ตลาดสีเขียว Vol.11

Page 1

ปที่ 3 ฉบับที่ 11 เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2553

การเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียว ในโรงพยาบาลตนแบบ ตลาดสีเขียว... ตลาดเพื่อประชาธิปไตยผืนดิน

ปาตา...กูรู มังสวิรัติ ดัชนีโลกมีสุข


เวลาเดินทางไมสิ้นสุด เปรียบเสมือนนาฬกาชีวิตที่คอยเตือนตน...ทุกคนให ยั้งคิด ชีวิตไมยืนยาว เพราะฉะนั้นวันวานที่ยังอยูนี้ เราไดทําอะไรเพื่อตัวเอง เพื่อคนที่ เรารัก เพือ่ ครอบครัว เพือ่ สังคม และสําคัญทีส่ ดุ เพือ่ ประเทศชาติของเราแลวหรือยัง การรัก ตนเองอยางงายๆ คือการรูจ กั เลือกทีจ่ ะ “กิน” กินเพือ่ อยู ไมใชอยูเ พือ่ กิน กินเพือ่ สุขภาพ กินเพื่อปลอดจากโรคภัยตางๆ และในวันนี้เรามีตลาดทางเลือก ตลาดนัดสีเขียวตาม โรงพยาบาลตางๆ และที่พึ่งเปดดําเนินการเมื่อ 18 กค. ที่ผานมา ตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลมิชชั่น ใหทุกคนไดเลือกสรรสินคาปลอดภัย ไรสารเคมี พืชผักเกษตร อินทรียเ พือ่ เสริมสรางพลังชีวติ และยังมีสว นชวยใหเกษตรกรมีตลาดเพือ่ จําหนายสินคา ชวยโลกลดมลภาวะสารพิษ สารเคมี สรางพื้นที่สีเขียวแกโลกใหมากขึ้น โดยเริ่มจาก ตัวเรา และทุกๆ คน เมือ่ มีโอกาส มีทางเลือก ก็ไมควรพลาด เปนทางรอดจากโรคภัยราย ทีค่ วรหลีกเสีย่ ง ดังพุทธพจนกลาวไว อโรคยา ปรมา ลาภา.... ความไมมโี รค เปนลาภ อันประเสริฐ คือสัจธรรมจริงแทของชีวิตนะคะ ไผพิม phaipim@live.com

สนับสนุนการจัดพิมพโดย

2

ที่ปรึกษา สุวรรณา หลั่งนํ้าสังข

ผูจัดการบริษัทสังคมสุขภาพ จํากัด

นาถฤดี นาครวาจา

ผูจัดการสํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย : มกท

วัลลภ พิชญพงศศา

สมาคมการคาเกษตรอินทรียไทย

ฮันส แวน วิลเลียนสวารด บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด

บรรณาธิการบริริหาร วัลลภา แวน วิลเลียนสวารด บรรณาธิ ณาธิการ กรณรวี เกงกุลภพ กองบรรณาธิ บรรณาธิการ อธิพาพร พร เหลืองออน ปรีรียานุช พุทธมา จุฬาลักษณ ณ ทิวกระโทก ธนกร เจียรกมลชื มลชื่น ตนฉบับและพิสูจนอักษร วรนุช ชูเรืองสุข ผูจัดทํา บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด

ติดตอเพื่อลงโฆษณาและสมัครสมาชิกวารสารไดที่ บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด 77, 79 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทร. 0-2622-0955, 0-2622-0966 โทรสาร 0-266-3228 วารสารตลาดสีเขียว เว็บไซต www.thaigreenmarket.com อีเมล wecare@thaigreenmarket.com


สารบัญ

4

Botanic Hut ผูผลิตเกษตรอินทรียยุคใหม

Sante รานเพื่อสุขภาพ

6 11

7

การเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียว ในโรงพยาบาลตนแบบ

ตลาดสีเขียว ตลาดเพื่อประชาธิปไตยผืนดิน

อาหารคนไทยวันนี้ ? อาหา

14 Flowform พลังนําหนุนพลังชีวิต

18

ดัชนีโลกมีสุข

22


Producer เรื่อง/อธิพาพร

พืน้ ทีส่ าํ หรับการบอกเลาเรือ่ งราวผูผ  ลิตในฉบับนี้ พยายามมอง หาผูผลิตพืชผักหรือผลไมในระบบเกษตรอินทรียที่อยูใกลๆ ในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑลดูบาง เพื่อที่จะยืนยันวาสวนผัก สวนผลไมที่ ผลิตแบบเกษตรอินทรียสามารถทําไดจริง แมจะอยูในแหลงที่ใครๆ มอง วา ใกลสารพิษ สารเคมีอันตรายเพียงเอื้อม ยากตอการปรับเปลี่ยน อยางกรุงเทพฯ เมืองหลวงของเรา วันนี้จะพาทานผูอานมาทําความรูจักกับ คุณขวัญยืน โตตาบ เจาของสวนผักและผลไม แบรนด “Botanic Hut” สวนของเธอตั้งอยูที่ หมู 2 ตําบล บางศรีทอง อําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ใกลๆ กรุงเทพฯ นี่เองคะ จุดเริ่มตนของ Botanic Hut

