แนวทางการรักษาผู้ป่วยทันตกรรม

Page 1

1

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยทางทันตกรรม

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


2

สารบัญ การบริ การทันตกรรมพื้นฐานใน รพ.สต.

แนวทางการรักษาทันตกรรมใน รพ.สต.

แนวทางการประเมินผูป้ ่ วยก่อนการรักษาทางทันตกรรม

แนวทางปฏิบตั ิในการถอนฟัน

แนวทางปฏิบตั ิในการอุดฟัน

๑๐

แนวทางปฏิบตั ิในการขูดหินปูน

๑๑

แนวทางปฏิบตั ิในการจ่ายยาทางทันตกรรม

๑๓

แนวทางปฏิบตั ิในผูป้ ่ วยที่มีภาวะเลือดออก (bleeding)

๑๕

แนวทางปฏิบตั ิในผูป้ ่ วยเป็ นลมหมดสติ

๑๖

แนวทางปฏิบตั ิในการดูแลผูป้ ่ วยความดันโลหิตสู ง

๑๗

แนวทางปฏิบตั ิในการดูแลผูป้ ่ วยเบาหวาน

๑๘

แนวทางปฏิบตั ิในการดูแลผูป้ ่ วยโรคไต

๑๙

แนวทางปฏิบตั ิในการดูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจ

๒๐

แนวทางปฏิบตั ิในการดูแลผูป้ ่ วยที่ได้รับยา anticoagulants

๒๑

แนวทางปฏิบตั ิในการส่ งต่อผูป้ ่ วยจาก รพ.สต.

๒๒

เอกสารอ้างอิง

๒๓ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


3

การบริการทันตกรรมพื้นฐานใน รพ.สต. 1. ด้ านทันตกรรมป้องกัน 1.1 การใช้ฟลูออไรด์เพื่อป้ องกันโรคฟั นผุ 1.2 การใช้สารเคลือบหลุมร่ องฟั นเพื่อป้ องกันโรคฟันผุ 1.3 การขูดหิ นน้ าลายและทาความสะอาดฟัน เพื่อป้ องกันโรคเหงือกอักเสบ 2. ด้ านทันตกรรมบาบัดฉุ กเฉิน 2.1 บาบัดฉุ กเฉิ นด้านทันตกรรมเบื้องต้น เพื่อลดความเจ็บปวด เช่น การจ่ายยาตามบัญชียาหลัก การล้าง แผลบริ เวณช่องปากและใบหน้า 2.2 ช่วยเหลือผูป้ ่ วยฉุ กเฉิ นเบื้องต้นก่อน ระหว่าง และหลังการรักษาทางทันตกรรม เช่น ภาวะเลือดออก มาก เป็ นลมหมดสติ (Flow chart) 2.3 คัดแยกโรคและส่ งต่อผูป้ ่ วยด้านทันตกรรม เช่น ผูป้ ่ วยที่มีโรคทางระบบ (systemic disease) 3. ด้ านทันตกรรมบาบัด 3.1 ตรวจวินิจฉัยและคัดแยกโรคภายในช่องปาก 3.2 ถอนฟันที่ข้ ึนปกติ กรณี ที่ไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้ เช่น ฟันน้ านมหลุดช้า ฟันผุทะลุโพรงประสาท ฟันโดยไม่สามารถรักษารากฟัน รากฟันตกค้าง ฟันแท้โยก ทั้งนี้ตอ้ งไม่มีภาวะแทรกซ้อนหรื อการ ติดเชื้ อรุ นแรง 3.3 อุดฟันชนิ ดไม่ซบั ซ้อนด้วยวัสดุอุดฟัน เช่น การทา PRR, การอุดฟันชัว่ คราว, การอุดฟั นที่ผถุ ึงชั้น เนื้อฟันยังไม่ทะลุโพรงประสาทฟัน 3.4 รักษาโรคเหงือกอักเสบโดยการขูดหิ นน้ าลาย

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


4

แนวทางการรักษาทันตกรรม ใน รพ.สต.

ซักประวัติ, โรคประจาตัว, การแพ้ยา วัดความดัน, ภาวะซีดเหลือง ไม่ มีโรคประจาตัว

- มีโรคประจาตัว* - BP สูง > 140/90

BP < 140/90

- ชีพจร > 100 ไม่ ย่ งุ ยากซับซ้ อน

ยุ่งยากซับซ้ อน

รักษาพื ้นฐาน

นัดหมายต่อเนื่อง

ยุ่งยากซับซ้ อน

Refer รพ.

