง. สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา, 2549. สายน้ําของวัยเยาว.ใน วุฐิศาสนติ์ จันทรวิบูล, จากธิเบตถึงทะเลจีนใต 26 นักเขียนกับเรื่องเลาถึงแมน้ําโขง. เชียงราย: สํานักพิมพงายงาม.

290


บทที่ 16 นิเวศวัฒนธรรมในลุมแมน้ําโขง ศ. ศรีศักร วัลลิโภดม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ

ปจจุบันการถกประเด็นปญหาเรื่องการพัฒนาแมน้ําโขงในเวทีตางๆ เปนการตอรองที่ไมสมดุลระหวางผูที่ ตองการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติกับชาวบานทองถิ่นผูไดรับผลกระทบทั้งในแงวิถีชีวิตและพื้นที่ทํากิน เนื่องจากฝายที่ตองการสรางโครงการขนาดใหญเพื่อผลประโยชนทางเศรษฐกิจนั้น มีอํานาจและเงินทุนมหาศาล ดังนั้นจึงตองพยายามสรางพลังตอรองจากภายในเพื่อตอรองอํานาจจากภายนอก โดยการระบุผูมีสวนไดสวนเสียใน การกอสรางโครงการตางๆควรที่จะรวมไปถึงกลุมชาวบานในพื้นที่ดวย การศึกษาควรดูภาพรวมทั้งลุมแมน้ํา และ ผูที่จะกําหนดกลุมผูมีสวนไดสวนเสียตองรูลักษณะของพื้นที่ วัฒนธรรมทองถิ่น วิถีชีวิตคนในพื้นที่ รูสภาพการ ดํารงชีวิตของชาวบาน ดวยกระแสเศรษฐกิจแบบทุนนิยมแมจะเปนไปไมไดที่แมน้ําโขงจะไมเปลี่ยนแปลง แตการ เปลี่ยนแปลงควรมีดุลยภาพทั้งในแงวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม การพัฒนาเศรษฐกิจสามารถทําไดแตไมควรใหกระทบวิถีชีวิตเดิม เพราะการพัฒนาโดยคํานึงถึงแคเพียง ผลตอบแทนในแงเศรษฐกิจไมสงผลดีในระยะยาว นอกจากจะทําลายความสมบูรณของระบบนิเวศและความ หลากหลายทางชีวภาพแลวยังทําลายอารยธรรม (civilization) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวย เพราะ แมน้ําโขงครอบคลุมพื้นที่ในหลายประเทศ ไมใชแคอารยธรรมในแตละประเทศที่จะถูกทําลาย เพราะทั้งธรรมชาติ และอารยธรรมนั้นไมมีการแบงเขตประเทศ เนื่องจากในอดีตพื้นที่ในลุมแมน้ําโขงมีการใชทรัพยากรรวมกัน ตอมา เมื่อถึงสมัยอาณานิคมจึงเริ่มมีการแบงสรรทรัพยากร ดังนั้นจึงตองพยายามสรางภาคประชาชนที่ไมมีมิติทาง การเมือง โดยการนําเอาวัฒนธรรมมาเปนตัวสานเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางในแตละพื้นที่ เพื่อใหเกิดการสราง พลังตอรอง นอกจากนี้การที่จะกลาวโทษผูอื่นวาเปนผูทําลายทรัพยากรนั้น ตองดูตัวเองดวย เนื่องจากคนไทยเองก็ ทําลายประเทศเอง เพราะไมรูไมเห็นถึงความสําคัญของแมน้ําอิงและแมนํ้ากก ซึ่งเปนแมน้ําสาขาและลุมแมน้ําที่ สําคัญ ในบริเวณนี้มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงและดินมีศักยภาพเพื่อการทํานา ดังนั้นหากประเทศจีนเขามา ในบริเวณเชียงของได จีนจะใชพื้นที่นี้เปนพื้นที่การเกษตรและอุตสาหกรรมของจีน ซึ่งจะทําใหเกษตรกรไทย เสียเปรียบ นอกจากนี้บริเวณเชียงแสนและเชียงรายก็เปนแหลงอารยธรรมที่สําคัญ ดังนั้นหากเราเขาใจความสําคัญ ของแตละพื้นที่ เราก็จะรูวาควรรักษาอะไรไว ควรอนุรักษอะไรไว หากมีการสรางเขื่อนเกิดขึ้นในลําน้ําโขงตอนลาง ก็จะกระทบถึงวิถีชีวิตของชาวบานเพราะ ชุมชนบานเมืองสวนใหญไมไดอยูฝงลาวแตอยูฝงไทย และตั้งแตเชียงใหม จนถึงบานกุมก็มีความหลากหลายของปลาสูง ทําใหชุมชนในภาคอีสานจะเกิดความเดือดรอนจากการพัฒนา โครงการพัฒนาเศรษฐกิจ


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความหลากหลายทางชาติพันธุ์ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุ่มน้ําโขง

การจะตอสูกับแรงกดดันจากภายนอกคนในประเทศและภูมิภาคจึงตองรวมตัวกัน ตองศึกษาทองถิ่นของ ตัวเองใหเขาใจและตอรองโดยมีความเขาใจอยางบูรณาการ เนื่องจากการศึกษาความเปนไปไดของโครงการ (feasibility study) สวนใหญแลวยังขาดการมองดานมิติทางสังคม วัฒนธรรมและจิตวิญญาน ซึ่งมีความซับซอน มากกวาการมองในดานเศรษฐกิจเนื่องจากภาคอีสานมีอารยธรรมที่ยิ่งใหญเชน บานเชียง และในแงของภูมิประเทศ เองก็มีลักษณะของบุงทามอยางชัดเจน ทําใหตองเขาใจลักษณะภูมิประเทศอยางลึกซึ้ง

292


ความรวมมือระดับภูมภิ าค : การจัดการน้ําในแมน้ําโขง



บทที่ 17 ประเทศไทย และความรวมมือกับภูมิภาคในการจัดการแมน้ําโขง ดร. ปรเมธี วิมลศิริ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

บทบาทประเทศไทยในความรวมมืออนุภูมิภาค 1. ผลจากการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจโลก ทั้ ง ด า นบทบาทของเศรษฐกิ จ เอเชี ย ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น หรื อ การก า วสู ก ารเป น ศู น ย ก ลางการขยายตั ว ทาง เศรษฐกิจใหมที่สําคัญของจีนและอินเดีย : ซึ่งมีอัตราการเจริญเติบโตสูงกวาเศรษฐกิจโลก และประเทศในเอเชีย ตะวันออก ประกอบกับกระแสโลกาภิวัฒน ที่มีผลใหการเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจโลกกับภูมิภาคเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะความรวมมือของกลุมเศรษฐกิจตาง ๆ อาทิ กลุม EU, ASEAN, APEC และ NAFTA มีผลใหเกิดการ เคลื่อนยายอยางเสรีของ ทุน คน และเทคโนโลยี และความรู ทําใหหลายประเทศตองปรับโครงสรางอุตสาหกรรม จากการใช แ รงงานราคาถู ก ไปสู ก ารใช แ รงงานฝ มื อ และอุ ต สาหกรรมที่ พึ่ ง พาเทคโนโลยี และจะพั ฒ นาไปสู อุตสาหกรรมฐานความรู ประกอบกับการรวมกลุมทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคตาง ๆ ทั้งในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี และภูมิภาคมีความสําคัญเพิ่มมากขึ้น ในฐานะเปนเครื่องมือเพื่อสรางอํานาจตอรองทางเศรษฐกิจ และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของกลุมกับกลุมเศรษฐกิจอื่น ๆ โดยไทยไดเริ่มมีบทบาทที่โดดเดนในเวที ระหวางประเทศ และเวทีภูมิภาค บทบาทประเทศไทยในเวทีระหวางประเทศ มีความโดดเดนขึ้นจากการปรับบทบาทจากประเทศผูรับ (recipient country) เปนประเทศผูใหความชวยเหลือ (donor country) กับประเทศแถบแอฟริกา และประเทศเพื่อน บาน และการเปนประเทศที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยไทยไดบรรลุเปาหมายการพัฒนาแหง สหัสวรรษ (MDGs) เกือบทุกเปาหมายไดกอนกําหนดเวลาถึง 10 ป โดยเฉพาะการลดความยากจน การสราง โอกาสการศึกษาที่เทาเทียม และการลดการแพรระบาดของโรคเอดส และมาเลเรีย นอกจากนั้นการปรับบทบาท ของประเทศไทย ยังสงผลใหมีการปรับความสัมพันธกับประเทศตาง ๆ เชน ญี่ปุน และกลุมสหภาพยุโรป ใน ลักษณะหุนสวนการพัฒนา (development partner) ประกอบกับบทบาทของไทยในเวทีตาง ๆ ที่เขมแข็งและ เพิ่มขึ้น ทั้งในเวทีองคการการคาโลก APEC, ASEAN, ACD และ IAI ตลอดจนในเวทีภูมิภาค เชน ความรวมมือ ภายใตกรอบอาเซียน กรอบ Asian Cooperation Dialogue, ACD และกรอบ Initiative for ASEAN Integration (IAI) การดําเนินการภายใตกรอบเหลานี้มุงที่จะเสริมสรางความเขมแข็งดานตาง ๆ เพื่อใหอาเซียนสามารถแขงขัน กับเขตเศรษฐกิจอื่นๆ ของโลก โดยอาศัยความแตกตางหลากหลายและทรัพยากรที่อุดมสมบูรณของเอเชียที่มีอยู มาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด รวมทั้งการลดชองวางจากการพัฒนากับประเทศในภูมิภาคอาเซียน โดยมีเปาหมาย สุดทายคือ การเปนตลาดเดียว (single market) และบรรลุเปาหมายในการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในป พ.ศ. 2563 ทั้งนี้ไทยจะมีบทบาทที่สําคัญยิ่งในการเรงผลักดันกรอบความรวมมือกับประเทศเพื่อนบานโดยเฉพาะ ประเทศ CLMV (ลาว กัมพูชา พมา และเวียดนาม) ใหสอดคลองกับทิศทางการเคลื่อนตัวไปสูเปาหมายของ อาเซียน และที่สําคัญคือสามารถกาวไปทันกับความเจริญกาวหนาของอาเซียนที่กําลังจะมาถึง


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

2. สถานะของไทยในกรอบความรวมมือประเทศเพื่อนบาน ประเทศไทยในปจจุบันไดแสดงบทบาทของการเปนหุนสวนการพัฒนาในภูมิภาคและอนุภูมิภาคผานทาง นโยบายการตางประเทศที่เรียกวา “Forward Engagement” โดยมุงหวังการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ ภูมิภาค โดยหลักการชวยเหลือตัวเอง (self-help cooperation) และการสรางความเขมแข็งจากความแตกตาง (strength from diversity) บนพื้นฐานการเปนหุนสวนทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งประเทศไทยไดมีการรวมกลุมทาง เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบานในหลายกรอบ ทั้งประเทศในแถบเอเชียใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยไทยได สนับสนุนใหความชวยเหลือทางการเงินเพื่อการพัฒนา (ODA) แกประเทศดอยพัฒนาในภูมิภาค ในป พ.ศ. 2546 ประมาณ 167 ลานเหรียญสหรัฐ หรือ รอยละ 0.13 ของรายไดประชาชาติ ซึ่งมากกวาประเทศออสเตรเลีย ญี่ปุน สหรัฐ และหลายประเทศใน OECD โดยรอยละ 93 ของความชวยเหลือของไทยไปยังประเทศดอยพัฒนาในทวีป แอฟริกา รวมทั้งประเทศเพื่อนบาน เชน กัมพูชา ลาว พมา การใหความชวยเหลือดังกลาวจะเนนการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานในประเทศเพื่อนบาน เชน การสรางถนน สะพาน เขื่อน และโรงไฟฟา ซึ่งถือเปนการพัฒนาความ เชื่อมโยงทางคมนาคม และพลังงาน เพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจระยะยาว รวมทั้งการใหความชวยเหลือดาน เทคนิควิชาการ เชน การฝกอบรมบุคคลากรในสาขาตาง ๆ อาทิ การศึกษา สาธารณสุข เกษตร คมนาคม การเงิน การธนาคาร ซึง่ ไทยมีการดําเนินการใหความชวยเหลือในลักษณะเดียวกันกับสหประชาชาติและ ADB โดยมีกรอบ ความรวมมือทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับประเทศเพื่อนบาน ที่มีผลตอการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคมากที่สุด โดยการใชขอไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของแตละประเทศ เพิ่มขีดความสามารถทางการแขงขัน สรางอํานาจตอรอง และลดชองวางทางเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาค โดยมีกรอบความรวมมือสําคัญ 2 กรอบดังนี้ (1) แผนงานการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ (GMS) มุงเนนการพัฒนาเศรษฐกิจ ผานการเชื่อมโยงตามแนวเศรษฐกิจ (Economic Corridor) การเพิ่มขีดความสามารถ การแขงขันและกระชับความสัมพันธของชุมชน หรือยุทธศาสตร 3Cs Connectivity Competitiveness Community โดยมีความรวมมือ 9 สาขา ครอบคลุมดานโครงสรางพื้นฐาน สังคมสิ่งแวดลอม และ พลังงาน เปนสาขาหลัก (2) เริ่มในป 2546 ประกอบดวยสมาชิก 5 ประเทศ (กัมพูชา ลาว พมา เวียดนาม ไทย) โดยอยูบน พื้นฐานการสรางความเปนหุนสวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อลดชองวางทางเศรษฐกิจระหวางไทยกับ ประเทศเพื่อนบาน โดยเนนการพัฒนาแบบองครวมในบริเวณพื้นที่ชายแดน ในลักษณะการพัฒนาเมืองคูแฝดที่มี กิจกรรมการผลิตรวมกัน ทั้งดานเกษตรและอุตสาหกรรมรวมกัน มี 6 สาขาความรวมมือ ไดแก การอํานวยความ สะดวกการคาการลงทุน เกษตรและอุตสาหกรรม คมนาคม ทองเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย และสาธารณสุข

บทบาทประเทศไทยในกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง การพัฒนาในลุมน้ําโขงในระยะแรกนั้น มีความสัมพันธกับการเมืองในภูมิภาคอินโดจีน ซึ่งมีประเด็นความ ขัดแยงระหวางอุดมการณทางการเมืองแบบทุนนิยมของผูนําโลกเสรีอยางสหรัฐอเมริกา และลัทธิสังคมนิยมที่กําลัง แพรขยายไปทั่วโลก ประเทศไทยในชวงเวลานั้นเปนพื้นที่ยุทธศาสตรที่สําคัญในการตอตานลัทธิคอมมิวนิสตใน ภูมิภาคนี้ เพราะประเทศเพื่อนบานตางมีระบอบการปกครองแบบสังคมนิยมและคอมมิวนิสตเกือบทั้งสิ้น

296


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

1. ประวัติศาสตรการพัฒนาในลุมแมน้ําโขง แมน้ําโขงซึ่งเปนแมน้ําสายหลักในภูมิภาคอินโดจีน จึงกลายเปนพื้นที่ที่มีแผนการกอสรางโครงการ สาธารณูปโภค ที่แฝงไวดวยขอตกลงทางการเมืองและการทหาร ภายใตความชวยเหลือดานเศรษฐกิจจากรัฐบาล อเมริกา เชน การสรางเขื่อนผลิตกระแสไฟฟา เพื่อใชในฐานทัพ การสรางถนนเพื่อเปนถนนสายยุทธศาสตร ใน ระยะแรกมีการจัดตั้งคณะกรรมการแมน้ําโขง (Mekong Committee) ในป พ.ศ. 2500 มีประเทศสมาชิกในลุม แมน้ําโขงตอนลาง คือ ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม โดยมีสหรัฐอเมริกาเปนผูม ีอิทธิพลอยูเบื้องหลัง เพื่อวาง แผนการพัฒนาภายใตวัตถุประสงค สงเสริม สนับสนุนงบประมาณ ประสานงาน ใหคําแนะนํา และควบคุมแผนการ สํารวจเพื่อการพัฒนาแหลงน้าํ และพลังงาน โครงสรางพื้นฐานเสนทางคมนาคม สงผลใหทรัพยากรธรรมชาติ ทองถิ่น อาทิ เนื้อไม สมุนไพร ซากสัตว ปา ทองคํา อัญมณี ฯลฯ ถูกนํามาใชอยางฟุมเฟอย นําไปสูการ เปลี่ยนแปลงสังคมจากเกษตรกรรมธรรมชาติสูระบบทุนนิยม สรางความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจและอํานาจแกประเทศ มหาอํานาจไดอยางแนบเนียน แตในป พ.ศ.2513–2520 การดําเนินงานของคณะกรรมการแมน้ําโขงไดหยุดชะงัก ลง เนื่องจากเกิดสงครามอินโดจีน และอุดมการณที่แตกตางทางการเมืองของประเทศสมาชิกในเวลานั้น ทําให กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ถอนตัวจากการเปนสมาชิก ภายหลังจากการถอนตัวไดมีการตั้งคณะกรรมการประสานงานชั่วคราวขึ้นในชวงสงครามเย็น ระหวาง พ.ศ. 2518–2532 จากการถอนตัวของประเทศสมาชิก ทําใหการดําเนินงานของคณะกรรมการแมน้ําโขงหยุดชะงัก ลง ในชวงทายของยุคสงครามเย็น ประเทศพัฒนาแลวอยาง เนเธอรแลนด สวีเดน สวิตเซอรแลนด ไดเขามาใน รูปแบบการใหความชวยเหลือดานการเงินแกคณะกรรมการ ภายใตแผนพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน การสรางเขื่อนใน แมน้ําโขงและแมน้ําสาขา และบทบาทของธนาคารพัฒนาเอเชีย ที่รุกเขามาในลุมน้ําโขงแทนคณะกรรมการ ประสานงานชั่วคราว ในฐานะผูสนับสนุนการพัฒนาไฟฟาพลังน้ํา หลังสงครามเย็นสิ้นสุดลง การคาขายระหวางประเทศจีนกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต เริ่มตนขึ้นภายใตวาทกรรมของเติ้งเสี่ยวผิงที่วา “แมวจะสีอะไรก็ตามขอใหจับหนูไดเปนพอ” ซึ่งเปนปจจัย สําคัญที่นําไปสูแรงจูงใจในการพัฒนาลุมน้ําโขงของประเทศตาง ๆ ในภูมิภาคนี้ รวมถึงแหลงทุนตางประเทศเปด ชองทางใหดวย รวมทั้งหลังจากการผลัดเปลี่ยนสูผูนํารุนที่สามของจีน จีนไดเริ่มประกาศระบบเศรษฐกิจการตลาด สังคมนิยมแบบเปดและสั่งการได ภายใตแนวคิด “หนึ่งประเทศสองระบบ” ที่เคยใชกับเกาะฮองกง นอกจากนี้โครง รางปฏิรูปประเทศแหงสมัชชาประชาชนของพรรคคอมมิวนิสตจีน เมื่อ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2546 นั้นตองการเพิ่ม บทบาททางเศรษฐกิจการคาของจีนสูภูมิภาคอื่น ๆ เชน เอเชียตะวันออกเฉียงใต เอเชียใตใหสูงยิ่งขึ้น แตฐานคิด การปฏิรูปนี้ไดรับการวิพากษวิจารณจากนักวิชาการของจีนวา ละเลยภาคชนบทหรือเกษตรกรดวยการเพิ่ม ภาคอุตสาหกรรมในเขตเมือง จะทําใหเกิดการอพยพของคนชนบทเขาเมือง และจะยิ่งทําใหชองวางระหวางคนรวย และคนจนเพิ่มสูงขึ้น รวมทั้งยังละเลยความคิดเรื่องระบบนิเวศน และการรักษาทรัพยากรธรรมชาติที่ตองสูญเสียไป อยางมหาศาล เพื่อปอนการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมของเมืองใหญ ป พ.ศ. 2534 เกิดการรวมตัวของ 6 ประเทศภายใตแผนความรวมมือทางเศรษฐกิจอนุภมู ิภาคลุมน้ําโขง (Great Mekong Subregion, GMS) โดยใหความสําคัญกับการสรางความรวมมือทางเศรษฐกิจโดยการพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน ทางรถยนต ทางรถไฟ ตลอดถึงการพัฒนาเสนทางเดินเรือในแมนา้ํ โขงรวมไปถึงการกลับมาของ ความรวมมือระหวางประเทศในภูมิภาคลุมน้ําโขงตอนลาง ในโฉมหนาใหมภายใตชื่อคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง 297