ครอบครัวของคุณขวัญยืนมีอาชีพหลักทางดานการเกษตร เพาะปลูก ผลไมและผักสวนครัวอยูแตเดิมแลว และดวยความเชื่อมั่นที่คุณขวัญยืนมีตอ แนวคิดการตลาดสําหรับผลผลิตเกษตรอินทรีย เธอตองการเปนเจาของธุรกิจ เองดวย นอกจากทีต่ อ งเปนผูผ ลิตเพียงฝายเดียว จึงลุกขึน้ มาจับธุรกิจสงผลผลิต ดวยตนเอง ซึง่ ขณะนัน้ กระแสพฤติกรรมการบริโภคทีห่ นั มาสนใจเกีย่ วกับสุขภาพ มากขึ้น ประกอบกับกระแสการอนุรักษธรรมชาติและสภาพแวดลอมมีแนวโนม ที่เดนชัด ทั้งสภาพพื้นที่ที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ไดเปรียบดานเปนแหลง ผลิตทีม่ ชี อื่ เสียง อีกทัง้ ตนทุนในการจัดจําหนายตํา่ เพราะอยูใ กลกรุงเทพฯ ทําให เธอมั่นใจวาธุรกิจ Botanic Hut ของเธอตองสามารถเลี้ยงตนเองไดแนนอน

กาวเดินของ Botanic Hut

4

กาวแรกทีต่ ดั สินใจทําสวนนัน้ คุณขวัญยืนใหความสนใจในความปลอดภัยของผูบ ริโภคเปนหลัก ความหวงใยตอสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ และสนใจแนวคิดของเกษตรกรในการทําการเกษตรที่ใชวิถี ธรรมชาติ ลดการใชสารเคมี เธอเชื่อวาสามารถลดตนทุนการผลิตและผลผลิตขายไดราคาสูงกวาการใช สารเคมีแนนอน ในป 2544 เธอเริม่ ศึกษากรรมวิธี กฎเกณฑการผลิตผักผลไมปลอดสารพิษ และการปรับปรุง เทคนิคการผลิตและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตอมาป 2545 สวนของเธอไดรับใบอนุญาต ผลิต/จําหนาย ผัก และผลไมอนามัย จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ แตดวยความมุมานะที่จะไปใหถึง ในแนวทางเกษตรอินทรียอ ยางแทจริง เธอจึงพยายามปรับปรุงเทคนิคการเกษตรเรือ่ ยมา จนในป 2546 เริม่ ขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียจากสํานักมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) และจุดนี้เองที่เธอมั่นใจ วาผลผลิตของเธอสามารถเขาสูการแขงขันทางการตลาดไดทั้งในและตางประเทศอยางไมนอยหนาใคร ดังนั้นในป 2547 เธอจึงเริ่มดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการจําหนายผักและผลไมปลอดภัย จนกระทั่งในป 2548 ไดรับใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียจากสํานักมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) : Organic Agriculture Certificate และ ไดรับใบรับรองแหลงผลิตพืช (GAP) โครงการความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) ดานพืช จากกรมวิชาการเกษตรอีกดวย วารสารตลาดสีเขียว


แนวคิดการเกษตรของ Botanic Hut

คุณขวัญยืนพยายามศึกษา เรียนรูแนวคิดทางการเกษตรตางๆ และ นํามาปรับเปลี่ยนใหเขากับธรรมชาติใน สวนของเธอโดยรวมทั้ง “เกษตรอินทรีย” เกษตรประณีต” “เกษตรแบบองครวม” “เกษตรพอเพียง” “เกษตรเชิงสรางสรรค” ที่เนนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม การฟนฟูความสมบูรณของ ดิน รักษาแหลงนํ้าใหสะอาด และความ หลากหลายทางชีวภาพ ทําใหเกิดสินคา ที่ผลิตภายใตระบบการจัดการการผลิต ดานการเกษตรแบบองครวม ทีเ่ กือ้ หนุนตอ ระบบนิเวศ โดยเนนการใชวสั ดุธรรมชาติ หลีกเลีย่ งการใชวตั ถุดบิ จากการสังเคราะห ใชแนวทางเกษตรผสมผสาน รักษาความ หลากหลายทางชีวภาพ ดูแลความยัง่ ยืน ของระบบนิเวศโดยรวม ลดผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม รักษาความอุดมสมบูรณ ของดินและคุณภาพนํ้าดวยอินทรียวัตถุ ไมใชสารกําจัดศัตรูพชื และปุย ทีเ่ ปนสารเคมีสังเคราะห ผลผลิตและผลิตภัณฑไม มาจากการดัดแปลงพันธุกรรมและไมผา น การฉายรังสีใดๆ ทีเ่ ปนอันตรายตอผูบ ริโภค