* โรคประจาตัวที่ทาไม่ได้ ได้แก่ ความดันโลหิ ตสู ง เบาหวาน โรคหัวใจ โรคไตวาย โรคตับแข็ง โรคเลือด ไทรอยด์ วัณโรค โรคหอบหื ด โรคลมชัก เป็ นต้น ** โรคประจาตัวที่สามารถทาได้ ได้แก่ โรคเกาท์ โรคกระเพาะอาหารที่ไม่มีภาวะโลหิ ตจางร่ วมด้วย โรคเครี ยด โรค G-6-PD *** หากมีขอ้ สงสัยให้ปรึ กษาทันตแพทย์ประจา CUP ก่อน

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


5

แนวทางการประเมินผูป้ ่ วยก่อนการรักษาทางทันตกรรม

I. การซักประวัติ ประกอบด้วย อาการสาคัญ ประวัติการเจ็บป่ วยปั จจุบนั ประวัติการเจ็บป่ วยในอดี ต ทบทวน อาการต่าง ๆ ตามระบบอวัยวะ ประวัติครอบครัว และประวัติสังคม ประวัติทางการแพทย์ทสี่ าคัญ 1. โรคประจาตัวที่สาคัญ 2. ประวัติการเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล 3. ประวัติการได้รับการผ่าตัด 4. ประวัติการแพ้ยา 5. ยาที่ได้รับ 6. สภาวะของโรคทางระบบที่ดาเนินอยู่

II. การตรวจร่ างกาย 1) การตรวจลักษณะทัว่ ไป สังเกตดูสิ่งต่อไปนี้ รู ปร่ าง ลักษณะการเดิน ระดับการรู้สติสติปัญญา อารมณ์ ความร่ วมมือในการตรวจ การพูด และเสี ยง ภาวะซีดจากเลือดจาง (anemia) โดยดูสีของเยื่อตา (conjunctiva) ริ มฝี ปาก ลิ้น เยือ่ เมือกช่องปาก เล็บ ฝ่ ามือ และผิวหนังทัว่ ไป ภาวะดีซ่าน โดยดูสีของส่ วนตาขาว (sclera) และผิวหนังทัว่ ไป ภาวะเขียวคล้ า โดยดูสีของริ มฝี ปาก ลิ้น เยือ่ เมือกช่องปาก เล็บ และผิวหนังทัว่ ไป

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


6

2) การตรวจผิวหนัง โดยตรวจดูการมีสารสี จบั ภาวะซี ด ภาวะเหลือง ภาวะเขียวคล้ า ความหนาบาง ความยืดหยุน่ ความแห้งหรื อมัน และความหยาบละเอียดของผิวหนัง เหงื่อ คิ้วหรื อขน และรอยโรคต่าง ๆ บนผิวหนัง 3) การตรวจตา ตรวจดูอาการตาโปน โดยมองดูตาของผูป้ ่ วยจากด้านเหนือศีรษะ หรื อด้านข้างของใบหน้าว่าลูกตา โปนออกมาเกิ นแนวระหว่างกระดู กโหนกแก้ม กับขอบบนของเบ้าตาหรื อไม่ ตรวจการมองเห็ น การ เคลื่อนของลูกตา และการปิ ด-เปิ ดเปลือกตา ตรวจสี ของเยือ่ ตาและส่ วนตาขาว 4) การตรวจส่ วนคอ ดูว่ามีกอ้ นหรื อรอยผ่าตัดหรื อไม่ ถ้าสงสัยว่าก้อนที่คอจะเป็ นต่อมไทรอยด์โตหรื อไม่ ให้ทดสอบ โดยให้ผปู ้ ่ วยกลืนน้ าลาย ต่อมไทรอยด์จะเคลื่อนตามการกลืน ตรวจหลอดเลือดดา external jugular ที่คอ ซึ่งจะมองเห็นได้ต่อเมื่อมีการโป่ งพองของหลอดเลือด โดยให้ผปู ้ ่ วยเงยหน้าขึ้นเล็กน้อย 5) การตรวจแขนขา ดูการสั่นของมือ (tremor) ตรวจโดยให้ผปู ้ ่ วยเหยียดแขน และกระดกข้อมือขึ้น (dorsifex) ถ้ามี ความผิดปกติ มือผูป้ ่ วยจะสัน่ และไม่สามารถคงการกระดกข้อมือขึ้นได้ 6) 7) การตรวจค่ าสั ญญาณชีพ การตรวจชี พ จร โดยการตรวจนับอัตราชี พ จรเป็ นจานวนครั้ ง ต่ อ 1 นาที การตรวจจังหวะการเต้น (rhythm) ว่ามีจงั หวะสม่าเสมอ (regular) หรื อมีจงั หวะไม่สม่าเสมอ (irregular) อัตราชีพจรปกติ 60 – 100 ครั้งต่อนาที การตรวจการหายใจ นับจานวนครั้งที่ผปู ้ ่ วยหายใจในหนึ่ งนาที สังเกตการหายใจว่าสม่าเสมอหรื อไม่ หายใจหอบลึ ก หรื อตื้นกว่าปกติ มีเสี ยงหายใจผิดปกติหรื อไม่ ลมหายใจมีกลิ่ นผิดปกติหรื อไม่ ค่าปกติ ของอัตราการหายใจคือ 14-20 ครั้งต่อนาที การวัดความดันเลือด ตามปกติจะทาการวัดความดันเลื อดในท่าผูป้ ่ วยนัง่ หรื อนอน เมื่อวัดค่าความดัน เลือดผูป้ ่ วยและพบค่าที่ผดิ ปกติ ควรทาการวัดซ้ าโดยรอเวลาให้ห่างจากการวัดครั้งแรก 5-10 นาที เพื่อยืนยัน ค่าความดันเลือดที่วดั ได้ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


