โรงไฟฟ้านิวเคลียร์

Page 1

กรณีศึกษาเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ๒๙ มี​ีนาคม ๒๕๕๔

ตวงพร เอ็งวงษ์ตระกูล ภานพงศ์ ภานุ พงศ พนกฤษ พินกฤษ สํานักกํากับดูแลความปลอดภัยทางนิวเคลียร์ สํานักงานปรมาณเพื สานกงานปรมาณู เพอสนต ่อสันติ


เนื้อหาการบรรยาย ... 1. หลักการทํางานของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2. ผลกระทบทางรังสี 3 อุบัตเหตุ 3. ิ ของโรงไฟฟานวเคลยร โ ไฟฟ้ ิ ี ์ 4. การดําํ เนินิ งานของสําํ นั​ักงานปรมาณู ป เพื​ือ่ สันั ติติ ่อ กรณีเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ที่ประเทศญี่ปุ่น


องค์ประกอบของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์

แกนเครองปฏกรณ แกนเครื ่องปฏิกรณ์ (Core) สารหน่วงนิวตรอน (Moderator) สารระบายความร้อน (Coolant) สารระบายความรอน แท่งควบคุม (Control Rod) ชุชดสะท้ ดสะทอนนวตรอน อนนิวตรอน (Reflector)


Fuel Fissile : U-235,Pu-239,U-233 (วัสดุ​ุซึ่งประกอบด้วยธาตุทุ ี่นิวเคลียสแบ่งแยกได้โดยนิวตรอนทุกุ พลังงาน โดยเฉพาะ thermal neutron) Fertile : UU-238, 238, Th Th-232 232 (วสดุ (วัสดเมื เมอจบนวตรอนแลวจะเปลยนเปนวสดุ อ่ จับนิวตรอนแล้วจะเปลี่ยนเป็นวัสดฟิฟสไซด) สไซด์) Moderator : H2O, D2O, Graphite l : H2O, Coolant O D2O, O CO O2, He, Na, Pb, b Bii Control Rods : made of Boron, Silver, Indium, Cadmium, and/or Hafnium




conttrol rod

Escape (No Fission)

Fi i Fission

Absorption

(No Fission) Fission Moderation

Moderator Fuel

Fuel


เทคโนโลยีความปลอดภัยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ปรัชญาการออกแบบอาศัยหลักพื้นฐาน 3 ประการ ประการ:: - การควบคุ​ุมปฏิฏกิริยา /การดับเครื่องปฏิฏกรณ์ - การระบายความร้อนจากแกนปฏิกรณ์ - การกักเก็บสารกัมมันตรังสี - การออกแบบเม็ดเชื้อเพลิง - การออกแบบระบบเครื่องปฏิฏกรณ์ - การออกแบบอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ โดยรวมคุณลักษณะภายใน และ คุณลักษณะทีไ่ ม่ต้องพึง่ พลังงานในระบบความ ปลอดภัย และระบบสนับสนุนทางวิศวกรรม ระบบความปลอดภัย และระบบตรวจติดตาม เครื่องปฏิกรณ์ ต้องมีระบบสํารอง ซึงึ่ แตกต่า่ งกนั และสามารถทําํ งานได้ ไ โ้ ดยอิสิ ระไม่ ไ ข่ ึน้ แก่ก่ ัน


ปราการป้องกันหลายชั้น


อาศั​ัยหลักั การป้อ้ งกันั หลายขั้ันตอน - การป้องกันเหตุผดิ ปกติ * การออกแบบให้การเดินเครื่องมีความผิดพลาดน้อยที่สุด * การมีกฎระเบียบ และการตรวจสอบการดําเนินการ * การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ และการควบคุมคุณภาพ * การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ - การควบคุม * การออกแบบระบบให้ รออ แบบร บบใ สามารถตรวจสอบความผิ ม รถ รวจสอบ ว ม ดปปกติได้อย อย่างรวดเร็ รว เรวว * การออกแบบให้ดับเครื่องอัตโนมัติกรณีเหตุฉุกเฉิน รวมทัง้ ECCS * การตรวจสอบระบบอุ การตรวจสอบระบบอปกรณ์ ปกรณและ และ การซ่ การซอมบารุ อมบํารงง ตามระยะเวลา - การดําเนินการแก้ไข (แผนฉุกเฉินกรณีอุบัติเหตุและพิทักษ์ความ ปลอดภัยวัสดนินววเคลยร) ปลอดภยวสดุ เคลียร์)


G Generation i IV Generation III+ Generation III Generation II

Generation I E l Prototypes Early P tt

- Shippingport - Dresden - Magnox 1950

1960

Gen I

Revolutionary Designs

Evolutionary Designs

Advanced LWRs

Commercial Power

- PWRs - BWRs - CANDU - RBMK 1970

1980

Gen II

- CANDU 6 - System 80+ - AP600 - OPR 1000 - VVER

1990

2000

Gen III

- ABWR/APWR - APR 1400 - AP 1000 - EPR 1600 - SMART 2010

2020

Gen III+

- Safe - Sustainable S t i bl - Economical - Proliferation

Resistant and Physically Secure

2030

Gen IV


เครื่องปฏิฏกรณ์นิวเคลียร์แบบความดันสูงู PWR (Pressurized Water Reactor) เช่น AP-1000, APR-1400, EPR-1600, VVER-1000, CNP-1000

เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ําเดือด BWR (Boiling Water Reactor) เช่น ABWR-1400, ESBWR-1600, RBMK-1000, SWR-1000

เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบใช้น้ํามวลหนัก PHWR (Pressurized Heavy Water Reactor) เช่น CANDU, KNUPP, ACR