การจัดการดินในสวนของ Botanic Hut

คุ ณ ขวั ญ ยื น มี เ กร็ ด ความรู  เล็กๆ นอยๆ มาแบงปนใหทา นผูอ า น เปน ประสบการณจริงในสวนเกีย่ วกับการจัดการ ดิน ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการผลิตใน ระบบเกษตรอินทรียท เี่ ธอเชือ่ มัน่ คือ ตอง ไมทาํ ใหเกิดมลพิษในดิน นํา้ และในอากาศ โดยเน น ให ค วามสํ า คั ญ กั บ “ดิ น ” เปนปจจัยหลัก เพือ่ รักษาความอุดมสมบูรณ ของดิน ใหมคี วามหลากหลายทางชีวภาพ ใช วั ส ดุ ค ลุ ม ดิ น เช น ใบไม ซากพื ช

ซากสัตว ใชพืชเพื่อรักษาความชื้นและ อุณหภูมิในดิน ใชปุยคอก ปุยหมัก เศษ วัสดุทางการเกษตร ลดการไถพรวนดิน และควบคุมศัต รูพืช โดยไมใ ชส ารเคมี เพราะสารเคมีมีผลกระทบตอกลไกและ กระบวนการของระบบนิเวศ ทําลายธาตุ อาหารในดิน

การบริหารจัดการฟารมของ Botanic Hut

สิ่งสําคัญที่คุณขวัญยืนบอกวา เปนเคล็ดไมลบั ทีข่ าดไมไดสาํ หรับเกษตรกร คือ การหมั่นศึกษาหาความรูในเรื่อง เทคนิคการผลิตเพิม่ เติมใหทนั สมัยอยูเ สมอ พัฒนาการเรียนรูเ กีย่ วกับธรรมชาติ และ การบริหารจัดการฟารมที่เนนกระบวน การเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่น และที่ สําคัญ ตองคิดในดานธุรกิจการเกษตรดวย ในสวนการปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ ทีก่ าํ หนด จากหนวยงานผูต รวจรับรองเพือ่ สรางความ มั่นใจใหกับผูบริโภควา ทุกขั้นตอนของ การผลิต แปรรูป และการจัดการนั้น ได พยายามอนุรกั ษและฟน ฟูสงิ่ แวดลอม และ รักษาคุณภาพของผลผลิตใหเปนธรรมชาติ มากทีส่ ดุ เปนเรือ่ งจําเปนอยางยิง่ ตองรูจ กั สังเกต ศึกษา วิเคราะห สังเคราะห และ สรุปบทเรียนเกีย่ วกับการเกษตรของฟารม ตนเอง ซึ่งตางจากพื้นที่อื่น เพื่อคัดสรร และพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรียท เี่ ฉพาะ และเหมาะสมกับตนเองและปรับเปลีย่ น การผลิตใหเขากับวิถีธรรมชาติ อาศัย กลไกธรรมชาติเพื่อทําการเกษตร

ผลผลิตในสวนของ Botanic Hut

ในขณะที่เราเดินสํารวจสวนที่ รมรื่นไปดวยพืชพรรณตางๆ สังเกตวา ในสวนของพี่ขวัญยืนมีลักษณะแบบ ผสมผสาน เพือ่ ใหมผี ลผลิตทีห่ ลากหลาย ออกสูตลาดไดตลอดป เปนการวางแผน การผลิต ผลไมในสวนไดแกไมยืนตน ใหผลผลิตปละ 1 ครั้งคือทุเรียน มังคุด กระทอน มะไฟ ชมพู มะปราง มะมวง สะเดา ขนุน พืชที่ใหผลผลิตตอเนื่องเชน

มะนาว สมโอ มะกรูด ชะอม มะพราว หมาก ขจร ตําลึง เตย ผักกูด ไมลมลุก อายุประมาณ 1 ป เชน กลวย พริก มะละกอ พืชผัก เชน บวบ ฟกเขียว นํา้ เตา ผักบุง จีน ผักโขม กวางตุง ปวยเลง ใบแมงลัก กะเพรา โหระพา เปนตนปจจุบนั Botanic Hut เปนที่ รูจ กั อยางแพรหลายในตลาด ซึง่ เปนธุรกิจ ประเภทการผลิตและจําหนายผัก ผลไม ปลอดภัย (Pesticide Safe) คุณขวัญยืน จึงไดออก แบรนดใหม Organic Hut ผลิ ต ภั ณ ฑ พื ช ผั ก เกษตรอิ น ทรี ย  (Organic Product) ที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ใหกบั ผูบ ริโภคในเขตกรุงเทพฯ ปริมณฑล รวมถึงบริษัทสงออกดวย โดยมีวางจําหนายในหลายๆ ที่ เชน Golden Place, Villa Market, ADEN International