7

การแปรผลค่าความดันเลือด เพื่อใช้แบ่งชนิ ดของความดันเลือดสู งตาม JNC VI (The 6th Report of The Joint National Committee and Treatment of High Blood Pressure) โดยใช้กบั ผูท้ ี่มีอายุมากกว่า 18 ปี ขึ้นไป ดังตาราง ประเภท Optimal Normal High-normal Hypertension Stage 1 Stage 2 Stage 3

Systolic (mmHg) <120 <139 135-139

Diastolic (mmHg) <80 <85 85-89

140-159 160-179  180

90-99 100-109  110

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


8

แนวทางปฏิบตั ิในการถอนฟัน

1.ผู้รับบริ การ 2.ขันตอนการประเมิ ้ นผู้ป่วย ขันตอนการวิ ้ นิจฉัย เหมือนผังการปฏิบตั ิงานตรวจสุขภาพช่องปาก

3.การวางแผนการรักษา

yes

4.การปรึกษา/ส่งต่อ

ส่งต่อพบทันตแพทย์

การรักษาทางทันตกรรม

No 5.ปั ญหาเร่งด่วน

yes การรักษาเร่งด่วน

No 6.การถอนฟั น/ การส่งเสริ มและป้องกัน

No

การจาหน่ายผู้ป่วย

7.อาการแทรกซ้ อน

yes

การส่งต่อผู้ป่วย

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


9

ข้ อบ่ งชี้ในการถอนฟัน 1. ฟันผุลุกลามถึงโพรงประสาทฟัน 2. โรคปริ ทนั ต์ที่ไม่สามารถเก็บรักษาได้ 3. มีการติดเชื้อหรื อพยาธิ สภาพบริ เวณปลายรากฟัน 4. ฟันที่ไม่สามารถบูรณะได้ 5. ฟันที่ไม่มีชีวติ (Pulp necrosis) 6. ฟันที่มี internal/external resorption 7. มีความผิดปกติของตัวฟัน/รากฟัน ที่เป็ นปั ญหาต่อการรักษาทางทันตกรรมประดิษฐ์หรื อการบูรณะฟัน 8. ฟันขึ้นผิดตาแหน่งโดยไม่ได้อยูใ่ นแนวสบฟัน

ข้ อยกเว้นในการถอนฟันและให้ ส่งต่ อเพือ่ พบทันตแพทย์ 1. ข้อพิจารณาทางทันตกรรมจัดฟัน 2. ฟันที่อยูใ่ นแนวกระดูกขากรรไกรหัก 3. ฟันที่มีความเกี่ยวข้องกับรอยโรคที่เป็ นพยาธิ สภาพ เช่น เนื้องอกในช่องปาก 4. ข้อบ่งชี้ก่อนการรักษาทางการแพทย์ เช่น ได้รับเคมีบาบัด , ได้รับรังสี รักษา 5. ป้ องกันการเกิดการบาดเจ็บ เช่น การถอนฟั น natal teeth , psychiatric or motor disorder