สัดส่วนการใช้งานเครื่องปฏิกรณ์


Pressurized Water Reactor

Pi Primary : P ≈ 15.5 15 5 MPa MP , T ≈ 320 Cํ Secondary : P ≈ 7.4 MPa , T ≈ 290 ํC


Boiling Water Reactor

P ≈ 7.2 MPa , T ≈ 290 ํC


Pressurized Heavy Water Reactor (CANDU)

P ≈ 10 MPa , T ≈ 310 ํC


ข้อ้ ดี​ีของโรงไฟฟ้ โ ไฟฟ้านิวิ เคลี​ียร์​์ ๑. ใหกาลงผลตสู ให้กาํ ลังผลิตสงกว่ งกวาเมอเปรยบเทยบกบการผลตไฟฟาจากแหลงพลงงานอน าเมื่อเปรียบเทียบกับการผลิตไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานอื่น ๒. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าที่มเี สถียรภาพ และมั่นคง สามารถเดินเครื่องได้อย่างต่อเนื่อง ๓. ตนทุ ต้นทนการผลิ นการผลตไฟฟาตาและมเสถยรภาพ ตไฟฟ้าต่ําและมีเสถียรภาพ ๔. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานสะอาด ไม่ปลดปล่อยเขม่าควัน ก๊าซพิษ และของเสียออกมา สูส่สงแวดลอม ิ่งแวดล้อม ๕. มีอายุการใช้งานยาวนาน ๔๐ ปี หากเป็นโรงไฟฟ้ารุ่นใหม่จะมีอายุการใช้งาน ยาวนานถึง ๖๐ ปปี ๖. ช่วยส่งเสริมในด้านการพัฒนาบุคลากรของชาติ ให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ในเทคโนโลยี นิวเคลียร์และสาขาทีเ่ กี่ยวข้อง นวเคลยรและสาขาทเกยวของ


ปัญหาอุปสรรค ๑. การไม่เป็นทีย่ อมรับของสาธารณชน ๒. การเลือกสถานที่ตั้งโรงไฟฟ้ามีหลักเกณฑ์และมาตรการทีเ่ ข้มงวดรัดกุมมาก ทําให้หา สถานทีก่ ่อสร้างได้ยาก ๓. เงินลงทุนสําหรับการก่อสร้างสูงมาก ทั้งนีเ้ พราะต้องเสริมระบบความปลอดภัยต่างๆ มากมาย ๔. ใช้ระยะเวลาในการเตรียมงานและการดําเนินการยาวนาน ๑๐ ปีขึ้นไป ๕. ต้องการแหล่งน้ําขนาดใหญ่ เพื่อใช้ควบแน่นไอน้ําในระบบผลิตไอน้ํา ๖. ยังไม่มีวิธีการจัดการกากกัมมันตรังสีระดับสูงให้หมดความเป็นสารรังสีได้ในระยะเวลา อันสั้น


หน่วยทีใ่ ช้ในการปฏิบัติงานทางรังสี กัมมันตภาพรังสี: แสดงว่ามีสารกัมมันตรังสีอยู่มากหรือน้อยเพียงใด ปริมาณของสารกัมั มันั ตรังั สี​ี บอกเป็น็ คูรหี รือื เบคเคอเรล (Ci หรือื Bq) จํานวนคูรหี รือื เบค เคอเรลมากแสดงว่ามีสารกัมมันตรังสีอยู่มาก ซึ่งสามารถดูได้จากป้ายที่ติดแสดงไว้ บางครั้ง วัตั ถุขนาดใหญ่ ใ ่อาจจะมีกี ัมมันั ตภาพรั​ังสี​ีน้อยกว่​่าวัตั ถุขนาดเล็ก็


หน่วยที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางรังสี

กัมมันตภาพ

ปริมาณรังสี ดู​ูดกลืน

ปริมาณรังสี สมมู​ูล

การแผรังสี

หนวยที่ใช โดยทั่วไป (เกา)

curie (Ci)

rad

rem

roentgen (R)

หนวย SI (ใหม)

becquerel (Bq)

gray (Gy)

sievert (Sv)

coulomb/kilogram (C/kg)


ปริมาณรังสีและหน่วยวัด Activity (A)

Exposure Dose (X)

อัตราการสลายตัว (decay rate)

ปริมาณการแตกตัวของอากาศ 1 ลบ.ซม. ที่ STP (T=273.15 K and P=1 atm)

หนวย: Ci คูรี และ Bq เบคเคอเรล 1 Bq = 1 dps 1 Ci = 3.7x1010 dps (A ของ Radium 1 g)

Absorbed Dose (D)

พลังงานรังสี ทตวกลางดู พลงงานรงส ที่ตัวกลางดดกลื ดกลนน หนวย: Gy เกรย (gray) หรือ rad

(1 Gy = 1 J/kg = 100 rad)

หนวย: R เรินตเกน (roentgen) = 1 esu หรือ 2.58x10-4 C/kg

Dose Equivalent (DE) ปปรมาณรงส ิ ั สี ทคานงถง ี่ ํ ึ ึ ผลตอเซลลของสงมชวต  ซ  สิ่ ีชี ิ DE = D*QF หนวย: Sv ซีเวิรต (sievert) หรือ rem

(1 Sv = 100 rem) QF ขนกบชนดรงส ขึ้นกับชนิดรังสี เชน เชน ใน D เทากนนน เทากันนั้น รงสแอลฟา รังสีแอลฟา จะมี DE ที่สูงกวา รังสีแกมมา