เห็นตัวอยางแบบนีแ้ ลวหลายคน อาจสนใจมาเปนเกษตรกรรุนใหม หรือ ทานที่เปนผูผลิตเริ่มคิดแผนการตลาด สําหรับธุรกิจการเกษตรไวบางหรือยัง ตอไปเกษตรกรคงไมใชแคผผู ลิตทีก่ ม หนา กรํางานหนักแตในฟารมเพียงอยางเดียว แลว วันนี้เราตองลุกขึ้นมาตอสูในการ กําหนดราคาผลผลิตที่เปนธรรม ไมถูก กดขีห่ รือถูกเอาเปรียบจากพอคาคนกลาง อีกตอไป เราเชือ่ มัน่ วา การผลิตทีม่ กี าร วางแผน ทั้งดานการตลาดและการผลิต ที่เหมะสมจะนํามาซึง่ ความสําเร็จในการ บริหารจัดการฟารม เพราะวันนี้ Botanic Hut เปนอีกตัวอยางของความสําเร็จที่ เกิดขึน้ จริง และดํารงอยูไดอยางงดงาม สนใจติดตอ : +66 0 288 6 2949 +66 0 81 936 8185 Email : organichut@hotmail.com


Shop

ในปจจุจบับันสัสงคมเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งใน กรุงเทพฯ มีปจ จัยหลายๆ อยางทําใหเกิดความเครียดสูง รวมทั้ ง อาหารและผลิ ต ภั ณ ฑ ห ลายอย า งล ว นมี สารพิษและสารเคมีปนเปอนทําใหเจ็บปวยเปนโรคตางๆ มากมาย การดูแลสุขภาพ การเลือกซื้อสินคาอุปโภค บริโภคจึงเปนเรื่องสําคัญมาก วรรณวรางค บุษยรัตน สาวนอยใบหนาเปอ นยิม้ เจาของ ราน เลาใหฟง วา “เดิมมิม้ เปนพนักงานบริษทั แตคดิ อยากทําธุรกิจ มาตลอด จึงปรึกษากับที่บานวาจะทําอะไรดี มาสรุปไดที่การเปด รานเพือ่ สุขภาพ เพราะสนใจเรือ่ งอาหาร และผลิตภัณฑเพือ่ สุขภาพ อยูแลว และเขารานขายสินคาเพื่อสุขภาพเปนประจํา โดยเริ่มจาก ศึกษาขอมูลเรื่องสินคาตางๆ กอน ออกแบบรานและกอสรางราน โดยเริม่ ทําทุกอยางเองหมด ดวยความทีไ่ มมปี ระสบการณในเรือ่ งนี้ เลย จึงตองฝาฟนมาพอสมควร จนมาถึงวันนี้ รานซองเตเปดมาได 3 ปกวาๆ แลว ก็ยังมีสิ่งที่ตองแกไข และพัฒนาอยูเสมอ” จากการทําธุรกิจดานนี้ ทําใหเธอไดประสบการณ และ ความรูตางๆ มากมาย ทําใหหันมาดูแลสุขภาพของตัวเองและ ครอบครัวมากขึ้น และมีความตั้งใจที่จะคัดสรรสินคาดีๆ ใหลูกคา ไดเลือกซื้อ พยายามเลือกสินคาหลากหลาย คุณภาพดี และราคา ไมแพง ซึ่งที่รานจําหนายผลิตภัณฑหลากหลาย ตั้งแต สินคา โครงการหลวง เชน นมสดสวนจิตรลดา แมคคาดาเมียนัทดอยตุง ผักปลอดสารพิษดอยคํา สินคาโครงการมงคลชัยพัฒนา ธัญพืช แชมพู สบู สมุนไพร และของใชในชีวิตประจําวัน เรียกวาเปน ซุปเปอรมาเก็ตเพื่อสุขภาพก็ได เธอเลาใหฟงอีกวา “มิ้มทํารานนี้ดวยใจจริงๆ คือเปนงาน ที่ทําแลวไมรูสึกวากําลังทํางานอยู งานกับชีวิตสวนตัวแยกกัน ไมออก ถึงจะเหนื่อยและจะมีปญหาตางๆ มากมาย แตการทําสิ่ง ที่รักทําใหมคี วามสุขและมีกาํ ลังใจทีจ่ ะทําตอไป และสินคาทีน่ าํ มา จําหนายทีร่ า น ไดทดลองใช หรือรับประทานเอง คือเปนหนูทดลอง

