ค
นรักษ์ป่า
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
จัดทำโดย
2
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
ป่า
3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
“...ป่าไม้ทป่ี ลูกป่านัน้ สมควรทีจ่ ะปลูกแบบป่าใช้ไม้หนึง่ ป่าสำหรับ ใช้ผลหนึ่ง ป่าสำหรับใช้เป็นฟืนอย่างหนึ่ง อันนี้แยกออกไปเป็นกว้างๆ การที่จะปลูกต้นไม้สำหรับได้ ประโยชน์ดังนี้ ในคำวิเคราะห์ของกรมป่าไม้ รูส้ กึ จะไม่ใช่ปา่ ไม้ เป็นสวนหรือจะเป็นสวนมากกว่าป่าไม้ แต่ในความหมาย ของการช่วยเหลือเพือ่ ต้นน้ำลำธารนัน้ ป่าไม้เช่นนีจ้ ะเป็นสวนผลไม้ก็ตาม หรือสวนไม้ฟืนก็ตาม นั้นแหละเป็นป่าไม้ที่ถูกต้อง เพราะทำหน้าที่เป็นป่า คือ เป็นต้นไม้และทำหน้าทีเ่ ป็นทรัพยากร สำหรับให้ผลทีม่ าเป็นประโยชน์ แก่ประชาชน…”
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
“...การปลูกป่าสามอย่าง แต่ให้ประโยชน์สอ่ี ย่าง ซึง่ ได้ไม้ผล ไม้สร้างบ้าน และไม้ฟนื นัน้ สามารถให้ประโยชน์ได้ ถึงสีอ่ ย่าง คือนอกจากประโยชน์ในตัวเองตามชือ่ แล้ว ยังให้ ประโยชน์อนั ทีห่ นึง่ ซึง่ เป็นข้อสำคัญ คือสามารถช่วยอนุรกั ษ์ ดินและต้นน้ำลำธารด้วย...” “...การปลูกป่าถ้าจะให้ราษฎรมีประโยชน์ให้เขาอยู่ ได้ ให้ใช้วธิ ปี ลูกไม้สามอย่าง แต่มปี ระโยชน์สอ่ี ย่าง คือ ไม้ใช้ สอย ไม้กนิ ได้ ไม้เศรษฐกิจ โดยปลูกรองรับการชลประทาน ปลูกรับซับน้ำและปลูกอุดช่วงไหล่ตามร่องห้วย โดยรับน้ำฝน อย่างเดียว ประโยชน์ทส่ี ่ี คือได้ระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ...”
“...การปลูกป่าสำหรับใช้เป็นฟืนซึง่ ราษฎรจำเป็นต้อง ใช้เป็นประจำ ในการนีจ้ ะต้องคำนวณเนือ้ ทีท่ จ่ี ะใช้ปลูก เปรียบ เทียบกับจำนวนราษฎรตลอดจนการปลูกและตัดต้นไม้ไปใช้ จะต้องใช้ระบบหมุนเวียนและมีการปลูกป่าทดแทน อันจะ ทำให้มไี ม้ฟนื สำหรับใช้ตลอดเวลา...” พระราชดำรัสบางตอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เกีย่ วกับป่า 3 อย่างประโยชน์ 4 อย่าง ณ โรงแรมรินคำ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 7 มกราคม 2523
3
4
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
หลักการในการ
ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เป็นแนวคิดของการผสมผสานการอนุรักษ์ดิน น้ำ และการฟื้นฟู ทรัพยากรป่าไม้ ควบคูไ่ ปกับความต้องการด้านเศรษฐกิจและสังคม เพือ่ ป้องกัน มิให้เกิดการบุกรุกทำลายป่าไม้ อันเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารและส่งเสริมให้คนไทย รู้จักการนำทรัพยากรป่าไม้มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดำเนินชีวิต ป่า 3 อย่าง จำแนกออกได้ดังนี้ 1. ป่าไม้ใช้สอย อาทิ ไม้ไผ่ ไม้โตเร็วอย่างสะเดา เป็นต้น 2. ป่าไม้กินได้ ได้แก่ไม้ผล และผักกินใบหรือกินหัวชนิดต่างๆ 3. ป่าไม้เศรษฐกิจ คือไม้ที่ปลูกไว้ขาย ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผลเศรษฐกิจ และไม้ที่ปลูกไว้ขายเนื้อไม้ เช่น ไม้สัก เป็นต้น ประโยชน์ 4 อย่าง จำแนกออกได้ดังนี้ 1. ประโยชน์ในการเป็นไม้ใช้สอย โดยนำมาสร้างบ้าน ทำเล้าเป็ด เล้าไก่ ด้ามจอบเสียม ทำหัตถกรรม หรือกระทั่งเป็นฟืนในการหุงต้ม 2. ประโยชน์ในการเป็นอาหาร ทั้งพืชกินใบ กินผล กินหัว และเป็น ยาสมุนไพร 3. ประโยชน์ในการเป็นแหล่งรายได้ของครัวเรือน เป็นพืชทีส่ ามารถ นำมาจำหน่ายได้ ซึ่งควรปลูกพืชหลากหลายชนิดเพื่อลดความเสี่ยง เรื่องราคาตกต่ำและไม่แน่นอน
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
4. ประโยชน์ในการช่วยอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ การปลูกพืชทีห่ ลากหลาย อย่างเป็นระบบ ช่วยสร้างสมดุลของระบบนิเวศในสวน ช่วยปกป้องผิวดินให้ ชุ่มชื้น ดูดซับน้ำฝน และค่อยๆ ปลดปล่อยความชื้นสู่สวนเกษตรกรรม เทคนิคการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง เพื่อให้การสร้างป่าได้ผลดีและมีระบบที่สมดุลเหมือนป่าธรรมชาติ ซึ่งจะช่วยลดปัญหาเรื่องของโรคและแมลงศัตรูพืช และช่วยประหยัดต้นทุน ในการจัดการ ประกอบด้วยพันธุ์พืชที่หลากหลาย โดยการแบ่งป่าออกเป็น 5 ระดับ ตามชั้นความสูงของต้นไม้และระบบนิเวศของป่าดังนี้ 1. ไม้ระดับสูง อาทิ ตะเคียน ยางนา มะค่าโมง สะตอ มะพร้าว ฯลฯ 2. ไม้ระดับกลาง อาทิ ผักหวานป่า ติว้ พลู กำลังเสือโคร่ง กล้วย ฯลฯ
5
6
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
3. ไม้พมุ่ เตีย้ อาทิ ผักหวานบ้าน มะนาว พริกไทย ย่านาง เสาวรส ฯลฯ 4. ไม้เรี่ยดิน อาทิ หน้าวัว ผักเสี้ยน มะเขือเทศ สะระแหน่ ฯลฯ 5. ไม้หวั ใต้ดนิ อาทิ ข่า ตะไคร้ ขมิน้ ไพล เผือก มัน บุก กลอย ฯลฯ
ข้อคำนึงในการปลูกป่า 3 อย่าง 1. การปลูกช่วงแรกควรเลือกปลูกไม้เบิกนำ เช่น แค มะรุม สะเดา กล้วย อ้อย ไผ่ ข้าวและพืชผัก ทั้งนี้เพราะเป็นพืชอาหารและไม้ใช้สอยเล็กๆ น้อยๆ ทีโ่ ตและให้ผลผลิตเร็ว สามารถคลุมดินและดูดซับความชุม่ ชืน้ โดยควร เน้นปลูกพืชกินได้ ที่โตไวเพื่อเป็นแหล่งอาหารและไม้ใช้สอย 2. ไม้ปลูกเพื่ออยู่อาศัย หรือไม้เศรษฐกิจขนาดใหญ่ หรือไม้ระดับสูง ควรปลูกในปีที่ 2 3. ไม้สมุนไพร ส่วนใหญ่จะเป็นไม้พุ่มเตี้ย ไม้เรี่ยดิน และไม้หัวใต้ดิน มักจะเจริญเติบโตได้ดี ในที่ร่มหรือร่มรำไร
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
4. นาข้าวควรเลือกทำในพืน้ ทีใ่ ห้เหมาะสม สามารถให้ผลผลิตเพียงพอ ตลอดทั้งปี 5. ควรขุดร่องน้ำขนาดเล็กเพือ่ เก็บน้ำและความชุม่ ชืน้ แก่ตน้ ไม้ อีกทัง้ สามารถใช้เลี้ยงปลาเพื่อเป็นอาหาร และหมุนเวียนน้ำไปสู่บ่อขนาดใหญ่ หลัก 7 พอ (เพียง) เป็นหลักการง่ายๆ เพือ่ เป็นแนวทางในการดำเนินชีวติ ตามวิถเี ศรษฐกิจ พอเพียง ซึ่งมีดังนี้ 1. พออยู่ สามารถพึ่งตนเองด้านที่อยู่อาศัยได้ 2. พอกิน สามารถพึ่งตนเองเรื่องอาหารและยารักษาโรคได้ 3. พอใช้ สามารถพึง่ ตนเองเรือ่ งรายจ่ายทีต่ อ้ งใช้ในชีวติ ประจำวันได้ 4. พอร่มเย็นเป็นสุข สามารถมีความสุข อิ่มเอิบใจ กับสิ่งที่มีที่ทำได้ 5. พอพลังงานทดแทน ด้วยการปลูกอ้อยอินทรีย์ หรือพืชพลังงาน อื่นๆ ร่วมกับป่า 3 อย่าง ร้อยละ 70 6. พอพัฒนาคน ด้วยการจัดตั้งปูทะเลย์มหาวิชชาลัย 7. มีขอ้ มูลและสือ่ สารสูส่ าธารณะทีพ่ อเพียง ด้วยการจัดระบบฐานข้อมูลชุมชน 3 ระดับ 7.1 ข้อมูลตนเองและครัวเรือน 7.2 ข้อมูลทีด่ นิ ทำกินและเพือ่ การอนุรกั ษ์ 7.3 ข้อมูลระดับชุมชน แผนชุมชน
7
8
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
ทฤษฎีว่าด้วย
ป่า ฝนหลวง หญ้าแฝก ผักตบชวา กับระบบนิเวศ ลักษณะของระบบนิเวศ ระบบนิเวศ (Ecosystem) เป็นระบบความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ ทั้ง สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตที่อยู่ในขอบเขตอาณาบริเวณที่กำหนดเดียวกัน และใน แต่ละอาณาบริเวณจะมีสง่ิ ต่างๆ หลากหลายแตกต่างกันไปตามสภาพภูมศิ าสตร์ และสภาพภูมอิ ากาศ เป็นสิง่ แวดล้อมของกันและกัน คือหากกล่าวถึงสิง่ ใดสิง่ หนึง่ สิง่ อืน่ ๆ ทีเ่ หลือในอาณาบริเวณเดียวกัน ก็กลายเป็นสิง่ แวดล้อมทีม่ คี วาม สัมพันธ์กบั สิง่ นัน้ ซึง่ มีทง้ั สิง่ แวดล้อมทางกายภาพตามธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ แสงสว่าง อากาศ แร่ธาตุ ถ้ำ เป็นต้น หรือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มนุษย์ สร้างขึน้ เช่น โบสถ์ วิหาร โรงงาน โทรศัพท์ บ้านเรือน ฯลฯ และสิง่ แวดล้อม ทางชีวภาพ เช่น คน พืช สัตว์น้ำ สัตว์บก เชื้อโรคต่างๆ เป็นต้น ระบบนิเวศมีทง้ั ระบบใหญ่ และระบบเล็ก เช่น โลกเป็นระบบนิเวศใหญ่ ที่ประกอบด้วยระบบนิเวศเล็กๆ มากมาย ซึ่งมีทั้งระบบนิเวศตามธรรมชาติ บนบกเช่น เชิงเขา หุบเขา ป่าไม้ ทุ่งหญ้า ชายฝั่ง ฯลฯ และระบบนิเวศตาม ธรรมชาติของแหล่งน้ำ เช่น หนองน้ำ บึงน้ำตก เป็นต้น รวมทั้งระบบนิเวศที่ มนุษย์สร้างขึ้น เช่น แหล่งอุตสาหกรรม ตลาดสด สวนผลไม้ วัด เป็นต้น ใน ระบบนิเวศต่างๆ จะมีการควบคุมตามธรรมชาติ มีการถ่ายเทพลังงานระหว่าง สิง่ มีชวี ติ ต่างๆ มีการไหลเวียนของแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ให้แก่สง่ิ มีชวี ติ ใช้ในการดำรงชีพและปลดปล่อยคืนสูบ่ รรยากาศสูธ่ รรมชาติ ให้สรรพสิง่ ดำรง อยู่ มีการเพิม่ -ลดจำนวนและชนิด ตามวัฏจักร เกิดภาวะสมดุลในระบบนิเวศ
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
นัน้ ๆ ดังตัวอย่างการหมุนเวียนของแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ในระบบนิเวศ ป่าไม้ และการหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศ ดังนี้ ตัวอย่างการหมุนเวียนของแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ในระบบนิเวศ ป่าไม้ ในดินมีแร่ธาตุต่างๆ ที่เข้ามาสู่ระบบนิเวศของป่าไม้ บางส่วนมาพร้อม กับน้ำฝน บางส่วนหมุนเวียนอยูใ่ นสิง่ มีชวี ติ ต่างๆ โดยพืชรับแร่ธาตุ สารอาหาร ต่างๆ เข้ามาทางรากและลำเลียงผ่านลำต้นไปสะสมในส่วนต่างๆ จนถึงยอด เมื่อส่วนของลำต้น กิ่งก้าน ดอก ใบ หรือผล หลุดร่วงลงมาบนพื้นดินจะเน่า เปื่อยและถูกย่อยสลาย โดยกระบวนการย่อยสลายอินทรียสารของจุลินทรีย์ แร่ธาตุต่างๆ จากพืชก็จะคืนสู่ธรรมชาติคือลงไปสะสมอยู่ในดิน และจะหมุน เวียนไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืชจนถึงยอดเช่นเดิม ตัวอย่างการหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศน้ำ เป็นสิ่งสำคัญและจำ เป็นในการดำรงชีพของสิง่ มีชวี ติ เป็นองค์ประกอบสำคัญในกระบวนการต่างๆ
9
10
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
ของสิ่งที่ชีวิต เช่น กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการคายน้ำของ พืช กระบวนการหายใจ กระบวนการขับถ่ายของสัตว์ ส่วนมนุษย์กม็ กี ารใช้นำ้ เพื่ออุปโภคบริโภค ซึ่งการใช้น้ำของสิ่งมีชีวิตต่างๆ ดังกล่าวนี้จะปล่อยคืนสู่ ธรรมชาติเป็นวัฏจักรเสมอ และน้ำในแหล่งต่างๆ บนพื้นผิวโลกก็จะระเหย เป็นไอ รวมตัวกันเป็นเมฆและตกลงมาเป็นฝน หมุนเวียนเช่นนี้ในระบบนิเวศ ทฤษฎีว่าด้วยป่า เป็นแนวพระราชดำริทเ่ี กิดขึน้ เนือ่ งจากการบุกรุกทำลายป่า ปรับพืน้ ที่ เพือ่ ทำการเกษตร ทำให้ปา่ ไม้และสัตว์ปา่ หมดสิน้ ไปเหลือไว้แต่ความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ดินเสือ่ มโทรม ทำการเกษตรไม่ได้ในทีส่ ดุ การพัฒนาป่า ตามแนวทางของทฤษฎี เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการฟื้นฟูตามหลักธรรมชาติ ให้ธรรมชาติฟื้นตัวเอง มีหลักการเดียวกับการรักษาระบบนิเวศของป่าตาม
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
ธรรมชาติ เน้นการสร้างความสมดุลทางธรรมชาติ ให้ปา่ คืนสูส่ ภาพความอุดม สมบูรณ์ดังเดิม โดยไม่เน้นการปลูกไม้ที่ไม่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยพระราชทานข้อคิดในการรักษาหน้าดิน ไม่ให้ไถ ไม่ให้ใช้ยาฆ่าหญ้า ปลูกต้นไม้ที่ ต่างระดับกัน ทัง้ ไม้ยนื ต้น ไม้ชน้ั ล่าง ไม้คลุมดินเพือ่ รักษาความชุม่ ชืน้ ไว้ในดิน ไม่ระเหยไปในอากาศ ปลูกไม้โตเร็ว หรือในบริเวณที่เป็นภูเขาสูง อาจนำพืช ทีม่ เี มล็ดไปปลูกไว้บนยอดเขา เพือ่ ให้ขยายพันธุเ์ องตามธรรมชาติ ซึง่ การปลูก ต้นไม้นี้ยังเกิดประโยชน์ด้านแหล่งต้นน้ำลำธารด้วย ดังที่เรียกว่า ปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง ประโยชน์ท่ี 4 คือเกิดแหล่งต้นน้ำลำธาร ซึง่ ผลสืบ เนื่องที่เกี่ยวพันกันเป็นวัฏจักร คือดินอุดมสมบูรณ์ ชุ่มชื้น ต้นไม้สามารถดูด แร่ธาตุ สารอาหารในดินไปหล่อเลี้ยงลำต้น ใบ ไปถึงยอด ใบไม้ กิ่งก้าน ส่วน ต่างๆ ของต้นไม้ร่วงลงดิน ย่อยสลายเป็นแร่ธาตุ สารอาหารในดินต่อไป ซึ่ง หลักการนี้เป็นหลักการเดียวกันกับการรักษาสมดุลของระบบนิเวศป่าไม้ ทฤษฎีฝนหลวง เป็นพระราชดำริในการพัฒนาแหล่งน้ำในบรรยากาศ เพื่อให้มีแหล่งน้ำเพียงพอในการดื่มการใช้ และการ เกษตรกรรม จึงเกิด โครงการฝนหลวง ขึ้น ในพ.