การได้รับรังสีสู่ร่างกาย External Exposure Internal Exposure


ปัจจัยการเกิดผลของรังสีต่อมนุษย์ • ปริมาณรังสีที่ได้รับ • อั​ัตราการได้ ไ ้รับรังั สี​ี • ชนดและพลงงานของรงสตางชนดกน ชนิดและพลังงานของรังสีต่างชนิดกัน • ชนิดของสารกัมมันตรังสี • ความไวต่อรังสีของอวัยวะต่างๆ •เนื้อที่ของร่างกายที่ได้รับรังสี •ลักษณะของการได้รับรังสี •สุขภาพในขณะที่ได้รับรังสี


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์ Deterministic Effect - เป็น็ ผลจากร่างกายได้ ไ ้รับรังสี​ีในปริมาณสูงๆ ใในระยะเวลาอันสั้น - ทารกในครรภ์ ปริมาณรังสี 100 มิลลิซเี วิร์ต ในระยะ 8-15 สัปดาห์แรก จะ มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลาง


ผลของรังสีที่มตี ่อมนุษย์ - กรณีที่ได้รับรังสีเป็นบางส่วน ขึ้นอยู่กับแต่ละอวัยวะ ทไวตอรงสไมเทากน ี่ไ ่ ั สีไ ่ ่ ั - ไขกระดู​ูก ระบบเลือด จะไวต่อรังสีที่สุด ปริมาณ รังสี 500 มิลลิซเี วิรต์ สามารถทําลายพวกนี้ได้ - อวยวะสบพนธ อวัยวะสืบพันธ์ ปรมาณรงส ปริมาณรังสี 2,000 2 000 – 3,000 3 000 มลล มิลลิ ซีเวิร์ต ทําให้เป็นหมัน - ตา ปริมาณรังสี 2,000 – 5,000 มิลลิซีเวิร์ต ทํา ให้เป็นต้อกระจก


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์ Stochastic Effect - การถ่ายเทพลังงานเป็นแบบสุ่ม - ปรมาณรงสนอยๆ ปริมาณรังสีน้อยๆ สรุ สรปออกมาได้ ปออกมาไดในรู ในรปของความเสี ปของความเสยง ่ยง Risk Ri k factor f t - เซลล์ตายหรือแบ่งตัวผิดปกติอาจก่อให้เกิดเป็นมะเร็งได้ - สามารถแสดงได้เป็นสามรูปแบบ - แสดงความสมพนธเชงเสนกบปรมาณรงส แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นกับปริมาณรังสี - ประเมินความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง - แสดงความเสียี่ งจากการตายด้ว้ ยโรคมะเร็ โ ็งเมื​ือ่ ได้ ไ ้รับรั​ังสี​ี 1 ซีเี วิร์ต


ผลของรังสีที่มตี อมนุษย แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นกับปริมาณรังสี


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์

รังสีผ่านเข้าโมเลกุลของเซลล์ร่างกาย (DNA) รังสีก่อให้เกิดความผิดปกติต่อโมเลกุล (DNA) หรือไม่ ความผิดปกติ ต่อโมเลกุล (DNA) สามารถรักษาได้หรือไม่ ความผิดปกติมีผลชัดเจนต่อเซลล์หรือไม่ เซลล์ใหม่ที่ผิดปกติเป็นเซลล์ที่มีอันตราย (เซลล์มะเร็ง) หรือไม่ ระบบภูมิคุ้มกันสามารถทําลายเซลล์มะเร็งหรือไม่ ตราการเเบ่งตัวของเซลล์มะเร็งเร็วหรือไม่ อัอตราการเเบงตวของเซลลมะเรงเรวหรอไม เกิดมะเร็ง

การเกิดิ มะเรง็


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์ แสดงความเสี่ยงจากการตายด้วยโรคมะเร็งเมือ่ ได้รบั รังสี 1 ซีเวิร์ต

อวัยวะหรือเนือ้ เยื่อ

แฟคเตอรความเสี่ยง

Bladder

0.0030

Bone marrow

0.0050

Bone surface

0.0005

Breast

0.0020

Colon

0.0085

Liver

0.0015

Lung

0.0085

Esophagus

0.0030

Ovary

0.0010

Skin

0.0002

Stomach

0.0110

Thyroid

0.0008

Oth Other

0 0050 0.0050

Total

0.0500


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์ เเฟกเตอร์ เเฟกเตอรความเสยง ความเสี่ยง - ของมะเร็งเต้านม 0.0020 หลังจากได้รับรังสี 1 Sv - 1 Sv มีความเสี่ยงของมะเร็งเต้านม 0.2 % - คน 1000 คน ได้รับรังสี 1 Sv มีโอกาสเกิดมะเร็งเต้านม 2 คน


ผลของรังสีที่มีต่อมนุษย์ โอกาสหนึ่งในลานที่ทําใหเสียชีวิต 11.55 80 420 2 20 9 6 1 90 0.1

การสูบบุหร่ (มวน) การสบบหรี การขับรถ (กิโลเมตร) การโดยสารเครื โ ือ่ งบินิ (กิโิ ลเมตร) การทํางานในโรงงาน (สัปดาห) กลุมผูมอี ายุ 60 ป (นาที) กลมผูผมอีอายุ กลุ าย 30 ปป (ชวโมง) (ชั่วโมง) การกรรเชียงเรือแคนู (นาที) การถูกฟาผา (ป) การปนเขา (วินาที) การไดรบั รังสีแบบเฉียบพลัน (มิลลิซีเวิรต)