6

วารสารตลาดสีเขียว

รรานเพื่ านซองเต . .. อสุขภาพ เองเลย พยายามคัดเลือกสินคาที่มี คุณภาพดีจริงๆ เขามาจําหนายทีร่ า น โดยจะสนับสนุนเกษตรกรไทย และ สินคาที่ผลิตในประเทศ เมื่อไดอาน หนังสือสุขภาพ ไดนาํ หลักการหลาย อยางมาปรับใชกับตัวเอง และบริโภคสินคาเพื่อ สุขภาพ ทําใหเห็นความเปลี่ยนแปลงไดอยางชัดเจน คือมี สุขภาพที่ดีขึ้นมาก จากเดิมที่ปวยบอย พยายามไมทานยา เวลาไมสบาย จะหันมาใชหลักธรรมชาติบาํ บัดแทน คืออาหาร เปนยา หรือหันมาทานสมุนไพรแทน และตองออกกําลังกาย รวมดวย และอยากจะเผยแพรความคิดนี้ออกไปในสังคม การ ดูแลสุขภาพไมใชเรื่องยาก แตคนในปจจุบันนี้ละเลยที่จะดูแล สุขภาพตัวเอง ทัง้ ทีเ่ ปนสิง่ สําคัญทีส่ ดุ อยากใหลกู คามีสขุ ภาพดี มีความสุข ก็จะเนนใหขอมูลกับลูกคา โดยการแนะนําสินคา แผนพับสินคา และมีมมุ หนังสือเพือ่ สุขภาพ นอกจากนีท้ างราน ยังมีกระเชาสินคาเพื่อสุขภาพ ตกแตงนารักใน ราคาไมแพงไวบริการอีกดวย” คุ ณ มิ้ ม ฝากทิ้ ง ท า ยกล า ว ขอบคุณเครือขายตลาดสีเขียว ที่เปน จุดเริ่มตน และเปนศูนยรวมใหกับ ผูผ ลิต รานคาเพือ่ สุขภาพ และผูบ ริโภค เปนแหลงขอมูลเพือ่ ใหทกุ ฝายมีความรู ความเขาใจมากขึ้น ในเรื่องของสุขภาพ และยังมีกิจกรรมดีๆ เพื่อคนรักสุขภาพอยู เสมอ เชิญแวะมาได้ที่ ร้านซองเต้ : นันทอุทยาน สโมสรทหารเรือ ตรงข้ามโรงพยาบาลธนบุรี 1 ซอยอิสรภาพ 44 ถนนอิสรภาพ กรุงเทพฯ โทร 0 2866 0513 , 0 8989 2600


Hospital ตลาดสีเขียว มาแลวจา และไม ไดมีเพียงที่เดียวเทานั้น มีที่ ใดบางฉบับนี้เรามาดูกัน

เรื่องโดย จุฬาลักษณ

à ¾Ñ¿à¡ÔÃ Å Í Ç à Ç Ò ¾ Á Õ ÃÒª×èÍÇ‹Ò·

ตลาดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานี

à

ตลาดสีเขียว รพ.ปทุมธานี เปดมาแลวเกือบ 6 เดือน จัดเปนประจําทุกวันพุธ ตั้งแต 07.00 - 13.00 น. บรรยากาศซื้อ ขายคึกคัก ผูคาอารมณดีจิตแจมใส มีกิจกรรมมาสรางสีสันใหแก ตลาดเสมอๆ เมือ่ วันพุธที่ 14 กรกฎาคม ทีผ่ า นมา ก็พงึ่ จัดกิจกรรม สนุกๆ พรอมใหความรูแกผูบริโภค ดวยกิจกรรม “ศึกชิงแชมป แมครัวหัวใจสีเขียว” โดยใหเหลาบรรดาแมครัวในตลาดแบงออก เปน 2 ทีม ช็อปปงผลิตภัณฑปลอดสารเคมีพิษในตลาดมาสรางสรรรคเมนูอาหารเพื่อสุขภาพใหชิมกันสดๆ โดยมีเหลาบรรดา ผูบริโภคทั้งขาประจําและขาจรเปนผูตัดสินโหวตเลือกทีมที่ปรุง อาหารไดถูกปากถูกใจ และทีมที่ชนะเลิศจะไดรับสิทธิขายฟรี

1 เดือน สรางความคึกคักใหแกตลาดไดเปนอยางยิ่ง แตตลาดเราไมไดสนุกสนานอยางเดียวเทานัน้ เรายังมี นักโภชนาการมาเสริมใหความรูเรื่องการปรุงอาหาร ตลอดงานทีเดียว เรียกวาทั้งสนุก ทั้งไดเกร็ดความรู กลับบานไปถวนหนาทุกคน