ศ. 2498 เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพบเห็นความทุกข์ ยากเดือดร้อนของเกษตรกร เนื่องจากความเปลี่ยนแปลง ไม่แน่นอนของฝนตามธรรมชาติ พระองค์ทรงคิดค้นวิจัย ประดิษฐ์ และพัฒนาการทำฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้นจน ประสบความสำเร็จในทีส่ ดุ โดยทรงใช้หลักการในการเกิด ฝน ซึ่งเป็นหลักการหมุนเวียนของน้ำในระบบนิเวศ ที่ว่า
11
12
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
น้ำจากกระบวนการต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต และน้ำในแหล่งต่างๆ บนพื้นผิวโลก ที่มีการระเหยเป็นไอ รวมตัวกันเป็นเมฆและตกลงมาเป็นฝน ทรงวิเคราะห์ ขัน้ ตอนในการทำ 3 ขัน้ คือ 1. ก่อกวน กลุม่ เมฆให้เกิดการรวมตัวกัน 2. เลีย้ ง ให้อว้ น หมายถึงการเลีย้ งเมฆให้อมุ้ น้ำและความชืน้ บรรยากาศไว้ให้มาก และ 3. โจมตี เพื่อให้กลุ่มเมฆนี้กระจายตัวและกลายเป็นฝนตกลงมา การกระทำ โดยมนุษย์ตามหลักการเกิดฝนตามธรรมชาติน้ี ทำได้ทกุ ฤดูกาล แต่มขี ดี จำกัด อยู่บ้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับปริมาณความชื้นในอากาศ สภาพภูมิประเทศ ทิศทาง และความเร็วลม จังหวะเวลาการโปรยสารเคมีบนก้อนเมฆ ทีอ่ าจจะทำให้ฝน ตกไม่ตรงเป้าหมาย โครงการฝนหลวง สามารถลดปัญหาภัยแล้งไปได้มาก แม้วา่ จะไม่สามารถแก้ไขปัญหาภัยแล้งได้ทง้ั หมดแต่กบ็ รรเทาความเดือดร้อน ของเกษตรกรได้จำนวนไม่น้อย เป็นการแก้ปัญหาฝนทิ้งช่วงและเพิ่มปริมาณ น้ำให้กับเขื่อนต่างๆ และทำฝนหลวงเพื่อสร้างความชุ่มชื้นให้พื้นที่เกษตรกร และป่าไม้ในช่วงฤดูแล้ง ทฤษฎีหญ้าแฝก เป็นแนวพระราชดำริ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงตระหนักถึง การพังทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินที่อุดมสมบูรณ์ พระองค์จึงทรง มีพระราชดำริให้ศกึ ษา หญ้าแฝก และนำมาใช้ในการอนุรกั ษ์ดนิ และน้ำ รวม
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
ทั้งใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา การพัฒนาดินโดย การปลูกหญ้าแฝกนี้ จะส่งผลไปยังการรักษาสมดุลระบบนิเวศเช่นกัน เพราะ หญ้าแฝกมีกอแน่น แตกกอเร็ว มีรากมาก และยาวหยั่งลึกลงดินในแนวดิ่ง มากกว่าแผ่ออกข้าง การปลูกต้องศึกษาวิธีปลูกที่ถูกต้อง เพื่อให้หญ้าแฝก สามารถยึดดินได้อย่างแน่นหนาและแข็งแรง ทำให้ดินอุดมสมบูรณ์ หรือถ้า ปลูกรอบๆ แหล่งน้ำ ก็จะช่วยกรองตะกอนดิน เศษสิ่งปฏิกูลต่างๆ และช่วย ดูดซับสารเคมีก่อนที่จะไหลลงสู่แหล่งน้ำ ช่วยรักษาคุณภาพน้ำ น้ำไม่ตื้นเขิน ซึ่งเมื่อดินอุดมสมบูรณ์ มีแร่ธาตุและสารอาหารที่สำคัญแก่การดำรงอยู่ของ สิง่ มีชวี ติ เช่น ออกซิเจน ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำทีม่ ที ง้ั คุณภาพ และปริมาณทีเ่ พียงพอ สิง่ มีชวี ติ ต่างๆ ก็ดำรงอยูไ่ ด้ คนก็สามารถทำการเกษตร และใช้น้ำในการอุปโภคบริโภคได้ เกิดการถ่ายเทพลังงาน เกิดการไหลเวียน ของแร่ธาตุและสารอาหารเกิดความสมดุลของระบบนิเวศ ทฤษฎีผักตบชวา เป็นแนวพระราชดำริเพื่อการแก้ปัญหาน้ำเน่าเสีย ทรงใช้หลักการ ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ คือใช้คุณสมบัติโดยธรรมชาติของผักตบชวา ในการ กรองน้ำเน่าเสียในห้วย หนอง คลอง บึงต่างๆ ให้เป็นน้ำดีเกิดน้ำธรรมชาติ ทีม่ คี ณ ุ ภาพใช้ประโยชน์ได้ ทีเ่ รียกว่า อธรรมปราบอธรรม คือการนำผักตบชวา
13
14
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ
(อธรรมตัวหนึ่ง) ที่สามารถแพร่ขยายได้รวดเร็วสร้างความ เดือดร้อนและก่อให้เกิดความสกปรกของแม่น้ำลำคลองมา กรองน้ำเสีย (อธรรมอีกตัวหนึ่ง) ด้วยพระปรีชาญาณของ พระองค์ที่สามารถจัดการกับผักตบชวาโดยวิธีสกัดกั้นการ แพร่กระจายตัวออกไปอย่างรวดเร็วของผักตบชวา โดยให้ ผักตบชวาอยู่ในพื้นที่ที่จำกัด แล้วทำการเปลี่ยนผักตบชวา ออกเป็นระยะๆ เพราะผักตบชวามีความสามารถดูดเก็บ สารอาหารและของเสียจากน้ำมาเก็บไว้ที่ราก สามารถทำ ให้น้ำเน่าเสียน้ำเหม็นกลายเป็นน้ำดี นำมาใช้ประโยชน์ได้ และยังทำให้บรรยากาศ สิ่งแวดล้อมดีขึ้น ในน้ำมีออกซิเจน มากขึน้ สิง่ มีชวี ติ ต่างๆ ทัง้ พืชและสัตว์ดำรงอยูไ่ ด้ เกิดวัฏจักร เพื่อการดำรงชีพของสรรพสิ่งในระบบนิเวศได้อย่างสมดุล
ป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง
ความเกี่ยวข้องของทฤษฎีว่าด้วยป่า ฝนหลวง หญ้าแฝก และผักตบชวา กับระบบนิเวศ สรุปได้ว่าทฤษฎี ต่างๆ ตามแนวพระราชดำริที่ทรงใช้ เน้นการพัฒนาตาม หลักการธรรมชาติ แก้ที่สาเหตุที่แท้จริง สอดคล้องกับหลัก การของระบบนิเวศในด้านการถ่ายเทพลังงาน การหมุน เวียนแร่ธาตุ และสารอาหารต่างๆ ระหว่างสรรพสิ่ง ทั้งที่มี ชีวิตและไม่มีชีวิตในระบบนิเวศหนึ่งๆ ทั้งสิ้น และเป็นการ แก้ปญ ั หาทีเ่ กิดผลดี เชือ่ มโยงไปยังทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมทุกด้าน โดยเน้นการพัฒนาอย่างเป็นองค์รวม ไม่เน้นวิธีพัฒนาที่เกิดผลเพียงด้านหนึ่งด้านใด ซึ่งปรากฏ อย่างชัดเจนว่า เป็นทฤษฎีที่นำสู่การปฏิบัติที่สอดคล้องกับ หลักการเกิดความสมดุลในระบบนิเวศทุกระบบ
แหล่งที่มาของข้อมูล • http://www.agrinature.or.th • http://www.nstlearning.com/~hussachai/?p=230
15
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติบ้านบุญ 71 หมู่ 8 ต.ห้วยยาง อ.กระนวน จ.ขอนแก่น 40170 ผู้ประสานงาน นายทินกร ปาโท โทรศัพท์ : 089-5758201 อีเมล์ : hinghoy-007@hotmail.com แผนงานผักปลอดภัยจากสารพิษ จ.ขอนแก่น คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแก่น 40002 โทรศัพท์/โทรสาร : 0-4334-8660 เวปไซด์ : http://www.healthinfo-ne.org
รูปเล่มโดย : ศิริพร พรศิริธิเวช และเริงฤทธิ์ คงเมือง
สนับสนุนโดย