ระดับั รั​ังสี​ีพื้นฐานของบุคคลทีไี่ ด้ร้ ับโดยประมาณ โ 3 mSv mSv//ปี​ี Air

Cosmic - 0.3 mSv

Terrestrial - 0.3 mSv

Radon - 2 mSv

F d - 0.4 Food 0 4 mSv S


ค่าระดับรังสีที่ยอมให้รับได้ (ค่ามาตรฐานสากล) - ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ทต่อปี โดย เฉลี่ย 100 มิลลิซีเวิร์ทภายใน 5 ปี แต่สูงสุดในปีนั้นๆ ยอมให้รับได้ไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ทต่อปี - บุคคลทั่วไป ไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ทต่อปี


อุบัติเหตุทางนิวเคลียร์


ระดับ ผลกระทบภายนอกโรงไฟฟ้า

เกณฑ์กําหนด ผลกระทบภายในโรงไฟฟ้า

1 เหตุผิดปกติ

ไม่มี ไมม

ไม่มี ไมม

อุอปกรณ์ ปกรณทางานผดปกต ทํางานผิดปกติ

2 เหตุขัดข้อง

ไม่มี

ไม่มี

เหตุ​ุขัดข้องทีมีแนวโน้มต่อ ผลกระทบทางด้านความ ปลอดภัย

3 เหตุขัดข้องรุนแรง

มีการปลดปล่อยสารรังสี ปริมาณน้อยมากประชาชน ไ ้รั รั สี ่ํ ่ ปริ ไดรบรงสตากวาปรมาณท ี่ กําหนด

4 มีการปลดปล่อยสารรังสี มการปลดปลอยสารรงส อุบัติเหตุเฉพาะภายในบริเวณ ปริมาณเล็กน้อยประชาชน ได้รับรังสีอยู่ในช่วงปริมาณที่ กําหนด

ความบกพร่องของระบบ ป้องกันเชิงลึก

มีการเปรอะเปื้อนทางรังสี ใกล้ต่อการเกิดอุบัติเหตุสูญเสีย อย่างมากผู้ปฏิบัติงานได้รับ การทํางานของระบบป้องกัน รั สี ิ ่ ปริ รงสเกนกวาปรมาณทกาหนด ี่ ํ เชงลก ชิ ึ แกนปฏกรณไดรบความ แกนปฏิ กรณ์ได้รับความ เสียหายบางส่วน

บกพร่อง บกพรอง


ระดับ

เกณฑ์กําหนด ผลกระทบภายนอกโรงไฟฟ้า

ผลกระทบภายในโรงไฟฟ้า

ความบกพร่องของระบบ ป้องกันเชิงลึก

5 อุบัติเหตุที่เกิดอันตรายถึง ภายนอกบริเวณ

มี​ีการปลดปล่อ่ ยสารรั​ังสี​ี ปริมาณจํากัดและมีการ ปฏิฏบัติการเสริมด้วยแผน ฉุกเฉินทางรังสีบางส่วน

แกนปฏิกิ รณ์​์ได้ร้ ับความ เสียหายอย่างรุนแรง

บกพร่อ่ ง

6 อุบัติเหตุรุนแรง

มีมการปลดปลอยสารรงส การปลดปล่อยสารรังสี ปริมาณมากและมีการ ปฏิบัติการเสริมด้วยแผน ฉุกเฉินเต็มอัตรา

รุรนแรง นแรง

บกพร่อง บกพรอง

7 อุบัติเหตุรุนแรงที่สุด

มีการปลดปล่อยสารรังสี ปริมาณมากในบริเวณกว้าง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและ สิ่ง วดล้อม สงแวดลอม

รุนแรงมาก

บกพร่อง


อุบัติเหตุที่ Chernobyl-4 26 เมษายน 1986 RBMK 1000 MW

สสาเหต, เ ุ, ผล, ล, บบทเรี เรยน ยน




อุบัติเหตุที่ Three Mile Island-2 28 มีนี าคม 1979 PWR 900 MW




เหตุการณแผนดนไหวและผลกระทบตอโรงไฟฟานวเคลยรฟู ์ ่ ิ ไ ่ โ ไฟฟ้ ิ ี ์ฟกู ชิมา ประเทศญี ญ่ปุ่น ตามที่ สํานักงานปรมาณู​ูเพื่อสันติ (ปส.) ได้รับแจ้งจากเอกสารแถลงการณ์ จากกระทรวงการเศรษฐกิจ การพานิชย์และอุตสาหกรรม (Ministry of Economy Trade and Industry Economy, Industry, METI) ประเทศญปุ ประเทศญี่ป่น และเอกสารจาก Incident and Emergency Centre ของ IAEA เกี่ยวกับเหตุการณ์ แผนดิ ่ โ ไฟฟ้านิ​ิวเคลียี รฟูฟ์ กูชมิ า ปประเทศญี่ีปุ่น ่ ินไไหวและผลกระทบตอโรงไฟฟ้


เมื่อวันที่ 11 มีนาคม เวลา 14:46 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น (11:46 น. ตามเวลาประเทศไทย) เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาดความแรง 9.0 ริก เตอร์ ส่งผลให้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จํานวน 11 แห่งจากทั้งหมด 14 แห่ง ดับลง โดยอัตโนมัติ ยกเว้ โดยอตโนมต ยกเวนเครองปฏกรณโรงไฟฟานวเคลยร นเครื่องปฏิกรณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 3 โรง คอ คือ Fukushima I Unit 4-6 ซึง่ ไม่ได้ มีการเดินเครื่องปฏิกรณ์เนื่องจากอยู่ ระหว่างตรวจสอบซ่อมบําํ รุงประจํ​ําปี​ี


เกิดเหตุการณแผนดินไหวและเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรดับลงโดยอัตโนมัติ


12 มนาคม มีนาคม เวลา 15 15::36 น. ตามเวลาประเทศญปุ ตามเวลาประเทศญี่ปน่ (12:36 น. น ตามเวลาประเทศไทย) y หลังจาก ระบบความปลอดภัยเครื่องปฏิกรณ์ได้ทําการดับเครื่องปฏิกรณ์โดยอัตโนมัติ ระบบ จ่ายน้ําระบายความร้อนซึ่งสูบน้ําจากน้ําทะเลไม่สามารถทํางานได้เนื่องจากซินามิ (เชื่อว่า ซึนึ ามิทําให้ ใ ร้ ะบบจ่ายนํา้ํ เสียี หาย ซึง่ึ ความรุนแรงของซึนึ ามิอยูใ่ นระดั​ับเกินกว่าทีเ่ี จ้า้ หน้​้าที​ี่ ได้คาดการณ์ไว้) y ระดับน้ําในถังเครื่องปฏิกรณ์ (pressure vessel) มีปริมาณลดลง ทําให้เกิดปฏิกิริยา ระหว่างโลหะและน้ําเกิดเป็นก๊าซไฮโดรเจน ซึ่งก๊าซไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นได้แพร่กระจายออกสู​ู่ ภายนอกของอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ (containment vessel) ส่งผลให้เกิดการระเบิด ของก๊าซไฮโดรเจนภายนอกอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ ทําให้หลังคาคอนกรีตชั้นนอกของ อาคารปฏิกรณ์ (Concrete building housing) ซงไดรบแรงระเบดกระเดนออกไป อาคารปฏกรณ ซึ่งได้รบั แรงระเบิดกระเด็นออกไป

เครื่องปฏิกรณ์ยูนิตที่1 ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชมิ า ไดอิชิ


ภาพแสดงโครงสร้างอาคารปฏิกรณ์



ตรวจพบการแพร่กระจายของสารกัมมันตรังสี 2 ชนิด คือ ไอโอดีน (Iodine) และ ซีเซียม(Cesium) ซงเชอวามาจากเชอเพลงนวเคลยรทไดรบความเสยหาย ซเซยม(Cesium) ซึ่งเชื่อว่ามาจากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ทไี่ ด้รบั ความเสียหาย และตรวจ พบสารกัมมันตรังสีปริมาณเล็กน้อยภายในน้ําระบายความร้อนแกนปฏิกรณ์ อย่างไรก็ ตาม สภาวการณในขณะน สภาวการณ์ในขณะนี้ ยัยงไมเรยกวา งไม่เรียกว่า เครองปฏกรณเกดการหลอมละลาย เครื่องปฏิกรณ์เกิดการหลอมละลาย (Meltdown) ซึ่งจะต้องหมายถึง แกนเครื่องปฏิกรณ์ทงั้ หมดเกิดการหลอมละลาย (ซึ่งสภาวการณ์ในปัจจบับน คืคออ แท่ (ซงสภาวการณในปจจุ แทงเชอเพลงเกดความเสยหายบางสวน) งเชือ้ เพลิงเกิดความเสียหายบางส่วน)


ภาพที่ 4 แสดงหลังคาคอนกรีตชั้นนอกของอาคารปฏิกรณ์ (Concrete building housing)


y Unit 3 เกดการระเบดเนองจากกาซไฮโดรเจนทเพมขนทาใหหลงคาคอนกรตของอาคาร เกิดการระเบิดเนื่องจากก๊าซไฮโดรเจนที่เพิ่มขึ้นทําให้หลังคาคอนกรีตของอาคาร ปฏิกรณ์ (Concrete building housing) ซึ่งได้รับแรงระเบิดกระเด็นออกไป ลักษณะ เหตุ​ุการณ์เหมือนกันกับ Unit 1 ซึ่งอาคารคลุ​ุมเครื่องปฏิฏกรณ์ (Containment Vessel) ไม่ได้รับความเสียหายจากการระเบิดของก๊าซไฮโดรเจนเช่นเดียวกันกับ Unit 1 y

การระเบิดของก๊าซไฮโดรเจนของเครื่องปฏิกรณ์ยูนิตที่ 3 ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกชู ิมา ไดอิชิ เกิดขึ้นในวันที่ 14 มีนาคม เวลา 11:01 น. ตามเวลาประเทศญี่ปุ่น (8:01 น. ตามเวลาประเทศ ไทย) ทั้งนี้ เครื่องปฏิกรณ์ ไม่มี ภาวะเสี่ยงอันตรายจากการระเบิดของก๊าซไฮโดรเจนเนื่องจาก ไม่มกี า๊ ซออกซิเจนอยู่ภายในอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ์ (การจุดระเบิดของก๊าซไฮโดรเจนต้อง อาศัยั ก๊​๊าซออกซิ​ิเจนในการทํ ใ ําปฏิ ป กิ ิริยา)) และกัมั มันั ตภาพรั​ังสี​ีถูกปลอยโดยตรงออกสู ป่ โ ่ บรรยากาศ อัตราระดับรังสี ณ ที่เกิดเหตุ วัดได้มีคา่ ถึง 400 มิลลิซเี วิร์ตต่อชั่วโมง และได้มกี าร แจ้งให้ทําการอพยพประชาชนเพื่อเป็นการเตรียมการป้องกันอันตราย จึจงทาใหไมมผลกระทบ แจงใหทาการอพยพประชาชนเพอเปนการเตรยมการปองกนอนตราย งทําให้ไม่มีผลกระทบ ทางรังสีต่อสุขภาพของประชาชน