ตลาดสีเขียวแหงที่ 2 ศูนยสุขศาสตร

ขายเปนประจําทุกวันพฤหัสบดี ตัง้ แตเวลา 07.00 – 15.00 น. เปดตัวอยาง เปนทางการเมือ่ วันที่ 24 มิถนุ ายน ทีผ่ า นมา ในวันเปดงานคับคัง่ ไปดวยผูบ ริโภคมากมาย สวนใหญเปนบุคคลากรจากมหาวิทยาลัย ธรรมศาาสตร และจากโรงพยาบาล ธรรมศาสตรรังสิต ตางใหความสนใจ ตลาดสีเขียวกันเปนอยางมาก เขามาพูด คุยแลกเปลี่ยนความรูกับผูผลิตกันอยาง สนุกสนาน สรางความมีชีวิตชีวาใหตลาด สีเขียวแหงนี้เปนอยางดี จุดเดนหนึ่งที่ นาสนใจสําหรับตลาดสีเขียวแหงนี้ คือการ เปนตลาดสีเขียวที่ตั้งอยูในสถาบันการ ศึกษาซึง่ สรางความเชือ่ มัน่ ในเรือ่ งการปลอด สารพิษใหแกผบู ริโภคเปนอยางดี อีกทัง้ ยัง จัดเปนสถานทีท่ จี่ ะสามารถสรางแรงกระตุน และผลักดันใหกบั สังคมไทยในระดับสถาบัน วิชาการเรื่องเกษตรอินทรีย หรือแนวคิด

8

วารสารตลาดสีเขียว

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนยรังสิต)

การพัฒนาตลาดสีเขียว อีกทั้งยังทําให เกิดการทํางานที่เชื่อมโยงกับเยาวชนใน ระดับอุดมศึกษา พรอมกับเผยแพรแนวความ คิดวิถีสีเขียวสงตอไปยังกลุมเยาวชน สําหรับเกษตกรผูผ ลิต มีลกั ษณะ เปนกลุม (ขนาดกลาง) มีสมาชิกตั้งแต 5 - 20 ราย รวมกลุมกัน ถือเปนฐานการ ผลิตที่เขมเเข็ง สามารถพัฒนาขยายใหมี ปริมาณผลผลิตทีม่ ากพอทีจ่ ะปอนรานคา / โรงอาหาร ในมหาวิทยาลัยได ซึง่ จะทํา ให เกิดความยั่งยืนของระบบการบริโภค ในวิถีสีเขียวในภายภาคหนาตอไป

ÍØ ´ ÁÊÁºÙ à ³ ä ´Œ áÁŒäÁ‹ãª‹ÊÒÃà¤ÁÕ


ตลาดสีเขียวแหงที่ 3 โรงพยาบาลบางโพ

¡ÒÃáÊ´§ÅФÃ㺌¢Í§¤¹Ë¹ŒÒ¢ÒÇ

¡ÒÃáÊ´§¢Í§¹ŒÍ§æÅÙ¡ËÅÒ¹

âç¾ÂÒºÒźҧâ¾

เป ด ขายทุ ก วั น ศุ ก ร ตั้ ง แต เ วลา 10.00 - 14.00 น. ( จากเดิมขายทุกวัน อาทิตย) เปนตลาดสีเขียวที่นารักมาก หาก ใครไดมาสัมผัสจะรูสึกไดถึงความเปนกันเอง ของผูคา ของเจาหนาที่ในโรงพยาบาล โดย เฉพาะผูบริหารระดับสูงของโรงพยาบาล ทุก ๆ ครั้งที่มีตลาดสีเขียว จะมีเจาหนาที่จาก โรงพยาบาลใชรถเข็นมาตระเวนซือ้ ผลิตภัณฑ ในตลาด ทั้งพืชผักและอาหารปรุงสําเร็จ วันไหนหากผูผลิตขายไดไมหมด คุณเมธินี สายเพ็ชร ( ผูจัดการฝายพัฒนาคุณภาพ ) จะลงมาเหมาผักของเกษตกร เอาไปเขาครัว โรงพยาบาลบาง กลับไปทานที่บานบาง ดวยความมุงหวังที่อยากเห็นตลาดสีเขียวอยู ไดที่ตลาดบางโพตอไป


ตลาดสีเขียวแหงที่ 4 โรงพยาบาลมิชชั่น

ขายเปนประจําทุกวันอาทิตย ตั้งแตเวลา 9.00 -14.00 น. เปด ตัวไปเมือ่ วันที่ 18 กรกฎาคม 2553 โดยไดรบั เกรียติจาก ม.ร.ว. สุขมุ พันธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานเปดงาน ภายใต คอนเซ็ปทงาน “ตลาดสีเขียวในสวน” มีดนตรีไพเราะขับกลอมตลอดทั้ง งาน พรอมบริการอาหารมังสวิรัติเพื่อสุขภาพจากทางโรงพยาบาลมิชชั่น ชวยสรางบรรยากาศแหงความสุขครอบคลุมไปทั้งพื้นที่การจัดงาน สําหรับผลิตภัณฑที่จําหนายในตลาดสีเขียวโรงพยาบาลมิชชั่น นั้น แตกตางจากตลาดนัดสีเขียวแหงอื่นในเรื่องของอาหารปรุงสําเร็จ พรอมทาน ทีต่ อ งเปนมังสวิรตั ติ ามหลักศาสนาคริสต เซเวนเดย แอตเวนติส ซึ่งไมทานเนื้อสัตว แตทานไขและนม รสไมจัด นํ้ามันนอย เพื่อผูปวยที่รัก สุขภาพ และผูปวยที่มารักษาโรค โดยแตเดิมจะใชวัตถุดิบพืชผักที่มีการ จัดซือ้ จากบุคคลภายนอกจัดสงให และใชวธิ กี ารตรวจสอบหาสารเคมีตกคาง เพือ่ ปองกันดานความปลอดภัย แตเมือ่ มีตลาดสีเขียวเกิดขึน้ โรงพยาบาล มิชชั่นก็มีแหลงเลือกซื้อวัตถุดิบไรสารพิษเพื่อนําไปปรุงอาหารใหแก ผูบริโภคในโรงพยาบาลใหไดรับความปลอดภัยยิ่งขึ้น

