โรงงานชีวมวล

Page 1

1

การศึกษาผลกระทบตอสุขภาพ กรณี โรงไฟฟาชีวมวล ขนาดกําลังการผลิตต่ํากวา 10 เมกกะวัตต กองประเมินผลกระทบตอสุขภาพ กรมอนามัย

1. สถานการณและความสําคัญของปญหา ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรมที่มีสารอินทรียที่เปนแหลงกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถ นํามาใชผลิตพลังงานได เชน เศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตรหรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรม การเกษตร ที่เรียกวา ชีวมวล เชน ฟางขาว แกลบ กากออย มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว กะลาปาลม และไม ยางพารา เปนตน สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2545) รายงานวาปริมาณชีวมวลจากเศษวัสดุเหลือใชทาง การเกษตรที่ผลิตภายในประเทศ มีปริมาณรวมทั้งหมด 48,293,260 กิโลกรัม สามารถเปลี่ยนเปนพลังงานไฟฟา ไดมากถึง 9,630.18 เมกกะวัตต โรงไฟฟาพลังงานชีวมวลจึงเปนทางเลือกหนึ่งในการผลิตกระแสไฟฟาของ ประเทศไทย โดยรัฐบาลไดมีนโยบายดานพลังงานในการสนับสนุนดานเงินทุนแกผูผลิตไฟฟาขนาด จากขอมูล ของสํานักนโยบายและแผนพลังงาน พบวา ในปจจุบนั มีจํานวนโรงไฟฟาชีวมวลในประเทศไทยทั้งหมด 232 แหง แบงเปนภาคเหนือ 32 แหง ขนาดกําลังการผลิต 9.0-9.9 เมกกะวัตต 31 แหง ขนาดกําลังการผลิต 0.16 เมกกะวัตต จํานวน 1แหง , ภาคกลาง 101 แหง ขนาดกําลังการผลิต 9.0-9.9 เมกกะวัตต 70 แหง ขนาดกําลังการผลิต ต่ํากวา 1 เมกกะวัตต จํานวน 4 แหง, ภาคอีสาน 86 แหง ขนาดกําลังการผลิต 9.0-9.9 เมกกะวัตต 73 แหง ขนาดกําลังการ ผลิต 6 – 8.9 เมกกะวัตต 15 แหง และขนาดกําลังการผลิต 0.75 เมกกะวัตต 1 แหง และภาคใต 13 แหง ขนาดกําลัง การผลิต 9.0-9.9 เมกกะวัตต 5 แหง ขนาดกําลังการผลิตต่ํากวา 1 เมกกะวัตต จํานวน 1 แหง (สํานักนโยบายและ แผนพลังงาน กันยายน, 2552) ในกระบวนการผลิตไฟฟาจะตองมีการเผาชีวมวลเปนจํานวนมาก เพื่อนําพลังงานความรอนที่ไดมาผลิตไอ น้ําเพื่อหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา ซึ่งจะทําใหเกิดมลพิษอยางหลีกเลีย่ งไมได มลพิษทีเ่ กี่ยวของกับโรงไฟฟาชีวมวลที่ สําคัญไดแก ฝุนละออง (Particulate matter) ประกอบดวยฝุนละอองขนาดใหญ ฝุนละอองขนาด 10 ไมครอน (PM 10) กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ที่เกิดจากการทําปฏิกริยาของสารไนโตรเจนในพืชและออกซิเจนใน อากาศในขณะที่เผา นอกจากนี้ยังมีกาซโอโซน (O3) จากการทําปฎิกริยาตอเนื่องของออกไซดของไนโตรเจนกับ สารมลพิษตัวอื่นในสิ่งแวดลอมโดยมีแสงแดดเปนตัวกระตุน กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) และกาซซัลเฟอรได ออกไซด (SO2) ที่ไดจากกระบวนการเผาไหม แมจะมีไมมากเมือ่ เทียบกับเชื้อเพลิงฟอสซิล เนื่องจากพืชมี องคประกอบของสารซัลเฟอรในระดับต่ํากวา นอกจากมลพิษทางอากาศแลว โรงไฟฟาชีวมวลอาจทําใหเกิดปญหา มลพิษทางน้ําได เนื่องจากตองมีการใชน้ําเปนจํานวนมากในกระบวนการหลอเย็นและการทํางานของเครื่องจักร รวมถึงกิจกรรมการขนวัตถุดิบเขาโรงไฟฟาอาจทําใหเกิดปญหาเสียงดัง (ศูนยสง เสริมพลังงานชีวมวล, 2549) มลพิษและสิ่งคุกคามสุขภาพเหลานี้ที่อาจสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนโดยรอบบริเวณ โรงไฟฟาได และที่ผานมาโครงการโรงไฟฟาชีวมวลในหลายพืน้ ที่ไดถูกคัดคานจากประชาชนในพื้นที่ เชน จังหวัด สุพรรณบุรี นครสวรรค สิงหบุรี ตรัง และพิจิตร และมีการยื่นหนังสือรองเรียนตอคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนของ ชาวบานในจังหวัดอุบลราชธานี ประจวบคีรีขันธ ตาก เชียงราย และชุมพร กรณีไดรับความเดือดรอนจากการสราง


2

โรงไฟฟาชีวมวล ขนาดกําลังการผลิตต่ํากวา 10 เมกกะวัตต โดยเฉพาะโรงไฟฟาชีวมวลที่ อ.ทาแซะ จ.ชุมพร พบวามีโรงไฟฟาชีวมวลตั้งอยูหางจากโรงพยาบาลไมถึง 1 กิโลเมตร และหางจากสถานเลี้ยงเด็กเพียง 500 เมตร เทานั้น ทําใหเกิดฝุนและขี้เถาฟุงกระจายออกมาจนทําใหชาวบานเดือดรอนเนื่องจากโรงไฟฟาขนาดดังกลาวไมตอ ง ทํารายงานวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอมหรือ EIA และกระบวนการรับฟงความคิดเห็นของชุมชน แตตองอยู ภายใตการกํากับดูแลของคณะกรรมการกํากับนโยบายพลังงาน ซึ่งยังไมมีกฎหมายหรือระเบียบปฏิบัติในการ ตรวจสอบผลกระทบจากการดําเนินการของโรงไฟฟาชีวมวล ขนาดกําลังการผลิตต่ํากวา 10 เมกกะวัตต จึง กอใหเกิดความวิตกตอผลกระทบดานสุขภาพและสิ่งแวดลอมที่อาจเกิดขึ้นตามมา 2. ความหมายของชีวมวล ชีวมวล (Biomass) คือ สารอินทรียที่เปนแหลงกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนํามาใชผลิต พลังงานได เชน เศษวัสดุเหลือใชทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร ไดแก แกลบ ฟางขาว เศษไมยางพารา กากออย ใบออยและยอดออย เหงามันสําปะหลัง เปลือกและกากมัน สําปะหลัง กากปาลม ใบปาลมและตนปาลม ซังขาวโพด เปนตน 3. เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากชีวมวล เทคโนโลยีดั้งเดิมที่ใชในการผลิตไฟฟาที่ใชชีวมวลเปนเชื้อเพลิงสามารถแบงระบบการทํางานเปน 5 ระบบ ดังนี้ 1) การเผาไหมโดยตรง (Direct-Fired) 2) การเผาไหมโดยใชเชื้อเพลิงสองชนิดขึ้นไป (Cofiring) 3) แกสซิฟเคชั่น (Gasification) 4) การยอยสลายแบบไรอากาศ (Anaerobic Digestion) และ 5) ไพโรไลซิส (Pyrolysis) 3.1 การเผาไหมโดยตรง (Direct-Fired) โรงไฟฟาชีวมวลสวนใหญจะใชระบบการเผาไหมโดยตรง (Direct-Fired) คือนําเชื้อเพลิงชีวมวล มาเผา เพื่อใหความรอนกับหมอไอน้ํา (Boiler) และนําไอน้ําและความดันไอน้ําไปหมุนกังหันที่ตออยูก ับเครื่องกําเนิด ไฟฟา ไอน้ําที่ไดนอกจากจะนํามาผลิตไฟฟาแลวยังนําไปใชในขั้นตอนการผลิตของโรงงานดวย การใชเชื้อเพลิง เพื่อผลิตไฟฟาและไอน้ํารวมกัน (Cogeneration) เปนระบบที่มีประสิทธิภาพในการใชเชื้อเพลิงสูง 3.2 การเผาไหมโดยใชเชื้อเพลิงสองชนิดขึน้ ไป (Cofiring) โรงไฟฟาที่ใชระบบนี้จะมีการใชเชื้อเพลิงมากกวาหนึ่งชนิดเพื่อเพิ่มความยืดหยุนในการผลิตไฟฟา และ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพลดตนทุนการผลิต หรือลดการปลอยมลพิษ ระบบที่นิยมใช คือ เชื้อเพลิงชีวมวลเผารวมกับ ถานหิน (Cofiring) เพื่อเปนการลดการปลอยกาซซัลเฟอรไดออกไซด 3.3 แกสซิฟเคชั่น (Gasification) ระบบแกสซิฟเ คชั่น (Gasification) เปนการเปลี่ยนชีวมวลใหกลายเปนกาซ โดยการเผาที่อุณหภูมิสูงภายใต สภาวะทีพ่ รองอากาศ กาซที่ไดจะประกอบดวยไฮโดรเจน คารบอนมอนอกไซด และมีเทน จากนั้นจึงนํากาซที่ได ไปใชกับเครื่องยนตเพื่อไปหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา ระบบแกสซิฟเคชั่นนี้เหมาะกับโรงผลิตไฟฟาขนาดเล็ก ระบบนี้ อาจมีปญหาน้าํ มันดิน (Tar) ที่เกิดจากการเผาไหม ซึ่งอาจทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาเสียหาย


