kmOnStreet7

Page 1


บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะ ท่านผู้อ่านทุกท่าน ช่วงนี้อากาศแปรปรวนแล้ว อย่าลืมดูแลรักษาสุขภาพกันด้วยนะคะ ส�ำหรับ ฉบับนี้ เราก็มเี รือ่ งราวมากมายมาฝากท่านผูอ้ า่ นทุกท่านเช่นเคย และ พิ เ ศษฉบั บ นี้ เ รามี แ บบสอบถามความคิ ด เห็ น ของผู ้ อ ่ า น ว่าหลังจากที่เราได้มีจุลสาร มาเป็นฉบับที่ 7 แล้ว ท่าน ผู้อ่านชอบหรืออยากให้ทางทีมงานปรับปรุงหรือเพิ่มเนื้อหา ตรงส่วนไหน ให้ข้อเสนอแนะมาได้เลยนะคะ ทุกความเห็น ของทุกท่านจะเป็นประโยชน์กับเราอย่างมาก เพื่อที่เราจะได้ พัฒนา ต่อไป และขอขอบคุณท่านผู้อ่านล่วงหน้ามา ณ โอกาสนี้ค่ะ และเนื่องจากฉบับที่แล้ว ที่ทางเราได้เสนอเรื่องราว ประวัตขิ องกรมควบคุมโรค ได้มเี นือ้ หาบางส่วนทีค่ ลาดเคลือ่ น ไป มีท่านผู้อ่านใจดีที่รู้ลึก รู้จริงอยู่คู่กรมควบคุมโรคของเรา มายาวนาน ได้ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง จึงต้องขออภัยเป็นอย่างสูง และขอแก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูล ดังนี้ค่ะ ในปี 2527 กรมควบคุมโรคติดต่อ ได้แบ่งเขตความ รับผิดชอบของหน่วยงานในภูมิภาคจาก 9 เขต เป็น 12 เขต และเปลีย่ นชือ่ ศูนย์ของเขตต่างๆ ให้ตรงตามจ�ำนวนเขตทีต่ งั้ ใหม่ ต่อมาปี 2531 กรมควบคุมโรคติดต่อได้ประกาศใช้ แผนปรับปรุงโครงสร้างส่วนราชการ ซึ่งได้รับอนุมัติจาก กพ. โดยก�ำหนดให้มีส�ำนักงานควบคุมโรคติดต่อเขต 12 เขต ซึ่งปัจจุบันเมื่อกรมควบคุมโรคติดต่อได้ปรับภารกิจและชื่อ เป็น “กรมควบคุมโรค”ในปี 2545 แล้ว ส�ำนักงานควบคุมโรค ติดต่อก็ได้ปรับชื่อเป็น ”ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต” ไปด้วย

เป็นจุลสารที่จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นโอกาสหรือ “ถนน” ให้กับทุกการเรียนรู้ระหว่าง องค์กร หุ้นส่วน หน่วยงานเครือข่ายกรมควบคุมโรค จัดทำ�โดย สำ�นักจัดการความรู้ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ที่ปรึกษา แพทย์หญิงวรรณา หาญเชาว์วรกุล บรรณาธิการ อรณิชา สมิตทันต์ จัดพิมพ์ บริษัท นิวธรรมดาการพิมพ์ (ประเทศไทย) จำ�กัด ออกแบบ ART QUALIFIED CO., LTD.

CONTENT Special Story

3

อ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

KM Focus

7

เทศกาลแห่งความสุขส�ำหรับการเปลี่ยนแปลง

All about learning IT Tip & Trick กู้ข้อมูลกลับมา!! ด้วย Recuva คลินิกวิจัย Q&A

9 10 12 13

การวิจัยคืออะไร?

KM & Network Activity KM Hotline

14 15

ตัวชี้วัด VS แผน KM

KM 360 องศา พบแพทย์หญิงวรรณา การจัดการความรู้เป็นทุกสิ่ง การจัดการความรู้จึงไม่เป็นอะไรเลย Your life Your style เตรียมตัวอย่างไร...เมื่อหน่วยงานเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ มุมนี้มีรางวัล Idea I can เปิดหน้าต่างความคิด พลังแห่งการคิดบวก

16 18 19 19 20 20


Special Story

อ�ำเภอ ควบคุมโรคเข้มแข็ง อ�ำเภอ

“ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” หมายถึง อ�ำเภอที่มีระบบและกลไกการบริหารจัดการการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภั ย สุ ข ภาพของพื้ น ที่ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ทันสถานการณ์ การขับเคลื่อนการพัฒนาอ�ำเภอเข้มแข็งด้านการป้องกันควบคุม โรคและการพัฒนาเครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เป็นยุทธศาสตร์ในการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรค กรมควบคุมโรค มุ่งเน้น “อ�ำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึง การเตรียมความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วมให้เกิด ประสิทธิผลต่อสุขภาพของ ประชาชนในพื้นที่ ทันสถานการณ์ เมือ่ วันที่ 16 กันยายน 2553 ได้มกี ารลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) ระหว่าง 3 องค์กร ได้แก่ ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค และสมาคมองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งประเทศไทย โดยมีนายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ลงนามเป็นพยาน พร้อมกับการประชุมสัมมนาเพื่อท�ำความเข้าใจในเรื่อง งานป้องกันควบคุมโรคทีจ่ ะต้องเดินต่อไปในอนาคต โดยเฉพาะในเรือ่ งของ อ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ภารกิจของทัง้ 3 องค์กรในการลงนามบันทึกความเข้าใจ ส�ำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดท�ำคณะกรรมการอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ให้เกิดขึ้นรวมทั้งทีม SRRT อ�ำเภอและต�ำบล กรมควบคุมโรคสนับสนุน ด้านวิชาการเทคโนโลยี และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สนับสนุน ทรั พ ยากร บุ ค ลากร งบประมาณ หรื อ ทรั พ ยากรด้ า นอื่ น ซึ่ ง เป็ น องค์ประกอบส�ำคัญในการบรรลุเป้าหมายอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งยั่งยืน และทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว SRRT ต�ำบล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้เกิดระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอ�ำเภอ ที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทันสถานการณ์ โดยการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน ซึ่งจะส่งผลให้เกิดอ�ำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน

แบบยั่งยืน

มุ่งเน้น “อ�ำเภอ” เป็นพื้นที่เป้าหมายเพื่อพัฒนา ระบบเฝ้าระวังฯ รวมถึงการเตรียม ความพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินฯ แบบมีส่วนร่วมให้เกิดประสิทธิผล ต่อสุขภาพของ ประชาชน ในพื้นที่ ทันสถานการณ์

3


Special Story

ท� ำ ไ ม ?