ตลาดสีเขียวแหงที่ 5 ซึ่งกําลังจะเกิดขึ้นคือที่ โรงพยาบาลกรุงธนบุรี 1 ถนนตากสิน มีกําหนดการพิธิเปดงานอยางเปนทางการวันที่ 5 พ.ย. 2553 ตลาดสีเขียวกําลังผลิดอก ออกใบ ขยายกิ่งกานสาขาไปยังหลาย ๆ พื้นที่เพื่อใหผูบริโภคอยางพวกเราไดมีโอกาส เขาถึงพืชพรรณ ธัญญาหารที่ปลอดภัย มีสุขภาพกาย สุขภาพใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

10

วารสารตลาดสีเขียว


ตลาดสีเขียว ตลาดเพื่อ ประชาธิปไตย ผืนดิน

Market

บานเมืองเรากํ องเรากําลังพูดถึงการปฏิรูป โดย เฉพาะแนวคิดเรื่องการปกครองแบบประชาธิ ารปกครองแบบประชาธิปไตย ที่ตลาดสีเขียวเราก็มีความคิ มคิดเรื่องประชาธิปไตย เหมือนกัน และอยากนําเสนอบางคืคือ ประชาธิปไตย ocracy ผืนดิน หรือในชื่อฝรั่งวา Earth Democracy

คนที่คิดและเผยแพรแนวคิดนี้ชื่อ วันทนา ศิวะ เธอเปน ชาวอินเดียที่ผลักดันเรื่องเกษตรอินทรียมาเปนระยะเวลายาวนาน ดวยความรอบรูในเรื่องการเกษตรอินทรียตั้งแตระดับนโยบายถึงขั้น ลงมือทําจริง มีสถาบันหรือศูนยเรียนรูชื่อ พีชวิทยาปริต ที่แปลวา ศูนยเรียนรูเ รือ่ งพืชและเมล็ดพันธุ ทีศ่ นู ยของเธอจึงทํางานเก็บรักษา เมล็ดพันธุพืชพื้นบานที่กําลังสูญหาย เพราะขณะนี้บริษัทเมล็ดพันธุ ขนาดใหญที่เปนเจาตลาด พยายามเบียดขับเมล็ดพันธุพื้นบาน และครองตลาดการผลิตเมล็ดพันธุเสียหมด นี่จึงเปนที่มาวาแลว เกษตรกรของเราจะมีอิสรภาพหรือเปนไทแกตัวไดอยางไร พูด งายๆ ก็คอื ชาวนาชาวสวนของเราตองอาศัยซือ้ หาเมล็ดพันธุม ากขึน้ เรื่อยๆ ที่เคยเก็บเมล็ดพันธุจากฤดูกาลที่แลวไวใชในฤดูกาลหนา กําลังจะกลายเปนเรื่องราวในอดีต อันนําไปสูตนทุนการผลิตที่เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ เพราะเมล็ดพันธุที่ไดจากการตัดแตงพันธุกรรม(จีเอ็มโอ) เหลานี้ มักไมทนทานตอศัตรูพืชหรือศัตรูสัตว และมักมากับการ พึง่ พาสารเคมีกาํ จัดศัตรูพชื ศัตรูสตั วดว ย รวมทัง้ ปุย เคมี ปญหาทีเ่ กิด

ตามมาก็คือ เกษตรกรยิ่งมีหนี้สินเพิ่มมากขึ้น ตกเปนทาส มากกวาเปนไท ประชาธิ ป ะชาธิปไตยของผืนดินและเกษตรกรจึง หดหายไป ขณะนี้การผลิตเมล็ดพันธุโดยบรรษั ยบรรษัทกําลัง พึ่งพาเทคโนโลยีขั้นสูงมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเชื่อวาใหผลผลิต ดีกวา มากกวา ตนพืชก็โตไว มีการนําเทคโนโลยีมาสราง เมล็ดพันธุลูกผสม เรียกวา hybrid ที่อางวาผลผลิตจะมี ขนาดโตขึ้นและใหผลดกมากกวาเดิม แตที่เราไมรูคือ เมล็ดพันธุลูกผสมเหลานี้ขยายพันธุไมได ทุกปเกษตรกร ตองซื้อเมล็ดพันธุใหมทุกๆ ครั้งไป ทั้งๆ ที่แตเดิมสามารถ เก็บเมล็ดพันธุจากฤดูกาลที่แลวไดเอง พึ่งพาตนเองได และที่เรายิ่งไมรูเลยก็คือ ขบวนการตัดแตงเมล็ดพันธุ เหลานี้ที่ทําอยูในหองทดลอง เขาใชอะไร ทําอยางไร และ หากกินเขาไปจะสงผลอยางไรกับโครงสรางโมเลกุลใน