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

(Mekong River Commission, MRC) นอกจากนี้ยังมีแผนความรวมมือสี่เหลี่ยมเศรษฐกิจระหวางไทย พมา ลาว จีน ที่ยิ่ง ชี้ใหเห็นวาการพัฒนาลุมน้ําโขงเปนการตอบสนองเพื่อเศรษฐกิจอุตสาหกรรมแตเพียงทางเดียว และโดยเฉพาะ หลังจากที่จีนเขาเปนสมาชิกองคการการคาโลก (WTO) ในป พ.ศ. 2545 การขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจแบบทุน นิยมของประเทศสังคมนิยม ยังผลใหเกิดการผลักดันการใชทรัพยากรธรรมชาติในเขตลุมน้ําโขงตอนบนเพิ่มยิ่งขึน้ โดยเฉพาะในเรื่องพลังงานไฟฟาจากเขื่อนเพื่อตอบสนองเขตอุตสาหกรรมในจีน รวมทั้งเพื่อการเพิ่มการคาและ ตัวเลขทางเศรษฐกิจ–การบริโภคดวยการเปดเขตการคาเสรีไทย–จีน (FTA) ในเดือนตุลาคม ปพ.ศ. 2546 และ กําลังผลักดันการคาเสรีอาเซียนจีนอยูอยางจริงจังอีกดวย 2. บทบาทประเทศไทยในกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ Greater Mekong Subregion - GMS ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกกรอบความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ (Greater Mekong Subregion, GMS) เมื่อป 2535 โดยมีประเทศสมาชิกอีก 5 ประเทศ ประกอบดวย กัมพูชา สปป.ลาว พมา เวียดนาม และจีนตอนใต (มณฑลยูนนานและตอมากวางสีเขาเปนสมาชิกป 2548) มีประชากร รวมกัน 255 ลานคน มีพื้นที่ความรวมมือ ประมาณ 2 ลาน 3 แสนตาราง กม.โดยการใหความชวยเหลือทาง วิชาการจากธนาคารพัฒนาแหงเอเชีย (Asian Development Bank, ADB) เพื่อจัดทํากรอบแผนยุทธศาสตร พัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในลักษณะเกื้อกูลกัน บนพื้นฐานของความไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบของแตละ ประเทศ โดยมีการสนับสนุนทั้งทางการเงินและทางวิชาการจาก ADB เปนตัวขับเคลื่อนการพัฒนาอนุภูมิภาค เริ่ม จากการเชื่อมโยงโครงขายระบบโครงสรางพื้นฐาน โดยเฉพาะเสนทางคมนาคมขนสงและพลังงาน 3. แนวคิด/ยุทธศาสตรการพัฒนาในกรอบ GMS ในป พ.ศ. 2540 ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจแผนงาน GMS ไดขยายแนวคิดที่เรียกวายุทธศาสตร 3Cs ประกอบดวย Connectivity คือ การเชือ่ มโยงโครงขายเสนทางคมนาคมระหวางประเทศสมาชิก โดยมีเสนทาง คมนาคมเชื่อมโยงหลัก 3 แนว ที่เรียกวา Economic Corridor หรือการพัฒนาตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจตามแนว ตางๆ ไดแก 1) แนวเหนือ-ใต เชื่อมโยง ไทย-พมา/ลาว-จีน 2) แนวตะวันออก-ตะวันตก เชื่อมโยง พมา-ไทย-ลาวเวียดนาม และ 3) แนวตอนใต เชื่อมโยงไทย-กัมพูชา-เวียดนาม สวน C ตอมาคือ Competitiveness เปนการเพิ่ม ขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศสมาชิกในอนุภูมิภาค ผานเสนทางคมนาคมเชื่อมโยง และกฎระเบียบที่ จะมีความเปนสากล และสะดวกรวดเร็วขึ้น และ C สุดทายคือ Community ที่เนนการสรางความรูสึกเปนหนึ่ง เดียวกันของชุมชนในอนุภูมภิ าคลุมน้ําโขง โดยผานแผนงาน/โครงการดานการคาการลงทุน และการทองเที่ยว เพื่อใหประชาชนในอนุภูมิภาคไดมีโอกาสเขาถึงประโยชนจากการพัฒนาที่เกิดขึ้นอยางแทจริง โดยปจจุบันมีสาขา ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิก 9 สาขา คือ คมนาคมขนสง โทรคมนาคม พลังงาน การคา การลงทุน เกษตร สิ่งแวดลอม การทองเที่ยวและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย มีกลไกการดําเนินการงาน 4 ระดับ เริ่มตั้งแต 1) การประชุมคณะทํางานรายสาขาทั้ง 9 สาขา สาขาละ 2–3 ครั้ง/ป ซึ่งจะกําหนดแผนงาน/โครงการสําคัญๆ ใน แตละสาขาความรวมมือ ตอมาคือ 2) การประชุมระดับเจาหนาทีอ่ าวุโส (Senior Official Meeting) ประชุมปละ ประมาณ 3 ครั้ง มีหนาที่ใหทิศทางนโยบาย และติดตามความคืบหนาการดําเนินงานโดยรวม 3) การประชุมระดับ รัฐมนตรี (GMS Ministerial Meeting) ทําหนาที่พิจารณาการดําเนินงานในภาพรวมทั้งหมด โดยการประชุมระดับ รัฐมนตรี ครั้งที่ 15 จะจัดขึ้นที่ อ. ชะอํา จ. เพชรบุรี ประเทศไทย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2552 และ 4) การประชุม สุดยอดผูนํา 6 ประเทศลุมแมน้ําโขง (GMS Summit) กําหนดจัดขึ้นทุก 3 ป โดยผูน ํา GMS จะใหความเห็นชอบ 298


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

แผนงาน/โครงการสําคัญ ตามแผนปฏิบัติการของ GMS โดยการประชุมครั้งหลังสุด สปป.ลาว เปนเจาภาพเมื่อป พ.ศ. 2551 โดยกรอบความรวมมือ GMS ในสวนของไทย มีสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ

ความกาวหนาของการดําเนินการในภาพรวม ผลการประชุมระดับสุดยอดผูนํา 6 ประเทศลุมแมน้ําโขงภายใตแผนงาน GMS ครั้งที่ 3 เมือ่ วันที่ 30 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2551 ณ เวียงจันทน สปป.ลาว มีสาระสําคัญ ดังนี้ (1) เห็นชอบ แผนปฏิบัติการระยะ 4 ป (2551-2555) ของความรวมมือ 9 สาขา และผลการศึกษาทบทวนกลางรอบ (Midterm Review) (2) เห็นชอบการพัฒนาและใชประโยชนโครงขายโครงสรางพื้นฐาน และเรง ดําเนินงานตามความตกลงขนสงขามพรมแดน (Cross Border Transport Agreement - CBTA) (3) สนับสนุนการมีสวนรวมของเยาวชนและภาคเอกชน (4) มอบหมายใหธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) ดําเนินการ 3 เรื่อง ไดแก การศึกษาความเปนไปไดในการเชื่อมโยงเสนทางรถไฟของกลุม GMS การ หาผูรวมลงทุนจากภาคเอกชนและการเรงปรับปรุงกฎระเบียบเพื่ออํานวยความสะดวกการคาการลงทุน ความคืบหนาการดําเนินงานรายสาขา สาขาการคมนาคมขนสง เรงรัดพัฒนาเสนทางคมนาคมเชื่อมโยงตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจและ เมืองที่มีศักยภาพ และเรงผอนคลายกฎระเบียบเพื่ออํานวยความสะดวกกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ การคมนาคมขนสงขามพรมแดนใหเปนรูปธรรมภายในป พ.ศ. 2553 โดยเริ่มดําเนินงานนํารอง ณ ดานมุกดาหาร-สะหวันนะเขต เปนแหงแรก สาขาโทรคมนาคม ดําเนินการโครงการ GMS Information Superhighway Network ระยะ 1 แลวเสร็จ ซึ่งจะสงเสริมยกระดับเทคโนโลยีใหเปนระบบ Broadband เพื่อเพิ่มศักยภาพการใช ICT ในเชิงพาณิชยในอนุภูมิภาคใหมากขึ้น สาขาพลังงาน วางระบบและพัฒนาไปสูตลาดซื้อขายไฟฟาในอนุภมู ิภาค โดยพัฒนาระบบ สายสงเชื่อมโยง จัดทําขอตกลงปฏิบัติการดานเทคนิคและธุรกิจเพื่อดําเนินการซื้อ-ขายไฟฟาใน อนุภูมิภาค และจัดตั้งคณะกรรมการประสานการซื้อขายไฟฟา สาขาทองเที่ยว สงเสริมการตลาดรวม 6 ประเทศ และการพัฒนาบุคลากรทองเที่ยว ตั้งศูนย ประสานงานดานการทองเที่ยวของอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง (Mekong Tourism Coordinating Office, MTCO) ซึ่งปจจุบันตั้งอยูที่กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา สาขาการอํานวยความสะดวกการคา ดําเนินงานศึกษาเพื่อเสนอแนะแผนงาน/โครงการของ ด า นการตรวจมาตรฐานสุ ข อนามั ย พื ช /สั ต ว แ ละด า นโลจิ ส ติ ก ส ซึ่ ง มุ ง หวั ง จั ด ทํ า แผนพั ฒ นา โลจิสติกสของอนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขงและแผนยุทธศาสตรโลจิสติกสของแตละประเทศ สาขาการลงทุน จัดตั้งสภาธุรกิจ 6 ประเทศลุมแมน้ําโขง (GMS Business Forum) เพื่อเปน กลไกทํางานรวมกับภาครัฐ และทบทวนแนวทางการปรับรูปแบบคณะทํางานดานการลงทุน สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ดําเนินแผนงาน Phnom Penh Plan เพื่อฝกอบรมผูบริหาร ระดับกลาง/สู งของ GMS โดยใชเ ครือขายสถาบั นการศึกษาของอนุภูมิภาค และจัดทําแผน กลยุทธความรวมมือแลวเสร็จ เพื่อปรับปรุงกลไกการทํางานและแผนปฏิบัติการ 4 ดาน ไดแก แรงงาน สาธารณสุข การศึกษา และการพัฒนาสังคม 299


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

สาขาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม ศึ ก ษายุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นาเชิ ง ยั่ ง ยื น และ ดําเนินงาน Biodiversity Corridors เพื่อใหการพัฒนาเศรษฐกิจและการรักษาไวซึ่งสิ่งแวดลอมมีความ สมดุล และจัดตั้ง Environmental Operation Center (EOC) เปนศูนยประสานการดําเนินงานดาน สิ่งแวดลอม ณ กรุงเทพฯ สาขาเกษตร สงเสริมการใชเว็บไซดอยางมีประสิทธิภาพ สรางความมั่นคงทางอาหาร โดยพัฒนา ศักยภาพในการวินิจฉัยโรคสัตว และดานการวิจัยเพื่อควบคุมโรคสัตวที่ดีขึ้น แปลงยุทธศาสตรดาน เทคโนโลยีชีวภาพและความปลอดภัยทางชีวภาพสูปฏิบัติ

โครงการที่มีลําดับความสําคัญสูงในกรอบ GMS โครงการสําคัญในกรอบ GMS แผนงานลําดับความสําคัญสูง (Flagship Programs) จํานวน 11 แผนงาน ประกอบดวย 1. แผนงานพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจเหนือ-ใต (North-South Economic Corridor) 2. แผนงานพัฒนาแนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor) 3. แผนงานพัฒนาแนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจตอนใต (Southern Economic Corridor) 4. แผนงานพัฒนาเครือขายโทรคมนาคม (Telecommunications Backbone) 5. แผนงานซือ้ -ขายไฟฟาและการเชื่อมโยงเครือขายสายสงไฟฟา (Regional Power Interconnection and Trading Arrangements) 6. แผนงานการอํานวยความสะดวกการคาและการลงทุนขามพรมแดน (Facilitating Cross-Border Trade and Investment) 7. แผนงานเสริมสรางการมีสวนรวมและความสามารถในการแขงขันของภาคเอกชน (Enhancing Private Sector Participation and Competitiveness) 8. แผนงานพัฒนาทรัพยากรมนุษยและทักษะความชํานาญ (Developing Human Resources and Skills Competencies) 9. แผนงานหลักทางดานสิ่งแวดลอม (Core Environment Program) 10. แผนงานการพัฒนาการทองเที่ยว (GMS Tourism Development)

ความชวยเหลือของ ADB และบทบาทของไทย ในเวทีภูมิภาค และในกลุมประเทศลุมน้ําโขง นับแตเริ่มกรอบความรวมมือ GMS ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย หรือ ADB ไดสนับสนุนความ ชวยเหลือทางดานเทคนิควิชาการ จํานวน 51.65 ลานเหรียญ และเปนเงินกูเพื่อพัฒนาโครงสรางพื้นฐานจํานวน 5,496.60 ลานเหรียญ ทั้งนี้ประเทศไทยเองก็ไดมีสวนในการใหความชวยเหลือประเทศเพื่อนบานในกลุม GMS ภายใตกรอบความรวมมืออิรวดี เจาพระยา แมโขง (ACMECS) ซึ่งไทยเปนผูริเริ่มเมื่อป พ.ศ. 2546 โดยมี วัตถุประสงคหลักเพื่อลดชองวางการพัฒนาของไทย กับประเทศเพื่อนบาน และไดแสดงเจตนจํานงในการใหความ ชวยเหลือประเทศเพื่อนบานในกลุมเดียวกัน หรือ ที่เรียกวา Self-help Cooperation โดยไทยไดใหความชวยเหลือ ทางดานวิชาการตางๆ จํานวน 4,600 ลานบาท และการใหเงินกูผอนปรนแกประเทศเพื่อนบาน ในการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานวงเงินรวม 11,412 ลานบาท (พมา 2 โครงการ วงเงินรวม 152 ลานบาท สปป.ลาว 14 โครงการ วงเงินรวม 7,278 ลานบาท และกัมพูชา 3 โครงการ วงเงินรวม 3,982 ลานบาท) 300


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

ทั้งนี้ขอมูล ADB ระบุชัดวานับแตดําเนินเริ่มดําเนินการ แผนงานพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจใน อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง 6 ประเทศ พบวาการลงทุนโดยตรงจากตางชาติในอนุภูมิภาคเพิ่มขึ้นรวมประมาณ 3 เทา (จาก 68,608 ลานบาท ในป พ.ศ. 2535 เปน 191,968 ลานบาท ในป พ.ศ. 2548) การสงออกโดยรวมเพิ่ม 11 เทา (76,704 ลานบาท ในป พ.ศ. 2535 เปน 876,384 ลานบาท ในป พ.ศ. 2548) นักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เทา (ราว 10 ลานคน ในป พ.ศ. 2538 เปนราว 20 ลานคน ในป พ.ศ. 2548)

สถานการณสิ่งแวดลอม และความเห็นการจัดการน้ําในแมน้ําโขงใน GMS ในชวงทศวรรษที่ผานมา สถานการณทรัพยากรธรรมชาติใน GMS กําลังตกอยูในภาวะนาเปนหวง เนื่องมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว โดยในป 2004 ประเทศใน GMS มี GDP/per capita เทากับ 3.653 โดยประเทศไทยมีอัตราการเติบโตสูงสุด คือ 8.090 และประเทศพมาต่ําสุด คือ 1.027 การพัฒนา โครงสรางพื้นฐาน และจํานวนประชากรที่ยังเพิ่มขึ้นตอเนื่อง ประกอบกับความออนแอของกฎหมายและสถาบัน ตางๆ ใน GMS ทําใหมีการใชทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น โดยกลุมประเทศ GMS มีพื้นที่ปาไมอยู รอยละ 44 ของ พื้นที่ รอยละ 20 เปนพื้นที่เกษตรกรรม มีทั้ง ถานหินและน้ํามัน ที่ใชในการผลิตพลังงานไฟฟาจากน้ํา มีประมง ในแมน้ําและชายฝงทะเล ชวยใหเกิดความมั่นคงดานอาหารและเปนแหลงรายไดของประชากรในภูมิภาคอีกหลาย ลานคน แมวา อัตราการเพิ่มของประชากรคอยๆ ลดลง โดยคาดวาจะลดลงต่ํากวารอยละ 1 ในป 2015 ประชากร ปจจุบันมีจํานวน 266 ลานคน และจะเพิ่มเปน 290 ลานคน ในป 2015 สวนใหญการขยายตัวของประชากรจะอยู ในพมาและเวียดนาม ปญหาหลักดานสิ่งแวดลอมใน GMS สวนใหญเปนปญหาที่ประเทศใน GMS เผชิญรวมกัน โดยเฉพาะ อยางยิ่งในประเด็นการจัดการทรัพยากรน้ํา เชน แมน้ําโขง จะเปนประเด็นที่ทุกประเทศจะไดประโยชนสูงสุด เนื่องจากแมน้ําโขงมีความหมายตอ GMS ในหลายดาน ทั้งในแงการเปนเสนทางการคมนาคมขนสง แหลงรวมวิถี ชีวิตของประชากร แหลงทรัพยากร และแหลงพลังงาน ซึ่งหากไมมีการรวมกันจัดการก็อาจเกิดปญหารุนแรง นอกจากนี้พื้นดินที่มีความหลากหลายในเชิงนิเวศวิทยาและสายพันธุของสิ่งมีชีวิตกําลังตกอยูในอันตรายจากการ ตัดไม การลาสัตว การถางปาเพื่อทําการเกษตร โดยรวมใน GMS พื้นที่ปาไมกําลังลดลง ยกเวนในเวียดนาม และ ยูนนาน และ GMS มีอัตราการสูญเสียพื้นที่ปาที่รอยละ 0.2 และ ปญหาอื่นๆ คือ ความเสื่อมโทรมของดิน มลภาวะ ในน้ําและในอากาศ การจัดการขยะและน้ําเสีย การใชทรัพยากรน้ําเปนประเด็นที่ยากและออนไหวมากที่สุดใน GMS สิ่งที่นาวิตกกังวลมากที่สุดคือ แผนการสรางเขื่อนของจีนทางตอนบนของแมน้ําโขงในมณฑลยูนนาน ซึ่งอาจมีประโยชนตอประเทศบริเวณลุมน้ํา โขงตอนลาง เพราะจะชวยควบคุมระดับน้ํา ลดปญหาความแหงแลง และน้ําทวม ขณะเดียวกันประเทศลุมน้ําโขง ตอนลางก็เริ่มตนโครงการพัฒนาเขื่อนไฟฟาพลังน้ําอยูเชนกัน ดังนัน้ การสรางเขื่อนทั้งตอนบนในจีน และในกลุม ประเทศลุมน้ําโขงตอนลาง จะสงผลกระทบตอระบบการหมุนเวียนของน้ําตามธรรมชาติ เปลี่ยนเสนทางน้ําทาง ตอนลางของแมน้ํา กระทบตอระดับของตะกอนในแมน้ํา และการประมงในแมน้ําโขงตอนลาง ปจจัยอื่นๆ ที่จะกระทบตอลุมน้ําโขงตอนลางคือการลดลงของพื้นที่ปาไม โครงการชลประทานจํานวนมาก และวิธีการกักเก็บน้ําที่ไมเหมาะสม นอกจากนี้ ภาคการเกษตรเปนภาคที่มีความตองการน้ําสูงมาก การพัฒนาภาค การเกษตรของกัมพูชา ลาว ไทย และเวียดนามจะทําใหมีพื้นที่ที่ตองพึ่งพาการชลประทานมากขึ้น และการ 301


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

ชลประทานก็จะสงผลกระทบตอเนื่องอีกหลายๆ ดาน เชน จํานวนปลา ที่อยูอาศัยของปลา และระบบชลประทานที่ ออกแบบไมดีก็จะทําใหเกิดภาวะดินเสื่อม เปนตน

โครงการสิ่งแวดลอมในกรอบ GMS การดําเนินงานของคณะทํางานดานสิ่งแวดลอม (WEG) ภายใตแผนงาน GMS มีวัตถุประสงคหลัก 2 ประการ คือ 1) เพื่อลดปญหาความยากจนและผลกระทบจากการพัฒนาที่มีผลตอสภาพแวดลอมในอนุภูมิภาค 2) การปองกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอมและประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติในอนุภาคให เปนไปอยางยั่งยืน และสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาสิ่งแวดลอมในเวทีโลก อาทิ MDGs , World Summit on Sustainable Development, Convention on Biological Diversity, Convention Climate Change และ Kyoto Protocol โดยผลการดําเนินงานสําคัญ ในระยะแรก ประกอบดวย 1. การจัดทําระบบขอมูลขาวสารดานสิ่งแวดลอมในอนุภูมิภาคและการจัดทําระบบขอมูลสารสนเทศ โดย การจัดทํา Atlas Map เพื่อแสดงขอมูลทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูในประเทศ และเปนคูมือการพิจารณา Share Benefit ของทรัพยากรในอนุภูมิภาค 2. การจัดทํากรอบกลยุทธศาสตรการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอม ซึ่งกําลังจะขยายผลงในพื้นที่จริง (Environmental Performance Assessment) 3. การจัดการพื้นที่ชุมน้ําที่วิกฤตในลุมแมน้ําโขงตอนลาง โดยการ ฟนฟูสิ่งแวดลอม และบรรเทาความ ยากจนในพื้นที่นํารองที่โตนเลสาบ ประเทศกัมพูชา จะเห็นไดวาโครงการพัฒนาสิง่ แวดลอมของ GMS ในระยะแรก จะเปนการพัฒนาระบบสารสนเทศดาน สิ่งแวดลอม การจัดการพื้นที่ดานสิ่งแวดลอมของประเทศสมาชิก โดยนํารองที่กัมพูชา ซึ่งประเด็นในเรื่องการจัดการ ภายในของประเทศสมาชิก ตอมาในการประชุมผูนําครั้งที่ 2 ณ นครคุณหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2548 ไดมีการใหความเห็นชอบแผนงานหลักดานสิ่งแวดลอม ที่เรียกวา Environmental Operation Center (EOC) พรอมๆ กับการจัดตั้งศูนยปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอม (Environment Operation Center) ในกรุงเทพ ฯ เปนศูนยประสานการดําเนินงานดานสิ่งแวดลอมและสาขาความรวมมืออื่น ณ ADB Residence Mission (ตึก Central World กรุงเทพฯ) เพื่อใหความชวยเหลือดานเทคนิคและการบริหารจัดการแผน CEP สูการปฏิบัติ โดยมี แผนงานลําดับความสําคัญสูง ที่เรียกวา Biodiversity Conservation Corridor Initiative (BCI) หรือ โครงการแนว เชื่อมตอพื้นทีป่ าที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเปนโครงการที่เนนการจัดการ และรักษาพื้นที่ปารอยตอของ ไทยกับประเทศเพื่อนบานที่ยังมีความหลากลายทางชีวภาพ ใหคงไวซงึ่ ระบบนิเวศน การรักษาแหลงน้ํา การ รักษาการพังทะลายของดิน นอกจากนี้ แผนงานหลักทางดานสิ่งแวดลอมของ GMS ในปจจุบันไดใหความสําคัญกับแผนการพัฒนา โครงการพัฒนาสําคัญในสาขาตางๆ ที่จะตองคํานึงถึงการพัฒนาที่จะสงผลตอสิ่งแวดลอมในพื้นที่โดยรอบ และ ใกลเคียง โดยแผนปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอมของ GMS ในชวงป พ.ศ. 2548–2551 / 2552-2555 จึงไดพัฒนา เครื่องมือ และกลไกตางๆ เพื่อใหมีกระบวนการบูรณาการประเด็นทางดานสิ่งแวดลอมเขาไวในขั้นตอนของการ วางแผนการพัฒนาทั้งในระดับประเทศ และระดับทองถิ่น โดย Core Environmental Program (CEP) ไดกําหนด แผนงาน 5 ดาน ไดแก 302