อ�ำเภอต้องเข้มแข็ง ในการป้องกัน ควบคุมโรค 1. อ�ำเภอเป็นจุดเชื่อมต่อการเชื่อมโยงภาพ งาน (ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ) เชิงระบบ จากส่วนภูมิภาค สู่ส่วนท้องถิ่นและชุมชน 2. เพือ่ สนับสนุนให้อำ� เภอทุกแห่งด�ำเนินการ ให้ประชาชนในพื้นที่มีสุขภาพที่ดีตามความต้องการ และปัญหาของประชาชน 3. เป็นการวัดความส�ำเร็จการพัฒนาเครือ ข่ายความร่วมมือของกรมควบคุมโรค และจังหวัดใน การสนับสนุนวิชาการให้อ�ำเภอด�ำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพแก่ประชาชนใน พื้นที่อย่างทันสถานการณ์

MOU คืออะไร ? “บันทึกความเข้าใจ” หรือ “เอ็มโอยู” (MOU-Memorandum Of Understanding) เป็น “บันทึกความเข้าใจ” หมายถึง หนังสือ ซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใด และตามเงื่อนไขที่ปรากฏในหนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหนึ่ง โดยที่หนังสือนี้ ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ลงนามว่าจะปฏิบัติดังที่ได้ระบุไว้ 4


Special Story

ข็ง

อเข้มแ ภ เ ำ � อ น า ง ำ � ท คิดการ

ระเมินตนเอง ป บ บ แ ก า จ ็ ง ข บคุมโรคเข้มแ ว กรอบแนว ค อ ภ เ ำ � อ ะ ในจังหวัด ่งความส�ำเร็จ ลักษณ อ ห ณ ุ ภ แ เ ค ย ั ำ � บ จ อ า จ ั ง ร ป อ ท ะ ข ล ค อ แ 1. อ�ำเภ การควบคุมโร รด�ำเนินงาน า พ า ก ภ บ ็จ ขยายผล ย บ ร ก ั แ เ ศ ำ � ป ู ร บ ส า บ ม ร า า ร ท ว ท ค ง ่ ด ั 2. จังหว และปัจจัยแห ุมโรค (สคร.) พ ค า บ ภ ว ย ค ก ั น ั ศ ก ง น อ ้ า ป บการด�ำเนินง 3. ส�ำนักงาน บ แ ป ู ร บ า ร ท รค กรมควบคุมโ . 4 ระกอบด้วย

ยืน ป ง ่ ั ย บ บ แ ง ็ ข แ รคเข้ม โ ม ุ ค บ ว ค อ ภ เ ฑ์)อ�ำ ณ ก เ ( ” ะ ณ ษ ก ั ัยสุขภาพ ภ ะ ล แ ระชาชน ค ป ร “คุณล ค โ า ม ุ ภ ค ะ บ ล ว แ ค . น ั ปท งก

ารป้อ ไปปฏิบัติงาน ก่ภาครัฐ อ ม ุ แ ้ ช ด ะ ไ ร น ป ว ่ ร ส มีคณะกรรมก า ค ก . า 1 ก ภ ีการน�ำผลจา ะกอบจากทุก ม ร / ป ์ ค ม ุ ง ช อ ี ะ ม ร ป 1.1 ายงานผลการ /ร ม ุ ช ะ ร ป ร 1.2 มีกา ิทยาที่ดี ว ด า บ ยาที่ดี ะ ร ท ิ ว บ ด บ า ะ บ ะ มีร ร . ง 2 า ดับต�ำบล) ่าวสารท ะ ข /ร ล ู อ ม ภ อ ้ เ ข ำ � บ อ บ บ ั ะ 2.1 มีร ิทธิภาพ (ระด ส ะ ร ป ี ม ่ ี ท T R ัยสุขภาพ ภ ะ ล แ 2.2 มีทีม SR ค ร โ ม ุ ป้องกันควบค ที่เป็นปัญหา น พ า ผ แ ภ ง ข ุ า ส ว ย ั ร า ภ ะ ก ี นภาวะฉุกเฉิน ล ม ใ แ . พ ค 3 า ร โ ภ ข ุ น ั ส ก (อปท. / ง ย ั อ ้ /ภ ป ม ค ร ม ุ ร ร ค โ ธ บ ม ุ ป ู ว ค ร ค บ น ็ น ว ป ผ ค เ แ ี 3.1 ม านที่เกี่ยวข้อง มความพร้อม ง ย ี ย ร ว ่ ต เ น ห น ั ก ก า ง จ อ ้ ุนงบประมาณ 3.2 มีแผนป น ส บ ั น ส ร า ก ิวาตกโรค / อ ื ห ร /อ ห น ุ ) ก ท ฯ อ ม ล อ ด ฯ ด ะ 4. มีการร (เช่น ไข้เลือ รเอกชนอื่นๆ ก ์ า ค ง ห ญ /อ ั P ป P น ็ ป น ุ เ งท คที่ส�ำคัญหรือ ร สปสช./กอ โ น ั ก ง อ ้ ป ม ุ ควบค มีผลงานการ . 5 วัณโรค ฯลฯ)

5


Special Story

“หัวใจสำ�คัญในการดำ�เนินงานป้องกันควบคุมโรค คือ การพัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรค เคลื่อนที่เร็ว ( SRRT) ในระดับตำ�บล ซึ่งเป็นบทบาทที่สำ�คัญอย่างหนึ่งของการดำ�เนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำ�บล(รพ.สต.) และแปลงสู่การปฏิบัติ โดยเตรียมการ พัฒนาทักษะผู้ปฏิบัติงานทุกระดับรวมทั้ง กลุ่ม อสม. ทีมSRRT ในระดับตำ�บล อำ�เภอ ให้สามารถรับมือกับปัญหาการระบาดของโรคสำ�คัญในพื้นที่ด้วยความเชื่อมั่น” นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข สนใจข้อมูลเพิ่มเติม ติดตามที่เว็บไซต์สำ�นักจัดการความรู้ www.kmddc.go.th คลิก แบนเนอร์ด้านซ้ายมือ 6


KM Focus

เทศกาลแห่งความสุข.... ส�ำหรับการเปลี่ยนแปลง เมื่อเทศกาลแห่งการเปลี่ยนแปลงมาถึง ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลงของศักราชใหม่ นั่นหมายถึง “การต้อนรับปีใหม่” ซึ่งเป็นเทศกาลที่หลายๆ คนรอคอยเพราะเปรียบเสมือนว่า เป็นการเริ่มต้นของสิ่งใหม่ๆแต่มีบางคนที่อาจจะไม่ชอบการเปลี่ยนแปลงมากนัก อาจเป็นเพราะ ความรู้สึกที่คุ้นชินกับสิ่งเดิมๆ ที่คิดว่าดีอยู่แล้วก็ไม่อยากให้มีอะไรเปลี่ยนแปลงนั่นเพราะคิดว่า “ความยุ่งยากจะต้องบังเกิดแน่นอนถ้าการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น” แต่ทุกอย่างก็ต้องเริ่มมาจากจุด start ทัง้ นัน้ ฉะนัน้ การเปลีย่ นแปลงจึงไม่นา่ กลัวเท่าไหร่ถา้ เราคิดว่าทุกคนก็ตอ้ งเริม่ ต้นจากจุด start เหมือนกันกว่าที่จะมาถึงวันนี้ได้ แต่เราจะมาดูกันว่าจะท�ำอย่างไรให้ดีที่สุดเมื่อการ เปลี่ยนแปลงมาถึง อย่างแรกที่จะแนะน�ำคือ “การท�ำใจ” และเปลี่ยนทัศนคติที่ไม่ดีเพื่อสร้าง ทัศนคติใหม่ การท�ำตัวให้มีความสุขท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงนั้น สามารถท�ำได้ถึงแม้ว่าอาจจะดูไม่ ง่ายนักแต่ก็คงไม่ยากเกินไปซึ่งแล้วแต่ว่าใครจะเผชิญอะไรอยู่ อย่างเช่นการเปลี่ยนแปลงการ ท�ำงานภายในองค์กรนัน้ อาจท�ำให้หลายๆคนในองค์กรอาจจะต้องร้อง (ว้า!!) เลยก็ได้ เพราะนัน่ หมายถึงการปรับการท�ำงานใหม่ที่เราอาจจะไม่ถนัด แต่เมื่อเวลานั้นมาถึงเราจะสามารถท�ำอะไร อย่างไรกับสิ่งที่เผชิญอยู่ตรงหน้าได้บ้าง ฉบับนี้ผู้เขียนได้บังเอิญไปอ่านเจอบทความดีๆ เกีย่ วกับการท�ำอย่างไรให้มคี วามสุขมาฝากซึง่ อาจจะสามารถไปประยุกต์ใช้กบั การท�ำงาน หรือใน ชีวิตประจ�ำวันด้วยก็ได้ ซึ่งในบทความเขาได้กล่าวถึงเคล็ดลับแห่งความสุข ไว้ตามนี้คือ