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


10

แนวทางปฏิบตั ิในการอ ุดฟัน ฟั นผุ

อาการ : ปวดเมื่อมีสงิ่ กระตุ้น เช่น

อาการ : ปวดขึ ้นได้ เอง , เคาะปวด ,

น ้าร้ อน น ้าเย็น , เคาะไม่ปวด , ไม่

เคยบวมหรื อมีตมุ่ หนอง , มีฟันโยก ,

เคยบวมหรื อมีตมุ่ หนอง , ฟั นไม่โยก

ปวดเวลาเคี ้ยวอาหาร

ฟั นผุทะลุโพรงประสาทฟั น ฟั นผุถึงชันเนื ้ ้อฟั น อุดชัว่ คราว

อุดฟั น

ถอน

Refer

(เพื่อรักษารากฟั น)

ข้ อบ่ งชี้ในการอุดฟัน 1. 2. 3. 4. 5.

รอยโรคที่เกิดจากฟันผุ รอยโรคที่ไม่ได้เกิดจากฟันผุ เช่น attrition, abrasion รอยอุดเก่ามีปัญหา แตก บิ่น ฟันบิ่น แตกหัก ไม่ถึงโพรงประสาทฟัน ฟันที่ได้รับการรักษาคลองรากฟันแล้วสามารถบูรณะได้ดว้ ยการอุดฟัน

ข้ อยกเว้ นในการอุดฟันและส่ งต่ อเพือ่ พบทันตแพทย์ 1. เป็ นการอุดฟันแบบ indirect restoration และอุดฟันเพื่อความสวยงาม 2. รอยอุดเก่าที่มีปัญหา 3. ฟันที่ได้รับการรักษาคลองรากฟันแล้วสามารถบูรณะได้ดว้ ยการอุดฟัน สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


11

แนวทางปฏิบตั ิในการขูดหินปูน 1.ผู้ป่วย

2.การประเมินสภาพผู้ป่วย 3.การวินจิ ฉัย 4.วางแผนการรักษา yes 5.อาการเฉียบพลัน

รักษาเร่งด่วน

No 6.การแนะนาส่งเสริ มอนามัยช่องปาก

ส่งต่อพบทันตแพทย์

7.SCALING

yes 8.อาการแทรกซ้ อน

ส่งต่อ

No จาหน่าย

 ในผู้ป่วยติดเชื ้อ HIV เมื่อใช้ เครื่ องขูดหินปูนไฟฟ้า ควรใช้ ร่วมกับ high power suction กรณี ที่พบอาการเฉียบพลัน เช่น เหงือกบวม, acute necrotizing ulcerative gingivitis (ANUG) ให้ ทาการขูดหินปูนเฉพาะที่ เท่าที่ทาได้ โดยให้ยาปฏิชีวนิ ะถ้าจาเป็ นและแนะนาผูป้ ่ วยอมบ้วนปากด้วย น้ าเกลืออุ่นๆ หรื อ 0.12% chlorhexidine mouthwash นาน 1 นาที วันละ 2 ครั้งหลังแปรงฟันเช้า- เย็น จากนั้นส่ งต่อเพื่อพบทันตแพทย์ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


12

แนวทางปฏิบตั ิในการจ่ายยาทางทันตกรรม 1. ยาแก้ปวด 1) Paracetamol -ผูใ้ หญ่ : Paracetamol (500 mg) รับประทานเวลาปวด ครั้งละ 1-2 เม็ด ทุก 6 ชม. ห้ามรับประทาน เกินวันละ 5 ครั้ง -สาหรับเด็ก ต่ากว่า 12 ปี : Paracetamal Syrup (120 mg/ 5 ml) 1 ขวด มี 60 ml : Paracetamal tablet (325 mg) 10-15 mg/kg/dose รับประทานเวลาปวด ทุก 6 ชม. ห้ามรับประทานเกินวันละ 5 ครั้ง สรุ ปการสั่งจ่ายยาตามน้ าหนัก นา้ หนักเด็ก

dose

8 – 11 กิโลกรัม

1 ช้อนชา

12 – 15 กิโลกรัม

1 ½ ช้อนชา

16 – 19 กิโลกรัม

2 ช้อนชา

20 – 21 กิโลกรัม

2 ½ ช้อนชา หรื อ 325 mg/tab

22 กิโลกรัม ขึ้นไป

325 mg/tab

2) Ibuprofen (ห้ ามใช้ ในหญิงมีครรภ์ ) -ผูใ้ หญ่ : Ibuprofen (400 mg) วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า – กลางวัน – เย็น -ผลข้างเคียง : ระคายเคืองกระเพาะอาหาร, ห้ามกินยาขณะท้องว่าง