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

1. การประเมินทางดานยุทธศาสตรสิ่งแวดลอม (Strategic Environmental Assessment ) 2. การจัดทําแนวเชื่อมตอพื้นที่ปา อนุรักษที่มีความหลายหลาย (Biodiversity Conservation Corridors) 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานดานสิ่งแวดลอม (Environmental Performance Assessments) 4. การพัฒนาเชิงสถาบันในระดับภูมิภาค (Regional Institutional Development ) 5. การพัฒนากลไกทางการเงินที่ยั่งยืน (Sustainable Financial Mechanism ) แผนงาน/โครงการสิ่งแวดลอมใน GMS ดําเนินการอยู ไดมีความพยายามในการสรางกระบวนการการ ทํางานรวมกันในลักษณะ Cross Sector กับการพัฒนาสาขาสําคัญๆ อาทิ การพัฒนาดานคมนาคม การพัฒนา พลังงานไฟฟาจากน้ํา โดยใชการประเมินทางดานยุทธศาสตรสิ่งแวดลอมที่เรียกวา Strategic Environmental Assessment (SEA) ที่เขามามีบทบาทนํารองในการพัฒนาระหวางการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ และการพัฒนา ดานสิ่งแวดลอมในขั้นตอนของการวางแผนกอนการดําเนินงานโครงการ โดยแผนงานทางดานสิ่งแวดลอม ซึ่ง ดําเนินการโดยศูนยปฏิบัติการดานสิ่งแวดลอม (Environment Operation Center) ไดมีโ ครงการนํา รอ งในการ ดําเนินการประเมินทางดานยุทธศาสตรสิ่งแวดลอม ที่เรียกวา Strategic Environmental Assessment (SEA) ในแผนแมบทการพัฒนาพลังงานไฟฟาจากน้ํา ในประเทศเวียดนาม ในชวงป 2006-2008 และในแผนระยะกลาง ของความรวมมือดานพลังงานของ GMS ในชวงป 2008-2015 (Medium Term 2009-2015 Road Map and Work Plan for Expanded GMS Cooperation in Energy) นั้นไดกําหนดใหมีแผนเสริมสรางขีดความสามารถใน การวางแผนดานสิ่งแวดลอม ในการประเมินโครงการทางดานพลังงานของประเทศ GMS ดวย

โครงการที่เกีย่ วของกับการจัดการแมน้ําโขง 1. ความตกลงว า ด ว ยการเดิ น เรื อ พาณิ ช ย ใ นลุ ม แม น้ํา โขงตอนบน (Quadripartite Agreement on Commercial Navigation on Lancang – Mekong River) เพื่อสนับสนุนการเดินเรือพาณิชยของภาคี 4 ประเทศ ระหวางจีน พมา สปป.ลาว และไทย (JCCN) ไดมี การเปดใหมีการเดินเรือโดยเสรีในแมน้ําโขง และปจจุบันมีการขนสงสินคาและผูโดยสารระหวางจีน สปป.ลาว พมา และไทย โดยไดลงนามรวมกันในความตกลงวาดวยการเดินเรือในแมน้ําลานชาง-แมน้ําโขง เมื่อวันที่ 20 เม.ย. พ.ศ. 2543 ณ จั ง หวั ด ท า ขี้ เ หล็ ก พม า และมี ผ ลบั ง คั บ ใช เ มื่ อ เดื อ นเมษายน พ.ศ. 2544 โดยความตกลงฯ มี วัตถุประสงคเพื่อการอํานวยความสะดวกการเดินเรือพาณิชยในแมน้ําโขงตอนบน และจีนไดใหการสนับสนุน การ ปรับปรุงรองน้ําเพื่อการเดินเรือ (เคลื่อนยายเกาะแกงและหาดตื้นที่เปนอุปสรรคตอการเดินเรือในลําน้ําโขงตลอด ชองแนวชองทางเดินเรือ 331 กิโลเมตร เพื่อใหชองทางมีขนาดกวางไมต่ํากวา 35 เมตร และลึกประมาณ 3 เมตร) ซึ่งไดดําเนินการเสร็จแลว 10 จุด สวนจุดสุดทายที่บริเวณแกงคอนผีหลวง ครม. ไดมีมติเมื่อ 8 เมษายน พ.ศ. 2546 มอบหมายใหกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทําการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลกระทบดานตางๆ ผล การศึก ษาดั ง กล า วได เสร็ จ สมบูร ณ แล ว เมื่ อ กรกฎาคม พ.ศ. 2547 โดยระบุ ว าผลกระทบของโครงการฯ ต อ สภาพแวดลอม เศรษฐกิจ สังคมและวิถีชีวิต แหลงทองเที่ยว โบราณสถานและวัฒนธรรม จะอยูในระดับต่ํา อยางไร ก็ตามผลจากการดําเนินการดานการมีสวนรวมของประชาชน ยังสะทอนใหเห็นวา ประชาชนในพื้นที่ยังมีขอวิตก กังวลเกี่ยวกับโครงการนี้อยู 303


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

2. โครงการความรวมมือดานพลังงาน ในกรอบความรวมมือดานพลังงานของประเทศ GMS จะปรากฏเฉพาะความตกลงวาดวยความ ร ว มมื อ ด า นการซื้ อ ขายไฟฟ า และการสร า งเครื อ ข า ยสายส ง ระหว า งรั ฐ บาล 6 ประเทศลุ ม แม น้ํา โขง (Inter-Governmental Agreement on Regional Power Trade) เมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 โดยความตกลงนี้มี จุดประสงคใหประเทศสมาชิกรวมมือและวางแผนพัฒนาระบบสงไฟฟาที่ประหยัด และมีความมั่นคง รวมไปถึงการ จัดตั้งกลไกในการดําเนินการซื้อขายไฟฟาในอนุภูมิภาค ความตกลงซื้อขายไฟดังกลาวไดเกิดขึ้น และเปนสวนกระตุนในการพัฒนาโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา ของประเทศในกลุม GMS โดยเฉพาะประเทศลุมน้ําโขงตอนลางทั้งในลาว กัมพูชา และเวียดนาม ตางมี แผนพัฒนาแหลงพลังงานจากการสรางเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในแมน้ําโขงทัง้ สิ้น โดยสวนหนึ่งเปนการผลิตเพื่อใช ภายในประเทศ และอีกสวนหนึ่งเปนการผลิตเพื่อขายใหแกประเทศที่มีความตองการดานพลังงาน และ พลังงานสํารอง โดยประเทศไทยจะเปนผูรับซื้อรายใหญในภูมิภาค ทั้งนี้ ในแผนระยะกลางของความรวมมือดาน พลังงานของ GMS ในชวงป 2008-2015 นั้นไดกําหนดใหมีแผนเสริมสรางขีดความสามารถในการวางแผนดาน สิ่งแวดลอม และการประเมินโครงการทางดานพลังงานในแผนงาน ประกอบดวย 1. การสนับสนุนการซื้อขายไฟฟา ในภูมิภาคอยางยั่งยืน 2. การประสานการวางแผนโครงการดานการพัฒนากับการประเมินทางดานสิ่งแวดลอม เพื่อใหแนใจวามีการประเมินทางดานสิ่งแวดลอม และสังคม รวมทั้งผลกระทบดานตางๆ กอนการดําเนินการ 3. การปรับปรุงประสิทธิภาพดานพลังงาน ทางดานการจัดการความตองการพลังงานและการอนุรักษพลังงาน การวางแผนทางดานสิ่งแวดลอมใหกับโครงการทางดานพลังงานของประเทศ GMS นั้น มีตนแบบจาก การศึกษาของเวียดนาม ที่เสนอให ADB ดําเนินโครงการนํารองการประเมินทางดานสิ่งแวดลอม เขามาในแผน แมบทโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในประเทศเวียดนาม ซึ่งรอยละ 40 ของพลังงานที่ใชในเวียดนามปจจุบันมาจาก พลังงานน้ํา โดยกระบวนการดังกลาวจะมุงเนนการพิจารณาความสามารถในการจายพลังงานของเขื่อนไฟฟาในการ พัฒนาประเทศ พรอมๆกับการประเมินยุทธศาสตรสิ่งแวดลอมระยะยาวของเขื่อนไฟฟาพลังน้ําในเวียดนาม ซึ่งจะมี ตัวชี้วัดที่สรางความสมดุลของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ตามวิสัยทัศน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของเวียดนาม ตามตารางความคืบหนาโครงการซื้อขายไฟฟาระหวางไทย–ประเทศเพื่อนบาน

304


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

ความคืบหนาการดําเนินงานโครงการระดับทวิภาคีระหวางไทยและเพื่อนบาน โครงการ ไทย-ลาว

ไทย-พมา

รายละเอียด การลงนาม MOU ระหวางไทยลาว 19 มิ.ย. 2539 จะรับซื้อ ไฟฟาจากลาว ปริมาณ 3,000 เมกกะวัตต ภายในป 2549 และ ไดมีการลงนาม MOU เพิ่มเติม อีก 2 ครั้ง เมื่อ18 ธ.ค. 2549 เพื่อ เพิ่มปริมาณการรับซื้อไฟฟาจาก ลาวเปน 5,000 เมกะวัตต ภายใน ป 2558 และ เมื่อ 22 ธ.ค. 2550 ไดเพิ่มปริมาณรับซื้อไฟฟาจาก 5,000 เมกะวัตต เปน 7,000 เมกะวัตต (ภายในป 2558 หรือ หลังจากนั้น) Joint Statement ความรวมมือดานพลังงาน 12 พ.ย. 2547

การลงนาม MOU ระหวางไทย พมา 14 ก.ค. 2540 จะรับซื้อไฟฟา จากพมาปริมาณ 1,500 เมกกะวัตต ภายในป 2553 MOU ความรวมมือพลังงาน ทดแทนและอนุรักษพลังงาน 7 สค. 2547

305

โครงการ/ความคืบหนา แลวเสร็จ และจําหนายไฟฟาเชิงพาณิชยเขา ระบบ กฟผ. แลว ไดแก 1. เทิน-หินบุน (187 MW) และ 2. หวยเฮาะ (126 MW) ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟาแลว ไดแก 1. น้ําเทิน2 (920 MW) 2. น้าํ งึม2 (615 MW) 3. เทิน-หินบุนสวนขยาย (220 MW) อยูระหวางจัดทําสัญญาซื้อขายไฟฟา ไดแก น้ําเทิน1 (523 MW) น้ํางึม3 (440 MW) น้ําเงี๊ยบ 1 (261 MW) หงสาลิกไนต (1,470 MW) และ น้ําอู (1,043 MW) ดําเนินงานโครงการ เชน 1. ศึกษาความเหมาะสมและออกแบบ โครงการไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็ก 2. สถิติขอมูลพลังงาน 3. การพัฒนาเตาหุงตมประสิทธิภาพสูง ศึกษาศักยภาพและการใชประโยชนเบื้องตน ของชีวมวล-ของเหลือในอุตสาหกรรม 4. การศึ ก ษาประเมิ น ศั ก ยภาพพลั ง งาน แสงอาทิตย สองประเทศลงนาม MOU พัฒนาโรงไฟฟา พลังน้ําในลุมสาละวิน และตะนาวศรี เมื่อ พ.ค.48 ประกอบดวย 6 โครงการ ไดแก 1. โรงไฟฟาทาซาง (7,000 MW) 2. โรงไฟฟายะวาทิต (800 MW) 3. โรงไฟฟาชายแดนสาละวินตอนบน(4,000 MW) 4. โรงไฟฟาชายแดนสาละวินตอนลาง (500 MW) 5. โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําฮัทจี (1,200 MW) 6. โครงการโรงไฟฟาพลังน้ําตะนาวศรี (600 MW) โครงการฮั ท จี การศึ ก ษาความเหมาะสม ที่กฟผ. และบริษัท Sino Hydro Cp., Ltd. ของจี น ร ว มกั น ศึ ก ษาแล ว เสร็ จ และส ง ให กระทรวงไฟฟ า ของพม า พิ จ ารณาแล ว เมื่ อ เดือนมกราคม 2551


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

โครงการ

รายละเอียด

ไทย-กัมพูชา

มีการจัดทําความตกลง และ Joint Statement ระหวาง รัฐบาลไทย-กัมพูชา Joint Statement ความรวมมือ ดานพลังงาน 12 พ.ย. 2546

ไทย-จีน

การลงนาม MOU ระหวางไทย-จีน 12 พ.ย.2541จะรั บ ซื้ อ ไฟจากจี น ปริมาณ 3,000 เมกกะวัตต ภายใน ป 2560

โครงการ/ความคืบหนา อยู ร ะหว า งดํ า เนิ น โครงการสาธิ ต เพื่ อ ผลิ ต ไฟฟาดวยพลังงานแสงอาทิตยและอนุรัก ษ พลังงาน รัฐบาลไทยโดย กฟผ. ไดศึกษาแผนหลักการ พัฒนากําลังผลิตไฟฟาการขยายระบบสง ไฟฟาระยะยาวใหการไฟฟากัมพูชา โครงการสตรึงนัม ศึกษาความเหมาะสมแลว เสร็จ โดย กฟผ โครงการเกาะกง บริ ษั ท เอกชนที่ ไ ด รั บ สัมปทานจากรัฐบาลกัมพูชาไดเสนอ รายละเอี ย ดโครงการให กฟผ. พิ จ ารณา ขณะนี้อยูระหวางการเจรจาอัตราคาไฟฟาได ไทยใหความชวยเหลือจัดทําแผนแมบทการ พัฒนากําลังผลิตไฟฟา แผนแมบทการขยาย ระบบสงไฟฟา และชวยฝกอบรม อยูระหวางดําเนินงานโครงการอนุรักษ พลั ง งาน โครงการพั ฒ นาเตาหุ ง ต ม ประสิทธิภาพสูง โครงการศึกษาศักยภาพ ผลผลิตทางการเกษตรเพื่อใชในโครงการ Biofuels และโครงการศึกษาแผนที่ศักยภาพ โครงการไฟฟาพลังน้ําขนาดเล็กทั่วประเทศ จัดตั้งคณะทํางานรวม 3 ฝาย ไทย-ลาว-จีน เพื่อศึกษาและกอสรางสายสง 500 KV จาก จีนตอนใตผานลาวมาไทยปจจุบันอยูใน ชวงระงับการเจรจาคาไฟฟา เนื่องจากยัง ไมไดขอยุติในการลดราคาคาไฟฟาจากทั้ง 2 ฝาย

สรุป กรอบ GMS ในระยะแรก จะเปนกรอบความรวมมือที่เนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ โดยใชการพัฒนา โครงสรางพื้นฐานเปนตัวนําในการพัฒนา ซึ่งกอใหเกิดเสนทางคมนาคมเชื่อมโยงมากมายในอนุภูมิภาคแมน้ําโขง รวมทั้งการพัฒนาแหลงทองเที่ยว แหลงพลังงานสําคัญ เชน พลังงานไฟฟาจากน้ํา จนมีโครงการเขื่อนมากมาย เกิดขึ้นในลําน้ําโขง โดยเปนการพัฒนาที่มุงเนนการใชฐานทรัพยากรที่มีอยูในภูมิภาค จนเริ่มเกิดปญหาความเสื่อม โทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดลอม การพัฒนาของ GMS ในปจจุบัน จึงมุงเนนที่การพยายามรักษาสมดุลของการ พัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม ซึ่งปรากฏชัดเจนในแถลงการณรัฐมนตรีสิ่งแวดลอม ครั้งที่ 2 เมื่อ เดือนมกราคม 2551 ที่ไดย้ําแนวคิดวาดวย สิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนา” และความจําเปนเชิงรุกเพื่อการพัฒนาอยาง 306


ประเทศไทย และความร่วมมือกับภูมิภาคในการจัดการแม่น้ําโขง / ดร.ปรเมธี วิมลศิริ

ยั่งยืนควบคูไปกับการเติบโตทางดานเศรษฐกิจ ซึ่งสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 10 (2550-2555) และยุทธศาสตรการดําเนินงานของไทยกับประเทศเพื่อนบาน ที่ไดใหความสําคัญกับการพัฒนา และ บริหารจัดการดานสิ่งแวดลอม ในฐานะสาขาการพัฒนาความรวมมือที่มีผลตอการพัฒนาความเปนอยูของมนุษย และการเติบโตทางเศรษฐกิจของภูมิภาคอยางยั่งยืน และเปนหนึ่งในเปาหมายของการพัฒนาแหงสหัสวรรษ ทั้งนี้ ประเทศไทยไดกําหนดนโยบายและแผนพัฒนาประเทศตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเนนการพัฒนาแบบ พหุภาคีและสรางการมีสวนรวม ดังนั้น ในกรอบนโยบายยุทธศาสตรของไทยกับประเทศเพื่อนบาน จึงไดกําหนด บทบาทนําของประเทศไทยในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยแลกเปลี่ยน ประสบการณจากการพัฒนาดานตางๆ กับประเทศเพื่อนบาน ในดานที่ประเทศไทยมีความเชี่ยวชาญ การใหความ ชวยเหลือถายทอดเทคโนโลยีที่เกี่ยวของ รวมทั้งการใหความสําคัญกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยางยั่งยืน เนื่องจากประเทศเพื่อนบานสวนใหญรวมทั้งไทยมีฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงในลุมแมน้ําโขง บทบาทของประเทศไทยในระยะตอไป จึงเปนบทบาทเชิงรุกในการสรางความรวมมือในการบริหารจัดการความ ขัดแยงและสรางสมดุลของการใชประโยชนลุมแมน้ําโขงรวมกัน

เอกสารอางอิง เครือขายอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมลุมน้ําโขง – เชียงราย, 2547. รูจักแมน้ําโขง. จดหมายขาวเสขิยธรรม ฉบับที่ 60 เดือน เมษายน – มิถุนายน. [ระบบออนไลน] แหลงที่มา http://www.skyd.org/html/sekhi/60/028-kong.html. UNEP, 2008. Sub – Regional Sustainable Development Strategy: Greater Mekong Sub – region.