7


KM Focus

ท�ำตนให้เป็น “ผู้ใฝ่รู้” อยู่เสมอ

สร้างกัลยาณมิตร

ละความโกรธ เกลียดลงบ้าง และรู้จักให้อภัย

รักและพอใจในงานที่ท�ำ

การรู้จักเป็น “ผู้ให้”

การปรับเปลี่ยนความคิดหรือทัศนคติ

อย่าหวังมากจนเกินไป ให้ตั้งความหวังในสิ่งที่เป็นไปได้ นีเ่ ป็นเพียงส่วนหนึง่ ของการปรับเปลีย่ นแนวคิดเพือ่ ให้ชวี ติ มีความสุข แต่สงิ่ ทีต่ งั้ ต้นจริงๆ ก็คือตัวของเราเองถ้าเราคิดและยอมรับกับการเปลี่ยนแปลงได้ ไม่ว่าการเปลี่ยนแปลงจะมา ในสถานการณ์ใดก็สามารถรับมือกับมันได้แน่นอน แค่ยอมรับและเตรียมตัง้ รับให้พร้อมก็เท่านั้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงบางคนมองไปในแง่ลบ แต่จริงๆแล้วการเปลี่ยนแปลงก็มีมุมมองในด้านที่ดี เหมือนกัน อย่างน้อยๆ ก็ทำ� ให้เราไม่อยูก่ บั ทีแ่ ละมีการพัฒนาต่อยอดไปเรือ่ ยๆ การเปลีย่ นแปลง จึงไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัวเสมอไปการเปลี่ยนแปลงในบางครั้งอาจเป็นช่วงเวลาแห่งความสุขก็เป็นได้ คุณว่าจริงไหมคะ... ส�ำนักจัดการความรู้ก็ขอเป็นหนึ่งก�ำลังใจส�ำหรับผู้ที่ก�ำลังเผชิญปัญหาในเรื่องดังกล่าว เพียงแค่หยุดคิดและปรับแนวคิดสักเล็กน้อย เชื่อได้ว่าความสุขคงอยู่ไม่ไกลเกินเอื้อมแน่นอน

AR E Y W E N Y HAPP

1 1 0 2

8


All About Learning

All About Learning สวัสดีผอู้ า่ นทีร่ กั ทุกท่านคะ เมือ่ ไม่นาน มานี้ ผู้เขียนมีโอกาสไปงานคืนสู่เหย้าเมื่อตอน เรียนปริญญาตรี กลับไปเจอบรรยากาศเก่าๆ ไปกราบครูผมู้ พี ระคุณ พบปะเพือ่ นๆ พีๆ่ น้องๆ เป็นช่วงเวลาทีด่ จี ริงๆ ค่ะ และนอกจากจะได้พบ ช่วงเวลาที่มีคุณค่าแล้ว ผู้เขียนยังได้ข้อคิดจาก คุณครูของผู้เขียนมาฝากทุกท่านด้วยนะคะ คุณครูท่านนี้ ถือเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิก งานอนามัยชุมชนค่ะ ท่านบอกว่า “จำ�ไว้นะ ลูก อย่าท้อ...ที่จะทำ�ความดี แม้จะไม่มีใครเห็น แต่ตัวเราภูมิใจที่ได้ทำ�” ผู้เขียนได้ฟังแล้ว ก็ คิดได้ถึงความจริงของสังคมไทยเลยค่ะ เพราะ ตอนนี้คนไทยเริ่มท้อที่จะทำ�ความดีกันแล้ว มี หลายครั้งที่รู้สึกว่า จะทำ�ดีไปเพื่ออะไร ไม่เห็น ได้อะไรคืนมาเลย สู้อยู่เฉยๆ ไม่ทำ�อะไรดีกว่า แต่ก็ลืมคิดไปว่า แท้จริงแล้วความสุขของการ ได้ ทำ�ความดี คื อ การรู้ สึ ก ภู มิ ใ จที่ เ ราได้ ทำ� ต่างหาก

ตลอดทั้งปีที่ผ่านมา ท่านผู้อ่านเคย รูส้ กึ ท้อกันบ้างหรือเปล่าคะ? เหนือ่ ยกับสิง่ ทีเ่ รา พยายามท�ำแต่ไม่มีใครเห็นหรือเปล่า? หวังว่า ท่านผู้อ่านคงจะยังไม่ท้อต่อการท�ำความดีนะคะ เพราะถึงไม่ไม่ใครเห็น แต่สงิ่ ทีเ่ ราท�ำก็ยงั เกิดขึน้ อยู่บนโลกใบนี้ค่ะ เริ่มต้นปีใหม่กับการท�ำความดี และ ขอสิ่ ง ดี ดี เกิ ด ขึ้ น กั บ ทุ ก ท่ า นในโอกาสนี้ สวัสดีปีใหม่ค่ะ :D By… Hataraki Man

9


IT Tip

กู้ข้อมูลกลับมา!! ด้วย

Recuva

หลายๆคนคงเคยมีปัญหา .. ท�ำไมไฟลใน Thumb Drive หายไป !! เผลอลบไฟลไปแล้วท�ำยังไง !! วันนี้ WaTZon Direct ขอเสนอ.. โปรแกรม Recuvaaaa..aa.a…. (ท�ำเสียงเหมือน TV Champion จะได้อารมณ์มาก) เราสามารถที่จะดาวน์โหลดโปรแกรมตัวนี้ได้ที่เว็บไซต์ของ Recuva ที่ URL: http://www.piriform. com/recuva/download ซึ่งเป็นโปรแกรมฟรี ถูกลิขสิทธิ์นะครับ

หลังจากเราดาวน์โหลดมาแล้ว ดับเบิลคลิกที่ไฟลเพื่อท�ำการ ติดตั้งครับ โดยโปรแกรมจะให้เลือกภาษา ให้เลือกภาษาอังกฤษ แล้วกด OK แล้วก็กด Next -> I Agree -> Next พอถึงตรงนี้ โปรแกรมจะถามว่าเราจะลง Google Toolbar รึเปล่า... ก็แล้วแต่ คนชอบครับ แต่ผมแนะน�ำว่าไม่ต้องลง เพราะมันจะหนักเครื่อง โดยใช่เหตุครับ ถ้าไม่ลง (เหมือนผม) โดยให้คลิก๊ เครือ่ งหมายถูก ตรงช่อง Install Google Toolbar ออก แล้วกด Install ที่ปุ่มด้านล่าง หลังจากนั้นก็เสร็จแล้วครับ