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


13

2. ยาปฏิชีวนะ 1) Amoxicillin ๏Amoxicillin Suspension (Syrup) (125 mg/ 5 ml) 1 ขวด มี 60 ml ๏Amoxicillin capsule (250 mg) 25-50 mg/kg/day วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า – กลางวัน – เย็น นา้ หนักเด็ก

dose

จานวนยานา้

ยาเม็ด

4 – 5 กิโลกรัม

½ ช้อนชา x 3

1 ขวด

-

6 – 7 กิโลกรัม

¾ ช้อนชา x 3

1 ขวด

-

1 ช้อนชา x 3

1 – 2 ขวด

-

1 ½ ช้อนชา x 2

1 – 2 ขวด

-

12 – 14 กิโลกรัม

1 ½ ช้อนชา x 3

2 ขวด

-

15 กิโลกรัม ขึ้นไป

2 ช้อนชา x 3

2 ขวด หรื อ

250 mg 1 cap x 3 pc

8 – 11 กิโลกรัม

- ผูใ้ หญ่ : Amoxicillin (500 mg) วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร เช้า – กลางวัน – เย็น 2) ถ้ าผู้ป่วยแพ้ กลุ่ม Amoxicillin ให้ ใช้ Erythromycin, Roxithromycin ก) Erythromycin ผูใ้ หญ่ : 250 mg. วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารเช้า – กลางวัน – เย็น และก่อนนอน / หรื อ : 500 mg. วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า – กลางวัน – เย็น Erythromycin Suspension (Syrup) (125 mg/5 ml) 1 ขวด มี 60 ml 30- 50 mg/kg/day วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า – กลางวัน – เย็น ไม่เกิน วันละ 2 กรัม

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


14

นา้ หนักเด็ก

dose

จานวนยานา้

ยาเม็ด

4 – 5 กิโลกรัม

½ ช้ อนชา x 3

1 ขวด

-

6 – 7 กิโลกรัม

¾ ช้ อนชา x 3

1 ขวด

-

8 – 11 กิโลกรัม

1 ช้ อนชา x 3

1 – 2 ขวด

-

12 – 14 กิโลกรัม

1 ½ ช้ อนชา x 3

2 ขวด

-

15 กิโลกรัม ขึ้นไป

2 ช้ อนชา x 3

2 ขวด

-

ข) Roxithromycin (150 mg.) - ผูใ้ หญ่ 150 mg. วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า– เย็น 3) Metronidazole - ผูใ้ หญ่ 200-400 mg. วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า – กลางวัน – เย็น - เด็ก 30-50 mg./kg./day ( 1 ชช. / 10 กก.) วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารเช้า – กลางวัน – เย็น ผลข้ างเคี ยง อาจเกิดอาการ คลื่ นไส้ ปวดศรี ษะ ปากแห้ง metallic taste นอกจากนี้ ยงั มีผล potential teratogenicity จึงไม่ ควรให้ ในหญิงมีครรภ์ 3. สเตียรอยด์ ชนิดทา - 0.1% TA oral-base (Kenalog in oral-base) ใช้ทาบริ เวณรอยโรคในช่องปากวันละ 3 ครั้งหลังอาหาร

4. ยาชาเฉพาะที่ -2% mepivacaine with epinephrine 1:105 1.ในเด็กน้ าหนักไม่เกิน 20 กก.ใช้ยาชาไม่เกิน 1 หลอด 2.ในเด็กน้ าหนัก 20 - 40 กก.ใช้ยาชาไม่เกิน 2 หลอด 3.ในผูใ้ หญ่ ใช้ยาชาไม่เกิน 3 หลอด

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


15

แนวทางปฏิบตั ิในผูป้ ่ วยเลือดออก (Bleeding)

สาเหตุหลักที่ผปู้ ่ วยมาด้วยอาการมีเลือดออก

- ปัญหาเลือดออกภายหลังการทาศัลยกรรม - ปัญหาจากโรคปริ ทนั ต์ - ปัญหาจากโรคทางระบบ - ปัญหาจากการบาดเจ็บ เป็ นต้น

ภาวะเลือดออกมากกว่ าปกติ

BP 90/60 – 140/90 mmHg.

BP ต่ากว่า 90/60 หรื อ สูงกว่า 140/90 mmHg.