เครื่องปฏิกรณยูนิตที่ 3 ของโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกูชิมา ไดอิชิ


ภาพถายทางอากาศของโรงไฟฟานิวเคลียรที่ Fukushima Daiichi


ภาพถายทางอากาศของโรงไฟฟานิวเคลียรที่ Fukushima Daiichi ยูนิตที่ 3


เมื่อเวลา 4.10 น. เวลาประเทศไทย วันที่ 15 มีนาคม 2554 เครื่อง ปฏิฏกรณ์ยูนิตที่ 2 ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชมิ า ไดอิชิ เกิดการระเบิด เนื่องจากก๊าซไฮโดรเจนที่เพิ่มขึ้นทําให้หลังคาคอนกรีตของอาคารปฏิกรณ์ (Concrete building housing) ซงไดรบแรงระเบดกระเดนออกไป ซึ่งได้รับแรงระเบิดกระเด็นออกไป ลักษณะเหตุการณ์เหมือนกันกับ Unit 1 ซึ่งอาคารคลุมเครือ่ งปฏิกรณ์ (C t i (Containment t VVessel)l) ไมไดรบความเสยหายจากการระเบดของกาซ ไม่ได้รับความเสียหายจากการระเบิดของก๊าซ ไฮโดรเจนเช่นเดียวกันกับ Unit 1 ในรายงานระบุ มีความเป็นไปได้ว่า แหล่งเก็บ็ น้​้ําสําหรับระบบระบายความร้อนฉุกเฉิน (suppression chamber) อาจได้รับความเสียหายเนื่องจากการระเบิด

เครื่องปฏิกรณยูนิตที่ 2 ของโรงไฟฟานิวเคลียรฟูกูชิมา ไดอิชิ


วันที่ 15 มีนาคม 2554 บ่อเก็บแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้วของเครื่อง ป กิ รณ์ย์ ูนิตที​ี่ 4 ของโรงไฟฟ้ ปฏิ โ ไฟฟ้านิวิ เคลี​ียร์​์ฟูกูชิมา ไดอิ ไ ชิ ิ เกิดิ ไฟ ไหม้ขึ้น สาเหตุ​ุที่เกิดไฟไหม้ขึ้นอาจเป็นไปได้ว่ามาจากการระเบิด ของไฮโดรเจน ซึง่ ทางญี่ปุ่นสามารถดับไฟได้เมื่อเวลา 9.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

เครื่องปฏิกรณ์ยูนิตที่ 4 ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟูกูชมิ า ไดอิชิ


สถานการณ์ในปัจจุ​ุบัน จากการตรวจวัดปริมาณรังสีประจําจุดสถานีที่ตั้ง ระดับปริมาณรังสีในวันที่ 21 มีนาคม เวลา 4:30 น. ตามเวลาประเทศญีปี่ ุ่น (2:30 น. ตามเวลาประเทศไทย) ไ วัดั ไได้​้ 3 μSv/h (ทังั้ นี​ี้ เปรียี บเที​ียบปริ​ิมาณ รังสีที่ผู้คนได้รับจากการ X-ray เพื่อตรวจวินจิ ฉัยกระเพาะอาหารในสถานพยาบาล คือ 600 μSv หรือ เปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ผค้ นไดรบจากการเดนทางจากประเทศญปุ เปรยบเทยบปรมาณรงสทผู นได้รับจากการเดินทางจากประเทศญี่ปน่ ไปถงชายฝงตะวนออกของ ไปถึงชายฝั่งตะวันออกของ ประเทศสหรัฐอเมริกา คือ 200 μSv) รรัศมมีพนื้ ที่ทําการอพยพ รอ ย คือ 200 กิโลเม โลเมตรจากโรงไฟฟ้ รจ โร ไ านวเ นิวเคลีลยร ยร์ มีการตรวจพบสารกัมมันตรังสี I-131 และ Cs-137 ในน้ําประปาใน 7 จังหวัดของประเทศญี่ปุ่นรวมถึง โตเกียว แต่ปริมาณกัมมันตภาพรังสียังจัดอยูใู่ นระดับที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุ​ุขภาพ


สถานการณ์ในปัจจุบัน ผลการตรวจวัดปริมาณ I-131 และ Cs-137 บนพื้นดิน ตั้งแต่วันที่ 18 มีนาคม – 21 มีนาคม 2554


สถานการณ์ในปัจจุ​ุบัน ปริมาณรังสีที่ยอมให้มีได้บนพื้นผิวต่างๆ ชนิดของพื้นผิว

แอลฟา (Bq/m2)

เบตา - แกมมา (Bq/m2)

มือและเครื่องมือทุกชนิด พื้นผิวตางๆ

3,700

37,000

รางกายทั่วๆไป

1,850

37,000

รองเทาที่ใชในหองปฏิบตั ิการทางรังสี รองเทาทใชในหองปฏบตการทางรงส

37 000 37,000

370 000 370,000

ชุดคลุมปฏิบตั ิการทางรังสี

18,500

370,000

เสื้อผาสวนตัว

3,700

185,000

United Nations Scientific Committee on the Effect of Atomic R di i ให้ Radiation ใ ้ถอื ว่า่ มีกี ารปนเปื ป ปือ้ นทางรงสี ั เี มือ่ื วดค่ ั า่ ปปริ​ิมาณ Cs-137 C 137 บนพื​ื้นดินิ ไได้​้ 37,000 Bq/m2