เมื่อเราเปิดโปรแกรม Recuva (ซึ่งจะอยู่บน Desktop, Start Menu หน้าตาแบบนี้ ) โปรแกรมจะมี Wizard (ระบบการใช้งานพื้นฐานแบบง่ายๆ) ขึ้นมาให้เรา หลังจากกด Next โปรแกรมจะถามว่าเราจะกู้ไฟลอะไรขึ้นมาซึ่งจะมี หลายประเภท ทั้งรูปภาพ (Pictures), เพลง (Musics), เอกสาร เช่น พวกไฟล Word และ Excel (Documents), วิดีโอ (Video), ไฟลบีบอัดต่างๆ (Compressed) หรือถ้าไม่แน่ใจ ก็เลือกทัง้ หมดได้เลย (Other) แล้วคลิก Next 10


ต่อมาโปรแกรมจะให้เลือกว่า เราจะกู้ไฟลที่ไหน ซึ่งสามารถเลือกได้ว่าจะกู้จากโฟลเดอร์ต่างๆ, จาก ถังขยะ หรือแม้กระทั่งจาก IPod ส�ำหรับตอนนี้ผมแนะน�ำให้เลือก In a Specific Location โดยเลือกไปที่ Drive I ซึ่งเป็น Thumb Drive ของผมเองหลังจากนั้นก็คลิก Next และ Start ระบบจะท�ำการค้นหาชื่อไฟล ที่หายไป

เมื่อเราเจอไฟลที่จะกู้ เราก็ท�ำการเลือกที่ไฟลนั้นๆ และกด Recover ระบบก็จะถามว่าเราจะเอาไฟล ที่กู้แล้วไปไว้ที่ไหน ให้เราเลือกที่เก็บไฟลให้เรียบร้อย แล้วคลิก OK ไฟลนั้นก็จะถูกกู้คืนมาครับ

โอกาสที่จะกู้ไฟลคืนมานั้น ขึ้นอยู่กับว่า อุปกรณ์ที่เรากู้นั้นมีการเขียนข้อมูลลงไปหลังจากไฟลที่จะกู้ ถูกลบไปมากหรือน้อย (ง่ายๆก็คือ หลังจากเราลบไฟลหรือไฟลใน Thumb Drive หายไปแล้ว เรามีการบันทึก อะไรเพิ่มเติมลงใน Thumb Drive ตัวนั้นอีกหรือไม่) ถ้าไม่มี โอกาสที่ไฟลจะกู้ได้ก็มีสูงครับ (หรือถ้าลบปุ๊บ เอามากู้ปั๊บเลย โอกาสกู้ได้ยิ่งสูงงงงงงขึ้นไปอีก) ลองไปใช้กันดูนะครับ ส�ำหรับโปรแกรมกู้ไฟลฟรีๆ (และดีๆ) แบบนี้ ... ช่วงนี้อากาศหนาวแล้ว ดูแลสุขภาพกันดีๆนะครับ พักผ่อนให้เพียงพอ อย่า(ดูซรี สี เ์ กาหลีจน)นอนดึก ออกก�ำลังกายบ่อยๆ (แต่ไม่แนะน�ำ การวิ่งเพราะตื่นสาย) มีปัญหาการใช้งานโปรแกรม ส่งอีเมลมาถามได้ที่ watzon@msn.com ตลอด 24 ชั่วโมง (แต่ตอบเมื่อไรนี่เป็นอีกเรื่องนะครับ อิอิ) ขอบคุณครับ 11


คลีนิกวิจัย

คลินิกวิจัย By...dek anamai

สำ�หรับ

ข้าราชการอย่างเราๆ ท่านๆ นั้น เดือนธันวาคม ถือเป็นเดือนสุดท้ายของไตรมาสแรก ที่พวกเราจะได้ใช้จ่ายงบประมาณตามโครงการที่กำ�หนด ซึ่งโครงการวิจัยก็เป็น เช่น นั้นด้วย แต่แตกต่างจากโครงการอื่นก็ตรงที่โครงการวิจัยต้องผ่านการอนุมัติของคณะกรรมการจริยธรรม การวิจัย กรมควบคุมโรคก่อน ถึงจะได้รับงบประมาณ ซึ่งนักวิจัยก็ทราบกันดีอยู่แล้ว แต่ปีงบประมาณ 2554 พิเศษตรงที่งบรายจ่ายอื่น ได้รับงบประมาณน้อยกว่าปีที่แล้ว (ปี 53 ได้งบฯ 49.78 ล้านบาท ปี 54 ได้งบฯ 45.93 ล้านบาท) โครงการวิจัยปี 54 จึงต้องมีการปรับลดงบประมาณกันใหม่ เพื่อให้สอดคล้อง กับงบประมาณที่กรมฯได้รับจัดสรร ซึ่งถ้าดูข้อมูลกันแล้วจะเห็นว่ากรมฯ ได้รับการจัดสรรงบรายจ่ายอื่น น้อยลงทุกปี ดังตารางข้างล่าง

วงเงินงบประมาณที่กรมควบคุมโรคได้รับการจัดสรรในระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา หน่วย : ล้านบาท

ปี 2550

ปี 2551

ปี 2552

ปี 2553

ปี 2554

62.00

65.21

57.83

49.78

45.93

จึงทำ�ให้กรมฯ ไม่สามารถจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการวิจัยที่เสนอมาทั้งหมดได้ กรมฯ จึงพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการวิจัยที่ตอบคำ�ถามงานวิจัยสำ�คัญ ๆ สามารถนำ�ไปเป็นนโยบาย หรือก่อให้เกิดผลกระทบทางสุขภาพแก่ประชาชน ซึ่งในปี 2553 – 2554 กรมฯ ริเริ่มโครงการวิจัยประเภท Multicenter คือการทำ�วิจัยขนาดใหญ่ ดำ�เนินการศึกษาในหลายพื้นที่ เพื่อนำ�มาเป็นนโยบายในการดำ�เนิน งานเรือ่ งนัน้ ๆ โดยคัดเลือกจากโครงการวิจยั ทีน่ กั วิจยั เสนอมาในเรือ่ งทีค่ ล้ายๆ กัน ให้มาทำ�วิจยั ร่วมกัน แล้ว หา focal point ในการศึกษาวิจัย อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากรมฯ จะได้รับงบประมาณเพื่อสนับสนุนโครงการวิจัยน้อยลงทุกปี แต่กรมฯ ก็ยังคงมุ่งมั่นที่จะพัฒนางานวิจัยของกรมควบคุมโรคให้เป็นที่ยอมรับ น่าเชื่อถือของทั้งในและต่างประเทศ ต่อไป 12


QA

Q&A

ถามมา....ตอบไป

รูปแบบที่ 1 1. ขั้นการหาข้อมูลเบื้องต้น 2. ขั้นพัฒนาโครงร่างวิจัย การวิจัยคืออะไร ? การวิ จั ย หมายถึ ง การศึ ก ษา 3. ขั้นด�ำเนินการเก็บข้อมูล ค้นคว้าอย่ า งเป็ น ระบบด้วยวิธีการทาง 4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล วิทยาศาสตร์หรือวิธีการที่เชื่อถือได้ ซึ่ง 5. ขัน้ สุดท้าย การเขียนรายงาน วิจยั งานวิจัยแต่ละชิ้น มีความเป็นระบบและ เชื่อถือได้มากน้อยแตกต่างกัน การวิจัย กับการค้นคว้าจึงเป็นเรื่องเดียวกัน และ การวิ จั ย ที่ ดี ต ้ อ งเริ่ ม จากการค้ น คว้ า มาก่อน

8. ใช้บทคัดย่อน�ำทาง – คิดให้ชัด จัดล�ำดับความส�ำคัญ 9. น� ำ เสนออย่ า งสร้ า งสรรค์ – สือ่ สารความรูส้ กู่ ารเปลีย่ นแปลง 10. มุ ่ ง มั่ น สู ่ ขั้ น เทพ – เดิ น ทาง หมื่นลี้เริ่มต้นที่ก้าวแรก

กระบวนการ/ขั้นตอนการท�ำวิจัย

สรุปกระบวนการ / ขัน้ ตอนการวิจยั ประกอบด้วย 1. ก�ำหนดปัญหาการวิจัย 2. ก� ำ หนดวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการ วิจัย รูปแบบที่ 2 3. ก�ำหนดขอบเขตการวิจัย 10 ขั้นตอนง่ายๆ สู่นักวิจัยชั้นเทพ 4. ก�ำหนดกรอบแนวคิดการวิจัย/ 1. เริ่มต้น – หาเรื่องที่ใช่ ประเด็น ทบทวนวรรณกรรม วิจัยที่ชอบ 5. ก�ำหนดสมมติฐานการวิจัย 2. ค้นคว้า – ก่อนลงมือวิจยั รูอ้ ะไร 6. การออกแบบการวิจัย อยู่ก่อนบ้าง 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล 3. หาเป้า - อยากรู้อะไรอีก จากที่ 8. การประมวลผลและวิเคราะห์ผล ไปค้นคว้ามา 9. การเขียนรายงานวิจัย 4. เหลาโจทย์ – ลับค�ำถามวิจัยให้ รู้ไว้ใช่ว่า... ใส่บ่าแบกหาม แหลมคม หากเรียนรูต้ ามทฤษฎีกระบวนการ 5. ก�ำหนดวิธีการ – เลือกวิธีหา วิจัย ข้างต้น ก็อาจเกิดความยากล�ำบาก ข้อมูลมาตอบค�ำถาม และเป็นอุปสรรคกับการพัฒนางานประจ�ำ 6. ท�ำงานภาคสนาม – เก็บข้อมูล สูง่ านวิจยั (R2R) เราจึงขอเสนอรูปแบบของ ให้เป็นระบบ อาจารย์หมอโกมาตร (นายแพทย์โกมาตร 7. ถามหาความรูใ้ หม่ – ข้อมูลทีไ่ ด้ จึงเสถียรทรัพย์) ท่านแบ่งไว้งา่ ยๆ 2 แบบ บอกอะไรใหม่ คือ สนใจข้อมูล : โครงการพัฒนางานประจำ�สู่งานวิจัย (R2R) สำ�หรับบุคลากรฝ่ายบริหารทั่วไป กรมควบคุมโรค http://www.kmddc.go.th/R2R หรือ www.facebook.com/R2RDDC

โครงร่างงานวิจยั (Proposal) ทีค่ วรรู.้ ..

เมื่ อ เราคิ ด ที่ จ ะวิ จั ย สิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ย ก�ำ หนดความคิ ด ให้ มี ร ะบบเป็ น ขั้ น เป็ น ตอน คือ โครร่างงานวิจัย โดยส่วนใหญ่ ผู้ท�ำวิจัย จะเขียนโครงร่างฯ ซึ่งมีส่วน ประกอบหลักๆ ได้แก่ 1. ชื่อโครงการ 2. วัตถุประสงค์ 3. หลักการและเหตุผล 4. การทบทวนวรรณกรรม 5. วิธีการวิจัย 6. ตารางการด�ำเนินงาน 7. บรรณานุกรม 8. งบประมาณ

13


KM & Network Activity ภาพบรรยากาศ การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การจัดการความรู้เพื่อสนับสนุน 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปี 2554” หน่วยงานสคร. เมื่อวันที่ 12-15 ธันวาคม 2553 ณ ศูนย์อบรมงานอภิบาล “บ้านผู้หว่าน” อ.สามพราน จ.นครปฐม และหน่วยงานส่วนกลาง เมื่อวันที่ 27-28 ธันวาคม 2553 ณ โรงแรมโกลเดน ดรากอน อ.เมือง จ.นนทบุรี

ภาพบรรยากาศการอบรม “เครือข่าย R2R ชาวบริหาร กรมควบคุมโรค ” ระยะที่ 1 รุ่นเก็บตก และระยะที่ 2 รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 25-27 พฤศจิการยน 2554 ณ ศูนย์อบรมงานอภิบาล “บ้านผู้หว่าน” อ.สามพราน จ.นครปฐม เพื่อทบทวนปรับปรุงการเขียนโครงร่างงานวิจัย ออกแบบเครื่องมือ ที่จะใช้และวิธีการเก็บข้อมูล รวมถึงประยุกต์ ใช้ โปรแกรมสำ�เร็จรูป Excel ในการสร้างแบบบันทึกข้อมูล และคู่มือลง รหัสตัวแปรข้อมูล

สำ�นักจัดการความรู้ลงพื้นที่สัมภาษณ์ผู้มีประสบการณ์การดำ�เนินมาตรการ ตอบโต้โรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ในเรือนจำ�จังหวัด และโรงเรียนที่มีการระบาด ในเขตพื้นที่จังหวัดนครนายก วันที่ 20 มกราคม 2554 และจังหวัดสระบุรี วันที่ 26 มกราคม 2554 เพื่อนำ�ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดเวที “ถอดบทเรียนมาตรการตอบสนองต่อการระบาดใหญ่ของไข้หวัดใหญ่”

สำ�นักโรคติดต่อทั่วไปและสำ�นักจัดการความรู้ ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ KM เพื่อจัดทำ�แผนการจัดการความรู้ปี 54 ของหน่วยงาน เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2553 ณ ห้องประชุมสำ�นักโรคติดต่อทั่วไป


KM Hotline

ตัวชี้วัด VS แผนKM เริ่มศักราชใหม่หลายๆ ท่านก็ต้องวุ่นวายกับการทำ�ความเข้าใจกับตัวชี้วัด สำ�นักจัดการความรู้ ในบทบาทผู้กำ�กับตัวชี้วัด “ระดับความสำ�เร็จของการจัดการความรูข้ องหน่วยงาน” ได้รบั โทรศัพท์กริง๊ กร๊าง จากหน่วยงานต่างๆ โทรเข้ามาทักทาย วันนีเ้ ราเลย ถือโอกาสรวบรวมคำ�ถามยอดฮิตที่ส่งเสียงมาทางโทรศัพท์มาบอกเล่ากันนะคะ Q : จะจัดการความรู้เรื่องอะไรดี? A : หน่วยงานกำ�หนดเป้าหมาย KM ที่ต้องการ(เพื่อแก้ไขปัญหา /พัฒนางานให้ดีขึ้นหรือเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์หน่วยงาน) หลังจาก นั้นจึงกำ�หนด “องค์ความรู้จำ�เป็นของหน่วยงาน” (ที่คัดเลือกมาทำ�แผน KM) พร้อมอธิบายความเชื่อมโยงขององค์ความรู้กับ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัดและเป้าหมายตามคำ�รับรองหน่วยงาน Q : คำ�สั่งแต่งตั้งคณะทำ�งาน KM Team ประกอบด้วยใครบ้าง ? A: - ให้การสนับสนุนในด้านต่างๆ ประธาน - ให้คำ� ปรึกษา / แนะน�ำ /และร่วมประชุมเพือ่ ตัดสินใจแก่คณะท�ำงาน (CKO) ที่ปรึกษา ให้ค�ำปรึกษาเกี่ยวกับการด�ำเนินงาน/แก้ไขอุปสรรคต่างๆ