3

3.4 การยอยสลายแบบไรอากาศ (Anaerobic Digestion) ระบบนี้จะนําชีวมวลมายอยสลายจนไดกาซภายใตสภาวะไมมีอากาศ (Anaerobic Digestion) กาซที่ไดสวน ใหญจะเปน กาซมีเทน (Methane) สามารถใชเผาไหมเพื่อใหไดพลังงานไปใชผลิตกระแสไฟฟาได ระบบที่มีการใช กันมากในประเทศไทยคือการนําของเสียจากฟารมเลี้ยงสัตวมาหมักใหเกิดกาซชีวภาพ 3.5 ไพโรไลซิส (Pyrolysis) ระบบนี้จะนําชีวมวลมาทําใหอยูในรูปของเชื้อเพลิงเหลว โดยใชกระบวนการที่เรียกวา ไพโรไลซิส (Pyrolysis) ซึ่งเปนการใหความรอนกับชีวมวลโดยปราศจากอากาศ หรือออกซิเจน สารชีวมวลจะกลายสภาพไป เปนน้ํามันเหลวที่เรียกวา น้ํามันไพโรไลซิส สามารถใชเผาไหมเพื่อใหพลังงานและผลิตไฟฟาไดเหมือนกับน้ํามัน ปโตรเลียม 4. กระบวนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาชีวมวล กระบวนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาชีวมวล สามารถอธิบายรายละเอียด ไดดังนี้ 4.1 การเตรียมเชื้อเพลิงกอนการใชงานในกระบวนการผลิตกระแสไฟฟาและไอน้ําของโรงงานฯ มีความ จําเปนตองเตรียมเชื้อเพลิงชีวมวลใหมีขนาดเหมาะสมกอนนําไปใชเปนเชื้อเพลิงที่หองเผาไหมของหมอไอน้ํายกเวน กากออยและแกลบ ที่สามารถนําไปใชเปนเชื้อเพลิงไดทนั ที 4.2 การลําเลียงเชื้อเพลิงแตละชนิดเขาสูห องเผาไหมของหมอไอน้ํา เชื้อเพลิงชีวมวลในการผลิตกระแส ไฟฟาและไอน้ําของโรงไฟฟา อาจแบงเปนเปนการใชเชื้อเพลิงหลัก และเชื้อเพลิงเสริม 4.3 ระบบเผาไหมเชื้อเพลิงในหองเผาไหมของหมอไอน้าํ (Boiler) กระบวนการเผาไหมเริ่มจากการจุดไฟ เผาเชื้อเพลิงจนไดอณ ุ หภูมิในหองเผาไหมตามที่กําหนด จากนั้นจึงปอนเชื้อเพลิงชีวมวลเขาสูหองเผาไหม เชื้อเพลิง ที่ปอนเขาไปจะทําการเผาไหมที่หองเผาไหมของหมอไอน้ํา สําหรับขี้เถาที่เหลืออยูบริเวณสวนทายของตะกรับ (Ash Zone) จะตกลงสูกนเตา และกวาดออกโดยสาน พานลําเลียงเถาเรียกวา เถาหนัก (Bottom Ash) ลงสูอางน้ํารองรับเถา เพื่อลดอุณหภูมิและการฟุงกระจายของขี้เถา กอนลําเลียงดวยสายพานลําเลียงเพื่อเก็บในบอเก็บเถารอการขนถายตอไป สวนที่มีน้ําหนักเบาเมื่อถูกเผาแลวจะผสมในไอรอนและปลิวออกไปจากหองเผาไหมทางชองไอรอน เรียกวา เถา เบา (Fly Ash) ซึ่งจะผานอุปกรณดกั ฝุน กอนที่จะระบายออกสูภายนอก 4.4 เครื่องกังหันไอน้ําและเครื่องกําเนิดไฟฟา (Steam Turbine and Generator) ไอน้ําความดันสูงที่ไดจาก หมอไอน้ําจะถูกสงมาที่กังหันไอน้ํา (Steam Turbine) เพื่อเปลี่ยนพลังงานความรอนของไอน้ําเปนพลังงานกล หมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาขนาด และผลิตเปนกระแสไฟฟาตอไป 4.5ระบบหมอแปลงไฟฟา สายสงไฟฟาและระบบไฟฟาสํารองพลังงานจากเครื่องกําเนิดไฟฟา (Generator) ที่ผลิตไดของโรงไฟฟา จะถูกสงผานหมอแปลงลดแรงดันไฟฟา (Step Down Transformer) เพื่อใชในโรงไฟฟา สวนพลังงานไฟฟาที่เหลือจะสงผานไปยังหมอแปลงเพิ่มแรงดันไฟฟา (Step Up Transformer) เพือ่ สงขายใหกับ การไฟฟาฝายพลังงานแหงประเทศไทย 4.6 หอหลอเย็น (Cooling Tower) หอหลอเย็นของโรงไฟฟาเปนระบบปด (Close System) ประกอบดวย เครื่องควบแนน (Condenser) และหอหลอเย็น (Cooling Tower) เครื่องควบแนน ทําหนาที่ควบแนนไอน้ําทีผ่ าน


4

ออกมาจากกังหันไอน้ํา โดยการแลกเปลี่ยนความรอน น้าํ หลอเย็นที่ผานเครื่องควบแนนแลว ซึ่งมีอุณหภูมิสูงขึ้นจึง ถูกสงไประบายความรอนทีห่ อหลอเย็น ซึ่งน้ําหลอเย็นสวนนี้จะนํากลับมาใชใหมอยางไรก็ตาม น้ําสวนหนึ่งจะ ระเหยไปในอากาศทําใหความเขมขนของสารตางๆรวมทั้งความขุนในน้ําหลอเย็นเพิ่มขึ้น จึงจําเปนตองระบายน้ํา สวนหนึ่งทิง้ ไปเรียกวา Blowdown Water และตองนําน้าํ จํานวนใหมเติมเขามาซึ่งรัยกวา Make Up Water

ชีวมวล (วัตถุดิบ)