307


บทที่ 18 ความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ผกาวรรณ จุฟามาณี1 บุรี สุวรรณรัตน2 1 ผูอํานวยการสวนงานคณะกรรมการลุมน้ําโขง สํานักประสานความรวมมือระหวางประเทศ กรมทรัพยากรน้ํา 2 ผูเชี่ยวชาญของแผนงานพัฒนาลุมน้ํา สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย

ความเปนมา ความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงเกิดจากการสนับสนุนขององคการสหประชาชาติ (Economic Commission for Asia and Far East, ECAFE ซึ่งก็คือ The United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific, UN ESCAP ในปจจุบันนั่นเอง) โดยจุดมุงหมายพื้นฐานของการพัฒนาลุมแมน้ําโขง คือ การนําน้ําจากบริเวณลุมแมนา้ํ โขงตอนลาง (Lower Mekong Basin) มาใชเพื่อทําประโยชนในดานเศรษฐกิจ และ สังคม แกประชาชน และในประเทศลุมแมน้ําโขง ซึ่งแนวคิดจากการนําน้ําจากแมน้ําโขงมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังกลาวขางตน รัฐบาลของ 4 ประเทศในลุมน้ําโขงตอนลาง ไดแก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ลาว) ราชอาณาจักรกัมพูชา (กัมพูชา) ราชอาณาจักรไทย (ไทย) และ สาธารณารัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เวียดนาม) ได ตกลงรวมกันกอตั้งองคกรความรวมมือขึ้นในป พ.ศ.2500 (ค.ศ. 1957) เรียกวา “คณะกรรมการประสานงานสํารวจ แมน้ําโขงตอนลาง” (Committee of Investigations of the Lower Mekong Basin) หรือเรียกสั้นๆวา “คณะกรรมการแมน้ําโขง” หรือ “คณะกรรมการพัฒนาลุมแมน้ําโขงตอนลาง” มีอํานาจหนาที่ในการสงเสริม ประสานงานสํารวจ และวางแผน ควบคุมดูแลการพัฒนาทรัพยากรน้ําในลุมแมน้ําโขงตอนลาง โดยมีสํานักงาน เลขาธิการกลาง (Mekong Secretariat) ตั้งอยูที่กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน เชิงสะพานกษัตริยศึก กรุงเทพฯ (ในขณะนั้น) เปนผูประสานการดําเนินงานอยางใกลชิดกับหนวยงานที่เกีย่ วของใน 4 ประเทศ ผาน “คณะกรรมการ แมน้ําโขงแหงชาติ” (National Mekong Committee) ซึ่งการปฏิบัติงานในโครงการพัฒนาตางๆของคณะกรรมการ นั้น ไดรับความชวยเหลือและสนับสนุนทั้งในดานงบประมาณ ผูเชี่ยวชาญและอื่นๆ จากประเทศผูสนับสนุน และ องคการระหวางประเทศ การดําเนินงานของคณะกรรมการแมน้ําโขงนั้น มีปฏิญญาความรวมมือ ป ค.ศ.1957 (1957 Statute) เปน กรอบการดําเนินงานของประเทศสมาชิกทั้ง 4 ประเทศ ซึ่งนับไดวาประสบความสําเร็จอยางมากเมื่อเปรียบเทียบ กับลุมน้ํานานาชาติอื่นๆ สําหรับการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา (definitions of terms and concepts for water resources management) ซึ่งนับเปนเรื่องใหมสําหรับผูเชี่ยวชาญดานกฎหมายระหวางประเทศในขณะนั้น ที่ตอง พิจารณาการบริหารจัดการน้าํ ในกฎหมายระหวางประเทศดวย หลักการของปฏิญญาความรวมมือดังกลาว ใชเปน กรอบทางกฎหมายซึ่งไดระบุอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ และรูปแบบองคกรในการดําเนินการประสานความ รวมมือ การวิจยั ศึกษา และการสํารวจ เพื่อพัฒนาโครงการในลุมน้ําโขง อยางไรก็ตามหากวิเคราะหในรายละเอียด ตามกรอบปฏิญญาความรวมมือ ป ค.ศ. 1957 นั้น จะเห็นไดวาความรวมมือตามกรอบปฏิญญา 1957 จะถูกจํากัด อยูเพียงดานเทคนิคเทานั้น และอยูภายใตการตัดสินใจ หรือความตกลง ของประเทศสมาชิก จึงทําให ECAFE พยายามขอขยายขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการแมน้ําโขงใหกวางขึ้น โดยเสนอใหคณะกรรมการฯ มี อํานาจในการพิจารณาและเสนอกิจกรรมพัฒนาโครงการเกี่ยวของกับน้ําไดดวย เชน ในปค.ศ. 1971 เสนอให


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

คณะกรรมการฯ มีหนาที่ครอบคลุมการทํากิจกรรมกอสรางในโครงการพัฒนาตางๆ ดวย แตไมไดรับความเห็นชอบ จากภาคีสมาชิก ในที่สุดความพยายามของ ECAFE ก็ประสบความสําเร็จในป พ.ศ.2518 (ค.ศ.1975) โดยมีการปรับปรุง ปฏิญญาการใชน้ําฉบับ ค.ศ.1975 (the Joint Declaration of Principles for Utilization of the Waters of the Lower Mekong Basin endorsed by the United Nationals Economic Commission for Asia and the Far East) ซึ่งเปนที่ยอมรับจากรัฐบาล 4 ประเทศ และรวมลงนามในปฏิญญาการใชน้ําฉบับดังกลาว โดยมีสาระหลัก คือ โครงการพัฒนาตางๆ บนลําน้ําสายประธาน จะตองมีการวางแผนและดําเนินการที่จะนําไปสูระบบการพัฒนาทั้งลุม น้ํา และเพื่อใหไดรับประโยชนสูงสุดจากการใชน้ํา โดยมีการใชอยางสมเหตุสมผล และแบงปนการใชอยางเทาเทียม กัน และการดําเนินโครงการพัฒนาดังกลาวนั้นจะตองไดรับสิทธิจากสมาชิกแตละประเทศ และตองเปนโครงการที่ ตั้งอยูบนพื้นฐานของการพัฒนาที่มีความจําเปน โดยมีการเตรียมการและผานความเห็นชอบจากการพิจารณา รวมกันของคณะกรรมการฯ ซึ่งมีวัตถุประสงค เพื่อประเมินศักยภาพทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุม น้ํา และความตองการของแตละประเทศภาคีสมาชิก รวมทั้งเพื่อใหคําแนะนําในดานวิชาการ สังคม และเศรษฐกิจ ในการพัฒนาดังกลาวขางตน จากการปรับปรุงปฏิญญาการใชน้ํา ฉบับ ค.ศ. 1975 ทําใหคณะกรรมการแมน้ําโขงเปนองคกรการพัฒนา ลุมน้ําโขงอยางเต็มรูปแบบ (a full-fledged comprehensive river basin development agency) เพราะแนวทาง ปฏิญญาการใชน้ํา ฉบับดังกลาวเปนการพัฒนาโครงการบนลําน้ําสายประธาน โดยอนุญาตใหคณะกรรมการฯ สามารถแตงตั้ง “Project Agencies” เพื่อดําเนินการโครงการพัฒนาบนลําน้ําได ดังนั้น “คณะกรรมการแมน้ําโขง” จึงไดกําหนดเปาหมายใหมีการพัฒนาโครงการระยะสั้นบนลําน้ําสาขา (tributaries) และโครงการระยะยาวบนลําน้ํา สายประธาน ซึ่งโครงการพัฒนาบน ลําน้ําสาขาจะมีจํานวนหลากหลายโครงการ เพราะเปนโครงการที่มีขนาดเล็ก ถึงขนาดกลาง สามารถดําเนินการไดงาย ใชเงินลงทุนนอย และเปนการดําเนินการภายในประเทศ จึงเปนโครงการ ที่มีความสําคัญตอการพัฒนาของประเทศเปนอยางมาก ในระยะแรกของการดําเนินงานในชวงป ค.ศ. 1958 – 1975 นั้น สหรัฐอเมริกาเปนผูสนับสนุนรายใหญ ใน การใหงบประมาณสนับสนุนการดําเนินงานโครงการบนลําน้ําสาขาภายในประเทศภาคีสมาชิกและพรอมใหการ สนับสนุนโครงการพัฒนาในประเทศไทยอยางตอเนื่อง เพราะเปนประเทศประชาธิปไตยในภูมิภาค ซึ่งขณะนั้น ประเทศไทยมีการพัฒนาประเทศอยูในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 1 – 3 (พ.ศ. 2504 – 2519) และมียุทธศาสตรมุงเนนการพัฒนาเฉพาะดานเศรษฐกิจเปนหลัก โดยเฉพาะอยางยิ่งการลงทุนในโครงการ พัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และ สังคม เชน ระบบคมนาคมและขนสง ระบบเขื่อนเพื่อการชลประทานและพลังงาน ไฟฟา ทั้งนี้ เพื่อเรงรัดอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นโครงการพัฒนาที่ไดรับการสนับสนุนจาก คณะกรรมการแมน้ําโขง ในชวงดังกลาวจึงสอดคลองกับยุทธศาสตรการพัฒนาของประเทศ ในขณะที่โครงการพัฒนาบนลําน้ําสายประธานจะเปนโครงการพัฒนาระยะยาวและเปนโครงการขนาดใหญ ซึ่งจําเปนตองทําการศึกษาผลกระทบกอนเริ่มโครงการ ใชเงินลงทุนจํานวนมาก และจะตองมีขอตกลงรวมกันของ ทั้ง 4 ประเทศภาคีสมาชิก ดังนั้นจะเห็นวา โครงการขนาดใหญ เชน โครงการผามอง จึงดําเนินการไดเพียงขั้นตอน การศึกษาผลกระทบของโครงการเทานั้น 309


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

ในปลายป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1975) เกิดความขัดแยงทางลัทธิการเมือง ในคาบสมุทรอินโดจีน กัมพูชา ตองถอนตัวจากการเปนสมาชิก ยุติบทบาท Mekong Committee Advisory Board ทําใหความชวยเหลือตางๆ ลดลง ซึ่งมีผลกระทบตอโครงการพัฒนาเปนอยางมาก ตอมาในป พ.ศ. 2521 (ค.ศ.1978) รัฐบาลที่เหลือ 3 ประเทศ คือ ลาว ไทย เวียดนาม ประกาศจัดตั้ง คณะกรรมการแมน้ําโขงชั่วคราว (Interim Mekong Committee) ดําเนินการตอไป ทําใหสถานการณดีขึ้น และได จัดทําระเบียบปฏิบัติ และวิธีดําเนินการของคณะกรรมการฯ ชั่วคราว (Rules of Procedure) ใหเปนแนวทาง ปฏิบัติงานของคณะกรรมการฯ เชน ระบุอํานาจหนาที่ และรูปแบบองคกร จึงมีผลทําใหเกิดการระงับการปฏิบัติตาม พันธกรณีที่ไดระบุไวในปฏิญญาการใชน้ํา ฉบับ ค.ศ. 1975 และรอการกลับเขารวมเปนสมาชิกของกัมพูชา โครงการพัฒนาลุมน้ําโขงในประเทศไทยในชวงระยะเวลาดังกลาว สวนใหญ คือ การศึกษา สํารวจ และ โครงการที่ดําเนินการตอเนื่องจากชวง Mekong Committee เชน การกอสรางสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแหงแรก โครงการกอสรางหวยปะทาว เปนตน ป พ.ศ. 2533 (ค.ศ.1990) เมื่อสภาวะการเมืองของภูมิภาคคาบสมุทรอินโดจีนไดกลับเขาสูปกติ กัมพูชาขอ กลับเขารวมคณะกรรมการแมน้ําโขงตามเดิม โดยประเทศไทยเสนอใหมีการปรับปรุงปฏิญญาการใชน้ํา ฉบับ ค.ศ. 1975 เนื่องจากหลักการขอความเห็นชอบจากประเทศสมาชิกทั้งหมดกอนดําเนินโครงการพัฒนา เพราะหลักการใช น้ํานั้น ไมเหมาะกับสภาพปจจุบันของการใชน้ําในแมน้ําโขงที่มีแนวโนมใชมากขึ้น เพราะจํานวนประชากรเพิ่มขึ้น สถานการณ ก ารเมื อ งของประเทศต น น้ํ า เปลี่ ย นไปมาก โดยมี แ ผนพั ฒ นาแม น้ํ า สายหลั ก เพิ่ ม ขึ้ น เช น แม น้ํ า Lanchang – Mekong ของจีน ดังนั้น จึงไดมีการเจรจากับจีน และพมา (ในขณะนั้น) ใหเขารวมเปนสมาชิกในการ พัฒนาลุมแมน้ําโขงดวย เพื่อใหการใชน้ําในแมน้ําโขง มีการพิจารณาเปนระบบ และเสนอใหมีการปรับปรุงแกไขความ ตกลง เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินการพัฒนาตลอดทั้งลุมน้ํา ตอมา ในป พ.ศ. 2538 (ค.ศ.1995) รัฐบาลลาว กัมพูชา ไทย และเวียดนาม ไดเจรจารวมมือกันอีกครั้งเมื่อ ความขัดแยงลัทธิการเมืองสิ้นสุดลง โดยทําการปรับปรุงขอตกลงเดิมใหสอดคลองกับสถานการณในปจจุบัน และได ลงนามในความตกลงรวมมือวาดวยการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน พ.ศ. 2538 (Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin) พรอมกับกอตั้งคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (Mekong River Commission, MRC) ขึน้ อีกครัง้ และยายสํานักงานเลขาธิการ ซึ่งตั้งอยูที่กรุงเทพฯ มาตั้งแตป พ.ศ. 2500 (ค.ศ.1957) ไปอยูที่กรุงพนมเปญ กัมพูชา และเมื่อครบ 5 ป ก็จะยายไปยังนครหลวงเวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวซึ่ง ณ ปจจุบันนี้ (พ.ศ. 2552) สํานักงานเลขาธิการตั้งอยู ณ นครหลวง เวียงจันทน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

310


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

สาระสําคัญของความตกลงรวมมือฯ ประเทศภาคีสมาชิกทั้ง 4 ประเทศมีเจตนารมณที่จะรวมกันดําเนินการเพื่อใหบรรลุเปาหมาย สรางความ เปนอยูที่ดี ดานเศรษฐกิจ และสังคม ลดปญหาความยากจน เพิ่มมาตรฐานการครองชีพของประชากร สรางความ มั่นคงดานอาหารใหกับประชากรในภูมิภาคนี้ และสนับสนุนอาหารใหกับประชากรโลก รวมทั้งคุมครองระบบนิเวศ ใหสมดุล เพื่อใหมีทรัพยากรธรรมชาติเปนฐานการดํารงชีพที่ยั่งยืนของประชากรในภูมิภาค โดยมีสาระหลักของการ ดําเนินการ ดังนี้ 1) ประเทศสมาชิ ก จะร ว มกั น วางแผนพั ฒ นาลุ ม น้ํ า เพื่ อ ให ก ารพั ฒ นาประเทศภาคี ส มาชิ ก ได รั บ ผลประโยชนที่ยั่งยืนเต็มศักยภาพ ปองกันการใชน้ําในแมน้ําโขงอยางสูญเปลา 2) ประเทศภาคีสมาชิกจะใชน้ําอยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม ตามปจจัยและสถานการณที่เกี่ยวของทั้ง ปวง 3) ประเทศสมาชิกจะรวมกันคุมครองสิ่งแวดลอมและความสมดุลของระบบนิเวศ หรือผลกระทบที่เปน อันตรายที่เกิดจากการพัฒนาลุมน้ํา 4) ประเทศสมาชิกจะรวมมือกันพัฒนาลุมน้ําบนพื้นฐานของความเสมอภาคแหงอํานาจอธิปไตย และบูรณ ภาพแหงดินแดนในการใช และคุมครองทรัพยากรน้ําในลุมน้ําแมโขง 5) ประเทศสมาชิ ก จั ด ให มี อ งค ก รร ว มที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการดํ า เนิ น การเพื่ อ ให บ รรลุ เ ป า หมายตาม เจตนารมณ ดังนั้น เพื่อใหสาระหลักของการดําเนินการแปลงไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรม คณะกรรมาธิการแมน้ํา โขง จึงไดจัดทําแผนกลยุทธการดําเนินการ ประกอบดวย วิสัยทัศนลุมน้ํา วิสัยทัศนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง และ เปาหมายของความตกลงฯ ตามแผนกลยุทธ ดังนี้ วิสัยทัศนลุมน้ํา “เปนลุมน้ําที่มีระบบบริหารจัดการน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุนการ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน และสงเสริมความรวมมือระหวางประเทศภาคีสมาชิก” วิสัยทัศนคณะกรรมาธิการแมนํา้ โขง “เปนองคกรลุมน้ําระหวางประเทศในระดับโลก ซึ่งมีความมั่นคงทางการเงินจากการสนับสนุนของประเทศ ในลุมแมน้ําโขง เพื่อนําไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศนลุมน้ํา” พันธกิจ “สนับสนุน และประสานงานการบริหารจัดการที่ยั่งยืน การพัฒนาทรัพยากรน้ํา และทรัพยากรที่เกี่ยวของ เพื่อผลประโยชนรวมกันของประเทศในลุมแมน้ําโขง และความอยูดีกินดีของประชากร โดยการดําเนินการเชิงกล ยุทธในรูปแผนงาน และกิจกรรมตางๆ พรอมทั้งการจัดหาขอมูลดานวิทยาศาสตร และการแนะนําดานนโยบาย”

311


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

เปาหมายของแผนกลยุทธ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ไดกําหนดเปาหมายของการดําเนินการตามความตกลงวาดวยความรวมมือ เพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ในระยะแรก คือ ป พ.ศ. 2544–2548 ไว 4 ประการ คือ 1) 2) 3) 4)

มีกฎเกณฑการใชน้ํา และการผันน้ําขามลุมน้ํา เพื่อใหมีการใชน้ําอยางสมเหตุสมผล และเปนธรรม มีแผนพัฒนาลุมน้ํา ที่เกิดจากกระบวนการวางแผนและการมีสวนรวมของประเทศสมาชิก มีเครื่องมือในการจัดการและคุมครองสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจและสังคมเพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ มีองคกรที่มีประสิทธิภาพ บุคลากรมีความเขมแข็งเพื่อรวมมือกันพัฒนาลุมน้ําใหเกิดผลประโยชน อยางยั่งยืน

ในการทบทวนแผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2544 - 2548 ไดมีการประชุมและการปรึกษาหารือกับผูมีสวนไดสวนเสีย หลายครั้ง เพื่อทบทวนความกาวหนาในการดําเนินงาน ประเด็นหลักและความทาทายอยูที่วาไมใชทุกประเทศใน ภาคีสมาชิกที่มีขีดความสามารถในการดําเนินงานตามความตกลงฯป 2538 ได ทั้งในดานทุน การบูรณาการ การ เสริมสรางความสามารถ รวมทั้งการติดตามตรวจสอบและการประเมินผล คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเปนองคกรลุมน้ําระหวางประเทศที่ทําประโยชนใหกับประเทศภาคีสมาชิกซึ่งให ความสําคัญกับการมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย จึงไดมีกระบวนการปรึกษาหารืออยางกวางขวางในการทํา แผนยุทธศาสตร พ.ศ.2549-2553 โดยการนําของประเทศภาคีสมาชิก เนื้อหาและแนวคิดทุกดานที่ปรากฏในแผน ยุทธศาสตรนี้ไดผานการหารือรวมกันโดยผูมีสวนไดสวนเสียหลักๆ ของลุมแมน้ําโขง รวมทั้งหุนสวนการพัฒนาและ องคกรเอกชน การปรึกษาหารือกระทําตามวัตถุประสงคที่จะเพิ่มความเปนเจาของในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง และแผนยุทธศาสตรใหกับคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติและหนวยงานระดับปฏิบัติ แผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2549 –2553 ประกอบดวยเปาหมายหลัก 4 ประการ ไดแก 1) เพื่ อ ส ง เสริ ม และสนั บ สนุ น การประสานการพั ฒ นาที่ ใ ห ค วามสํ าคั ญ กั บ การลดป ญ หาความยากจน เปาหมายนี้ใชทิศทางยุทธศาสตรการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเปนแนวทาง การพัฒนาทรัพยากรน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน ใชแนวคิดและหลักการของการ บริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการในกระบวนการวางแผนซึ่งทําโดยการมีสวนรวม เพื่อใหเกิดโอกาสของ ทางเลือกในการพัฒนาซึ่งแตละประเทศเลือกจะเปนประโยชนในการบรรเทาความยากจนและเพิ่มความมั่นคงดาน อาหารดวยการสงเสริมการสรางรายไดอยางยั่งยืน 2) เพื่อเสริมสรางความรวมมือระดับภูมิภาคที่มีประสิทธิภาพ เปาหมายนี้คือการพัฒนากลไกการแกปญหา ความขัดแยง และการประนีประนอม เชน การบริหารจัดการรวมกัน การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย และการ สรางองคกร ในดานการจัดการ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงจะชวยใหมคี วามเชื่อมโยงกับองคกรลุมน้ํายอยที่มีอยูแ ลว และที่จะเกิดขึน้ ใหม 3) เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับการติดตามตรวจสอบและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมในลุมน้ํา โดยรวม สิ่งแวดลอม หมายถึง ลักษณะทางกายภาพ ชีวภาพ และสังคมของลุมแมน้ําโขง โดยพิจารณาสภาพทาง 312


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

เศรษฐกิจและสังคมของประชาชนในลุมแมน้ําโขง และผลของการพึ่งพาอาศัยและผลกระทบตอทรัพยากรชีวภาพ เชน ปลา ปาไม และทรัพยากรกายภาพ ภายใตการทํางานสูเปาหมายนี้ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงจะพัฒนาดํารง ไว และใหเขาถึง ฐานความรูดานสิ่งแวดลอมและเศรษฐกิจสังคม ซึ่งเปนสวนหนึ่งของระบบฐานขอมูลความรูของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง 4) เพื่ อ สร า งความเข ม แข็ ง ด า นการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรน้ํ า แบบบู ร ณาการ และฐานความรู ข อง หนวยงานของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง คณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติ หนวยงานระดับปฏิบัติ และผูมีสวนได สวนเสียอื่นๆ ฐานความรูภายใตเปาหมายนี้รวมถึงเครื่องมือเพื่อชวยในการตัดสินใจของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง โดยจะเพิ่ ม ขี ด ความสามารถผ า นทางแผนงานการฝ ก อบรมแบบบู ร ณาการ มี ค วามต อ งการในการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถและการพัฒนาทรัพยากรมากพอควรภายใตเ ปาหมายนี้ ที่จะตองไดรับการกําหนดเวลาในการ ดําเนินการ และคาใชจายจะตองบูรณาการไวในแผนงานเปนอยางดี แผนยุทธศาสตรฉบับปจจุบัน ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงไดเชื่อมโยงความรวมมือทางเศรษฐกิจระดับ ภูมิภาค ซึ่งรวมถึงอาเซียน(ASEAN) แผนงานความรวมมือดานเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคแมน้ําโขง(GMS)ของ ธนาคารเพื่ อ การพั ฒ นาแห ง เอเชี ย และแผนงานความช ว ยเหลื อ แก ท รั พ ยากรน้ํ า ในแม น้ํ า โขง(MWRAP)ของ ธนาคารโลก/ธนาคารเพื่อการพัฒนาแหงเอเชีย ที่กําลังเกิดขึ้นใหม มีความพยายามลดความซ้ําซอนใหเหลือนอย ที่สุดโดยการประเมินขอไดเปรียบของหุนสวนการพัฒนารวมกัน ความเชื่อมโยงจะมีขึ้นบนหลักการของการประสาน ความรวมมือ ในขณะที่คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงยังคงสถานะความเปนอิสระในฐานะองคกรลุมน้ําระหวางประเทศ ที่เปนกลาง หุนสวนเชิงยุทธศาสตรสามารถชวยทําใหบทบาทและความริเริ่มที่จะสงเสริมกันและชัดเจนขึ้น ซึ่งจะ เปนผลใหกระบวนการพัฒนามีความสอดคลองสงเสริมกัน สนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และลดปญหา ความยากจนในภูมิภาค