หัวหน้า KM Team

-

จัดท�ำแผน KM เพื่อน�ำเสนอประธาน รายงานผลการด�ำเนินงานแก่ประธาน ผลักดัน ติดตามความก้าวหน้าและปรับปรุงแก้ไข ประสานงานกับที่ปรึกษาและคณะท�ำงาน เลขานุการ - นัดประชุมคณะท�ำงาน /สรุปรายงานการประชุม - รวบรวมความคืบหน้าการด�ำเนินงาน - ประสานงานกับคณะท�ำงานและหัวหน้า

คณะทำ�งาน

- ดำ�เนินการตามแผนที่ได้รับมอบหมาย - รายงานความคืบหน้าในส่วนที่รับผิดชอบ - ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ความเห็น ช่วยเหลือในคณะทำ�งานอย่าง “กัลยาณมิตร”

หน่วยงานอาจก�ำหนด KM Team ตามความเห็นของหน่วยงานได้ องค์ประกอบที่น�ำเสนอเป็นเพียงตุ๊กตาให้พอมองเห็นภาพ ของทีมงาน KM ทั้งนี้ หน่วยงานต้องมี 2 ต�ำแหน่งหลัก คือ ประธาน (CKO)และหัวหน้า KM Team ท่านที่มีปัญหาในการด�ำเนินงานด้านการจัดการความรู้ ติดต่อมาที่กลุ่มพัฒนาองค์กร ส�ำนักจัดการความรู้ได้โดยตรงเลยนะคะ

ชื่อผู้ประสาน/เบอร์โทร

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

• วิภาวี ธรรมจ�ำรัส โทร 0 2590 3251-3 ต่อ 14 มือถือ 08 1442 6396 / veef4@hotmail.com

ส�ำนักระบาดฯ / ส�ำนักโรคเอดส์ฯ /ส�ำนักยาสูบ /กลุ่มตรวจสอบภายใน /สถาบันบ�ำราศฯ / กพร. /กองแผนงาน / สคร.1 / สคร.12

• วิภาวรรณ ศรีสุเพชรกุล โทร 0 2590 3251-3 ต่อ 18 มือถือ 08 5150 5119 / somkm@hotmail.com

ส�ำนักโรคไม่ตดิ ต่อ /ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพฯ / ส�ำนักงานฯแอลกอฮอล์ /กองการเจ้าหน้าที่ / ส�ำนักงานเลขานุการกรม / สคร.6 / สคร.7 / สคร.10

• วัฒนชัย ภุมรินทร์ โทร 0 2590 3251-3 ต่อ 17 มือถือ 08 4439 0384 / wat_wp@msn.com

ส�ำนักโรคติดต่อทัว่ ไป / ส�ำนักโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่ / ส�ำนักโรคติดต่อน�ำโดยแมลง / สนง.เผยแพร่ฯ /สถาบันราชประชาฯ / ศูนย์สารสนเทศ /สคร.4 / สคร.9

• อรณิชา สมิตทันต์ โทร 0 2590 3251-3 ต่อ 15 มือถือ 08 7674 4104 / softsoft12@hotmail.com

ส�ำนักวัณโรค / กองคลัง / สคร.2 / สคร.3 / สคร.5 / สคร.8 / สคร.11



KM 360 องศา

แบบสอบถามเพื่อการพัฒนาจุลสาร 1. เพศ √ ชาย √ หญิง 2. อายุ……………………ปี 3. หน่วยงาน……………………………………………………..……จังหวัด.....................………............. 4. ท่านรู้จักจุลสาร KM on Street จาก…(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) √ ส่งมาให้ท่านโดยตรง √ ส่งไปให้หน่วยงาน √ อ่านทางอินเตอร์เน็ต √ อื่นๆ(โปรดระบุ)....................................................................... 5. คอลัมน์ / เนื้อหาในเล่ม ส่วนที่ท่านชอบมากที่สุดคือ........................................................................ เพราะ………………………………………………………………………………………….………………… ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………................... 6. คอลัมน์ที่ท่านอยากให้คงไว้เช่นเดิม (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ) √ Special Story √ KM Focus √ IT Tip & Trick √ เก็บตก √ All about learning √ Q&A √ Sharing Varieties √ The Star √ KM & Network Activities (ภาพกิจกรรม) √ Your life…Your Style √ มุมนี้มีรางวัล √ KM Focus √ เปิดหน้าต่างความคิด √ พบแพทย์หญิงวรรณา √ คลินิกวิจัย 7. ท่านอยากจะให้จุลสาร KM on Street ปรับปรุงพัฒนาเนื้อหาเพิ่มคอลัมน์ หรือรูปแบบอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………................... 8. ข้อแนะน�ำอื่นๆ / สิ่งที่อยากบอกถึงทีมบรรณาธิการ........................................................................... ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………................... ………………………………………………………………………………………………………...................

ตอบแบบสอบถาม แล้วส่งมาที่ส�ำนักจัดการความรู้ อาคาร 2 ชั้น 3 กรมควบคุมโรค อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 หรือ โทรสาร 0 2965 9610 หรือส่งอีเมล์มาที่ kmonstreet@kmddc.go.th เรามีของที่ระลึกเป็นผ้าขนหนู 10 รางวัล ที่ห้อยโทรศัพท์มือถือเก๋ๆ 12 รางวัล ส�ำหรับผู้โชคดี ส่งกันมาเยอะๆ นะคะ ช่วยกันติ แนะน�ำข้อปรับปรุง พัฒนามาเยอะๆ เลยค่ะ