ระบบเตาเผา และ หมอไอน้ํา

เครื่องกังหันไอน้ํา เปลี่ยนไอน้ําเปน พลังงานกล

เครื่องกําเนิดไฟฟา ผลิตกระแสไฟฟา

กระแสไฟฟา

น้ํา DI

โรงไฟฟา

เครื่องควบแนน/หอหลอเย็น ควบแนนไอน้ํา กระแสไฟฟา

น้ํารอน

รูปที่ 1 ขั้นตอนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาชีวมวล

รูปที่ 2 ขั้นตอนการผลิตไฟฟาของโรงไฟฟาชีวมวลเปนพลังงานรวมในภาคอุตสาหกรรม

EGAT


5

5. มลพิษและผลกระทบทางสุขภาพจากโรงไฟฟาชีวมวล ในกระบวนการผลิตไฟฟาจะตองมีการเผาชีวมวลเปนจํานวนมาก เพื่อนําพลังงานความรอนที่ไดมาผลิต ไอน้ําเพื่อหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟา ซึ่งจะทําใหเกิดมลพิษอยางหลีกเลี่ยงไมได มลพิษที่เกี่ยวของกับโรงไฟฟาชีวมวล ที่สําคัญ ไดแก ฝุนละออง (Particulate matter) ประกอบดวยฝุน ละอองขนาดใหญ ฝุนละอองขนาด 10 ไมครอน (PM 10) กาซออกไซดของไนโตรเจน (NOx) ที่เกิดจากการทําปฏิกริยาของสารไนโตรเจนในพืชและ ออกซิเจนในอากาศในขณะที่เผา นอกจากนี้ยังมีกาซโอโซน (O3) จากการทําปฎิกริยาตอเนื่องของออกไซดของ ไนโตรเจนกับสารมลพิษตัวอื่นในสิ่งแวดลอมโดยมีแสงแดดเปนตัวกระตุน กาซคารบอนมอนอกไซด (CO) และ กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ที่ไดจากกระบวนการเผาไหม แมจะมีไมมากเมื่อเทียบกับเชื้อเพลิงฟอสซิล เนื่องจาก พืชมีองคประกอบของสารซัลเฟอรในระดับต่ํากวา นอกจากมลพิษทางอากาศแลว โรงไฟฟาชีวมวลอาจทําใหเกิด ปญหามลพิษทางน้ําได เนื่องจากตองมีการใชน้ําเปนจํานวนมากในกระบวนการหลอเย็นและการทํางานของ เครื่องจักร รวมถึงกิจกรรมการขนวัตถุดบิ เขาโรงไฟฟาอาจทําใหเกิดปญหาเสียงดัง (ศูนยสงเสริมพลังงานชีวมวล, 2549) มลพิษและสิ่งคุกคามสุขภาพเหลานีท้ ี่อาจสรางผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพของประชาชนโดยรอบ โรงไฟฟาได 6. การศึกษาที่เกี่ยวของกับผลกระทบตอสุขภาพจากโรงไฟฟา จากการทบทวนรายงานการศึกษาผลกระทบของมลพิษทางอากาศจากโรงไฟฟาชีวมวล พบวายังมี การศึกษานอย ขอมูลผลกระทบตอสุขภาพในรายงานสวนใหญเปนผลการศึกษามลพิษทางอากาศจากในเมืองใหญ และมลพิษจากโรงไฟฟาที่ใชเชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (fossil fuel) ซึ่งอาจสรางผลกระทบที่แตกตางกับมลพิษทาง อากาศที่เกิดจากการเผาชีวมวล เนื่องจากมีสัดสวนและองคประกอบทางเคมีที่ไมเหมือนกัน ประเด็นนี้เปนที่สนใจ ของทุกฝายที่เกี่ยวของและอาจมีความเขาใจที่ไมตรงกัน การศึกษาในตางประเทศพบวาควันจากการเผาไมประกอบดวยฝุนซึ่งสวนใหญมีขนาดเล็กกวา 2.5 (PM2.5) และเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10) ซึ่งสามารถเขาไปถึงปอดและถุงลมปอดได และพบวาฝุน และกาซเหลานี้มี สารอินทรียที่เปนอันตรายตอสุขภาพปนอยูหลายชนิด ไดแก Polycyclic aromatic hydrocarbon (PAH) phenols, aldehydes, alkenes, alkanes and aromatics รวมทั้งสารกอมะเร็งอีกหลายชนิด ไดแก benzo(a)pyrene, chrysene, dibenzo(a,h)anthracene, benzene, and formaldehyde รวมถึงธาตุรองรอย (trace elements)อื่นๆอีกดวย ปริมาณและ ชนิดของสารเคมีในควันจากการเผาจะขึ้นกับชนิดของเชื้อเพลิง เทคโนโลยี และวิธีการเผา (Health consultation) 6.1 ผลกระทบตอสุขภาพของฝุน จากการเผาชีวมวล การสัมผัสฝุนและควันจากการเผาไมเกี่ยวของกับการเกิดผลกระทบตอสุขภาพทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ผลกระทบตอสุขภาพที่สําคัญไดแก ลดประสิทธิภาพการหายใจ เพิ่มการเขารักษาตัวในโรงพยาบาล หรือเพิ่มการ เสียชีวิตจากโรคหัวใจ โรคทางเดินหายใจ และโรคในระบบหลอดเลือด การศึกษาพบวาถาฝุนละออง PM2.5 หรือ PM10 ทีเพิ่มขึ้น 10 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรจะเพิม่ ความเสี่ยงตอการเสียชีวิตตอวันเพิ่มขึน้ ระหวางรอยละ 0.7 และ 8 คนที่เสี่ยงตอการเสียชีวิตนี้คือคนที่มโี รคประจําตัว เชน โรคหัวใจ โรคในระบบทางเดินหายใจ (หอบหืด โรค ปอดอุดกั้น คนชรา คนสูบบุหรี่ แมแตการรับสัมผัสในระยะสั้นๆเพียงหนึ่งชั่วโมง ถึงสองวันก็อาจทําใหเกิด เชน ทํา


6

ใหเกิดหัวใจวาย หรือเสียชีวิตไดแลว ผูท ี่สัมผัสฝุนควันเปนเวลานานๆจะมีความเสี่ยงตอการเปนโรคหัวใจ และ โรคในระบบทางเดินหายใจ (ref above) ฝุนจากการเผาไมจะมีองคประกอบที่เปนอนุภาคอิสระ (free radicals) ซึ่งถาเขาสูรางกายจะไปดึง อิเล็กตรอน ทําใหเซลของรางกายถูกทําลาย เซลเหลานี้บางสวนอาจจะตายหรือมีการทํางานที่ผิดปกติไป ผลกระทบ นี้จะทําใหเกิดความเครียดตอรางกาย และเพิ่มความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง องคการอนามัยโลกประมาณวาควันจาก การเผาไมทําใหมีความเสี่ยงตอการเปนมะเร็งสองกวาควันบุหรี่ถึง 12 เทา (Rozenberg 2001, What's in Wood Smoke and Other Emissions) ผลการศึกษาที่ทําใหเกิดความกังวลมากขึ้นของผลกระทบของฝุนละออง รวมถึงฝุนจะการเผาไมดวย คือ พบวาการรับสัมผัสฝุนแมในชวงเวลาสั้นๆ ถึง 24 ชั่วโมง ก็มีผลตอสุขภาพของกลุมที่มีความไวตอผลกระทบ แลว ผลกระทบที่มีการรายงานแลว คือ เพิม่ ความเสี่ยงตออาการหัวใจลมเหลว เปลี่ยนแปลงอัตราการเตนของหัวใจ ( Brook RD, Franklin B, Cascio W, Hong Y, Howard G, Lipsett, M. Air pollution and cardiovascular disease: a statement for healthcare professionals from the expert panel on population and prevention science of the American Heart Association. Circulation 2004;109: 2655-2671. ) นอกจากนีย้ ังมีความกังวลตออันตรายของฝุนที่มีตอเด็ก โดยเฉพาะผลกระทบในระยะยาว เนือ่ งเด็กมี โอกาสไดรับฝุนเขาสูรางกายไดมากกวาผูใหญ เพราะปอดของเด็กยังมีการเจริญเติบโตไมดีเทาปอดของผูใหญ มี จํานวนถุงลมปอด (alveoli) ที่นอยกวา ผนังปอดที่ยังไมสมบูรณ และมีอัตราการหายใจที่สูงกวาผูใหญ (Schwartz J. Air pollution and children’s health. Pediatrics 2004;113: 1037-1043) 6.2 ผลกระทบตอสุขภาพของควันจากการเผาชีวมวล การศึกษาของตางประเทศพบวาควันจากการเผาชีวมวลประกอบดวยสารเคมีนับหลายพันชนิด ปริมาณ และองคประกอบของควันนีข้ ึ้นอยูกบั เชื้อเพลิง อุณหภูมิ และอากาศที่ใชเผา มีสารเคมีหลายชนิดที่ทราบแลววามี อันตรายตอสุขภาพไดแก ฝุน กาซคารบอนไดออกไซด ไอน้ํา คารบอนมอนอคไซด ไฮโครคารบอน ออกไซดของ ไนโตรเจน และสารอื่นๆอีกนักพันชนิด ตารางที่ 1 แสดงสารมลพิษที่เกิดจากการเผาเชื้อเพลิงชีวมวล ในจํานวนนี้ 28 ตัว อยูในรายชื่อสารที่มีอันตรายตอสุขภาพขององคการพิทักษสิ่งแวดลอมของอเมริกา (EPA) และ มีอยางนอย หากลุมสารที่สถาบันวิจัยมะเร็งนานาชาติ (International Agency for Research on Cancer, IARC) ระบุวาเปนสารกอ มะเร็ง สารกอมะเร็งที่พบไดแก สารพีเอเฮช (polycyclic aromatic hydrocarbons (PAH) เบนซีน ฟอรมาลีน 1,3 บิ วตะไดอีน และสารอนุมูลอิสระ (free radicals) ซึ่งถาเขาสูรางกายจะไปดึงอิเล็กตรอนทําใหเซลของรางกายถูก ทําลาย เซลเหลานี้บางสวนอาจจะตายหรือมีการทํางานทีผ่ ิดปกติไป ผลกระทบนี้จะทําใหเกิดความเครียดตอรางกาย และเพิ่มความเสี่ยงตอการเปนมะเร็ง (Naeher et.al, 2007)


7

ตารางที่ 1 สารมลพิษหลักทีพ่ บในควันจากการเผาชีวมวล สารเคมี ตัวอยาง กาซอนินทรีย คารบอนมอนอคไซด โอโซน