สถานการณในปจจุ สถานการณในปจจบับน

ผลการตรวจ I-131 และ Cs-137 ในนมและผักโขม พบวามีปริมาณสูงเกินกวามาตรฐานในบางพื้นที่ โดยในขณะนี้มีการจํากัดการขนสงผักกินใบจาก จังหวัดฟุกชุ ิมา อิบารากิ โตชิกิ และกันมะ และ จํากัดการขนสงนมจากจังหวัดฟุกุ ุชิมา

เข็มหมุด-บริเวณที่มีการตรวจวัดปริมาณรังสีในผักโขม (สีเขียวปลอดภัย สี เหลืองสูงกว่าระดับที่อนุญาตสองเท่า สีแดง มากกว่าสามเท่า วงกลม- บริเวณที่มีการตรวจวัดปริมาณรังสีในนม (ความรุนแรงขึ้นอยู่กับ ขนาดของวงกลม))


สถานการณในปจจุ สถานการณในปจจบับน พบการปนเปอนของสารกัมมันตรังสีในน้ําทะเลวัดที่ 100 เมตรทางทิศใตของจุดที่ ปลอยน้ําออกจากโรงไฟฟานิวเคลียร นิวไคลดรังสีหลักๆที่ตรวจพบ (คาครึง่ ชีวิต)

ปริมาณรังสีที่ตรวจพบ (Bq/cm3)

ปริมาณที่อนุญาต (Bq/cm3)

Cobalt-58 (70.8 วัน)

6.0 x 10-2

1.0 x 100

Iodine-131 (8.04 วัน)

5.1 x 100

4.0 x 10-2

Iodine-132 (2.3 (2 3 ชวโมง) ชั่วโมง)

2 1 x 100 2.1

3 0 x 100 3.0

Cesium-134 (2 ป)

1.5 x 100

6.0 x 10-2

Cesium-136 (13.1 วัน)

2.1 x 10-1

3.0 x 10-1

Cesium 137 (30 ป) Cesium-137 ป)

1 5 x 100 1.5

9 0 x 10-2 9.0


การเตรียมความพร้อมกรณีฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสีของประเทศไทย นโยบายการเตรียมพร้อมแห่งชาติ

แผนการป้องกันและ บรรเทา สาธารณภัยั แห่​่งชาติ​ิ

แผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัด

แผนฉุกเฉนทางนวเคลยร แผนฉกเฉิ นทางนิวเคลียร์ และรังสีแห่งชาติ

แผนปฏิบัติการ การป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยแบบบูรณาการ ๑๗ ด้า้ น (ระดับั กระทรวง)

แผนป้องกันประเทศ(กห.) แผนผนึกกําลังและทรัพยากร เพื่อการป้องกันประเทศ

แผนบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงกลาโหม

แผนปฏิบัติการของ หน่วยปฏิบัติ

แผน ปพร. ระดับพื้นที่(อําเภอ //กิ่งอําเภอ เทศบาล /เมืองพัทยา / ตําบล

61


การซ้อมแผนฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี


การเฝาระวังการเตือนภัยทางรังสี การเฝาระวงการเตอนภยทางรงส

มากกวา 1 µSv/h S /h

มากกวา 0.2 มากกวา 02 µSv/h

0.05 – 0.2 µSv/h

ประกาศแจงเตือน (มีการฟุ​ุงกระจายของวัสดุ​ุกัมมันตรังสี) ใหประชาชนหลบอยูในที่พักอาศัย ปดประตู หนาตางใหแนนหนา และปดระบบ ระบายอากาศ ไมประกาศแจงเตือน (ไมมกี ารฟุงกระจายของวัสดุกัมมันตรังสี) ยกเวนถาระดับปริมาณรังสีมากกวา 100 µSv/h จะประกาศแจงเตือนให ประชาชนหลบอยู​ูในที่พักอาศัย ปดประตู​ู หนาตางใหแนนหนา และปดระบบ ระบายอากาศ ระดับปริมาณรังสีที่ตองมีการเฝาระวัง โดยตรวจหาสาเหตุ​ุจากการวิเคราะห ตัวอยางในธรรมชาติไดแก อากาศ ดิน น้ํา หญา

ระดับปริมาณรังสีในระดับธรรมชาติ


การจัดการเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์และรังสี การฟื้นฟู

•อพยพผู้ประสพภัย ประชาชนอื่นๆออกจากที่เกิดเหตุที่เป็นพื้นที่อันตรายให้หมด •การดํ​ําเนิ​ินการ: • การให้ความช่วยเหลือผูป้ ระสพภัยเบื้องต้นที่จําเป็น(ที่พักอาศัย อาหาร น้ํา การรักษาบําบัดจิต) • ประสานงานติดต่อหน่ายงานรับผิดชอบระดับท้องถิ่น ระดับชาติ นานาชาติในการให้ความ ช่วยเหลือผูป้ ระสพภัย • การชําระล้างการเปรอะเปือ้ นทางรังสีประชาชน สถานที่อยู่อาศัย อุปกรณ์ เครื่องมือ •การสํารวจยืนยันการฟื้นฟู​ูกลับสู​ู่ภาวะปกติ

การกลับสู่ภาวะปกติ y y

y

การสารวจและประเมนสถานการณสถานทเกดเหตุ การสํ ารวจและประเมินสถานการณ์สถานที่เกิดเหตขัข้นนสุสดท้ ดทาย าย การดําเนินการ: ◦ การชาระลางการเปรอะเปอนทางรงส การชําระล้างการเปรอะเปื้อนทางรังสี และ ◦ เก็บรวบรวมกากกัมมันตรังสีเพื่อการกําจัด ประกาศการสิ้นสดภาวะฉกเฉิ ประกาศการสนสุ ดภาวะฉุกเฉนน


การดําเนินงานของสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติต่อกรณีเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ ที่ประเทศญี่ป่น ทประเทศญปุ 1.การให้บริการตรวจวัดการปนเปือ้ นสารกัมมันตรังสีแก่สิ่งแวดล้อม 1 1 การตรวจวดอากาศ 1.1 การตรวจวัดอากาศ ปส. ปส มสถานเฝาตรวจกมมนตภาพรงสในอากาศ มีสถานีเฝ้าตรวจกัมมันตภาพรังสีในอากาศ 8สถาน 8สถานี กระจายอยู่ในจังหวัดตามภูมิภาคต่างๆ ซึ่ง ปส. จะแสดงข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ของ สํานักงานแบบ real time 1 2 การตรวจวดอาหาร 1.2 การตรวจวัดอาหาร ปส. ปส ทาการตรวจวด ทําการตรวจวัด ระดังรังสีในอาหาร 5 ชนิด คือ สตรอเบอร์รี่ สาหร่ายสด สาหร่ายแห้ง(วากะเมะ) ข้าวสาร ช็อคโกแล็ต จากประเทศญีป่ ุ่นก่อนเกิดเหตุ ฉุกเฉินทางนิวเคลียร์เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูล และมีการประสานงานกับสํานักงานคณะ กรรมอาหารและยา (อย.) เพื่อทําการ ตรวจสอบอาหารที่นําเข้ามาจากประเทศ ตรวจสอบอาหารทนาเขามาจากประเทศ ญีป่ ุ่นหลังจากเกิดเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ที่ ประเทศญี ญป่ ุ่น


การดําเนินงานของสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติต่อกรณีเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ ที่ประเทศญี่ป่น ทประเทศญปุ 2. การให้บริการตรวจวัดสารกัมมันตรังสีแก่บุคคล 2.1 การตรวจวัดความเปรอะเปื้อนสารกัมมันตรังสีภายนอกร่างกาย แก่ผโู้ ดยสารที่เดินทางมาจาก ประเทศญีป่ ุ่น ทีส่ นามบินสุวรรณภูมิ 2.2 ให้บริการตรวจวัดปริมาณรังสีภายในร่างกายที่สํานักงานปรมาณูเพื่อสันติ


การดําเนินงานของสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติต่อกรณีเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ ที่ประเทศญี่ป่น ทประเทศญปุ 3. ให้ขอ้ มูลความรู้แก่ประชาชน 3.1 มีกี ารให้ ใ แ้ ถลงข่า่ ว ใให้​้สมั ภาษณ์ห์ นั​ังสื​ือพิมิ พ์​์ วิทิ ยุ โโทรทัศั น์​์ และ เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเว็บไซต์ 3.2 จัดั ตั​ัง้ ศูนย์ข์ ้อมูลเหตุการณ์ฉ์ ุกเฉิ​ินทางนิวิ เคลี​ียร์แ์ ละรังั สี​ี เพื​ือ่ ให้ ใ ข้ ้อมูล สถานการณ์และความรู้ทางรังสี ผลกระทบจากรังสี ต่อหน่วยงานที่สนใจ และประชาชนทั ป ว่ั ไป


การดําเนินงานของสํานักงานปรมาณูเพื่อสันติต่อกรณีเหตุฉุกเฉินทางนิวเคลียร์ ที่ประเทศญี่ป่น ทประเทศญปุ 4. การให้ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น 4.1 ศูศนย์ นยกลางการรบขอมู กลางการรับข้อมลเหตการณ์ ลเหตุการณฉุฉกกเฉิ เฉนทางนวเคลยรและรงส นทางนิวเคลียร์และรังสี จากทบวงการพลงงานปรมาณู จากทบวงการพลังงานปรมาณระหว่ ระหวาง าง ประเทศ โดยที่ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของอนุสัญญาว่าด้วยการแจ้งเหตุทางนิวเคลียร์โดยเร็ว (IAEA Early Notification of Nuclear Accident Convention) ในการนี้ IAEA ได้ส่งข้อมูลรายงาน สถานการณ์และปริมาณรังสีในบริเวณต่างๆ ให้กับ ปส. ตั้งแต่เกิดเหตุการณ์จนถึงปัจจุบันมีแถลงการณ์แล้ว จํานวน 20 ฉบับ ในการนี้ ปส. จะดําเนินการแปลและประชาสัมพันธ์ในเวปไซด์ เพื่อให้ประชาชนสามารถ ติดิ ตามขาวสารได้ ่ ไ อ้ ยางทนเหตุ ่ ั การณ์​์จากแหลงขาวที ่ ่ ี่เชื​ื่อถือื ได้ ไ ้ 4.2 ประสานกองทัพอากาศ เพื่อมอบชุดป้องกันการเปรอะเปื้อนสารกัมมันตรังสี จํานวน 20 ชุด สําหรับ เจ้าหน้าที่ที่จะไปปฏิบัติภารกิจใกล้กับสถานที่ที่เกิดเหต เจาหนาททจะไปปฏบตภารกจใกลกบสถานททเกดเหตุ 4.3 ประสานงานกับสมาคมเวชศาสตร์นิวเคลียร์แห่งประเทศไทย เพื่อการรับดูแลผูไ้ ด้รบั ผลกระทบทางรังสี 4.4 จัดวิทยากรให้ความรู้ด้านรังสีแก่เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานอื่นที่จะเดินทางไปให้ความช่วยเหลือในประเทศ ญีป่ ุ่น ได้แก่ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย กระทรวงการต่างประเทศ


ขอบคณค่ ขอบคุ ณคะะ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.