(หน้านี้ถ่ายเอกสารได้ค่ะ) 17


พบ แพทย์หญิง วรรณา กล่าวถึงเครื่องมือ KM หลายชิ้นเช่น การท�ำ After Action Review (AAR) ซึ่งรวมถึง BAR DAR คือ Before และ During Action Review, การแลกเปลีย่ นเรียนรู,้ การมีชมุ ชน นักปฏิบัติ (Community of practice) ตลาดนัดความรู้ พญ.วรรณา หาญเชาว์วรกุล การมีคลังความรู้ ฯลฯ สิ่งเหล่านี้มันคืออะไร มันเคยมีการใช้ งานมาก่อนหรือไม่ และท�ำไมจึงเรียกว่าเป็นเครื่องมือจัดการ เดือนทีผ ่ า่ นมา ผูเ้ ขียนมีโอกาสได้รว่ มประชุม ความรู้ แต่ผเู้ ขียนก็ไม่ได้หยิบยกประเด็นดังกล่าวแลกเปลีย่ น กับผู้รับผิดชอบงานจัดการความรู้ของหลายกรมในกระทรวง ในที่ประชุม ท่านอาจารย์ประพนธ์ ผาสุขยืด จากสถาบัน สาธารณสุข โดยส�ำนักงานสนับสนุนการจัดการความรู้ของ ส่งเสริมการจัดการความรูเ้ พือ่ สังคม ได้มาช่วยตกผลึกหลังจาก กรมอนามัยได้เป็นเจ้าภาพจัดให้มกี ารพูดคุยเรือ่ งตัวชีว้ ดั ความ ฟั ง ประสบการณ์ ข องหน่ ว ยงานด้ ว ยประโยคแนวเซนว่ า ส�ำเร็จของการจัดการความรู้ ในเวทีดงั กล่าวมีผรู้ บั ผิดชอบการ การจัดการความรู้คงเหมือนกลไกหล่อลื่นการท�ำงานทุกสิ่ง จั ด การความรู ้ ข องกรมอนามั ย กรมสุ ข ภาพจิ ต และ การจัดการความรู้จึงหมายถึงทุกสิ่ง และเมื่อมันหมายถึง กรมควบคุมโรคได้พดู คุยแลกเปลีย่ นประสบการณ์การจัดการ ทุกสิง่ มันจึงไม่หมายถึงสิง่ ใด ฟังแล้ว KM มือใหม่ (อย่างผูเ้ ขียน) ความรู้ของหน่วยงานต่างๆ และได้เชิญกูรูของการจัดการ ก็เอ๋อ จากนั้นก็ดีใจว่ายังมีโจทย์ให้ขบคิดว่า KM มันคืออะไร ความรู้มาช่วยตกผลึกประเด็นการพูดคุย จึงนับเป็นโอกาส กันแน่ และนี่แหละที่ท�ำให้ KM น่าสนใจ อาจารย์สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ ได้กล่าวในที่ประชุมว่า อันดีส�ำหรับผู้เขียนในการเรียนรู้และติดตามความก้าวหน้า ของการน�ำกระบวนการจัดการความรู้ของหน่วยงานอื่นๆ ลักษณะเด่นอันหนึ่งของ KM คือ การให้ความส�ำคัญกับ ในการพัฒนางาน ในงานนีก้ รมอนามัยได้เชิญศูนย์อนามัยที่ 11 ความรู้ที่ติดตัวบุคคล (Tacit knowledge) ซึ่งการให้ความ จังหวัดนครศรีธรรมราช มาน�ำเสนอแนวคิดการจัดการความ ส�ำคัญกับ Tacit เป็นวัฒนธรรมของโลกตะวันออกอย่าง ั นธรรม รู้ โดยศูนย์อนามัยฯได้ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในการ ประเทศแถบเรา โดยมีญปี่ นุ่ เป็นตัวอย่างประเทศทีม่ วี ฒ ท�ำงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆและขับเคลื่อนให้หน่วยงานและ ให้ความส�ำคัญกับ Tacit knowledge อย่างมาก ผู้เขียนจึง ผู้เกี่ยวข้องในท้องถิ่นได้พัฒนาภารกิจการส่งเสริมสุขภาพ เข้าใจว่า KM จึงน่าจะเป็นเครื่องมือที่เข้ากับวัฒนธรรมของ ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมได้อย่างก้าวหน้าโดยผลงาน ไทยได้ดี ข้อสังเกตอีกเรื่องของท่านอาจารย์ยิ่งน่าสนใจ คือ ที่เกิดขึ้นองค์กรท้องถิ่นก็ได้มีความภาคภูมิใจในความส�ำเร็จ ท่านกล่าวว่า เครื่องวัดที่เป็น Subjective เป็นมาตรวัดที่ ของผลงานและการเป็ น เจ้ า ภาพ ศู น ย์ อ นามั ย ฯก็ ไ ด้ ง าน ทรงพลัง ยิ่ง Collective subjectivity น่าจะยิ่งทรงพลังมากขึ้น ที่ต้องการด�ำเนินการ ประชาชนในท้องถิ่นก็ได้รับบริการทาง ตามความเข้าใจของผู้เขียน ค�ำว่า subjective คงหมายถึง ด้านสุขาภิบาลที่ดี นอกจากนั้นศูนย์อนามัยฯยังมีการใช้ KM การวัดหรือประเมินโดยใช้ความรู้ ประสบการณ์และความเห็น วัดประสิทธิภาพของการท�ำงานของบุคลากรและสามารถใช้ ของบุคคล ซึ่งแตกต่างจากค�ำว่า objective คือการวัดที่ ประกอบการประเมินความดีความชอบของแต่ละบุคคล ใน สามารถชัง่ ตวงวัดด้วยมาตรวัด ผลการวัดจึงไม่ขนึ้ กับตัวบุคคล ส่วนของกรมสุขภาพจิตก็มีการใช้เครื่องมือ KM ในการ ผู้เขียนเห็นว่าทัศนดังกล่าวน่าสนใจและท้าทายมากเราควร พัฒนาการท�ำงานของแต่ละหน่วยงานโดยทุกหน่วยงานจะมี ขบคิดกับแนวคิดนี้อย่างจริงจัง ตัวอย่างเช่น การประเมิน การก�ำหนด Chief Knowledge Officer (CKO) ของหน่วยงาน คนดีคนเก่ง ด้วยวิธี subjective มันคงไม่ยากในการเปรียบ อย่างชัดเจน ในส่วนของกรมควบคุมโรคก็มีการใช้ KM เทียบว่าผู้ใดเก่งหรือดีกว่าผู้ใด แต่หากจะให้ใช้วิธี objective ในการจัดการงานวิจัยและพัฒนาคนท�ำงาน KM ของหน่วย หลายๆครั้งเครื่องมือไม่สามารถบอกได้ว่าผู้ใดเก่งหรือดีกว่า งานย่อยในกรมควบคุมโรค ข้อสังเกตทีผ่ เู้ ขียนได้จากการเข้า เพราะบ่อยครั้งที่มาตรวัดที่มีอยู่สร้างมาไม่ละเอียดพอในการ ร่วมประชุมอันหนึ่งคือ เมื่อพูดถึงเครื่องมือ KM ผู้เขียน แยกแยะความเก่งและความดีทใี่ กล้เคียงกันมาก และนีค่ งเป็น นึกไม่ออกว่ามันคืออะไรบ้าง ระหว่างการประชุมได้มีการ อีกโจทย์หนึง่ ของ KM ในการท�ำ subjective ให้เป็น objective จะเห็นได้ว่ายังมีความท้าทายอีกมากที่รอผู้มาหาค�ำตอบและ ตั้งค�ำถามกับงานจัดการความรู้

การจัดการความรู้เป็นทุกสิ่ง การจัดการความรูจ้ งึ ไม่เป็นอะไรเลย

18


Your life...Your Style

เตรียมตัวอย่างไร....เมื่อหน่วยงานเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ ปีงบประมาณใหม่...โครงสร้างใหม่...งานใหม่ หลายคนกำ�ลังคิดว่าจะปรับตัวยังไง ลองไปดูความคิดเห็นจากพี่น้องเราดูก่อนนะคะ

“ศึกษาบทบาทหน้าที่ ของแต่ละกลุ่มงานตาม โครงสร้างใหม่ในวิสยั ทัศน์ใหม่ยทุ ธศาสตร์ใหม่ โดยเทียบเคียงกับของเดิม เพื่อให้ทราบถึง ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น จะได้รู้ว่าต้องท�ำ แผนเพือ่ ให้สอดคล้องยุทธศาสตร์ใหม่อย่างไร”