แหลงกําเนิด การเผาไหมทไี่ มสมบูรณ ปฏิกริยาระหวางไนโตรเจนไดออกไซดและ ไฮโดรคารบอน ไนโตรเจนไดออกไซด การเผาไหมองคประกอบที่เปนไนโตรเจน ไฮโดรคารบอน PAH และสาร Saturated and unsaturated อีก การเผาไหมทไี่ มสมบูรณ เปนจํานวนหลายรอยชนิด สารอินทรียที่มี มีหลายรอยชนิด เชน อัลดีไฮด อัลกอฮอล ฟ การเผาไหมทไี่ มสมบูรณ หมูออกซิเจน นอล ควิโนน เปนตน (oxygenated organics) สารอินทรียที่มี ไดออกซิน เมธิลลีนคลอไรด เมธิลคลอไรด การเผาไหมองคประกอบที่เปนคลอรีน หมูคลอรีน (chlorinated organics) อนุมูลอิสระ ยังไมทราบชัดวาเกิดขึ้นอยางไร (free radicals) อนุภาค PM10 การควบแนนของกาซ การเผาไหมชนิดไม (particulate สมบูรณ matter) PM2.5 การควบแนนของกาซ การเผาไหมชนิดไม สมบูรณ แหลงที่มา: ดัดแปลงจาก Naeher et al., 2007. จากการทบทวนพบรายงานการศึกษาผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษทางอากาศจากการเผาชีวมวลใน ลักษณะที่เปนอากาศภายนอกอาคาร หรือ ambient air ตอประชาชนที่อยูในพื้นทีใ่ กลเคียง เพียง 9 การศึกษา (Boman Forsbeg & Jarvholm, 2003) สวนใหญเปนการศึกษาผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษทางอากาศที่เกิดจาก การเผาเชื้อเพลิงประเภทไม (wood burning)ในประเทศพัฒนาแลว ซึ่งคาดวาจะใชเทคโนโลยีที่ดีกวาการเผาใน ประเทศกําลังพัฒนาและประเทศไทย ทัง้ หมดเปนการศึกษาเพื่อหาความสัมพันธกบั ผลกระทบประเภทผลกระทบ จากการสัมผัสมลพิษในระยะสั้น (short-term exposure) ไดแก การเปนโรคหอบหืด อาการในระบบหายใจ การ เสียชีวิตรายวัน และการทํางานของปอด ผลการศึกษาพบความสัมพันธที่ชัดเจน ระหวางฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนกับอาการในระบบหายใจ ไดแก อัตราการเสียชีวิตรายวัน (daily mortality) อาการหอบหืด (asthma symptoms) การเขารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลดวยโรคหอบหืด (asthma hospital admissions) สถิติคนไขหอบ


8

หืดที่เขาหองฉุกเฉิน (asthma emergency room visits) อาการในระบบหายใจ (respiratory symptoms) และ การ ลดลงของประสิทธิภาพปอด (FEV1&FVC) นอกจากนี้ Boman Forsberg และ Jarvholm (2003) ไดพยายามเปรียบเทียบระดับของความสัมพันธของ การศึกษาเหลานี้กับการศึกษาความสัมพันธระหวางผลกระทบตอสุขภาพกับฝุนในสิ่งแวดลอมทัว่ ไป โดยยึดขอมูล ในรายงานขององคการอนามัยโลก และการศึกษาที่ดเี ยี่ยมลาสุดในยุโรป ก็พบวาความสัมพันธระหวางฝุน จากการ เผาชีวมวลมีความสัมพันธอยางชัดเจนกับสุขภาพ และมีคาความเสี่ยงสัมพัทธที่สงู กวาฝุนจากบรรยากาศทัว่ ไป ผูวิจัยจึงสรุปวา “ถึงแมวาจะมีขอมูลไมมาก แตกไ็ มมีเหตุผลที่จะสรุปวาผลกระทบของฝุนในพื้นที่ปนเปอนดวย มลพิษทางอากาศจากควันจากการเผาไมจะนอยกวามลพิษทางอากาศในพื้นที่อนื่ ๆ” รูปที่ 3 แสดงความเสี่ยง สัมพัทธ (relative risk) สําหรับผลกระทบตอสุขภาพกับฝุน PM10 ที่เพิ่มขึ้น 10 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร กราฟ ทึบ คือคาความเสี่ยงสัมพัทธ จากการศึกษาผลกระทบจากฝุนจากการเผาชีวมวล กราฟโปรงเปนผลกระทบจากฝุน ในบรรยากาศทั่วไป ชวงคาความเชื่อมั่นทีแ่ สดงคือ เปนชวงความเชื่อมั่นที่รอยละ 95

รูปที่ 3 ความเสี่ยงสัมพัทธ (Relative risk) สําหรับผลกระทบตอสุขภาพกับฝุน PM10 ที่เพิ่มขึ้น 10 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร

ผลกระทบตอสุขภาพของควันไฟจากการเผาชีวมวลจะขึ้นอยูกับความเขมขนของมลพิษ ระยะเวลาสัมผัส อายุ ความไวตอผลกระทบของแตละบุคคล และการเปนโรคปอดหรือโรคหัวใจของผูสัมผัส ในปจจุบันขอมูล ผลกระทบตอสุขภาพจากการเผาชีวมวลยังมีจํากัด จากการทบทวนวรรณกรรมพบวาผลกระทบของควันไฟจากการ เผาชีวมวลมีตงั้ แต ทําใหระคายเคืองตอตาและระบบทางเดินหายใจ ไปจนถึงการเกิดอันตรายรายแรง ไดแก ทําให เกิดโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจสวนลางชนิดเฉียบพลัน (Acute lower respiratory diseases) ในเด็กอายุต่ํากวา


9

5 ป และโรค ปอดอุดกั้น (Chronic obstructive pulmonary disease) ในผูหญิง ซึ่งในปจจุบันมีขอมูลหลักฐาน สนับสนุนอยางชัดเจนแลว สวนความเกี่ยวของกับการเกิดโรคมะเร็ง หอบหืด วัณโรค การทําหนาที่ของปอด และ การอุดกั้นทางเดินหายใจ ยังมีหลักฐานไมมากนัก (ตารางที่ 2) (Torres-Duque, et al., 2008) โรคและผลกระทบตอ สุขภาพที่สําคัญที่เกี่ยวของกับควันจากการเผาชีวมวลมีดงั นี้ ตารางที่ 2 ความเสี่ยงสัมพัทธของผลกระทบตอสุขภาพที่เกี่ยวกับควันจากการเผาเชื้อเพลิงชีวมวล ระดับ ผลกระทบ กลุมตัวอยาง ความเสี่ยงสัมพัทธ ชวงความเชื่อมั่น หลักฐาน (Relative risk) (95% CI) หนักแนน ALRI เด็ก อายุต่ํากวา 5 ป 2.3 1.9-2.7 (strong) COPD ผูหญิง อายุมากกวา 30 ป 3.2 2.3-48 ปานกลาง COPD ผูชาย อายุมากกวา 30 ป 1.8 1.0-3.2 ปานกลาง มะเร็งปอด ผูหญิง อายุมากกวา 30 ป 1.5 1.0-2.1 หอบหืด เด็กอายุ 5-14 ป 1.6 1.0-2.5 อายุมากกวา 15 ป 1.2 1.0-1.5 ทุกกลุม cataracts อายุมากกวา 15 ป 1.3 1.0-1.7 ทุกกลุม วัณโรค อายุมากกวา 15 ป 1.5 1.0-2.4 ทุกกลุม แหลงที่มา: ดัดแปลงมาจาก Torres-Duque, et al., 2008 ALRI = Acute lower respiratory infection COPD = Chronic obstructive pulmonary disease

6.2.1 การติดเชื้อเฉียบพลันในทางเดินหายใจสวนลาง (Acute lower respiratory infection, ALRIs) การติดเชื้อเฉียบพลันในทางเดินหายใจสวนลางเปนสาเหตุการปวยสําคัญของโลก โดยการติดเชือ้ ในระบบ นี้ทําใหเกิดการปวยถึงรอยละ 7 ของการเจ็บปวยของทุกโรค นอกจากนี้โรคดังกลาวยังทําใหเกิดการเสียชีวิตใน ลําดับแรกในกลุมโรคติดเชื้อดวยกัน โดยทัว่ โลกคาดวาจะมีผูเสียชีวิตจากสาเหตุนี้ถึง 4 ลานคน ในจํานวนนี้ 2 ลาน คนเปนเด็กที่มอี ายุต่ํากวา 5 ป ในปจจุบันมีผลการศึกษาทั่วโลกสนับสนุนผลกระทบนี้ (Torres-Duque, et al., 2008) Smith, Samet, Romieu, & Bruce (2000) ไดทบทวนรายงานการศึกษาทัว่ โลก แบงเปนการศึกษาจาก ประเทศกําลังพัฒนา 14 เรื่อง และจากประเทศพัฒนาแลว 2 เรื่อง แยกตามรูปแบบการศึกษา ไดเปนการศึกษาแบบ ยอนหลัง (case-control study) 9 เรื่อง และเปนการศึกษาแบบไปขางหนา (cohort study) 4 เรื่อง case-fatality 1 เรื่อง และ การศึกษาแบบ case-control จากประเทศพัฒนาแลว 2 เรื่อง พบวา เชื้อเพลิงชีวมวลที่ใชมีหลายชนิด