ผูป้ ่ วยไม่มีอาการเหนื่อยเพลีย, ไม่มีจ้ าเลือด

ผูป้ ่ วยมีอาการเหนื่อยเพลีย, มีจ้ าเลือด

กัดผ้าก๊อซชุบ NSS

กัดผ้าก๊อซชุบ NSS

นาน 15 นาที , ดูอาการ

เลือดไม่หยุดไหล

เลือดหยุดไหล ให้คาแนะนาผูป้ ่ วย

Refer

และให้กลับบ้าน

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


16

แนวทางปฏิบตั ิในผูป้ ่ วยเป็นลมหมดสติ ผู้ป่วยเป็ นลมหมดสติ หยุดการทางาน นอนราบ ปลอบโยน ให้ดมแอมโมเนีย

ไม่ดีขึ ้น

Vital sign

ประเมินการหายใจ หายใจ ดีข้ ึน

การเต้นของหัวใจ ไม่หายใจ หัวใจไม่เต้น

หัวใจเต้น Clear airway

ให้ oxygen -เรี ยกให้ผปู ้ ่ วยรู ้สึกตัว

-ทาตัวจนเสร็ จ

ดีข้ ึน

อาการทัว่ ไป

ไม่ดีข้ ึน

Basic life support

Vital sign

ให้ คาแนะนา กลับบ้ าน

Refer

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


17

แนวทางปฏิบตั ิในการด ูแลผูป้ ่ วยความดันโลหิตสูง

Blood Pressure ต่ากว่า 140/90 mmHg. 140/90 – 160/95 mmHg.

160/95 – 200/115 mmHg.

สู งกว่า 200/115 mmHg.

หลักการให้ การรักษาทางทันตกรรม -สามารถให้บริ การทันตกรรมได้ภายใต้ขอบเขต/ศักยภาพของตนเอง ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -สามารถให้บริ การทันตกรรมได้ ภายใต้วธิ ี การป้ องกันและลดความวิตก กังวล -ส่ ง consult แพทย์เพื่อคัดกรองผูป้ ่ วยความดันโลหิ ตสู ง -ระวังการใช้ยาชาที่มี epinephrine 1:105 ไม่เกิน 2 หลอด (epinephrine 0.04 mg.) ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -ให้บริ การทันตกรรมเฉพาะฉุ กเฉิ น เร่ งด่วน -ให้ใช้ยาชาที่ไม่มี epinephrine -ส่ ง consult แพทย์เพื่อควบคุมความดันโลหิต -ชะลอการรักษาทันตกรรม -ส่ ง consult แพทย์เพื่อควบคุมความดันโลหิต

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


18

แนวทางปฏิบตั ิในการด ูแลผูป้ ่ วยเบาหวาน

FPG -FPG 70-180 มก./ดล. -FPG 180-200 มก./ดล.

- มากกว่า FPG 200 มก./ดล. และ/หรื อ DTX มากกว่า 200 มก./ดล.

หลักการให้ การรักษาทางทันตกรรม -สามารถให้บริ การทันตกรรมได้ภายใต้ขอบเขต/ศักยภาพของตนเอง ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -ให้การรักษาทางทันตกรรมที่ไม่ยงุ่ ยากซับซ้อน เช่น ขูดหิ นปูน , อุดฟัน , รักษารากฟัน , การถอนฟันธรรมดา ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -ให้การรักษาทางทันตกรรมกรณี ฉุกเฉิน เช่น บาบัดความเจ็บปวด , การ รักษาการติดเชื้อ , การเจาะระบายหนอง , การห้ามเลือดเฉพาะที่ -ระวังการใช้ยาชาที่มี epinephrine 1:105 ไม่เกิน 2 หลอด

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


19

แนวทางปฏิบตั ิในการด ูแลผูป้ ่ วยโรคไต

หลักการให้ การรักษาทางทันตกรรม สาหรับผูป้ ่ วยที่ได้รับ การฟอกเลือดผ่าน เครื่ องฟอกไต (Hemodialysis)

ผูป้ ่ วยโรคไตวายเรื้ อรัง ทัว่ ไป

ยาที่ตอ้ งระวัง

ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -Premedication : Amoxicillin 2 g. (oral) -ควรให้การรักษาทางทันตกรรมหลังการฟอกเลือด 24 ชัว่ โมง -ระวัง Bleeding ทันตาภิบาล - ให้ส่งต่อผูป้ ่ วยมาพบทันตแพทย์ ทันตแพทย์ -ดูค่า lab : BUN , creatinine , Bleeding time , PT, PTT ก่อนให้การรักษาทาง ทันตกรรม -ห้ามใช้ NSAIDs , Paracetamol , Penicillin V , Cephalexin , Tetracycline -ใช้ได้ : Lidocaine . Propoxyphene , Codeine , Meperidine , Erythromycin , Diazepam