“เตรียมแรงใจให้พร้อม หาข้อมูลเพิ่ม เช่น กลุม่ ใหม่มกี ลุม่ อะไรบ้าง หน้าตา / ภารกิจงาน จะเป็นแบบไหน ตอบคำ�ถามตัวเอง และตั้ง คำ�ถามในกลุ่มเพื่อนที่ทำ�งาน โครงสร้างเก่า กับโครงสร้างใหม่ เหมือนหรือต่างกันอย่างไร ประมาณว่าลับสมองน่ะค่ะ”

“เตรียมย้ายของโดยการจัดให้เป็นหมวดหมู่ เพื่ อ ความสะดวกเพราะย้ า ยห้ อ งกั น ไปเลย เตรียมข้อมูลต่างๆ ที่จ�ำเป็นต้องใช้ในราย ละเอียดการท�ำงาน เช่น ต้องเปลี่ยนรายชื่อ คณะกรรมการ เพื่อใช้ในการจัดจ้าง ท�ำแผน กิจกรรม และแผนการใช้เงิน”

ศิริวรรณ อุทธา ส�ำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

ประภัสสร สุวรรณบงกช สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่

รุ้งลาวัลย์ ตรงกะพงศ์ ส�ำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่

สองภาพนี้มีจุดต่างอยู่ 9 จุด ใครหาพบแล้ว ส่งมาลุ้นรางวัลประจำ�ฉบับ ส่งคำ�ตอบ พร้อมชื่อและที่อยู่ของท่านมาที่ Kmonstreet@kmddc.go.th หรือ โทรสาร 0 2965 9610 หรือ ส่งมาที่สำ�นักจัดการความรู้ อาคาร 2 ชั้น 3 กรมควบคุมโรค อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 ผู้โชคดี 5 ท่าน รับเสื้อและสมุดเป็นของรางวัลไปเลยจ้า !!

1

2

ผู้โชคดีจากฉบับที่แล้ว เฉลยเงาของ บก. คือ ข.

1 คุณวันเพ็ญ เสถียรพานิช หน่วยควบคุมโรคติดต่อนำ�โดยแมลงที่ 5.4.1 ปากช่อง 2 คุณพูลศรี ศิริโชติรัตน์ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี 3 คุณสุดใจ ทองขันธ์ สำ�นักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 สระบุรี


ค ด ิ บ ว ก ง ั ล พ แห่งการ

สถานการณ์น�้ำท่วมที่ผ่านมา พี่น้อง ชาวกรมควบคุมโรคในส่วนภูมิภาคหลาย แห่ง ต้ อ งประสบกับปัญหา ทั้งในฐานะ ผู้ประสบภัยน�้ำท่วม และยังต้องท�ำหน้าที่ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ช่วยเหลือพี่น้องประชาชน ที่ประสบภัยเช่นกัน KM on Street ก็ขอ เป็นก�ำลังใจให้ทุกท่านนะคะ ถึงแม้ว่าน�้ำจะลดแล้ว ก็ต้องดูแลสุขภาพกันด้วยนะคะ ไม่วา่ จะเป็น สภาวะน�ำ้ กัดเท้า อาการคั น และโรคผิ ว หนั ง บางคนเป็นไข้หวัด ไข้หวัด ใหญ่ ปอดบวม โรคฉี่ ห นู โรคตาแดง ท้องร่วง อาหารเป็นพิษ และอีกหลายๆ ปัญหาที่มากับปัญหาหลังน�้ำลด

หลายคนให้ สั ม ภาษณ์ ท างข่ า ว โทรทัศน์ว่า “ปัญหาภัยธรรมชาติ ยากที่จะ หลีกเลี่ยงได้ เราคงต้องอยู่กับมันอย่าง เข้าใจ ยอมรับและดูแลตัวเองกับครอบครัว ให้ได้” ท�ำให้คิดถึงนางงามท่านหนึ่ง ที่ชอบ พูดว่า “ผู้หญิงคิดบวก...สวย” คนที่คิดสร้าง พลัง-ก�ำลังใจให้ตนเองและผู้อื่น สร้างความ รู้สึกดีต่อตนเองและผู้อื่น ค�ำว่า “สวย” ที่แท้จริงคือ การได้รับการยอมรับ จากผู้คน รอบข้าง การคิดเชิงบวก เป็นการคิดวิเคราะห์ หาส่วนดีของตนเอง คน สิ่งของ และงาน แล้วมาประสมประสานกัน เป็นการมองแบบ หาคุ ณ ค่ า ของสิ่ ง รอบตั ว บนพื้ น ฐานของ ความศรัทธา การให้เกียรติทั้งแก่ตนเอง และผู้อื่น และการมีส่วนร่วม ความคิ ด เชิ ง บวก ช่ ว ยสร้ า งแรง บั น ดาลใจ ส่ ง ผลให้ บุ ค คลเข้ า ใจชี วิ ต

I D E A I CA N วันนี้เรามีไอเดียการทำ�สันแฟ้ม “งานบุคลากร” ของ กลุ่มบริหารทั่วไปของสำ�นักจัดการความรู้ ไอเดียนี้เกิดขึ้นมาได้ เมื่อหน่วยงานเล็กๆ ของเรา คนเยอะขึ้นๆ เรื่อยๆ แฟ้มเอกสาร ของบุคลากรแต่ละคนก็เยอะขึ้นตามลำ�ดับ เวลาจะหาทีต้องคอย ตะแครงหัวอ่านชื่อคนที่สันแฟ้ม ....เมื่อยคอจัง ปิ๊งไอเดีย...ติดรูป เจ้าของแฟ้มไปซะเลย มองหารูปตรง ๆ ง่ายกว่าตะแครงหัวอ่าน เยอะเลย...เย้ๆๆ ไม่เมื่อยคอแล้ว หน่วยงานอื่นจะเอาไอเดียง่ายๆ แบบนีไ้ ปใช้กย็ นิ ดีนะคะ ไม่สงวนลิขสิทธิจ์ า้ ...แต่ถา้ ใครมีไอเดียดีๆ ทำ�ง่ายๆ แล้วงานดีขึ้น ง่ายขึ้น ขอแชร์ด้วยคนนะคะ ส่งไอเดียมา แลกเปลี่ยนกันบ้างนะคะ

สิ่งแวดล้อมรอบข้างและด�ำรงอยู่ได้อย่างมี ความสุข ชีวิตจริง เราไม่สามารถเลือกสภาพ แวดล้อม บรรยากาศและอารมณ์ของผู้คน รอบข้างได้ อาจจะมีทั้ง สุข ทุกข์ พอใจ ไม่พอใจ ปะปนกันไป ทั้งในชีวิตและในการ ท�ำงาน สิ่งที่เราจะท�ำได้คือ การจัดการกับ ความคิ ด นั้ น ให้ พ ร้ อ มที่ จ ะท� ำ สิ่ ง ที่ ดี ที่ สุ ด นั่นคือเราจะต้องตัดสิ่งที่ไม่ดีออกไปให้ได้ โดยการสร้างพลังใจให้ตนเอง รู้ว่าจะอยู่ อย่ า งไรให้ มี ค วามสุ ข มี ทั ศ นคติ ที่ ดี ต ่ อ ตนเอง เราจะต้องเปิดใจ สร้างความเข้าใจ สร้างความเชื่อใจและมั่นใจที่ จะท�ำสิ่งนั้นๆ ให้ส�ำเร็จ และ ก้าวผ่านสิ่งร้ายๆ ไปให้ได้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.