10

ไดแก ฟน เศษวัสดุทางการเกษตร มูลสัตว ผลการศึกษาพบวาเด็กที่อยูในครอบครัวที่ใชเชื้อเพลิงชีวมวลมีความ เสี่ยงตอการเปนโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลันสูงกวาเด็กในครอบครัวที่ใชเชื้อเพลิงที่สะอาด กวา โดยมีคาความเสี่ยงสัมพัทธอยูที่ 2.2-9.9 (ตารางที่ 3) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธในเชิงเสนระหวางระดับรับสัมผัสและผลกระทบ (exposure-response) ผลกระทบของควันจากชีวมวลไดรับการยืนยันอีกครั้งจากการศึกษาแบบไปขางหนา (Prospective cohort study) เพื่อศึกษาผลกระทบของควันจากการใชเชือ้ เพลิงชีวมวลสําหรับทําอาหาร โดยไดติดตามการรับสัมผัสของกลุม ตัวอยางอยางละเอียดกวาสองป รายงานวาระดับฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนมีความสัมพันธกับการเกิดโรคระบบ ทางเดินหายใจเฉียบพลัน (acute respiratory infection) อยางชัดเจน โดยกราฟความสัมพันธระหวางระดับรับสัมผัส และผลกระทบ (exposure-response) มีลักษณะโคงลง กลาวคือการเพิม่ ขึ้นของผลกระทบจะคอยๆลดลง และที่ความ เขมเขน ของฝุนในชวง 1000-2000 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตรผลกระทบจะไมเพิ่มมากขึ้นตอไป (Ezzati & Kammen, 2001) ตารางที่ 3 สรุปผลการศึกษาผลกระทบตอการเกิดการติดเชื้อเฉียบพลันในทางเดินหายใจสวนลาง ในเด็กในประเทศกําลังพัฒนา การศึกษา ความสัมพันธ Case-control studies ( 9 เรื่อง) OR = 2.2-90 ไมพบความสัมพันธ 3 เรื่อง กลุมตัวอยาง 4311 คน Cohort studies จํานวน 4 เรื่อง OR = 2.2-6.0 ไมพบความสัมพันธ 1 เรื่อง กลุมตัวอยาง 910 คน Case-fatality study จํานวน 1 เรื่อง OR = 4.8 กลุมตัวอยาง 103 คน Case-control ในประเทศทีพ่ ฒ ั นาแลว OR = 4.8-7.0 กลุมตัวอยาง 206 คน แหลงที่มา: Smith, Samet, Romieu & Bruce, 2000 6.2.2 โรคปอดอุดกั้น โรคปอดอักเสบเรื้อรัง อาการในระบบหายใจ และการทํางานของปอด (COPD, chronic Bronchitis, Respiratory Symtoms, and Lung Function) โรคปอดอุดกั้นเปนสาเหตุการปวยสําคัญในกลุมผูที่มีอายุมากกวา 40 ป และถูกจัดอยูในลําดับที่หาที่เปน สาเหตุของ DALYs และอันดับสามของสาเหตุการเสียชีวิต และเปนสาเหตุหลักในการเกิดโรคนี้ในผูหญิงที่ไมสูบ บุหรี่เกี่ยวของกับการใชเชื้อเพลิงชีวมวลในการทําอาหาร ในปจจุบนั มีผลการศึกษากวา 20 เรื่องที่พบความสัมพันธระหวางควันจากการใชเชื้อเพลิง ชีวมวลกับ โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคปอดอักเสบเรื้อรัง อาการในโรคระบบทางเดินหายใจ และการทํางานของปอด โดยเฉพาะ ในกลุมสตรี โดยมีคาความเสี่ยงสัมพัทธระหวางการสัมผัสควันจากเชื้อเพลิงชีวมวลกับโรคปอดอุดกั้นในผูหญิง (OR = 3.2, 95%CI = 2.3-4.8) มากกวาผูชาย (OR = 1.8, 95%CI = 1.0-3.2) (Naeher et al., 2007)ซึ่งมีโอกาสสัมผัส


11

ควันนอยกวา ถึงแมวาในปจจุบนั จะยังไมมีขอมูลเพียงพอที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธเชิงเสนระหวาง ผลกระทบและการสัมผัสควันจากการเผาชีวมวล แตก็พบวาความเสีย่ งจากการเกิดโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง และ โรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจเรื้อรังแปรผันตรงกับการสัมผัสดังกลาว 6.2.3 โรคมะเร็งปอด ควันจากการเผาชีวมวลมีสารกอมะเร็งอยูห ลายชนิด ไดแก สารอนุมูลอิสระ PAHs และอัลดีไฮด (ตารางที่ 1) การทดสอบสารสกัดจากฝุนในอากาศทัว่ ไปซึ่งมีควันจากการเผาไมดวยเปนจํานวนมาก พบวามีความสามารถใน การชักนําใหเกิดเนื้องอกในหนูทดลองไดมากกวาสารสกัดจากควันบุหรี่ถึง 30 เทา และทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทางพันธุกรรมในการทดลองกับเชื้อจุลินทรีย (Naeher et al., 2007) การศึกษาทางดานระบาดวิทยาระหวางป 1990-2006 เพื่อหาความสัมพันธระหวางควันจากชีวมวลกับ โรคมะเร็งปอด พบมีจํานวน 6 เรื่อง สวนใหญเปนการศึกษาในกลุมผูหญิงในประเทศกําลังพัฒนาที่ใชเชื้อเพลิงชีว มวลในการทําอาหาร ผลการศึกษาสวนใหญพบความสัมพันธในระดับต่ํา โดยมีคา ความเสี่ยงสัมพัทธอยูระหวาง 1.5-3.6 ไมพบความสัมพันธ 1 เรื่อง ผลการศึกษาลาสุดที่ตีพิมพพบวาในกลุมผูหญิงเม็กซิโกที่ใชเชื้อเพลิงชีวมวลในการทําอาหารและสัมผัส ควันไมเปนนานมีความสัมพันธกับการปวยเปนโรคมะเร็งปอด การศึกษานี้ไดรวบรวมการสัมผัสควันไมของผูปว ย เปนมะเร็งปอดที่มีผลยืนยันทางการแพทย และมีประวัตไิ มสูบบุหรี่จํานวน 113 คน เปรียบเทียบกับกลุมควบคุมที่ ปวยเปนโรคอื่นๆ 3 กลุมโรค พบวาการเปนโรคมะเร็งปอดมีความสัมพันธกับการรับสัมผัสควันไมนานกวา 50 ป โดยมีคาความเสี่ยงสัมพัทธเทากับ 1.4 (95% CI = 0.6-2.0) เมื่อเปรียบเทียมกับกลุมควบคุมที่ปวยดวยโรควัณโรค 1.9 (95% CI = 0.9-4.0) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมที่ปวยดวยโรคในชองปอด 2.6(95% CI = 1.0-6.3) เมื่อเทียบกับกลุม ควบคุมที่ปวยดวยอาการอื่นๆที่เกี่ยวกับปอด และเทากับ 1.9 (95% CI = 1.1-3.5) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมทุกกลุม รวมกัน แตไมพบความสัมพันธสําหรับการรับสัมผัสที่สั้นกวานี้ (Hernández-Garduño, Brauer, Pérez-Neria & Vedal, 2004) ลาสุดคณะผูวจิ ัยเกีย่ วกับมะเร็ง Agency for Research on Cancer (IARC) ซึ่งทํางานในนามขององคการ อนามัยโลก ไดประกาศใหควันจากการเผาชีวมวลเปนสารที่อยูในกลุมที่อาจกอมะเร็งได หรือกลุม 2A (probably carcinogen) และองคการอนามัยโลกจัดใหควันจากการเผาชีวมวลอยูในสิบอันดับแรกของปจจัยเสี่ยงที่ทําใหเกิด โรค โดยมีประชาชนประมาณครึ่งหนึ่งของโลกใชเชื้อเพลิงชีวมวลและมีความเสี่ยงตอผลกระทบนี้ ประมาณวาควัน จากการเผาไมทําใหมีความเสี่ยงตอการเปนมะเร็งสูงกวาควันบุหรี่ถึง 12 เทา (Straif et al., 2006) 6.2.4 วัณโรค (Tuberculosis) ถึงแมจะมีหลักฐานชัดเจนยืนยันผลกระทบของควันบุหรี่ตอการเกิดวัณโรค แตในปจจุบันมีการศึกษา ผลกระทบของการใชเชื้อเพลิงชีวมวลกับการเปนวัณโรคยังมีไมมาก รายงานทั่วโลกพบมีเพียง 5 การศึกษาเทานั้นที่ ศึกษาในประเด็นนี้ ในจํานวนนี้ มีเพียง 3 การศึกษาเทานั้นที่พบความสัมพันธระหวางการรับสัมผัสควันจากการเผา ชีวมวลกับการเปนวัณโรค โดยมีความเสี่ยงสัมพัทธระหวาง 2.20-2.58 แตหนึ่งในนั้นไมไดควบคุมการสูบบุหรี่ซึ่ง เปนปจจัยกวนที่สําคัญ และการวิเคราะหในรูปแบบ meta-analysis พบความสัมพันธในระดับต่ํา (Lin, Ezzati, & Murray, 2007)