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


20

แนวทางปฏิบตั ิในการด ูแลผูป้ ่ วยโรคหัวใจ Antibiotic Prophylaxis ให้ ในกรณี 1. artificial heart valves 2. a history of infective endocarditis 3. certain specific, serious congenital (present from birth) heart conditions, including o unrepaired or incompletely repaired cyanotic congenital heart disease, including those with palliative shunts and conduits o a completely repaired congenital heart defect with prosthetic material or device, whether placed by surgery or by catheter intervention, during the first six months after the procedure o any repaired congenital heart defect with residual defect at the site or adjacent to the site of a prosthetic patch or a prosthetic device 4. a cardiac transplant that develops a problem in a heart valve.

Antibiotic Regimens for a Dental Procedure Situation

Oral Unable to take oral medication Allergic to penicillins or ampicillin (oral) Allergic to penicillins or ampicillin and unable to take oral medication

Agent

Regimen: Single Dose 30-60 Minutes before Procedure Adults Children Amoxicillin 2g 50 mg/kg Ampicillin 2 g IM or IV 50 mg/kg IM or IV Cephalexin 2g 50 mg/kg Clindamycin 600 mg 20 mg/kg Azithromycin or Clarithromycin 500 mg 15 mg/kg Cefazolin or Ceftriaxone 1 g IM or IV 50 mg/kg Clindamycin phosphate 600 mg IM or IV 20 mg/kg IM or IV

IM, Intramuscularly; IV, intravenously. สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


21

แนวทางปฏิบตั ิในการด ูแลผูป้ ่ วยที่ได้รบั ยา Anticoagulants

-กรณี ผปู้ ่ วยได้รับ ยา Coumadin , Warfarin

หลักการให้การรักษาทางทันตกรรม กรณี INR < 3.5 (ค่า INR ใช้ได้ 24 hrs.) -ให้ทาหัตถการได้เลย เช่น งานถอนฟัน 1 ถึง 3 ซี่ งานศัลยกรรมเหงือก งานครอบฟัน และสะพานฟัน งานขูดหิ นปูนเหนือเหงือก และงานผ่าฟันคุดหรื อฟันฝัง -กรณี ที่มีฟันที่ตอ้ งถอนมากกว่า 3 ซี่ ควรแบ่งทาหลายครั้ง หรื องานขูดหิ นปูนหรื องาน ศัลยกรรมเหงือกควรทาเฉพาะตาแหน่ง -การใช้ยาชาเฉพาะที่ซ่ ึงมียาบีบหลอดเลือด ควรใช้วธิ ีการฉีดเฉพาะที่ (infiltration) หรื อฉี ดในเอ็นยึดปริ ทนั ต์ (intraligamentary)หากจาเป็ นต้องฉี ดสกัดเส้นประสาท (regional nerve blocks) ควรใช้กระบอกฉีดยาที่สามารถดูดกลับได้ (aspirating syringe) -ทาหัตถการด้วยความนุ่มนวล ไม่ทาอันตรายต่อเนื้อเยือ่ ข้างเคียง กาจัดเนื้ อเยื่อ อักเสบในเบ้าฟัน -ใส่ วสั ดุช่วยห้ามเลือด เช่น เจลโฟม (Gelfoam) เซอจิเซล (Surgicel) ไฟบริ นซีแลนท์ (Fibrin sealant) หรื อ เจลเกล็ดเลือด (platelet gel) ในเบ้าฟัน และเย็บปิ ดแผล กรณี INR > 3.5 - ควรพิจารณาลดระดับยาต้านการแข็งตัวของเลือดให้อยูใ่ นช่วงค่าที่ใช้ในการรักษา โรคก่อน โดยการปรึ กษาแพทย์ประจาตัวผูป้ ่ วย กรณี INR > 4.0 ไม่ควรทาศัลยกรรมใดๆ

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


22

แนวทางปฏิบตั ิในการส่งต่อผูป้ ่ วยจาก รพ.สต.