ประโยชนที่ไดจากความรวมมือ 1) ประเทศไทยมีโอกาสใชน้ําจากแมน้ําโขงสายประธานไดมากขึ้น เนื่องจากมีความชัดเจนในหลักการการ ใชน้ํา โดยไมกอใหเกิดผลกระทบตอประเทศเพื่อนบาน และลดความขัดแยงของประเทศสมาชิกในการ ใชแมน้ําโขงรวมกัน 2) มีการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางฉันทมิตรในเวลาอันควรและฉันทเพื่อนบานที่ดีตอกัน 3) สงเสริมการเจริญเติบโตแบบพึ่งพาอาศัยกันของประเทศสมาชิกในภูมิภาค 4) ลดความยากจน และยกมาตรฐานการครองชีพของประชาชนไดในระดับประเทศและระดับภูมิภาค 5) รวมมือกันคุมครองและรักษาฐานทรัพยากร รวมทั้งระบบนิเวศใหสามารถใชประโยชนไดอยางยั่งยืน 6) มี ก ารแลกเปลี่ ย นข อ มู ล ข า วสารในการติ ด ตามและประเมิ น สถานการณ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ สิ่งแวดลอมในภูมิภาคนี้

บทบาทของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง บทบาทของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเพื่อประโยชนรวมกันของประเทศภาคีสมาชิก คือการสงเสริมการ พัฒนาอยางยั่งยืนในลุมแมน้ําโขง การเพิ่มคุณคาของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงในฐานะที่เปนองคกรลุมน้ําระหวาง ประเทศ คือ การมุงเนนที่ประเด็นรวมและประเด็นที่เกี่ยวกับลุมน้ําโดยรวม รวมถึงภาพรวมในการพัฒนา การ 313


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

กําหนดโครงการและแผนงานรวมและที่เกี่ยวกับลุมน้ําโดยรวมที่สําคัญ และการวิเคราะห (นัยทางดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม) ของการพัฒนาที่กําลังดําเนินอยูและที่เสนอใหมในลุมน้ํา และผลกระทบสะสมของการ พัฒนาระดับประเทศ ตามบทบาทนี้ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงจะคนหาหนทางในการแกไขในระยะยาว เพื่อแกไข ปญหาในภูมิภาคที่มีรวมกัน ภารกิจของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงจะสําเร็จไดก็ดวยแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณา การ ภายใตกรอบความตกลงฯ ป พ.ศ. 2538 ซึ่งรวมสมรรถนะในการเพิ่มคุณคาของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง อัน ไดแก การบริหารจัดการองคความรู การพัฒนาขีดความสามารถ กรอบความรวมมือของภูมิภาค และการติดตาม ตรวจสอบและคุมครองสิ่งแวดลอม สมรรถนะที่ไดรับการพัฒนามากวา 10 ป เหลานี้ จะชวยสงเสริมการพัฒนา อยางยั่งยืนในลุมแมน้ําโขง

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงกอตั้งขึ้นเปนกรอบองคกรความรวมมือในภูมิภาคเพื่อการพัฒนาลุมน้ําอยาง ยั่งยืน เปนสนธิสัญญาระหวางประเทศซึ่งประเทศภาคีสมาชิกดําเนินการดานความรวมมือตามที่กําหนด โดยให ความสําคัญของความรวมมือระดับภูมิภาคเพื่อความสําเร็จในการดําเนินงานตามความตกลงฯ ป พ.ศ. 2538 กระบวนการนี้ สนั บสนุ น โดยแผนงานความร วมมื อ ระดับ ภูมิ ภาคเพื่ อ การพั ฒ นาทรัพ ยากรน้ํ าและทรัพ ยากรที่ เกี่ยวของในลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนซึ่งถูกเรียกวา แผนงานแมน้ําโขง ที่ดําเนินการภายใตการชี้นําของโครงสราง การบริหารความรวมมือระดับภูมิภาค สามมาตราแรกของความตกลงดังกลาวไดกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่ที่สําคัญของคณะกรรมาธิการ แมน้ําโขงไวดังตอไปนี้ มาตรา 1 ขอบเขตความร ว มมื อ “จะดํ า เนิ น ความร ว มมื อ ในทุ ก ด า นของการพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น การใช ประโยชน การบริหารจัดการและการอนุรักษทรัพยากรน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุมแมน้ําโขง ซึ่งรวมถึงแต ไมจํากัดเฉพาะการชลประทาน ไฟฟาพลังน้ํา การเดินเรือ การปองกันน้ําทวม การประมง การลองซุง สันทนาการ และการทองเที่ยว ในลักษณะที่จะทําใหการใชน้ําในประเภทตางๆ และผลประโยชนรวมกันของประเทศภาคีทั้งปวง บรรลุผลสูงสุด และใหผลกระทบที่เปนอันตรายอันอาจ เนื่องมาจากปรากฏการณตามธรรมชาติ และจากการกระทํา ของมนุษยเกิดนอยที่สุด” มาตรา 2 โครงการ แผนงาน และการวางแผน “สงเสริม สนับสนุน รวมมือ และประสานงาน ในการพัฒนา ใหประเทศภาคีสมาชิกไดรับประโยชนที่ยั่งยืนเต็มศักยภาพ และปองกันการใชน้ําในลุมแมน้ําโขงอยางสูญเปลา โดย เน น และให ค วามสํ า คั ญ แก โ ครงการร ว ม และ/หรื อ โครงการพั ฒ นาลุ ม น้ํ า และแผนงานลุ ม น้ํ า โดยการจั ด ทํ า แผนพัฒนาลุมน้ําที่ใช ในการกําหนด จัดหมวดหมู และจัดลําดับความสําคัญของโครงการและแผนงาน เพื่อ แสวงหาความชวยเหลือและดําเนินการในระดับลุมน้ํา”

314


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

มาตรา 3 การคุมครองสิ่งแวดลอมและความสมดุลทางนิเวศ “จะดําเนินการคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากร ธรรมชาติ ชีวิตและสภาวะของพืชและสัตวน้ํา และความสมดุลทางนิเวศของลุมแมน้ําโขง จากมลพิษหรือผลกระทบ ที่เปนอันตรายอื่นๆที่เกิดจากแผนพัฒนาใดๆ และการใชน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของภายในลุมน้ํา”

กลไกความรวมมือของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ประเทศภาคีสมาชิกไดรวมกันกอตั้งองคกรเพื่อเปนกลไกการดําเนินงาน 3 สวน คือ 1) คณะมนตรี มี ห น า ที่ ใ นการตั ด สิ น ใจและกํ า หนดนโยบาย แนวทางปฏิ บั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การส ง เสริ ม สนับสนุน ความรวมมือ และการประสานงานในกิ จกรรม หรือโครงการรวม ในลักษณะที่ สรางสรรค และเป น ประโยชนตอประเทศภาคีสมาชิก ซึ่งมีสมาชิกในระดับรัฐมนตรี ประเทศละ 1 คน 2) คณะกรรมการร ว มมี ห น าที่ ใ นการจั ด ทํ า แผนพั ฒ นาลุ ม น้ํ าดํ า เนิ น การตามนโยบายของคณะมนตรี ปรึกษาหารือแลกเปลี่ยนความเห็นกับกลุมประเทศหุนสวนการพัฒนา (Development Partners) รวม ทั้งสนับสนุน ปรับปรุงเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการดําเนินงานของบุคลากรของประเทศสมาชิกที่เกี่ยวของในกิจกรรมการพัฒนาลุม น้ําโขง และมีผูแทนถาวรในระดับที่ไมต่ํากวา อธิบดี ประเทศละ 1 คน 3) สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง มีหนาที่ ใหบริการวิชาการ บริหารการเงิน จัดทํา แผนงานประจําป และจัดทํารายงานประจําป รวมทั้งการดําเนินงานตามมติและภารกิจไดรับมอบหมายจากคณะ มนตรีแ ละคณะกรรมการร ว ม ทั้ ง นี้ สํ านัก งานเลขาธิ ก ารฯ อยูภายใต ก ารกํ ากั บดู แ ลและความรั บผิ ด ชอบของ คณะกรรมการรวม และมีหัวหนาเจาหนาที่บริหาร (Chief Executive Officer, CEO) เปนผูบริหารสํานักงานฯ

กลไกการทํางานของคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย ในปจจุบัน กลไกการทํางานของคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทยมีความเชื่อมโยงกับคณะกรรมการลุม น้ําแหงชาติอยางชัดเจน กลาวคือ คณะกรรมการลุมน้ําซึ่งอยูภายใตคณะกรรมการลุมน้ําแหงชาติ มีคณะทํางาน ประกอบดวย คณะทํางานดานการวางแผน คณะทํางานดานขอมูลสารสนเทศ และคณะทํางานดานการมีสวนรวม ทําหนาที่สนับสนุนการวางแผนและการจัดการลุมน้ําภายในประเทศ ดังนั้นเพื่อสนับสนุนการทํางานระหวางประเทศ ภายใตกรอบความรวมมือฯ อาศัยอํานาจของประธานคณะกรรมการลุมน้ําจึงมีการจัดตั้งคณะทํางานขึ้นอีก 1 คณะ คือ คณะทํางานเพื่อการวางแผนพัฒนาลุมแมน้ําโขง ซึ่งเปนคณะเดียวกันกับคณะทํางานในระดับพื้นที่ยอยของ ประเทศไทย อยูภายใตคณะทํางานระดับชาติของคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย ทําใหการดําเนินกิ จ กรรม/ แผนงานใดๆ ภายในประเทศและระหว า งประเทศจะเกิ ด ความเชื่ อ มโยงและสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น โดยเฉพาะอยางยิ่งการเสริมสรางศักยภาพของคณะกรรมการลุมน้ําในการบริหารจัดการลุมน้ํา เปดโอกาสใหผูแทน ของคณะทํางานในระดับพื้นทีย่ อยเขารวมแลกเปลี่ยนประสบการณ ไดรบั การฝกอบรมดานเทคนิคในระดับภูมิภาค ร ว มกั บ ประเทศภาคี ส มาชิ ก อี ก 3 ประเทศ นอกจากนี้ อ ธิ บ ดี ก รมทรั พ ยากรน้ํา ในฐานะผู แ ทนสํา รอง คณะกรรมการรวม คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ทําหนาที่เลขาธิการของทั้งคณะกรรมการทรัพยากรน้าํ แหงชาติ และ คณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย ทําใหภาพรวมในระดับนโยบายของการบริหารจัดการน้ําภายในประเทศและ ระหวางประเทศมีความสอดคลองกันกลไกการวางแผนพัฒนาลุมน้ําแสดงในรูปที่1

315


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

คณะรัฐมนตรี

คณะกรรมการทรัพยากรนํ ้าแหงชาติ คณะกรรมการลุม นํ ้า

คณะทํางาน ด านการ วางแผน

คณะทํางาน ด านข อมูล สารสนเทศ

คณะทํางาน ด านการ มีสวนร วม

คณะกรรมการแมนํ ้าโขงแหงชาติไทย อธิบดีกรมทรัพยากรนํ ้า (เลขาธิการ)

คณะทํางานระดับชาติ

คณะทํางาน พืน้ ที่ยอย 2T

คณะทํางาน เพื่อการวางแผน พัฒนาลุมแม นํา้ โขง

คณะทํางาน พืน้ ที่ยอย 3T

คณะทํางาน พืน้ ที่ยอย 5T

1

รูปที่ 1 กลไกการวางแผนพัฒนาลุมน้ําในประเทศไทย

การดําเนินงานของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง โครงสรางแผนงานแบบบูรณาการของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงในปจจุบัน ประกอบดวย แผนงานการ จัดการและบรรเทาอุทกภัย แผนงานการจัดการภัยแลง แผนงานเกษตร ชลประทาน และปาไม แผนงานการเดินเรือ แผนงานไฟฟาพลังน้ํา แผนงานประมง และแผนงานการทองเที่ยว ชุดแผนงานนี้จะเชื่อมโยงกับแผนงานสี่ดาน คือ แผนงานสิ่งแวดลอม แผนงานการจัดการขอมูลและองคความรู แผนงานบูรณาการการเสริมสรางศักยภาพ และ แผนงานการใชน้ํ า (รู ปที่ 2) ภายใตโ ครงสร างเช นนี้ งานด านการวางแผนลุม น้ําของแผนพั ฒนาลุม น้ําจะเป น แกนกลางที่มีการบูรณาการและประสานงานสูงสุด งานดานการวางแผนนี้จะใชองคความรูจากแผนงานตางๆ ของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเพื่อใหเห็นภาพวามีความตองการการพัฒนา หรือความแตกตางดานความรูอะไรบาง ซึ่ง จะนํามาเปนตัวกําหนดแผนงานตอไป แผนพัฒนาลุมน้ําจะเปนเครื่องรับประกันวาแผนงานโครงการตางๆ จะดําเนิน ไปอยางสอดคลองกับทิศทางของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณาการ

316


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

รูปที่ 2 แผนงาน/โครงการ ภายใตกรอบความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน การบริหารจัดการองคกรที่ผา นมา นับตั้งแตป 2500 จนถึงปจจุบันนั้น การกําหนดนโยบาย การจัดทํา แผนการจัดหาแหลงเงินทุน การศึกษาดานวิชาการตางๆ จะอยูภายใตการกํากับ และการจัดการของเจาหนาที่ ผูเชี่ยวชาญ และที่ปรึกษาสากล เนื่องจากความออนแอ และความไมพรอมทางดานวิชาการของเจาหนาที่ประเทศ ภาคีสมาชิกและการขาดความไววางใจซึ่งกันและกัน ทําใหจําเปนตองมีบุคคลที่เปนกลางเขามาทําหนาที่บริหารงาน ซึ่งโดยความเปนจริงแลว ไมเคยมีเจาหนาที่สากลผูใดที่มีความเปนกลางเลย และยังเขาแทรกแซงการบริหารงาน ทําใหประเทศสมาชิกขาดความไววางใจซึ่งกันและกัน ดังนั้น ประเทศภาคีสมาชิกจึงเห็นพองตองกันวา ถึงเวลาแลว ที่ควรลดบทบาทของเจาหนาที่สากลในการบริหารจัดการองคกร เพิ่มบทบาทเจาหนาที่จากประเทศภาคีสมาชิก ให เขามามีบทบาทในการบริหารจัดการองคกรแทน ซึ่งตองใชเวลาในการสรางศักยภาพของเจาหนาที่จากประเทศ สมาชิก นอกจากนี้ประเทศสมาชิกตองคํานึงถึงผลประโยชนรวมกันของการพัฒนาลุมน้ํามากกวาผลประโยชน เฉพาะตน จึงจะทําใหองคกรบรรลุความสําเร็จวิสัยทัศนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงได อยางไรก็ตาม การดําเนินงานของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงที่ผานมา ยังคงเนนหนักดานวิชาการและ งานวิจัย ยังไมสามารถแกไขปญหาไดในระดับประชาชน ไมวาจะเปนอุทกภัย ภัยแลง หรือ ปญหาสิ่งแวดลอมที่เกิด จากธรรมชาติของระบบแมน้ําโขง เชน การกัดเซาะตลิ่ง เปนตน ดังนั้น การแกไขปญหาความยากจนของภูมิภาค ลุมน้ําโขงจึงปรากฏเปนรูปธรรมนอยมาก หรือ เกือบจะไมมี ดังนั้น ประเทศสมาชิกควรปรับวิธีการดําเนินการ โดย ใหภาคประชาสังคมไดเขามามีสวนรวมกําหนดนโยบายและแผนในสัดสวนที่มากกวานักวิชาการจึงจะสามารถแกไข ปญหาความยากจน และการสรางความมั่นคงทางดานอาหารใหเปนจริงได

317


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

เพื่ อ ให ค วามตกลงว า ด ว ยความร ว มมื อ ฯ พ.ศ. 2538 มี ก ารปฏิ บั ติ อ ย า งเป น รู ป ธรรม ชั ด เจน คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง จึงไดมีการแปลงแผนกลยุทธไปสูการปฏิบัติเปนรายแผนงานและกิจกรรมตางๆ เพื่อให เปนไปตามเจตนารมณ และเปาหมายที่กําหนดไว กลาวคือ 1. ใหมีการใชน้ําอยางสมเหตุสมผลและเปนธรรม จึงตองมีกฎเกณฑการใชน้ําและการผันน้ําขามลุม น้ํา โดยคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงไดจัดทําระเบียบปฏิบัติเพื่อเปนแนวทางในการใชน้ํารวมทั้งสิ้น 5 ฉบับ คือ (1) ระเบียบปฏิบัติ เรื่องการแลกเปลี่ยนและการใชรวมกันซึ่งขอมูลและขอสนเทศ มีหลักการที่ ควรกลาวไวดังตอไปนี้ • อยู ภ ายใต ก ฎหมายและข อ บั ง คั บ ในประเทศต า งๆ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ที่ เ กี่ ย วกั บ การป อ งกั น ประเทศหรือความมั่นคง และความลับทางการคา (Commercial–in–confidence) และการคุมครองลิขสิทธิ์ การ แลกเปลี่ยน อยางเปนประจําซึ่งขอมูลและขอสนเทศ ซึ่งจําเปนตอการปฏิบัติตามความตกลงแมน้ําโขง • การแลกเปลี่ยนและใชรวมกันซึ่งขอมูลและขอสารสนเทศรวมถึงการจัดลําดับความสําคัญของ ความตองการขอสนเทศ ควรอยูบนพื้นฐานในลักษณะที่มีประสิทธิภาพ สมเหตุสมผล ตางตอบแทน และคุมคา • ขอมูลและขอสนเทศที่บรรจุในระบบขอสนเทศของ MRC ซึ่งเก็บรักษาโดยสํานักงานเลขาธิการ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง ควรมีลักษณะที่เกี่ยวพันกัน ในเวลาที่เหมาะสมและแนนอนและมีรูปแบบที่ไดรับการ ยอมรับของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงและประเทศสมาชิก โดยผานเครือขายและระบบการสื่อสารที่เหมาะสม • ขอมูลและขอสนเทศเพิ่มเติมหรือที่ไมมีอยูซึ่งจําเปนในบางโอกาสในการอํานวยความสะดวกแก กิจกรรมแผนงาน และโครงการ จะไดรับการตกลงโดยคณะกรรมการรวมรวมถึงระเบียบปฏิบัติและการดําเนินการ เพื่อรวมรับภาระคาใชจายสําหรับการรวบรวมขอมูลขั้นตน และจําเปนในอัตราคาใชจายที่ต่ําสุดที่เปนไปไดใน ลักษณะที่สมเหตุสมผลและในเวลาที่เหมาะสม (2) ระเบียบปฏิบัติ เรื่องการแจง การปรึกษาหารือลวงหนา และขอตกลง มีหลักการที่มีลักษณะ เปนแนวทาง ไดแก หลักความเทาเทียมของอธิปไตยและบูรณภาพแหงดินแดน หลักการใชที่สมเหตุสมผลและเปน ธรรม หลักการเคารพสิทธิและผลประโยชนที่ชอบธรรม หลักสุจริตใจ และหลักความโปรงใส (3) ระเบียบปฏิบัติ เรื่องการติดตามตรวจสอบการใชน้ํา ไดกลาวถึงบทบาท/หนาที่/ความ รับผิดชอบขององคกรที่เกี่ยวของ ไดแก คณะกรรมการรวม สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง และ คณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติ โดยมีหลักการซึ่งประกอบดวย ความมีประสิทธิภาพ การประสานงาน ความ โปรงใส ความคุมคา หลักพลวัตร การปรับตัว และหลักผลประโยชนรวมกัน (4) ระเบี ย บปฏิ บั ติ เรื่ อ งการรั ก ษาปริ ม าณการไหลของน้ํ า ในแม น้ํ า โขงสายประธาน มี สาระสําคัญวาประเทศภาคีสมาชิกจะรวมมือกัน ในการรักษาปริมาณการไหลในแมน้ําโขงสายประธานไมใหต่ํากวา ปริมาณการไหลต่ําสุดของน้ําตามธรรมชาติรายเดือนที่เปนที่ยอมรับไดในแตละเดือนในชวงฤดูแลง และไมใหอัตรา เฉลี่ยการไหลของน้ําสูงสุดรายวันเกินอัตราเฉลี่ยการไหลของน้ําตามธรรมชาติในชวงฤดูน้ําหลาก โดยปริมาณการ ไหลที่ตองรักษาไว ณ จุดตาง ๆ ดังกลาวขางตนจะกําหนดไวในแนวทางดานเทคนิคซึ่งจะจัดทําและรับรองโดย คณะกรรมการรวมในอนาคตดวย 318