12

6.2.5 โรคหอบหืด การศึกษาความสัมพันธระหวางควันจากการเผาชีวมวลกับโรคหอบหืดยังมีไมมาก แตก็มีผลการศึกษา หลายประเภทที่พบความสัมพันธดังกลาว เชน พบวาการสัมผัสควันจากการเผาชีวมวลทําใหอาการหอบหืดกําเริบ โดยมีคาความเสี่ยงสัมพัทธเทากับ 1.6 (RR, 95% CI=1.0-2.5) สําหรับเด็กอายุ 5-14 ป และ 1.2 (RR, 95% CI=1.01.5) และพบวาควันจากการเผาอาจเปนสาเหตุใหเกิดโรคหอบหืด โดยพบวา คนชราที่อยูในบานที่ใชเชื้อเพลิงชีว มวลเปนโรคหอบหืดมากกวาคนที่อยูในบานที่ใชเชื้อเพลิงที่สะอาดกวา โดยมีคาความเสี่ยงสัมพัทธเทากับ 1.59 (OR, 95% CI=1.3-1.9) (Torres-Duque, 2008) 7. ผลการศึกษาผลกระตอสุขภาพจากโรงไฟฟาชีวมวล ขนาดกําลังการผลิตต่าํ กวา 10 เมกกะวัตต การศึกษานีไ้ ดเลือกศึกษาผลกระทบตอสุขภาพจากโรงไฟฟาชีวมวลที่มี ขนาดกําลังการผลิตต่ํากวา 10 เมกกะวัตตจํานวนสองแหง คือ โรงสีไฟจิตรเสริมไทย อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร และโรงสีไฟไทยเสรี อําเภอคลองขลุง จังหวัดกําแพงเพชร 7.1 โรงสีไฟไทยเสรี อําเภอคลองขลุง จังหวัดกําแพงเพชร โรงสีไฟไทยเสรี ตั้งอยูเลขที่ 339 ม.1 บานถนนงาม ต.คลองขลุง อ.คลองขลุง จ.กําแพงเพชร ซึ่งใชแกลบ เปนวัสดุเชื้อเพลิง การผลิตกระแสไฟฟาไมมีกําหนดแนแนอน แลวแตปริมาณของแกลบที่มี ถาชวงไหนมีแกลบ มากจะเดินเครือ่ งผลิตไฟฟาตลอด 24 ชั่วโมง โรงไฟฟาแหงนี้อยูในแหลงชุมชน พื้นทีโ่ ดยรอบโรงไฟฟา ประกอบดวยบานเรือนของประชาชน วัด สถานที่ราชการ และโรงเรียน สถานประกอบการที่อยูบริเวณใกลเคียง คือ โรงงานผลิตวุนเสน และโรงงานผลิตเบียรตราชางของบริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จํากัด (มหาชน)

รูปที่ 4 ชุมชนบานถนนงาม และสถานีตรวจวัดสิ่งแวดลอม


13

7.1.2 ผลการตรวจวัดสิ่งแวดลอม พารามิเตอรที่ตรวจวัด คือ ฝุนละอองรวม (TSP) ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10) กาซ ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซโอโซน (O3) และเสียงดัง ทําการตรวจวัด ตอเนื่องกันเปนเวลาสามวัน ยกเวนฝุนตกทีต่ รวจวัดเปนเวลาสองสัปดาห ทําการตรวจวัด 3 สถานี แบงตามระยะหางจากโรงไฟฟาเปนสามจุด คือ สถานีที่1 มีระยะหางประมาณ 50-100 เมตรจากโรงไฟฟา สถานีที่ 2 หางประมาณ 300-500 เมตร และสถานีที่ 3 หางประมาณ 1 กิโลเมตร สถานีที่ 1 2 และ 3 ตั้งอยูในชุมชนหางไกลจากแหลงมลพิษ และไมมีรถวิ่งไปมา 1. ระดับฝุนรวม ฝุนรวมมีคาเฉลี่ย 24 ชัว่ โมงอยูระหวาง 0.097 – 0.302 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่งยังอยูใ นเกณฑ มาตรฐานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 0.330 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ระดับฝุนมีแนวโนมลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา โดยพบฝุนต่ําสุดที่สถานีที่ 3 ซึ่งอยูหางจากโรงไฟฟามาก ที่สุด และพบคาสูงที่สุดในสถานีที่ 2 ซึ่งอยูหางจากโรงไฟฟาประมาณ 500 เมตร ที่ความเขมขน 0.302 มิลลิกรัมตอ ลูกบาศกเมตร ใกลเคียงกับคามาตรฐาน อธิบายไดวาอาจเกิดจากอิทธิพลของทิศทางลมและความสูงของปลองควัน ทําใหบริเวณนีม้ ีระดับมลพิษสูงที่สุด และสูงกวาสถานีที่ 1 ซึ่งอยูหาง 50 เมตร และพบวาระดับฝุนในแตละวันมี ความแตกตางกัน 2. ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน ระดับฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนมีคาระหวาง 0.035 – 0.087 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ต่ํากวามาตรฐาน ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 0.120 มิลลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ระดับฝุนมี แนวโนมลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟาคลายกับฝุนรวม โดยสวนใหญจะพบฝุนมากที่สูงสุดที่สถานีที่ 2 แสดง ใหเห็นวาฝุนจากโรงไฟฟามีผลตอระดับฝุนในบรรยากาศที่ตรวจวัด 3. ฝุนตก คาฝุนตก (Falling dust) มีคาระหวาง 340-464 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอวัน โดยระดับฝุนมีแนวโนม ลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา ที่สถานีที่ 1 และ2 ระดับฝุนมีคาสูงกวาคามาตรฐานของฝุนตกในอุตสาหกรรม กําหนดไว 150-350 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอวัน 4. กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ตรวจพบอยูใ นระดับที่ต่ํามาก โดยพบคาความเขมขนอยูระหวาง 1.2-6.9 สวนใน พันลานสวน ต่ํากวามาตรฐานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กาํ หนดใหไมเกิน 300 สวนใน พันลานสวน ระดับกาซในแตละวันมีความแตกตางกันไมมากนัก ระดับกาซมีแนวโนมลดลงตามระยะหางจาก โรงไฟฟา ระดับกาซสูงสุดในสถานีที่1 ซึ่งอยูใกลโรงไฟฟามากที่สุด 5. กาซไนโตรเจนไดออกไซด กาซไนโตรเจนไดออกไซดมีคาต่ํามากเมือ่ เทียบกับมาตรฐาน ระดับทีพ่ บอยูระหวาง 2-35 สวนในพันลาน สวน ในขณะที่มาตรฐานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดใหไมเกิน 170 สวนในพันลาน สวน ระดับกาซในแตละวันมีความแตกตางกันไมมากนัก ในระหวางวันจะพบกาซมากในชวงบาย ระดับกาซมี แนวโนมลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา


14

6. กาซโอโซน กาซโอโซนที่ตรวจพบมีความเขมขนอยูระหวาง 5-75 สวนในพันลานสวน ต่ํากวามาตรฐานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 100 สวนในพันลานสวน ระดับกาซในแตละวันมีความ แตกตางกันไมมากนัก แตจะพบกาซในชวงกลางวันมากกวากลางคืน ซึ่งสอดคลองกับหลักการเกิดโอโซน ซึ่งตอง อาศัยแสงแดด และ ไนโตรเจนออกไซด และคารบอนมอนอคไซด เปนสารตั้งตน เมื่อเปรียบเทียบคาเฉลี่ยรายวันใน แตละสถานี ไมพบแนวโนมที่ชัดเจน 7. เสียงดัง ระดับเสียงที่ตรวจพบมีคาเฉลี่ย 24 ชัว่ โมง (Leq 24-hrs) อยูระหวาง 57-59 เดซิเบลเอ ต่ํากวามาตรฐานของ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 70 เดซิเบลเอ ไมพบความแตกตางของระดับ เสียงระหวางสถานี คาเฉลี่ยรายชั่วโมง (Leq 1-hr) อยูระหวาง 45-68 เดซิเบลเอ ระดับเสียงคอนขางคงที่ ไมความ แตกตางของความดังเสียงในแตละชวงเวลาของวัน ระดับเสียงในชวงกลางวันและกลางคืนมีความแตกตางกันไม มาก เสียงดังสูงสุด (Lmax) มีคาอยูในชวงประมาณ 60-100 เดซิเบลเอไมเกินมาตรฐานที่ 115 เดซิเบลในทุก ชวงเวลาที่ตรวจวัด 7.2 โรงสีไฟจิตรเสริมไทย อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจติ ร โรงสีไฟจิตรเสริมไทยตั้งอยูใ นเขตชุมชุนแผนดินธรรมแผนดินทอง ตําบลตะพานหิน อําเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร ในปจจุบนั โรงไฟฟาตั้งอยูในเขตเทศบาลเมืองพิจิตร ลอมรอบดวยบานเรือนของประชาชน วัด สถานที่ราชการ และโรงเรียนตั้งอยู สําหรับการผลิตกระแสไฟฟาจะใชแกลบในพื้นที่เปนหลัก แตอาจจะสัง่ ซื้อ แกลบจากที่อนื่ บางถาวัสดุไมเพียงพอ การผลิตไฟฟามีกําหนดการณเดินเครื่องไมแนนอน แตบางครั้งจะดําเนินการ ทั้งกลางวันและกลางคืนทั้งนีข้ ึ้นอยูกับความเพียงพอของวัสดุ สถานประกอบการที่อยูบริเวณใกลเคียง คือ โรงสีขาว และโรงผลิตน้ําดื่ม