หลักการในการส่ งต่ อ 1. การส่ งต่อให้ผปู ้ ่ วยมาพร้อมใบส่ งต่อ 2. กรณี ที่ถอนฟันรากฟันหักให้นา ตัวฟันและชิ้นส่ วนฟั นที่หกั มาด้วย 3. เขียนรายละเอียดในใบส่ งต่อให้ครบถ้วนและชัดเจน 4. ควรติดต่อทันตแพทย์ผรู ้ ับการส่ งต่อก่อนนาส่ งผูป้ ่ วยเพื่อเตรี ยมความสะดวก และแน่ใจได้วา่ ผูป้ ่ วยจะ ได้รับการดูแลเป็ นพิเศษ (คิวด่วน, มาแล้วไม่เสี ยเวลา) 5. ทันตแพทย์ผรู ้ ับการส่ งต่อเขียนใบส่ งต่อกลับ รพ.สต. ภายใน 2 สัปดาห์

ข้ อบ่ งชี้ในการส่ งต่ อเร่ งด่ วน 1. มีการติดเชื้อรุ นแรง ลุกลามเร็ ว บวมนอกช่องปาก 2. หายใจไม่ออก หายใจลาบาก 3. ไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซี ยส ขึ้นไป 4. อ้าปากไม่ได้ (น้อยกว่า 1 cm) 5. ผูป้ ่ วยเด็ก หรื อ ผูป้ ่ วยชราที่มีอาการบวม 6. ผูป้ ่ วยที่มีภาวะเลือดออกผิดปกติ ซึ่ งไม่สามารถจัดการได้ 7. ผูป้ ่ วยที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังการถอนฟัน เช่น BP สู งหรื อต่าผิดปกติ , ปวดมาก , บวมหลังถอน ฟัน , เลือดออกหลังถอนฟัน

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


23

เอกสารอ้างอิง 1. คู่มือการใช้ยาในเด็ก ( Drug Prescription in Children ), ชาญชัย พานทองวิริยะกุล และ ผกากรอง ลุมพิกานนท์ พิมพ์ครั้งที่ 2 ธันวาคม 2539พิมพ์ คอมเพรส แอนด์ ดีไซน์ 301/59 หมู่บา้ นขอนแก่น วิลล่า จ.ของแก่น 40000 2. Mandell GL, P.W.J., Antimicrobial agents,Penicillins,cephalosporins,and other beta-lactam antibiotics. 9 th ed. The pharmacological basis of therapeutics, ed. L.L. Hardman JG, Molinoff PB,Rddon RW,Gilman AG. 1996: McGraw-Hill. 1073-1101 3. จิรพันธพันธวุฒิกร, การวินิจฉัยและการบาบัดการติดเชื้ อสาเหตุจากฟน. 1 ed, ed. จิรพันธพันธวุฒิ กร.2542: บริ ษทั โฮลิสติก พับลิชชิ่ง จากัด 4. เชื้ อโชติ หังสสตูต. ศัลยศาสตร์ ช่องปากและแม็กซิ ลโลเฟเซี ยล (Oral and maxillofacial surgery), กรุ งเทพฯ : เยียร์บุคพับลิชเชอร์ , 2536 5. แนวทางปฏิบตั ิทางทันตกรรม ในการรักษาผูป้ ่ วยโรคความดันโลหิ ตสู ง (Hypertensive disease). สถาบันทันตกรรม: http://www.dentistry.go.th/tec_detail.php?techno_id=43 6. แนวทางปฏิบตั ิการรักษาทางทันตกรรม Clinical practice guidelines (CPG) ในผูป้ ่ วยโรคหัวใจ และเบาหวาน. ทันตแพทยสภา : http://www.dentalcouncil.or.th/content/prnews/detail.php?id=411&type=2

7. Prevention of Infective Endocarditis. Guidelines From the American Heart Association. A Guideline From the American Heart Association Rheumatic Fever, Endocarditis, and Kawasaki Disease Committee, Council on Cardiovascular Disease in the Young, and the Council on Clinical Cardiology, Council on Cardiovascular Surgery and Anesthesia, and the Quality of Care and Outcomes Research Interdisciplinary Working Group. Copyright © 2007, American Heart Association, Inc. 8. แนวปฏิบตั ิทางทันตกรรมในผูป้ ่ วยโรคไตเรื้ อรัง : http://www.thaigoodview.com/node/12038 9. กาญจนา ชัยพนัส . การรักษาทางศัลยกรรมช่ องปากสาหรับผูป้ ่ วยที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของ เลือด. ว.ทันต.ขอนแก่น. 2551; 11(2): 91- 97

สานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.