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

(5) ระเบียบปฏิบัติ เรื่อง การจัดการคุณภาพน้ําในแมน้ําโขงสายประธาน จะใชกับกิจกรรมใน ลุมน้ําที่อาจมีผลกระทบที่มีนัยสําคัญตอคุณภาพน้ําของแมน้ําโขงสายประธาน สวนเรื่องลําน้ําสาขาขามพรมแดน ประเทศที่เกี่ยวของตองยึดถือตามความตกลงแมน้ําโขง และบทบัญญัติที่เกี่ยวของในระเบียบปฏิบัติและแนวทาง ของระเบียบปฏิบัตินั้น ในการพยายามทุกวิถีทางเพื่อจะรักษาคุณภาพน้ําที่ดี/ยอมรับได เมื่อจัดทําระเบียบปฏิบัติ แลวจําเปนตองมีคูมือเพื่อนําไปสูการปฏิบัติและตองมีการเก็บรวมรวมและ วิเคราะหขอมูลน้ํา เพื่อติดตามสถานการณและภาวการณของน้ําในระบบแมน้ําโขง รวมทั้งตองจัดทําเครื่องมือทาง วิชาการ และองคความรูเพื่อนําไปใชในกระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ํา 2. เพื่ อ ให ป ระเทศสมาชิ ก มี ส ว นร ว มในการวางแผนพั ฒ นาลุ ม น้ํ า ระดั บ ภู มิ ภ าคร ว มกั น คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง จึงไดกําหนดกระบวนการการวางแผนลุมน้ําระดับภูมิภาค โดยสรางกลไกขึ้นในแตละ ประเทศ เพื่อผลักดันใหกระบวนการวางแผนลุมน้ํามีประโยชนสูงสุด เกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ลดความขัดแยง จากการพัฒนา เพราะประเทศสมาชิกมีการกําหนดแผนพัฒนารวมกัน สําหรับประเทศไทยนั้น มีคณะกรรมการลุม น้ําเปนกลไกในกระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ําในระดับประเทศ และมีคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย เปน กลไกหลักที่สําคัญในการวางแผนระดับภูมิภาค โดยมีกรมทรัพยากรน้ําเปนหนวยงานประสานการจัดทําแผนพัฒนา ลุมน้ํารวมกับประเทศสมาชิกอีก 3 ประเทศ และมีสํานักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงเปนผูประสานงาน กลางในการจัดทําเครื่องมือเพื่อการวางแผน ไดแก การประเมินผลกระทบเชิงยุทธศาสตร การประเมินผลกระทบ สิ่งแวดลอมขามพรมแดน การประเมินผลกระทบดานสังคม และเศรษฐกิจ การจัดทําและวิเคราะหแนวทางเลือกการ พัฒนาในอนาคต การประเมินและจัดการบรรเทาอุทกภัย ขอมูลการปรับปรุงประสิทธิภาพการใชน้ํา การเกษตร และการชลประทาน แนวทางการวางแผนการใชแมน้ําโขงใหเกิดประโยชนสูงสุด เชน การจัดการประมง และการ เดินเรือเพื่อการพาณิชย เนื่องจากการวางแผนการพัฒนาลุมน้ําระดับภูมิภาค มีเจตนารมณที่จะใหประเทศภาคี สมาชิกใชประโยชนจากแมน้ําโขงสูงสุด เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของประชาชน แกไขปญหาความยากจน และ สรางความมั่นคงดานอาหาร เพื่อใหมีอาหารอยางเพียงพอสําหรับประชากรในภูมิภาค พื้นที่ลุมน้ําโขงตอนลางไดมีการแบงพื้นที่สําหรับการจัดทําแผนออกเปนไว 10 พื้นที่ยอย (Sub-area) บน พื้นฐานของลักษณะทางอุทกวิทยาลุมน้ําและขอบเขตการปกครอง ทั้งนี้พื้นที่ยอยในสวนของประเทศไทยประกอบ ดวยพื้นที่ยอย 2T (คือ ลุมน้ํากกและลุมน้ําโขงภาคเหนือ) พื้นที่ยอย 3T (ลุมน้ําโขงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) พื้นที่ ยอย 5T (ลุมน้ําชีและลุมน้ํามูล) และพื้นทีย่ อย 9T (ลุมน้ําโตนเลสาบ) โดยตัวเลขตัวแรกคือลําดับที่พื้นที่ลุมน้าํ ตัวอักษรตัวหลังคือคือตัวยอของชื่อประเทศสมาชิก รูปที่ 3 แสดงการแบงพื้นที่ยอยในลุม น้ําโขงตอนลาง

319


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

รูปที่ 3 การแบงพื้นที่ยอยในลุม น้ําโขงตอนลาง

320


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

กระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ําไดถูกนํามาใช โดยยึดแนวทางการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําแบบบูรณา การเปนหลักซึ่งสมารถปรับเปลี่ยนไดตลอดชวงเวลา การจัดทําแผนดังกลาวไดรับการสนับสนุนจากสํานักงาน คณะกรรมการแม น้ํ า โขงแห ง ชาติ หน ว ยงานที่ เ กี่ ย วข อ งระดั บ ชาติ หน ว ยงานท อ งถิ่ น และแผนงานภายใต คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงอื่นๆ กระบวนการวางแผนพัฒนาประกอบดวยขั้นตอนดังตอไปนี้ (รูปที่ 4) (1) การศึกษาวิเคราะหขอมูลในระดับลุมน้ํา (2) การกําหนดสภาพจําลองของลุมน้ํา (scenario) (3) การกําหนดยุทธศาสตรของลุมน้ํา (4) การจัดทํารายชื่อโครงการทีม่ ีศักยภาพตอการพัฒนา (5) การคัดเลือกโครงการเพื่อนําไปสูการดําเนินการ (6) การดําเนินการโครงการ และการปรับปรุงแผนตามหลักการบริหารจัดการน้ําแบบบูรณาการ (7) การติดตามและประเมินผล

รูปที่ 4 กระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ํา (1) การคุ ม ครองสิ่ ง แวดล อ ม เศรษฐกิ จ และสั ง คม พร อ มกั บ รั ก ษาสมดุ ล ของระบบนิ เ วศ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงใหมีการจัดทําเครื่องมือประกอบการตัดสินใจในการพัฒนาของประเทศภาคีสมาชิก เพื่อใหการพัฒนาไมกอใหเกิดผลกระทบสิ่งแวดลอม หรือมลพิษในลุมน้ํา รวมทั้งลดผลกระทบที่อาจเกิดจากการ พัฒนา โดยการจัดทําแผนการบริหารจัดการคุณภาพน้ํา ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้ํา ประเมินความเสี่ยงตอระบบ นิ เ วศและวิ ถี ชี วิ ต ชุ ม ชน จั ด ทํ า แผนอนุ รั ก ษ พื้ น ที่ ชุ ม น้ํ า ของลุ ม น้ํ า โขง จั ด ทํ า เครื่ อ งมื อ การเรี ย นการสอนด า น สิ่งแวดลอม รวมทั้งศึกษาและการบริหารจัดการการไหลของน้ําที่มีผลตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งระบบการแลกเปลี่ยน ขอมูลขาวสารดานสิ่งแวดลอม เพื่อลดผลกระทบสิ่งแวดลอมอันเกิดจากภัยธรรมชาติ เชน อุทกภัย และภัยแลง เปน ตน 321


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

(2) เพื่อใหองคกรมีความเขมแข็ง บรรลุวิสัยทัศนคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง จึงมีนโยบายการ เสริมสรางศักยภาพบุคลาการใหเขมแข็งเพื่อใหสามารถบริหารจัดการกิจกรรมตางๆ ของคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง อยางมีประสิทธิภาพ ดวยการจัดทําแผนการปฏิบัติงาน และเปดโอกาสใหเจาหนาที่รุนเยาวจากประเทศภาคีสมาชิก เขารวมปฏิบัติงานที่สํานักงานเลขาธิการฯ จัดทําแผนบทบาทหญิง-ชายในการเขาสูการบริหารหลัก การฝกอบรม และดูงาน การแลกเปลี่ยนความรูระหวางลุมน้ําโขง และลุมน้ํานานาชาติอื่นๆ การสรางผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานใน สาขาตางๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงการบริหารงานจากเจาหนาที่สากล เปนเจาหนาที่จากประเทศภาคีสมาชิก

การเจรจากับประเทศลุมน้ําตอนบนและหุนสวนการพัฒนา นับแตประเทศสมาชิกในลุมน้ําโขงตอนลาง ไดมีการเจรจา/ปรึกษาหารือ เพื่อปรับปรุงความสัมพันธ และ ความรวมมือในการพัฒนาลุมน้ําโขงอยางยั่งยืน ตั้งแตป พ.ศ. 2535 จนถึงการลงนามในความตกลงฯ พ.ศ. 2538 นั้น ประเทศสมาชิกลุมน้ําโขงตอนลางไดเชิญประเทศลุมน้ําโขงตอนบน ไดแก สาธารณรัฐประชาชนจีน (จีน) และสหภาพเมียนมาร (เมียนมาร) เขารวมเจรจา/ปรึกษาหารือ เพื่อเชิญเขารวมเปนสมาชิกคณะกรรมาธิการแมน้ํา โขงมาโดยตลอด แตไดรับการปฏิเสธมาโดยตลอดเชนกัน ซึ่งอาจเปนเพราะวา 1) จีนถือวาแมน้ําลานซาง-แมโขง เปนแมน้ําภายในประเทศ ซึ่งจีนมีอิสระที่จะบริหารจัดการและใช ประโยชนตามสิทธิอยางเต็มที่ 2) จีนเปนประเทศตนน้ํา หากเขารวมในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงอาจถูกกดดันจนไมสามารถใชน้ําได ตามความตองการ เพราะตองคํานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดกับประเทศทายน้ํา และการปองกันแกไขผลกระทบจาก โครงการพัฒนาตางๆ ตองใชงบประมาณลงทุนสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบดานสังคม และการมีสวนรวมของ ภาคประชาสังคม ในการพัฒนาประเทศ 3) จีนยังมีขอมูลตางๆ ของลุมน้ําโขงไมมากนัก หากเขารวมเปนภาคีสมาชิกในคณะกรรมาธิการแมน้ํา โขง จะตองมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารฉันทมิตร และเพื่อนบานที่ดีตอกัน ซึ่งจีนเองอาจจะยังไมพรอมที่จะ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร โดยเฉพาะอยางยิ่งขอมูลดานอุทกวิทยาของแมน้ําโขง ตลอดจนขอมูลระบบนิเวศของ แมน้ําโขง 4) สําหรับเมียนมาร นั้น มีพื้นที่ประเทศ และปริมาณน้ําที่อยูในลุมน้ําโขง เพียงรอยละ 8 ซึ่งถือวานอย มาก และขณะนี้เมียนมารเองก็ไดรับประโยชนทั้งดานขอมูลขาวสาร และการเสริมสรางบุคลากรโดยไมตองเขารวม เปนสมาชิกอยูแลว เมียนมารจึงไมสนใจที่จะเขารวมเปนสมาชิกในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขง อยางไรก็ตาม ในการประชุมสามัญประจําปของคณะกรรมการรวม การประชุมคณะมนตรี และการประชุม กับหุนสวนการพัฒนา ผูแทนจีน และเมียนมาร ไดรับเชิญใหเขารวมเจรจา/ปรึกษาหรือโดย MRCS เปนผูรับผิดชอบ คาใชจายใหตลอด ดังนั้น จีน และเมียนมาร จึงไมเห็นความจําเปนตองเขารวมเปนภาคีสมาชิกเพราะหากเขารวม เปนสมาชิกแลว ตองจายเงินงบประมาณสนับสนุนการดําเนินการใหกับคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงดวย

322


ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาลุ่มแม่น้ําโขงอย่างยั่งยืน / ผกาวรรณ จุฟ้ามาณี

ประเด็นทาทายตอการพัฒนาและการอนุรักษในลุมแมน้ําโขง มีโครงการไฟฟาพลังน้ําขนาดใหญที่อยูระหวางการกอสรางและมีอีกจํานวนหนึ่งที่อยูในแผนการกอสรางใน ประเทศจีน ลาว และเวียดนาม โดยเฉพาะอยางยิ่ง โครงการที่จะเสร็จสมบูรณในอีกสิบปขางหนาคือโครงการไฟฟา พลังน้ําที่ Xiaowan และ Nuozhadu ซึ่งตั้งอยูบนลําน้ําสายหลักในประเทศจีน โดยมีความจุถึง 9,800 และ 12,400 ลานลูกบาศกเมตรตามลําดับและมีแนวโนมวาจะเปนสาเหตุสําคัญที่สุดที่จะทําใหเกิดการไหลเวียนของกระแสน้ํา ตามฤดูกาลที่สงผลตอโครงการพัฒนาแหลงน้ําในอนาคตในแมน้ําโขงเขื่อนเหลานี้และเขื่อนที่อยูในแผนกอสรางใน บริเวณลําน้ําสาขาของแมน้ําโขงตอนลางอาจจะเพิ่มน้ําใหแกลําน้ําหลักประมาณ 1,500 ลูกบาศกเมตรตอวินาทีในฤดูแลง ทําใหน้ําที่ไหลสูทะเลสาบเขมรมีปริมาณนอยลง โอกาสในการใชน้ําอยางประหยัดจากปริมาณน้ําที่จะเพิ่มขึ้นในชวงฤดูแลงในลําน้ําสายหลักนั้นมีอยาง จํากัด เนื่องจากเงื่อนไขตามธรรมชาติ เชน ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะดินที่มีสภาพเหมาะสมบริเวณริมน้ํา นอกจากนี้ ยังมีแผนที่จะปรับปรุงโครงการพัฒนาตาง ๆ สรางโครงการพัฒนาใหม ๆ ในประเทศไทย ประเทศลาว และโดยเฉพาะอยางยิ่งในกัมพูชา สําหรับประเทศไทย ไดมีการพิจารณามาเปนเวลานานแลวที่จะผันน้ําจากแมนา้ํ โขงมาแกปญหาความแหงแลงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ อยางไรก็ตาม เปนที่คาดหวังวาความตอง การน้ําที่เพิ่มขึ้นเพื่อการชลประทานในอนาคต อาจจะนอยกวาปริมาณน้ําที่เพิ่มขึ้นในฤดูแลงอันเนื่องมาจากการ พัฒนาโครงการไฟฟาพลังน้ํา จากการประเมินเบื้องตน ชีใ้ หเห็นวา ลุมน้ําโขงอาจจะไมตองเผชิญภาวะวิกฤตขาด แคลนน้ําในอนาคตดังนั้น และน้ําสวนใหญที่จะเพิ่มขึ้นในฤดูแลง จะเปนปจจัยสําคัญที่ชวยลดปญหาน้ําทะเลรุกล้ําที่ ปากแมน้ําได ในชวงทศวรรษ 1960 ไดริเริ่มแนวคิดโครงการขนาดใหญบนลําน้ําสายหลักในพื้นทีล่ ุมน้ําโขงตอนลาง เชน เขื่อนผามอง และเขื่อนสตรึงเตร็ง แตจากการศึกษาพบวามีผลกระทบตอการตั้งถิ่นฐานของประชากรริมฝงน้าํ จํานวนมาก และไมคุมคาดานเศรษฐกิจ ทําใหการพัฒนาโครงการเหลานี้ชะงักไป เมื่อสภาพเศรษฐกิจในภูมิภาค เปลี่ยนแปลงไป กอปรกับความตองการพลังงานเพิ่มสูงขึน้ ตามการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โครงการพัฒนาขนาด ใหญบนลําน้ําหลักหลายแหง ที่ไมเคยไดรบั ความสนใจนักที่จะเริ่มโครงการเมื่อสองสามทศวรรษกอน กลับเปนที่ สนใจของรัฐบาลและนักพัฒนาในภาคเอกชน เนื่องจากโครงการเหลานี้สามารถสรางเม็ดเงินไดมหาศาล แมวา โครงการเหลานี้จะมีผลกระทบเพียงเล็กนอยตอปริมาณการไหลของน้ําในลําน้ําหลัก แตพบวาจะสงผลกระทบดาน อื่นอยางชัดเจน โดยเฉพาะการอพยพของปลา ทุกประเทศที่อยูในลุมน้ําโขง มีการเปลี่ยนแปลงการใชที่ดินตลอดชวงทศวรรษที่ผานมา บริเวณปากแมน้ํา ยังคงเหลือการทําสวนผักอยูนอยมาก ผืนปาที่ปกคลุมประเทศไทยในบริเวณลุมน้ําลดลงจาก 40% ในปพ.ศ. 2503 เหลือเพียง 10% ในปจจุบัน แมวา บริเวณพื้นที่สวนใหญในกัมพูชาและลาวจะยังคงมีปาไมปกคลุม แตก็มีแนวโนม ลดลงอยางตอเนื่องตลอดชวงทศวรรษที่ผานมา การทําไรเลื่อนลอยเปนสิ่งที่ปฏิบัติกันเปนปกติบริเวณที่ราบสูงใน ประเทศลาว และพบวาประมาณ 30% เปนการปลูกขาว อย างไรก็ตาม ยังไมมีผลการศึกษาที่ชัดเจนวา การ เปลี่ยนแปลงรูปแบบการใชที่ดินนี้มีผลกระทบมากเพียงใดตอระบบอุทกวิทยาในลุมแมน้ําโขง โครงการพัฒนาหลายโครงการที่มีความสัมพันธกับกระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ํา เชน โครงการดาน การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ การควบคุมอุทกภัย การกอสรางถนน การเดินเรือ และกิจกรรมทําเหมืองแร นอกจากนี้ 323


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

ประเด็นดานการเจริญเติบโตของประชากรและเศรษฐกิจ การลงทุน การคา การลดความยากจนและประเด็นอื่น ๆ ตามนโยบายและแผนของประเทศ จําเปนตองนํามาพิจารณาในกระบวนการวางแผนทั้งสิ้น ทั้งนี้ในกระบวนการ วางแผน จําเปนตองมีความรวมมือ มีขอมูลที่แลกเปลี่ยนกันในระหวางหนวยงานตาง ๆ รวมทั้งแผนงานตาง ๆ ของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง สํานักงานคณะกรรมการแมน้ําโขงของแตละประเทศ หนวยงานที่เกี่ยวของในแตละ ประเทศ สถาบันวิจัย และองคกรระดับภูมิภาค เชน อาเซียน อนุภูมิภาคลุมแมน้ําโขง สหภาพสากลวาดวยการ อนุรักษธรรมชาติ(IUCN) การประเมินขางตน อาจจะแสดงใหเห็นวาการพัฒนาที่กําลังดําเนินอยูอาจเปนไดทั้งโอกาสและภัยคุกคาม ตอบูรณภาพในลุมแมน้ําโขง ปริมาณน้ําที่เพิ่มขึ้นชวงฤดูแลงในอนาคต (จากการควบคุมการไหลของน้ําโดยอางเก็บ น้ําขนาดใหญ) อาจจะชดเชยการใชน้ําที่เพิ่มขึ้นจากการพัฒนาชลประทานและการผันน้ํา อยางไรก็ตาม การพัฒนา โครงการไฟฟาพลังน้ํา และโครงการอื่นๆ ในลุมน้ําโขงตอนลาง อาจสงผลกระทบในแงลบตอเศรษฐกิจสิ่งแวดลอม และสังคม ในบางสวนของแมนํ้าโขงตอนลาง รวมทั้งอาจเปนการตัดเสนทางอพยพของปลา หรือทําใหการไหลของ น้ําเขาสูทะเลสาบเขมรมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งอาจทําใหระดับน้ําตามลําน้ําสาขาขึ้นลงเปลี่ยนแปลงบอยขึ้น เพื่อเปนการเพิม่ ประโยชนดานสังคมเศรษฐกิจจากการพัฒนาแหลงน้ําใหแกประเทศในลุมน้ํามากที่สุด และ ลดผลกระทบดานลบที่เกิดจากโครงการในประเทศใดประเทศหนึ่ง จึงจําเปนตองมีกระบวนการวางแผนทั้งลุมน้ํา มี การสรางความเปนหุนสวนที่เขมแข็งระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในลุมน้ํา ซึ่งจะสามารถเชื่อมโยงการพัฒนาเขากับ การอนุรักษธรรมชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ

เอกสารอางอิง คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง, 2550. แผนพัฒนาลุมน้ําระยะที่ 2 รางรายงานแนวทางการปฏิบัติงาน. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง, 2549. แผนยุทธศาสตร 2549 – 2553. สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย, 2548. ระเบียบปฏิบัติ/แนวทาง ภายใต คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง. กรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. สํานักงานเลขาธิการคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย, 2546. ความตกลงวาดวยความรวมมือเพื่อการ พัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน 5 เมษายน ค.ศ.1995. คณะกรรมาธิการแมน้ําโขงกรมทรัพยากรน้ํา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม.