รูปที่ 5 ชุมชนแผนดินธรรมแผนดินทอง และสถานีตรวจวัดสิ่งแวดลอม


15

7.2.1 ผลการตรวจวัดสิ่งแวดลอม พารามิเตอรที่ตรวจวัด คือ ฝุนละอองรวม (TSP) ฝุนละอองขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10) กาซ ไนโตรเจนไดออกไซด (NO2) กาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) กาซโอโซน (O3) และเสียงดัง ทําการตรวจวัด ตอเนื่องกันเปนเวลาสามวัน ยกเวนฝุนตกทีต่ รวจวัดเปนเวลาสองสัปดาห ทําการตรวจวัด 3 สถานี แบงตามระยะหางจากโรงไฟฟาเปนสามจุด คือ สถานีที่1 มีระยะหางประมาณ 50-100 เมตรจากโรงไฟฟา สถานีที่ 2 หางประมาณ 300-500 เมตร และสถานีที่ 3 หางประมาณ 1 กิโลเมตร 1.ระดับฝุนรวม ผลการตรวจวัดพบวาฝุนรวมมีคาเฉลี่ย 24 ชั่วโมงอยูระหวาง 0.073 – 0.123 มิลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ซึ่ง ต่ํากวาเกณฑมาตรฐานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 0.330 มิลิกรัมตอ ลูกบาศกเมตรมาก ไมพบแนวโนมที่แสดงใหเห็นวาระดับฝุนมีความสัมพันธกับระยะหางจากโรงไฟฟา 2.ฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน ระดับฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนมีคาระหวาง 0.033 – 0.054 มิลิกรัมตอลูกบาศกเมตร ต่ํากวามาตรฐาน ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 0.120 มิลิกรัมตอลูกบาศกเมตร และไมพบ แนวโนมลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา 3.ฝุนตก คาฝุนตก (Falling dust) มีคาระหวาง 314-355 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอวัน โดยระดับฝุนมีแนวโนม ลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา ที่สถานีที่ 1 ระดับฝุน มีคาสูงกวาคามาตรฐานของฝุนตกในอุตสาหกรรมกําหนดไว 150-350 มิลลิกรัมตอตารางเมตรตอวัน 4.กาซซัลเฟอรไดออกไซด กาซซัลเฟอรไดออกไซดที่ตรวจพบอยูใ นระดับที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับคามาตรฐาน ระดับที่วัดไดอยูร ะหวาง 1- 5 สวนในพันลานสวน ในขณะที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมกําหนดคามาตรฐานไวที่ 300 สวน ในพันลานสวน ในชวงระหวางวันระดับกาซมีความผันผวนไมมากนัก ยกเวนสถานีที่ 2 เมื่อเทียบคาเฉลี่ยรายวันในแต ละสถานี จะเห็นแนวโนมระดับกาซลดลงตามระยะหางจากโรงไฟฟา โดยพบคาสูงสุดในสถานีที่ 2 และคาเฉลี่ยต่ําสุด ในสถานีที่ 3 5.กาซไนโตรเจนไดออกไซด ระดับกาซไนโตรเจนไดออกไซดที่ตรวจพบอยูในระดับที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับคามาตรฐาน ระดับที่พบอยู ระหวาง 1-13 สวนในพันลานสวน ต่ํากวามาตรฐานของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดให ไมเกิน 170 สวนในพันลานสวน ในระหวางวัน จะพบกาซนี้มากในชวงตอนบาย เมื่อเปรียบเทียบระหวางสถานี ความเขมขนเฉลี่ยรายวันไมมีความสัมพันธกับสถานีตรวจ 6.กาซโอโซน ระดับกาซโอโซนที่ตรวจพบอยูระหวาง 3-70 สวนในพันลานสวน ต่ํากวามาตรฐานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 100 สวนในพันลานสวน ในระหวางวัน จะพบกาซมาก ในชวงกลางวันซึ่งสอดคลองกับหลักการเกิดโอโซนจากการทําปฏิกิริยาของไนโตรเจนออกไซดคารบอนมอนอคไซด


16

กับออกซิเจน โดยมีแสงแดดเปนตัวเรงปฏิกิริยา เมื่อเปรียบเทียบระดับเฉลี่ยรายวันในแตละสถานี ไมมีแนวโนมที่ ชัดเจน 7.เสียงดัง ระดับเสียงดังที่ตรวจพบมีคา เฉลี่ย 24 ชั่วโมงอยูระหวาง 52 - 62 เดซิเบลเอ ต่ํากวามาตรฐานของกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหไมเกิน 70 เดซิเบลเอ ระดับเสียงเฉลีย่ 1 ชั่วโมงอยูร ะหวาง 45 -75 เดซิเบลเอ โดยพบวาสถานีที่ 1 และ 2 มีระดับเสียงสูงกวาสถานีที่ 3 และในชวงตอนเย็นจะมีเสียงมากกวาในชวง อื่นของวัน ระดับเสียงดังสูงสุด (Lmax) ไมเกินมาตรฐานที่กําหนดใหไมเกิน 115 เดซิเบล 8. สรุปผลการศึกษา จากผลการศึกษาทั้ง 2 กรณี การตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดลอม พบวา พารามิเตอรที่เกินคามาตรฐานและอาจ กอใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพ คือ ฝุนตก (Falling Dust) พบเกินคามาตรฐานที่สถานีที่ 1 และ2 ระยะทางจาก โรงไฟฟา 50 – 100 เมตร และ 300 – 500 เมตร ตามลําดับ และทุกพารามิเตอรที่ทําการตรวจวัดขางตน มีแนวโนม ลดลงตามระยะทางที่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้น การกําหนดระยะหางของสถานที่ตั้งโรงไฟฟากับชุมชน และการกําหนด มาตรการปองกันและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิต โดยเฉพาะปญหาเรื่องฝุนละออง จึงมีความ จําเปนอยางยิ่ง ซึ่งจะชวยลดผลกระทบตอสุขภาพของชุมชน และความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นในสังคม 9. มาตรการปองกันและลดผลกระทบจากการประกอบกิจการโรงไฟฟาชีวมวล และขอเสนอแนะ 9.1 มาตรการปองกันฝุนละออง 1. ควรกําหนดระยะหางระหวางโรงไฟฟากับชุมชน การศึกษานี้ไมไดมกี ารรวบรวมขอมูลระยะหางที่ ปลอดภัยสําหรับผลกระทบ แตในเบื้องตนแนะนําใหโรงไฟฟาควรอยูห างจากชุมชนอยางนอย 1กิโลเมตร 2. ควรกําหนดใหผูประกอบการตองทําแผนการกําจัดขี้เถาที่เหมาะสม และมีบอกักเก็บที่สามารถปองกัน การฟุงกระจายได กองขี้เถาไมควรสูงเกิน 6 เมตร(ADB, 2008) และทําแนวกันฝุนโดยรอบโรงไฟฟา โดยอาจใชแส ลน และการปลูกตนไมใบหนาหลายๆชั้นเปนแนวกันฝุนรอบโรงไฟฟา 3. เพื่อควบคุมการฟุงกระจายของฝุนจากการขนสงแกลบและขี้เถา รถบรรทุกตองมีผาใบคลุมรถ และใช ความเร็วไมเกิน 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง (ADB, 2008) และหลีกเลีย่ งชวงเวลาที่มีการจราจรหนาแนน ขอเสนอแนะ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของควรกําหนดหลักเกณฑและมาตรฐานอุปกรณทใี่ ชสําหรับดักฝุนที่ปลอยจากปลอง ควัน อุปกรณที่ใชควรมีประสิทธิภาพสูงพอที่จะลดมลพิษไดในระดับที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพและมีตนทุน คาใชจายที่ผูประกอบการรับได นอกจากนีค้ วรมีมาตรการตรวจสอบการทํางานของระบบปองกันฝุน