324


บทที่ 19 ขอมูลขาวสารและสารสนเทศ เกี่ยวกับน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุมแมน้ําโขง “ขอเท็จจริงหรือความเขาใจผิด” รศ.ชัยยุทธ สุขศรี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

แม น้ํ า โขงเป น ลํ า น้ํ า ที่ สํ า คั ญ ของประเทศไทยเนื่ อ งจากสั ด ส ว นของพื้ น ที่ ลุ ม น้ํ า โขงตอนล า ง กว า 36 เปอรเซ็นตเปนพื้นที่ของประเทศไทย รวมทั้งประเทศไทยเองก็ยังมีปญหาในการบริหารจัดการน้ําและการเขาถึง องคความรูเกี่ยวกับแมน้ําโขงเพื่อใชใหเปนประโยชนตอการพัฒนาพื้นที่ลุมน้ําในภาคอิสาน เนื่องจากขอมูลจาก แหล ง ที่ ม าของความรู โ ดยเฉพาะข อ มู ล เชิ ง เทคนิ ค นั้ น เอกสารรายงานส ว นใหญ ยั ง จั ด ทํ า เป น ภาษาอั ง กฤษ นอกจากนั้นแลวประเทศไทยยังขาดกระบวนการวางแผนพัฒนาลุมน้ําโขงในระยะยาว และขาดการประเมินและ วิเคราะหผลกระทบขามลุมน้ํา (transboundary impacts) และผลกระทบแบบสะสม (cumulative impacts) อยาง รอบดาน ทําใหการใชประโยชนจากน้ําและการอนุรักษทรัพยากรน้ําในพื้นที่ไมไดเปนไปอยางเต็มประสิทธิภาพ เชน การวิเคราะหปริมาณน้ําในแมน้ําโขงนั้นนอกเหนือจากการวิเคราะหปริมาณน้ําในชวงหนาแลงและหนาน้ําแลว ควร จะใหความสนใจสภาพและปริมาณน้ําในชวงเปลี่ยนผาน (transition periods) ทั้งสองชวงดวย เพราะจะเปนชวงที่ แสดงใหเห็นถึงแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ําวาจะมีมากหรือนอย ซึ่งปริมาณน้ําในชวงเปลี่ยนผานนี้ถือ เปนสัญญาณเตือนที่สําคัญตอการคาดคะเนปริมาณน้ําและการบริหารจัดการน้ําในชวงเวลาถัดไป ในสวนของประเด็นเรื่องการวิพากษวิจารณและกดดันจีนเกี่ยวกับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการของ จีนในพื้นที่ลุมน้ําโขงตอนบนนั้น ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานควรมีการศึกษาและวิเคราะหขอมูลใหดีกอน โดยเฉพาะขอมูลดานเทคนิคและขอเท็จจริง เพราะหากไปวิจารณรุนแรงในประเด็นที่ไมใชขอเท็จจริงก็ทําใหยากที่ จะไดรับการตอบสนองของจีนในการเขารวมในการบริหารจัดการลุมน้ําโขงไปในทางบวก ตัวอยางเชน จากขอมูลที่ ปรากฎในหนาหนังสือพิมพประชาชนสวนใหญยังมีความเขาใจวาการสรางเขื่อนของจีนทําใหปริมาณน้ําในแมน้ํา โขงลดลงแตจากขอเท็จจริงในเชิงเทคนิคการสรางเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาจะทําใหมีปริมาณน้ําเพิ่มขึ้นในหนาแลงมิใช ลดลง และปญหาหลักในเรื่องนี้จริงๆ คือ การใชงานเขื่อนเพื่อผลิตไฟฟาพลังน้ํากอใหเกิดความแปรปรวนของ ปริมาณน้ําในระยะเวลาสั้นๆ (short-term fluctuations) ในชวงเวลาการปลอยน้ําเพื่อผลิตไฟฟาซึ่งจะสงผลกระทบ ตอระบบนิเวศและวิถีชีวิตของชาวบานริมฝงแมน้ําโขง นอกจากนั้นระบบน้ําของแมน้ําโขงเองก็มีความสลับซับซอน และแปรปรวนคอนขางสูง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ําที่เพิ่มขึ้นและลดลงไมไดมาจากจีนเพียงฝายเดียว แตมาจากลําน้ําสาขาและน้ําธรรมชาติของลุมน้ําโขงตอนลางโดยเฉพาะพื้นที่ในสวนของประเทศลาวที่ไหลเขามา เพิ่มดวย ดังนั้นหากไมมีการวิเคราะหและพิสูจนขอมูลอยางละเอียดตามหลักวิชาการแลวก็เปนไปไดยากที่จีนจะ ยอมรับขอกลาวหาตางๆ เกี่ยวกับผลกระทบ และหันมาใหความรวมมือทุกๆ ดานกับประเทศทางดานทายน้ํา การที่ ประเทศดานทายน้ําจะไปกดดันประเทศดานตนน้ําโดยปราศจากขอมูลที่มีความถูกตองและนาเชื่อถือจึงเปนเรื่อง ยาก เนื่องจากจีนมีศักยภาพในการพัฒนาโครงการตางๆ ดวยตนเองสูง และประกอบกับจีนไดประกาศไวชัดเจน แลววาเรื่องการสรางเขื่อนในพื้นที่บริเวณลุมน้ําโขงตอนบนนั้นเปนกิจกรรมการพัฒนาภายในประเทศ


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

ในประเด็นที่เกี่ยวของอื่นๆ ประเทศไทยและกลุมประเทศดานทายน้ําเองก็ควรมีความรวมมือและแนวทาง ปฏิบัติในการพัฒนาและอนุรักษทรัพยากรน้ําที่เปนไปในทิศทางเดียวกันกอนที่จะเสนอใหจีนเขามารวมมือใน คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง เพราะในปจจุบันกลุมประเทศทายน้ําเองก็ยังไมสามารถบรรลุจุดยืนรวมกันอยางแทจริง ยกตัวอยางเชน ขอตกลงแมน้ําโขงป 1995 กําหนดวาประเทศสมาชิกจะตองรวมกันออกระเบียบปฏิบัติการใชน้ําใน หนาแลง (ขอตกลงมาตรา 6 และสัมพันธกับมาตรา 26) แตจนถึงปจจุบันก็ยังไมสามารถตกลงกันได เพราะการ จัดทําแนวปฏิบัติดานเทคนิค (technical guidelines) ยังไมกาวหนาและไมมีขอยุติ นอกจากนั้นประเทศสมาชิกแต ละประเทศเองก็มีจุดยืนและระดับความรูและความกาวหนาของเทคโนโลยีที่ตางกัน ระเบียบปฏิบัติการใชน้ําใน หนาแลงนี้เปนเรื่องที่มีความสําคัญและควรเรงเจรจาใหไดขอยุติ เพราะปจจุบันสภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สภาวะแวดลอมเปลี่ยนแปลงไปมาก รวมไปถึงประเด็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบเนื่องจากการเรงผลักดัน จากภาคเอกชนในการพัฒนาไฟฟาพลังน้ําใน ลาว เขมร และจีนดวย

326


บทที่ 20 ธรรมาภิบาลในลุมแมน้ําโขง ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ประธานกรรมาธิการการพัฒนา การเมือง การสื่อสารมวลชน การมีสวนรวมของประชาชน

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตเปนภูมิภาคที่มีปญหาดานศีลธรรมและธรรมาภิบาล ระบบเศรษฐกิจแบบ ทุนนิยมของภูมิภาคนี้ไมเหมือนกับยุโรปเพราะเปนทุนนิยมแบบถูกกําหนดมาจากขางบน ( top-down approach) ภาคประชาชนขาดการมีสวนรวมและไมสามารถตรวจสอบการทํางานของรัฐบาลได การเมืองการปกครองของ ภูมิภาคนี้จึงไมคอยมีศีลธรรม เดิมแตละประเทศในภูมิภาคนี้มีแนวคิดวาหากแตละประเทศมีความสัมพันธทาง การคาและมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจแลว ทุกประเทศทุกภาคสวนก็จะไดประโยชน (win-win situation) แตในความ เปนจริงแลว ประชาชนไมเคยมีสวนรวมในการพัฒนาประเทศและไมไดรับผลประโยชนอยางแทจริง ยกตัวอยางเชน การเปดเขตการคาเสรี (Free-Trade Area: FTA) กับจีนซึ่งรัฐบาลกลาววาจะทําใหเศรษฐกิจไทยเติบโตขึ้น แตใน ความเปนจริงแลวสินคาจากภาคเกษตรตกต่ําลงถึง 70 เปอรเซ็นต เนื่องจากสินคาจากจีนซึ่งมีราคาถูกกวาไหล ทะลักเขามา ทําใหรายไดของเกษตรกรลดลงและไมไดมีความเปนอยูที่ดีขึ้น นอกจากนี้แมภายในภูมิภาคจะมีการ ขนสงระหวางประเทศอยางเสรีแตกลับมีแตปญหา เชน ปญหายาเสพติด ปญหาความขัดแยงภายในพื้นที่ การคา มนุษย ปญหาสิทธิมนุษยชนและ การคาสัตวปาผิดกฎหมาย คําถามวา การพัฒนาภูมิภาค (regional development) ตั้งอยูบนพื้นฐานของธรรมาภิบาลหรือไม? จึงเปน ปญหาสําคัญของภูมิภาคนี้ เพราะบอยครั้งที่การตัดสินใจจากภาคการเมืองเปนไปเพียงเพื่อผลประโยชนสวนตัว มากกวาเพื่อประชาชนในชาติ ปญหาตางๆจึงตามมาอยางไมขาดสาย สําหรับระบบชลประทานในประเทศไทยเอง จะเห็นไดวา เกือบทุกเขื่อนมุงเนนไปที่การผลิตกระแสไฟฟาเพื่อปอนเขาสูภาคอุตสาหรรมและภาคธุรกิจมากกวาจะ มุงเนนไปที่ระบบชลประทานแมวาประชาชนสวนใหญของประเทศอยูในภาคเกษตรกรรมก็ตาม นอกจากนี้ยังมี หลายโครงการ เชน โครงการน้ําเทินสอง เขื่อนบานกุม ซึ่งสะทอนใหเห็นวาประชาชนไมมีสวนรวมในกระบวนการ ตัดสินใจและกระบวนการมีสวนรวม (public participation) ทําใหประชาชนทําไดแควิพากษและวิจารณตอปญหาที่ ไดเกิดขึ้นไปแลว ชาวบานนอกจากเสียที่ดินทํากินยังแทบไมไดผลตอบประโยชนอะไรเลย ซึ่งปญหาในจุดนี้ก็เปน ปญหาของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน เนื่องจากคายลี้ภัยในประเทศไทยเองก็เต็มไปคนที่อพยพมาจากการ สรางเขื่อนของพมา เมื่อภาคการเมืองถือประโยชนของบุคคลบางสวนเปนหลัก การตัดสินใจในเชิงนโยบายและการลงมือ ปฏิบัติสวนใหญจึงมองขามผลกระทบทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะธรรมชาติซึ่งมีความเปราะบางตอ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนา เชน การเดินเรือขนาดใหญและการสรางเขื่อนแมจะเปนสวนชวยใหเศรษฐกิจเติบโต แตกลับทําใหตลิ่งของน้ําแมน้ําโขงพังทลาย เมื่อน้ําในแมน้ําโขงไมขึ้นและลงตามธรรมชาติความแข็งแกรงของตลิ่งก็ จะหายไปซึ่งผลกระทบดานนี้เปนผลกระทบในระยะยาว และยังกอใหเกิดผลกระทบตอระบบนิเวศในหลายๆ ดาน ซึ่งในจุดนี้เปนปญหาตอการพัฒนาประเทศในระยะยาวมาโดยตลอด การสรางธรรมาภิบาลขึ้นในภูมิภาคเอเชีย


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ความร่วมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแม่น้ําโขง

ตะวันออกเฉียงใตเพื่อใหเกิดการบริหารบานเมืองที่โปรงใส ตรวจสอบได และประชาชนมีสวนรวมอยางแทจริง จึง จําเปนตอการพัฒนาในทุกๆ ดาน

328


ภาคผนวก



กําหนดการสัมมนา

กําหนดการ สัมมนา "องคความรูแมน้ําโขงเพือ่ การพัฒนาอยางยั่งยืน" วันจันทรที่ 8 มิถุนายน 2552 เวลา 08.30 -16.00 น. หองวีนัส ชัน้ 3 โรงแรมมิราเคิล แกรนด คอนเวนชัน่ ถ.วิภาวดีรังสิต หลักสี่ กรุงเทพฯ 08.30 - 09.00 น.

ลงทะเบียน

09.00 - 09.15 น.

กลาวตอนรับผูเขารวมสัมมนา โดย ศ.ดร. สนิท อักษรแกว ประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย และกรรมการสิง่ แวดลอมแหงชาติ

09.15 - 09.25 น.

ชี้แจงวัตถุประสงคและรายละเอียดของการสัมมนา โดย ดร. สมฤดี นิโครวัฒนยิง่ ยง ผูอ ํานวยการอาวุโส สถาบันสิ่งแวดลอมไทย

09.25 – 10.35 น.

เสวนาเชิงนโยบาย “ทิศทางประเทศไทยในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของ ลุมแมน้ําโขง ผูดําเนินรายการ: ดร. สมฤดี นิโครวัฒนยิ่งยง ผูอํานวยการอาวุโส สถาบันสิ่งแวดลอมไทย วิทยากรรวมอภิปราย: คุณกฤต ไกรจิตติ อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ ดร.ศิริพงศ หังสพฤกษ อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา คุณอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ อภิปรายและตอบขอซักถาม

10.35 - 12.30 น.

แยกหองสัมมนา 2 กลุม* กลุมที่ 1 : การจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย – โครงการขนาดใหญ ผูอํานวยการสถาบันวิจัยสภาวะแวดลอม ผูดําเนินรายการ: รศ.ดร. ทวีวงศ ศรีบุรี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วิทยากรนําเสนอบทความ: • การบริหารจัดการระบบลุม  น้ํา คุณประสิทธิ์ หวานเสร็จ ผอ.สวนประสานและบริหารจัดการลุมน้ํา สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4

331


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

การศึกษาแนวทางการผันน้ําโขงโดยแรงโนมถวงและศักยภาพการพัฒนา เกษตรชลประทานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คุณฉวี วงศประสิทธิพร สํานักบริหารโครงการกรมชลประทาน

การมีสวนรวมของกลุมผูมสี วนไดสวนเสีย และความโปรงใสของการพัฒนา โครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้าํ บนแมน้ําโขงสายหลัก กรณีเขื่อนบานกุม (จ.อุบลราชธานี) คุณมนตรี จันทวงศ โครงการฟนฟูนิเวศในภูมิภาคแมน้ําโขง มูลนิธิฟน ฟูชีวติ และธรรมชาติ อภิปรายและตอบขอซักถาม •

กลุมที่ 2: การจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย - โดยการมีสวนรวม ของประชาชน ผูดําเนินรายการ: ศ.ดร.นิพนธ ตั้งธรรม ศูนยวิจัยปาไม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยากรนําเสนอบทความ: • ทรัพยากรน้ําและแนวทางการจัดการน้า ํ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผศ. ฤกษชัย ศรีวรมาศ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี •

ชลประทานชุมชนในพื้นทีบ่ ุงทามลุมน้ํามูนตอนกลาง บานหนองแค-สวนสวรรค คุณสนั่น ชูสกุล ผูอํานวยการโครงการทามมูน

สองกรณีศกึ ษา บทบาทคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอกับประสิทธิภาพ การจัดการทรัพยากรลุมน้ํา และแผนพัฒนาโครงขายน้ํา 3 อําเภอ (หนองเรือ ภูเวียง และบานฝาง) คุณสมคิด สิงสง ประธานคณะทํางานลุมน้ําหวยสามหมอ คุณโยธิน วรารัศมี มูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ํา อยางมีประสิทธิภาพ กรณีศึกษาฝายหัวนา จังหวัดศรีสะเกษ ผศ.ดร. กนกวรรณ มะโนรมย ผอ.ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อภิปรายและตอบขอซักถาม •

12.30 - 13.30 น.

พักรับประทานอาหารกลางวัน

332


กําหนดการสัมมนา

13.30 - 16.00 น.

แยกหองสัมมนา 2 กลุม กลุมที่ 3 : ความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพ ในลุมน้ําโขง ผูดําเนินรายการ: ดร. ชยันต วรรธนะภูติ ศูนยภูมิภาคดานสังคมศาสตรและการพัฒนา อยางยั่งยืน มหาวิทยาลัยเชียงใหม วิทยากรนําเสนอบทความ: • นิเวศวัฒนธรรมทองถิ่นกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติลุมน้ําโขง กรณีแมน้ําของ - ลานนา คุณนิวัฒน รอยแกว กลุมรักษเชียงของ • ผลกระทบขามพรมแดนจากการพัฒนาแมน้ําโขง มิติดา  นสังคมและสิ่งแวดลอม คุณเพียรพร ดีเทศน ผูประสานงานโครงการแมน้ําเพื่อชีวิต • สานตองานวิจัยไทบาน นิเวศวิทยา และประวัติศาสตร ปาบุงปาทาม ลุมน้ําสงครามตอนลาง คุณสรรคสนธิ บุณโยทยาน สํานักงานเกษตรและสหกรณ จังหวัดสกลนคร • แมน้ําโขง : ดินแดนงดงามแหง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศ ประวัติศาสตร และชาติพันธุ มุมมองจากประสบการณของสมาชิกรัฐสภา คุณเตือนใจ ดีเทศน ผูกอ ตั้งและที่ปรึกษา มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา (พชภ.) วิทยากรรวมอภิปราย: • ศ. ศรีศักร วัลลิโภดม มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ อภิปรายและตอบขอซักถาม กลุมที่ 4 : ประเทศไทยและความรวมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแมน้ําโขง ผูดําเนินรายการ: ดร. ศุภสุข ประดับศุข ผูจดั การโครงการ สถาบันสิ่งแวดลอมไทย วิทยากรนําเสนอผลงาน: • ขอมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับน้ําและทรัพยากรที่เกี่ยวของของลุมแมน้ําโขง “ขอเท็จจริงหรือความเขาใจผิด” รศ. ชัยยุทธ สุขศรี คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย • ประเทศไทย และความรวมมือกับภูมิภาคในการจัดการแมน้ําโขง ดร. ปรเมธี วิมลศิริ ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติ • ความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืน คุณผกาวรรณ จุฟามาณี ผูอํานวยการสวนงานคณะกรรมการลุมแมนา้ํ โขง กรมทรัพยากรน้ํา

333


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

Public Participation, IWRM and the Mekong River Commission: implications for Thailand Dr. Richard Friend Consultant and Researcher วิทยากรรวมอภิปราย: • คุณไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และประธานกรรมาธิการการ พัฒนาการเมือง การสื่อสารมวลชน การมีสวนรวมของ ประชาชน • คุณสุรศักดิ์ สุภารัตน ผูอํานวยการกองกิจการเพื่อการพัฒนา กรมองคการระหวางประเทศ •

อภิปรายและตอบขอซักถาม __________________________

334


องค์กรภาคีร่วมจัดการประชุม

องคกรภาคีรวมจัดการประชุม หนวยงานภาครัฐ กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 8, 9 อาคารกรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม 49 ซอย 30 ถนนพระราม 6 เขตพญาไท กรุงเทพฯ10400 โทรศัพท 02-299-3900 โทรสาร 02-299-3927 เว็บไซต www.dgr.go.th/ กรมองคการระหวางประเทศ กระทรวงการตางประเทศ 443 ถ.ศรีอยุธยา กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-643-5077 โทรสาร 02-643-5080 เว็บไซต www.mfa.go.th/web/1730.php กรมเอเซียตะวันออก กระทรวงการตางประเทศ 443 ถ.ศรีอยุธยา กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-643-5191 เว็บไซต www.mfa.go.th/web/1733.php สมาคมทรัพยากรน้ําแหงประเทศไทย กรมทรัพยากรน้ํา 180/3 ถ.พระรามที่ 6 ซอย 34 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-271-6000 โทรสาร 02-298-6601 เว็บไซต www.dwr.go.th สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 128 อาคารพญาไทพลาซา ชั้น 27 ถ.พญาไท ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-612-9222 โทรสาร 02-612-9152, 58 เว็บไซต www.nesac.go.th สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 962 ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพฯ 10100 โทรศัพท 02-280-4085 โทรสาร 02-280-0892 เว็บไซต www.nesdb.go.th/

335


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

สํานักประสานความรวมมือระหวางประเทศ กรมทรัพยากรน้ํา 180/3 ถ.พระราม 6 ซอยอาคารพิบูลวัฒนา พญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท 02-298-6000 โทรสาร 02-298-6605 เว็บไซต www.dwr.go.th ภาควิชาการ/มหาวิทยาลัย ดร.กนกวรรณ มโนรมย ศูนยวิจัยสังคมอนุภูมภิ าคลุมน้ําโขง คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อ.วารินชําราบ จ.อุบลราชธานี 34190 โทรศัพท 045-353-725 โทรสาร 045-288-870 เว็บไซต thaiborder.blogspot.com รศ.ดร. กัมปนาท ภักดีกุล คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 999 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 พุทธมณฑล ศาลายา จ.นครปฐม 73170 โทรศัพท 02-441-5000 โทรสาร 02-441-9509-10 รศ.ดร.กัลยา วัฒยากร และคุณสมภพ รุงสุภา สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ํา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย อาคารสถาบัน 3 ชั้น 9 ถ.พญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-218-8168 โทรสาร 02-254-4259 เว็บไซต www.arri.chula.ac.th รศ. ชัยยุทธ สุขศรี คณะวิศวกรรมศาตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถ.พญาไท เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท 02-218-6425 โทรสาร 02-218-6455 ผศ.ดร. วรนุช หวังศุภชาติ ภาควิชาเวชศาสตรสังคมและสิ่งแวดลอม คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล 420/6 ถ.ราชวิถี แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทรศัพท 02-644-8837 โทรสาร 02-354-9166-7

336


องค์กรภาคีร่วมจัดการประชุม

ผศ.ดร. ยรรยง อินมวง และดร.ธีรยุทธ อุดมพร คณะสิ่งแวดลอมและทรัพยากรศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ต.ขามเรียง อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม 44150 โทรศัพท 043-742-135 โทรสาร 043-742-135 เว็บไซต www.env.msu.ac.th Dr. Richard Friend ที่ปรึกษาและนักวิจัยอิสระ อีเมล richardfriend10@gmail.com องคกรประชาสังคม มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา (พชภ.) 129/1 หมู 4 หมูบานปางิ้ว ซอย 4 ถ.ปางิ้ว ต.รอบเวียง อ.เมือง จ.เชียงราย 57000 โทรศัพท 053-715-696 โทรสาร 053-758-658 โครงการฟนฟูลุมน้ําชี (WWF Greater Mekong Thailand Country Programme) 2549/45 ถ.พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 02-942-7691-4 โทรสาร 02-942-7649-50 สถาบันสิ่งแวดลอมไทย 16/151 เมืองทองธานี ถนนบอนดสตรีท ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 โทรศัพท 02-503-3333 โทรสาร 02-504-4826-8 ภาคเอกชน จินตนา เนตรทัศน บริษัท ช.การชาง จํากัด (มหาชน) 587 อาคารวิริยะถาวร ถนนสุทธิสารวินิจฉัย แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02-277-0460 โทรสาร 02-275-7029 เว็บไซต www.ch-karnchang.co.th/contact_us_th.php

337


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

ดร.ณัฏฐวุฒิ อุทัยเสน ธานินทร บํารุงทรัพย บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) 2034/132-161 อาคารอิตัลไทยทาวเวอร ถนนเพชรบุรีตัดใหม แขวงบางกะป เขตหวยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท 02-716-1600 โทรสาร 02-716-1488 เว็บไซต www.itd.co.th