17

9.2 มาตรการปองกันกาซซัลเฟอรไดออกไซด (SO2) ออกไซดของไนโตรเจน (NOx) คารบอนมอนอค ไซด (CO) โอโซน (O3) 1. ควรกําหนดระยะหางระหวางโรงไฟฟากับชุมชน การศึกษานี้ไมไดมกี ารรวบรวมขอมูลระยะหางที่ ปลอดภัยสําหรับผลกระทบจากกาซเหลานี้ แตคาดวาระยะหางที่ 1 กิโลเมตร จะชวยเจือจางกาซเหลานี้จนอยูใน ระดับที่ไมเปนอันตรายตอสุขภาพของประชาชนที่อยูรอบโรงไฟฟาได ขอเสนอแนะ 1. หนวยงานทีเ่ กีย่ วของควรกําหนดหลักเกณฑและมาตรฐานเตาเผา สงเสริมใหผูประกอบการปรับปรุง ประสิทธิภาพเตาเผาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังานและลดมลพิษทางอากาศ 2. รวมถึงสนับสนุนใหใชอปุ กรณที่ใชสําหรับดักกาซพิษจากโรงไฟฟาชีวมวล โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพ และการทํางานที่ไมยุงยาก เพื่อลดภาระในการควบคุมติดตามการบังคับใชกฎระเบียบดังกลาว และคาใชที่จะเปน ภาระของผูประกอบการ

9.3 มาตรการปองกันเสียงดัง 1. เพื่อปองกันปญหาความรําคาญจากเสียงดัง โรงไฟฟาควรมีการกําหนดระยะเวลาที่จะทํากิจกรรมที่มี เสียงดังใหอยูใ นชวงที่จะสรางผลกระทบตอประชาชนนอยที่สุด หลีกเลี่ยงการทําใหเกิดเสียงดังตอนกลางคืนและ ชวงเวลาพักผอนของประชาชน และประกาศแจงใหประชาชนทราบลวงหนาวาจะมีเสียงดังในชวงเวลาใด เปนเสียง จากกิจกรรมอะไร ขอเสนอแนะ ควรมีขอกําหนดเรื่องที่ตั้งโรงไฟฟาเพื่อกําหนดระยะหางที่เหมาะสมจะชวยปองกันปญหาเรื่องเสียงดังได

9.4 มาตรการปองกันอุบตั ิเหตุจากการจราจร 1. กําหนดชวงเวลาในแตละวันที่ใชขนเชื้อเพลิง ใหอยูใ นชวงเวลาที่มกี ารจราจรไมหนาแนน หลีกเลีย่ ง ชวงเวลาเชาและเย็นซึ่งเปนเวลาที่เด็กนักเรียนไปและกลับจากโรงเรียน และชวงเวลาที่ประชาชนไปและกลับจากที่ ทํางาน 2. กําหนดความเร็วของรถบรรทุก เชน ไมควรใชความเร็วเกิน 30 กิโลเมตรตอชั่วโมง เพื่อลดโอกาสเกิด และความรุนแรงของอุบัติเหตุ


18

9.5 มาตรการกันมลพิษทางน้ําและการขาดแคลนน้าํ 1. ควรมีขอกําหนดใหมีระบบบําบัดน้ําเสียเพื่อปรับสภาพน้ําใหมีคุณภาพตามมาตรฐานน้ําทิ้งกอนปลอยลง สูแหลงน้ําสาธารณะ ในกรณีที่ใชบอผึ่ง ตองออกแบบใหมีพนื้ ที่เพียงพอสําหรับรองรับน้ําทิ้งทั้งหมด รวมถึงน้ําฝนทีอ่ าจ เกิดขึ้นในชวงฤดูฝนดวย และมีระบบปองกันไมใหเกิดปญหาน้ําลนไปปนเปอนบริเวณใกลเคียง 2. ระบบบําบัดน้ําเสียควรประกอบดวยบอปรับอุณหภูมิและสภาพความเปนกรด-ดางของน้ํา บอแยกไขมัน และบอบําบัดสารอินทรียในน้ํา

ขอเสนอแนะ เพื่อเปนการปองกันปญหาขาดแคลนน้ําและการแยงชิงน้าํ ระหวางโรงไฟฟาชีวมวลกับประชาชนในพื้นที่ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ ควรตรวจสอบปริมาณน้ําและศักยภาพของสาธารณูปโภคใหเพียงพอตอการรองรับการพัฒนา


19

เอกสารอางอิง พัฒนา มูลพฤกษ . 2541. อนามัยสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ: สํานักกิจการโรงพิมพองคการสงเคราะห ทหารผานศึก. มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม. (2549). ชีวมวล. กรุงเทพฯ: บริษัทคิวพริ้นทแมเนจเมนทจํากัด. วิทยาลัยการสาธารณสุข จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. (2544). รายงานฉบับสมบูรณ การศึกษา ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศตอสุขภาพประชาชนอําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง เลมที่1รายงานสรุป สําหรับผูบริหาร. กรุงเทพฯ: ซี.พี.เอ็น. ซัพพลายส. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ (สพช.). (2543). คูมือการพัฒนากอสราง โรงไฟฟาชีวมวลขนาดเล็ก. กรุงเทพฯ: บ.แบล็คแอนดวชิ ช (ประเทศไทย) จํากัด. สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ (สช). (2550). พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: หางหุน สวนจํากัดสหพัฒนไพศาล. สํานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ. (2545). การสงเสริมการใชพลังงานจากชีวมวล ของประเทศไทย. วารสารนโยบายพลังงาน, 55. สํานักนโยบายและแผนพลังงาน. (2552). โรงไฟฟา VSPP ณ เดือนกันยายน 2552 (กฟภ.) Retrieved March, from http://www.eppo.go.th/engy/Load/ET08.pdf Bates D.V. & Raizenne M.E. (1995). Health effects of particulate air pollution: time for reassessment? Environ Health Perspect, 103(5):472-80. Committee of the Environmental and Occupational Health Assembly of the American Thoracic Society. (1996). Health effects of outdoor air pollution. Am J Respir Crit Care Med. Jan;153(1):3-50. Electricity from Biomass. Retrieved March 15, 2010, from http://www.powerscorecard.org/tech_detail.cfm?resource_id=1. Ezzati M. & Kammen D.M. (2001). Quantifying the effects of exposure to indoor air pollution from biomass combustion on acute respiratory infections in developing countries. Environ Health Perspect, 109(5): 481–488. Hernández-Garduño E., Brauer M., Pérez-Neria J, & Vedal S. (2004). Wood smoke exposure and lung adenocarcinoma in non-smoking Mexican women. Int J Tuberc Lung Dis 8(3):377–383. Lin H-H., Ezzati M., Murray M. (2007). Tobacco Smoke, Indoor Air Pollution and Tuberculosis: A Systematic Review and Meta-Analysis. PLoS Med 4(1): e20. Mishra V., Dai, X., Smith, K., & Mika, L. (2004). Maternal exposure to biomass smoke and reduced birth weight in Zimbabwe. Annals of Epidemiology, 14(10), 740-747. Naeher L.P., Brauer M., Lipsett M., Zelikoff JT., Simpson C.D., Koenig J.Q. et al. (2007). Woodsmoke health effects: A review. Inhalation toxicology, 19: 67-106.


20

National research council. (2009). Electricity from renewable resources: status, prospects and impediments. Retrieved from http://www.nap.edu/catalog/12619.html page 154 Smith K.R., Samet J.M., Romieu I., Bruce N. (2000). Indoor air pollution in developing countries and acute lower respiratory infections in children. Thorax 55:518-532. Sverre, Vedal. Biomass smoke health effects. Department of Environmental and Occupational Health Sciences Seattle, WA . Powerpoint. Straif k, Baan R, Grosse Y, et al. (2006). Carcinogenicity of household solid-fuel use and high-temperature frying. Lancet Oncol, 7: 977-78. Tielsch, J., Katz, J., Thulasiraj, R., Coles, C., Sheeladevi, S., Yanik, E., et al. (2009). Exposure to indoor biomass fuel and tobacco smoke and risk of adverse reproductive outcomes, mortality, respiratory morbidity and growth among newborn infants in south India. International Journal Of Epidemiology, 38(5), 1351-1363. Torres-Duque, C, Maldonado D, Perez-Padilla R, Ezzati M and Viegi G. (2008). Biomass fuels and respiratory diseases. Proc Am Thorac Soc, 5 :577-590. WHO. (2003). Health aspects of air pollution with particulate matter, ozone and nitrogen dioxide. Report on a WHO working group. Bonn, Germany; 13-15 January 2003. WHO. (2006). Air quality guidelines global update 2005. Denmark: WHO regional office for Europe.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.