338


แนะนําผู้เขียน

แนะนําผูเขียน (มิถุนายน 2552) ผศ.ดร. กนกวรรณ มะโนรมย จบการศึกษาถึงระดับปริญญาเอกสาขาสังคมวิทยาชนบทจากมหาวิทยาลัยมิสซูร-ี โคลัมเบีย (University of Missouri-Columbia) ประเทศสหรัฐอเมริกา ปจจุบันทํางานเปนอาจารยประจําที่คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี นอกจากนี้ยังไดดํารงตําแหนงผูอํานวยการศูนยวิจัยสังคมอนุภูมิภาคลุมน้ําโขง และดํารงตําแหนงที่ สําคัญอื่นๆอีก เชน คณะกรรมการของ M-POWER (Mekong Program on Water Environment and Resilience) คณะกรรมการของโครงการ Asian Fellowship มูลนิธิฟอรด (Ford Foundation) นอกจากนี้ยังมีผลงานทาง วิชาการ เชน งานวิจัยเรื่องเขือ่ นปากมูล การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมทางสังคมของฝายหัวนา การจัดการน้ํา เชิงบูรณาการ (Integrated Basin Flow Management) ของคณะกรรมาธิการแมโขง(MRC) รวมไปถึงมีงานวิจัยที่ สําคัญ เชน Dynamics of a Border Town: A Case Study of Khong Chiam, Ubon Ratchathani กฤต ไกรจิตติ จบการศึกษาระดับปริญญาโทดานกฎหมายเปรียบเทียบ (Comparative Laws) จากมหาวิทยาลัยอีโมรี (Emory University) ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ผานมาไดมีบทบาทและดํารงตําแหนงสําคัญในกระทรวงการ ตางประเทศ เชน เลขานุการเอก สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบอนน เอกอัครราชทูตสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงฮานอย อธิบดีกรมสนธิสัญญาและกฎหมาย อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ โดยปจจุบันดํารงตําแหนง เอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ ประเทศอินเดีย ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาการเมืองการปกครองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต จากมหาวิทยาลัย ลอนดอน (University of London) ประเทศอังกฤษ ปจจุบันดํารงตําแหนง สมาชิกสภาผูแทนราษฎรระบบสัดสวน พรรคประชาธิ ป ต ย และประธานกรรมาธิ การการพั ฒ นาการเมื อ ง การสื่อ สารมวลชน และการมีส ว นรว มของ ประชาชน โดยมีผลงานดานสิ่งแวดลอมที่สําคัญ เชน ทบทวนการกอสรางเขื่อนเหวนรกในอุทยานแหงชาติเขาใหญ และเขตน้ําโจนในเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวรเพื่อรักษาพื้นที่อนุรักษที่สําคัญไว ซึ่งตอมาไดรับประกาศ จากยูเนสโกเปนมรดกโลก

339


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

ฉวี วงศประสิทธิพร จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้าํ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ปจจุบันดํารง ตําแหนงวิศวกรโยธาชํานาญการ กลุมงานวางโครงการ 2 สํานักบริหารโครงการ กรมชลประทาน มีหนาที่ รับผิดชอบการศึกษา วิเคราะห และพิจารณาวางแผนพัฒนาโครงการพัฒนาแบบบูรณาการในการพัฒนาทรัพยากร น้ําและการชลประทานขนาดใหญ ขนาดกลางทุกประเภท ใหสอดคลองกับความตองการของราษฎรและศักยภาพ ของพื้นที่ในการพัฒนา โดยใชความรูดานวิศวกรรมโยธา ดานชลศาสตร รวมทั้งความรูด านสํารวจ สารสนเทศ ภูมิศาสตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสม รศ. ชัยยุทธ สุขศรี จบการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ Water Resources System มหาวิทยาลัยโคโลราโด (Colorado State University) ประเทศสหรัฐอเมริกา เคยดํารงตําแหนงวิศวกร ผูชํานาญการดานวางแผนพัฒนาแหลงน้ํา กองวางโครงการกรมชลประทานและนักวิชาการในคณะกรรมการแมโขง (MRC) ปจจุบันดํารงตําแหนง หัวหนาภาควิชาวิศวกรรมแหลงน้ํา คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมถึงดํารงตําแหนงคณะกรรมการแมน้ําโขงแหงชาติไทย คณะกรรมการดานการชลประทานและการระบายน้ํา แหงประเทศไทย คณะกรรมการองคการเขื่อนใหญแหงประเทศไทย Member of the Scientific Committee, the Society for Social Management Systems และ Member of the Scientific Advisory Council for European Union Water Initiative เตือนใจ ดีเทศน ไดรับรางวัลสิ่งแวดลอมโกลดแมน (Goldman Environment Prize) ในฐานะผูแทนของทวีปเอเชียป พ.ศ. 2537 และเปน 1 ใน 25 ของนักอนุรักษสิ่งแวดลอมดีเดนของโลกโดยโครงการสิ่งแวดลอมแหงสหประชาชาติ (United Nation Environment Program) เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ป UNEP มีบทบาทและประสบการณ หลากหลายในดานสังคมและการเมือง เชน ประธานคณะกรรมการศูนยประสานงานองคกรพัฒนาเอกชนชาวไทย ภูเขา(ศอข.) สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดเชียงราย (พ.ศ. 2543-2549) นอกจากนี้ยังมีผลงานหนังสือ งานเขียน และ งานวิจัย เชน ผูเขียนคอลัมน “วิถีไท” หนังสือสยามรัฐสัปดาหวิจารณ ผูเขียนหนังสือ “แมจัน สายน้ําที่ผันเปลี่ยน” “คูมือการทํางานกับชาวเขาเผาลีซอ” และ “คูมือการทํางานกับชาวเขาเผาอีกอ” ของศูนยการศึกษานอกโรงเรียน ภาคเหนือ จังหวัดลําปาง โดยปจจุบันดํารงตําแหนง คณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาปญหาการบังคับใชกฎหมาย และแนวทางแกไขการไรสถานะและสิทธิของบุคคลในประเทศไทย วุฒิสภา พ.ศ. 2552 และที่ปรึกษามูลนิธิพัฒนา ชุมชนและเขตภูเขา นิวัฒน รอยแกว จบการศึกษาคณะศึกษาศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม พ.ศ. 2525 เคยรับราชการโดยตําแหนง สุดทายคือ ครูใหญโรงเรียนบานสองพี่นอง อ.เชียงของ จ.เชียงราย พ.ศ. 2539 และเคยดํารงตําแหนงเปนกรรมการ แหงชาติวาดวยผูนําชุมชนทองถิ่น ในป พ.ศ. 2547-2549 โดยปจจุบันเปนผูบุกเบิกและประสานงานเครือขาย อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมลุมน้ําโขง-ลานนา 340


แนะนําผู้เขียน

ดร. ปรเมธี วิมลศิริ จบการศึกษาระดับปริญญาเอกดานเศรษฐศาสตรจากมหาวิทยาลัยคารลตัน (Carleton University) ประเทศ คานาดา ปจจุบันดํารงตําแหนงเปน ที่ปรึกษาดานนโยบายและแผนงาน สํานักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ นอกจากนี้ยังดํารงตําแหนงเปน คณะกรรมการการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) คณะกรรมการบริหารสํานักงานความรวมมือพัฒนาเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบาน (สพพ.) คณะกรรมการสถาบัน เพิ่มผลผลิตแหงชาติ และคณะกรรมการบริหารศูนยวิทยาศาสตรฮาลาล จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ประสิทธิ์ หวานเสร็จ จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมแหลงน้ํา มหาวิทยาลัยขอนแกน พ.ศ. 2528 และสาขารัฐ ประศาสนศาสตร จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร (NIDA) พ.ศ. 2538 เคยรับราชการสํานักงานพลังงาน แหงชาติ ซึ่งตอมาเปลี่ยนชื่อเปน กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและ การพลังงาน งานที่รับผิดชอบ ไดแก งานกอสรางโครงการเขื่อนไฟฟาพลังน้ํา และโครงการโขง–ชี–มูล ปจจุบัน ดํารงตําแหนงผูอํานวยการสวนประสานและบริหารจัดการลุมน้ําชีตอนบน สํานักงานทรัพยากรน้ําภาค 4 จังหวัด ขอนแกน กรมทรัพยากรน้ํา ผกาวรรณ จุฟามาณี จบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาโท สาขาการจั ด การลุ ม น้ํ า จากมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร ป จ จุ บั น ดํ า รง ตํ า แหน ง ผู อํ า นวยการส ว นงานคณะกรรมการลุ ม แม น้ํ า โขง สํ า นั ก ประสานความร ว มมื อ ระหว า งประเทศกรม ทรัพยากรน้ําโดยรับผิดชอบงานในสวนที่เกี่ยวของกับความรวมมือเพื่อการพัฒนาลุมแมน้ําโขงอยางยั่งยืนของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) นอกจากตําแหนงหนาที่ทางราชการแลวดํารงตําแหนงเปนอนุกรรมาธิการใน คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาปญหาน้ําภาคอุตสาหกรรมและการทองเที่ยว คณะกรรมาธิการการอุตสาหกรรมและ การทองเที่ยว สภานิติบัญญัติแหงชาติ กรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณารางพระราชบัญญัติ ทรัพยากรน้ําสภานิติบัญญัติแหงชาติ และที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการดานทรัพยากรน้ําวุฒิสภาอีกดวย เพียรพร ดีเทศน จบการศึกษาระดับปริญญาตรีคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยปจจุบันดํารงตําแหนงเปนผู ประสานงานโครงการแมน้ําเพื่อชีวิต และ เครือขายแมน้ําเอเชียตะวันอออกเฉียงใต (Southeast Asia Rivers Network) นอกจากนี้ยังเปนนักเขียนของหนังสือพิมพตางๆ เชน บางกอกโพสต เดอะเนชั่น ขาวสด มติชน และ กรุงเทพธุรกิจ เกี่ยวกับเรื่องสิ่งแวดลอม สังคม สิทธิของชุมชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการ ทรัพยากรน้ํา รวมไปถึงงานสรางสรรคผลงานดานวิชาการ เชน หนังสือคําใหการของคนทายน้ํา (พ.ศ. 2549) A Testimony of the Downstream People (2006), Downstream Impacts of Hydropower and Development of an International River: A Case Study of Lancang-Mekong (2004), Development Disaster: JapaneseFunded Dam Projects in Asia (2004) และผลงานแปล เชน Citizen’s Guild to the World Commission on Dams: A New Framework for Decision-Making

341


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

มนตรี จันทวงศ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เคยมีประสบการณในตําแหนงผู ประสานงานโครงการภาคเหนือ โครงการฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ มูลนิธิฟนฟูชีวิตและธรรมชาติ ปจจุบันดํารง ตําแหนงผูประสานงานฝายเผยแพรและรณรงค โครงการฟนฟูนิเวศในภูมิภาคแมน้ําโขง มูลนิธิฟนฟูชีวิตและ ธรรมชาติ มีผลงานตีพิมพในวารสาร Wateshed: People’s Forum on Ecology และมีผลงานหนังสือ อาทิเชน Water privatisation in Thailand (2002) ถอดรหัสสงครามแยงชิงน้ํา(พ.ศ. 2546) และสาละวินบันทึกแมน้ําและ ชีวิตในกระแสความเปลี่ยนแปลง (พ.ศ. 2550) โยธิน วรารัศมี จบการศึกษา ศิลปะศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) จากมหาวิทยาลัยรามคําแหง มีประสบการณทํางานดาน สื่อสารมวลชน เชน นิตยสารขาวกรอง รายการขายดวนตนชั่วโมง 43 สถานี สํานักขาวเอบีเอ็น ตอมาจึงไดหันมา ประกอบธุรกิจดานสื่อสิ่งพิมพและสื่อโทรทัศน นอกจากนีย้ ังมีงานดานบําเพ็ญประโยชนตอสังคมและการอนุรักษ สิ่งแวดลอมที่ผานมา ไดแก ผูท รงคุณวุฒิสภาวัฒนธรรมจังหวัดขอนแกน ป พ.ศ. 2538 ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ คณะกรรมาธิการเกษตรและสหกรณ สภาผูแทนราษฎร ป พ.ศ. 2542 เลขานุการประจําคณะกรรมาธิการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สภาผูแทนราษฎร และเปนหัวหนาโครงการเยาวชนไทยหัวใจสีเขียว สภาผูแทนราษฎร โดยปจจุบนั ดํารงตําแหนงกรรมการเลขานุการมูลนิธิน้ําและคุณภาพชีวิต ผศ. ฤกษชัย ศรีวรมาศ จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้ํา มหาวิทยาลัยขอนแกน ปจจุบันดํารงตําแหนง อาจารยประจําภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีความรูและเชี่ยวชาญ ดานทรัพยากรน้ําและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) โดยมีผลงานดานทรัพยากรน้ําที่สําคัญจาการดํารงตําแหนง หัวหนาโครงการแบบจําลองสภาพน้ําทวมพื้นที่ริมตลิ่งแมน้ํามูลเพื่อทราบระดับน้ําและพื้นที่ทวมนองบริเวณเขต เทศบาลนครอุบลราชธานีและเทศบาลวารินชําราบ หัวหนาโครงการศึกษาและวางแผนการจัดการลุมน้ําขนาดเล็ก เพื่อแกปญหาความยากจนในพื้นที่ลุมน้ํามูลตอนลาง คณะทํางานโครงการพัฒนาลุมน้ําหวยขาวสารเพื่อแกปญหา ความยากจน คณะทํางานโครงการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอมและดานสังคมโครงการฝายหัวนา และคณะทํางาน โครงการศึกษาศักยภาพและพัฒนาพลังน้ําขนาดเล็กเพื่อการผลิตไฟฟาในพื้นที่ลุมน้ํามูล

342


แนะนําผู้เขียน

ศ.ดร. ศรีศักร วัลลิโภดม ดํารงตําแหนงอาจารยสอนวิชามานุษยวิทยาที่คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนเวลา 2 ป หลังจากนั้นไดรับงานอาจารยประจําในภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยไดรับเชิญ ใหไปสอนวิชาโบราณคดีประเทศไทยที่มหาวิทยาลัยคอรแนลใน พ.ศ. 2523 และใน พ.ศ. 2529 ไดรับเชิญใหไป ร ว มงานค น คว า เกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนโบราณในประเทศไทยและประเทศญี่ ปุ น กั บ นั ก วิ ช าการญี่ ปุ น ที่ Centre for Southeast Asian Studies ของมหาวิทยาลัยเกียวโต ไดรับเชิญใหไปรวมประชุมและเสนอผลงานในการประชุม ระหวางประเทศที่สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ญี่ปุน อังกฤษ นิวซีแลนด ฟลิปปนส เกาหลี อินโดนีเซีย ศรีลังกา ฯลฯ ใน พ.ศ. 2548 ไดรวมเปนคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันทแหงชาติ และไดรับรางวัลวัฒนธรรมแหงเอเชีย เมืองฟูกูโอกะ ประเภทผลงานวิชาการ ครั้งที่ 18 ประจําป พ.ศ. 2550 (The 18th Fukuoka Asian Culture Prizes 2007, Academic Prize) ปจจุบันเปนนักวิชาการอิสระ, ที่ปรึกษามูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ, กรรมการของ ศูนยมานุษยวิทยา สิรินธร ฯลฯ ดร. ศิริพงศ หังสพฤกษ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิศวกรรมโยธา จากมหาวิทยาลัยคอรแนล (Cornell University) ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ผานมาไดรับราชการในตําแหนงรองปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หัวหนากลุมภารกิจดานทรัพยากรน้ําในแผนดิน โดยปจจุบันดํารงตําแหนง อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา กรรมการและ เลขานุการคณะกรรมการทรัพยากรน้ําแหงชาติ และคณะกรรมการรวมในคณะกรรมาธิการแมน้ําโขงแหงชาติไทย สนั่น ชูสกุล จบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปจจุบันดํารงตําแหนง ผูอํานวยการโครงการทามมูน องคกรพัฒนาเอกชนซึ่งทํางานสงเสริมดานสิทธิชุมชน การฟนฟูทรัพยากรธรรมชาติ ในพื้นที่ลุมน้ํามูน 6 จังหวัด และเปนหัวหนาโครงการวิจัยสิทธิชุมชนศึกษาภาคอีสาน นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลงานตี พิ ม พ ด า นสิ่ ง แวดล อ ม เช น งานวิ จั ย สิ ท ธิ ชุ ม ชนลุ ม น้ํ า มู น งานเขี ย นหนั ง สื อ “ป า ทาม ปาไทย” (พ.ศ. 2544) คูมือการจัดการปาทามโดยองคกรชุมชนประสบการณการจัดการทรัพยากรชุมชนตาดฟาดง สะคราน (พ.ศ. 2545) ปาทาม พื้นที่ชุมน้ําโลก (พ.ศ. 2550) งานคนควาเรียบเรียง บทความ-สารคดี และนวนิยาย สมคิด สิงสง ผูนํ า พาชาวบ า นเคลื่ อ นไหวปรั บ ปรุง ชี วิ ต ความเป น อยู ภายใต ห ลั ก การพึ่ ง ตนเอง เคยรั บเลื อ กให เ ป น ผูใหญบาน เปนสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล และเคยดํารงตําแหนงนายกองคการบริหารสวนตําบล และ ไดรับเลือกสรรใหเปนอนุกรรมการลุมน้ําชีตอนบน ในฐานะผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่นจังหวัดขอนแกน (พ.ศ.2547) และเปนผูบุกเบิกงานบริหารจัดการระบบลุมน้ํา จนถึงขณะนี้ลุมน้ําหวยสามหมอไดกลายเปนโครงการ นํารองของกรมทรัพยากรน้ําในเรื่องการบริหารจัดการเปนระบบลุมน้ําในพื้นที่ลุมน้ําชี และเปนโครงการนํารองของ คณะกรรมาธิการแมน้ําโขง (MRC) ในเรื่องการวางแผนการจัดการลุมน้ําในพื้นที่วิกฤติ นอกจากนี้ยังมีงานเขียนและ แตงเพลงใหกับวงคาราวานโดยเพลงที่มีชื่อเสียง เชน คนกับควาย ขาวลาลาน เปนตน

343


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

สรรคสนธิ บุณโยทยาน จบการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขากสิกรรมและสัตวบาล (Agriculture and Animal Husbandry) มหาวิทยาลัยเกษตรแหงรัฐปนจาบ (Punjab Agricultural University) ประเทศอินเดีย เคยรับราชการที่กรมการ พัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในตําแหนงพัฒนากรตรีและโอนมาปฏิบัติราชการที่สํานักงานปลัดกระทรวง เกษตรและสหกรณ นอกจากนี้ยังเปนกรรมการสภาผูทรงคุณวุฒิของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และมี ประสบการณเปนที่ปรึกษา (short term consultant) ใหกบั องคกรระหวางประเทศ เชน USAID UNDP FAO และ World Bank ในโครงการพัฒนาชนบท และโครงการพัฒนาเกษตร-ชลประทาน รวมถึงเปนวิทยากรพิเศษดาน ดาราศาสตรและโบราณคดี จากผลงานหนังสือ สุริยะปฏิทินพันป ปจจุบันดํารงตําแหนงเกษตรและสหกรณ จังหวัด สกลนคร อาคม เติมพิทยาไพสิฐ จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยวิลเลี่ยม (Williams College) ประเทศ สหรัฐอเมริกา ปจจุบันรับราชการในตําแหนงรองเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ผูประสานงานคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ผูบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง และยังเปนกรรมการรัฐวิสาหกิจ หลายแห ง ได แ ก กรรมการการไฟฟ า ฝ ายผลิ ต แห ง ประเทศไทย กรรมการบริ ษั ท กสท โทรคมนาคม จํ า กั ด (มหาชน) กรรมการบริษัททาอากาศยานไทยจํากัด (มหาชน) กรรมการบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย นอกจากนี้ยัง ดํ า รงตํ า แหน ง เป น ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการเศรษฐกิ จ หอการค า ไทย ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการวิ ช าการ สภา อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย กรรมการบริหารศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ และ กรรมการสภาการศึกษาผูทรงคุณวุฒิของโรงเรียนนายรอยตํารวจ

344


ประมวลภาพจากที่ประชุม

ประมวลภาพจากที่ประชุม

กลาวตอนรับ โดย ศ.ดร.สนิท อักษรแกว ประธานสถาบันสิ่งแวดลอมไทย และกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ

เสวนาเชิงนโยบาย “ทิศทางประเทศไทยในการสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืนของลุมแมน้ําโขง” โดย คุณกฤต ไกรจิตติ อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหวางประเทศ ดร.ศิริพงศ หังสพฤกษ อธิบดีกรมทรัพยากรน้ํา คุณอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รองเลขาธิการสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 345


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

บรรยากาศการสัมมนา ชวงเสวนาเชิงนโยบาย

346


ประมวลภาพจากที่ประชุม

ผูดําเนินรายการและวิทยากร กลุมที่ 1: การจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย-โครงการขนาดใหญ

ผูดําเนินรายการและวิทยากร กลุมที่ 2: การจัดการน้ําในลุมน้ําโขงในสวนของประเทศไทย-โดยการมีสวนรวมของประชาชน

347


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

ผูดําเนินรายการและวิทยากร กลุมที่ 3: ความหลากหลายทางชาติพันธุ วัฒนธรรม และทรัพยากรชีวภาพในลุมน้ําโขง

ผูดําเนินรายการและวิทยากร กลุมที่ 4: ประเทศไทยและความรวมมือระดับภูมิภาคในการจัดการน้ําในแมน้ําโขง

348


ประมวลภาพจากที่ประชุม

บรรยากาศการสัมมนากลุมยอย

349


รายงานการประชุม “องค์ความรู้แม่น้ําโขงเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ภาคผนวก

บรรยากาศการสัมมนากลุมยอย

350



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.