รางกายเราหรือไม ยิ่งเปนอาหารที่เราตองกินอยูทุกวัน สะสม นานเขาจะสงผลขางเคียงหรือโดยตรงอยางไร ยังไมมีใครออกมา พิสูจนหรือยืนยันกับเราได บรรษัทก็ไมสนใจทดลองเรื่องนี้แนนอน เพราะหากผลการทดลองบอกวาอันตราย หรือสรางความผิด ปกติใหกับยีนสของเรา เขาก็จะขายของไมได เพราะขนาดการใช สารเคมีหรือสารพิษทางการเกษตรที่เรารูแนๆ แลววาอันตราย มีตวั อยางใหเห็นมากมาย เชน ชาวนาถึงกับตายคาทีน่ าขณะฉีดยา ปราบศัตรูพืชและสัตว หรือสถิติการเจ็บปวยที่พบมากที่สุด ใน หมูเกษตรกรหลายรายคือโรคภูมิแพ ผิวหนังมีตุมหนอง สุขภาพ ยํ่าแย หมดแรงนอนเจ็บเสียดื้อๆ โดยไมทราบสาเหตุ บางรายก็มี ผลกระทบตอการทํางานของหัวใจ มีโรคหัวใจจากการสะสมการ ใชสารพิษทางการเกษตร แลวผูบริโภคในเมืองอยางเราก็มีความเสี่ยงกับเขา เหมือนกันอยางแนนอน สถิติการเปนโรคมะเร็ง หรือโรคที่มาจาก การกินอาหารไมปลอดภัยมีเพิ่มมากขึ้นทุกป เราเคยจัดกิจกรรม สุมตรวจดวยเครื่องมือแบบงายๆ ก็พบอัตราการปนเปอนสารเคมี ในเลือดจํานวนมากในหมูผูบริโภคที่เขารวมกิจกรรม คําถามคือ เราจะหนีรอดปลอดภัยจากสารเคมีที่มีอยูใน อาหารจานขางหนาของเราไดไหม เราจะนําวิถีการผลิตและการ กินแบบเกษตรอินทรียกลับมาอีกครั้งไดหรือไม กอนการเขามา ของสารเคมีทางการเกษตร เราเคยผลิตแบบธรรมชาติไมไดพึ่งพา สารเคมีเหลานี้มากอน เคยเก็บเมล็ดพันธุของเราเองได อาหาร จานขางหนาเราก็ยังปลอดภัย มีรสชาติดี หากเราไมรวมกันสราง ขบวนการนําอาหารกลับบานขึ้นมาใหม กลับบานของเราทั้งคน ผลิตและคนบริโภค พวกเราทุกคนคงตกอยูในความเสี่ยงและ อันตรายโดยเสมอหนากัน ถาประชาธิปไตยคือ อิสรภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ คําถามคือหากการผลิตอยางที่เปนอยู เรามีเสรีภาพ และความ เทาเทียม และการอยูรวมกันเหมือนพี่เหมือนนองจริงไหม รวมฟงเวทีเสวนา จากประชาธิปไตยผืนดินสูเ ศรฐศาสตรแหง ความสุข ในวันเสารที่ 28 สิงหาคมเรื่อง ประชาธิปไตยผืนดิน บรรยายโดยวันทนา ศิวะ เวลา 9.00-13.30 น. ณ หองนราธิป กระทรวงการตางประเทศ การบรรยายจะมีหูฟงพรอมลามแปลไทย ที่หนาหองประชุมยังมีขาวของ อาหารอินทรีย รวมทัง้ หนังสือดีๆ มีคณ ุ ภาพจําหนาย งานนีก้ ระทรวงการตางประเทศรวมเปนเจาภาพ กับสํานักพิมพสวนเงินมีมา เครือขายตลาดสีเขียว และสคูลฟอร

12

วารสารตลาดสีเขียว

เวลบีอิ้ง(School for Wellbeing) จึงขอเชื้อเชิญพวกเรา สามัญชน คนธรรมดา เกษตรกร ผูผ ลิต ผูป ระกอบการรายเล็ก รายนอยเขารวม แมสถานที่จัดงานจะหรูและหางไกลใน ความรูสึกของเราสักหนอย หากกระทรวงการตางประเทศก็ อยากเขาถึงเราทุกคน สอบถามรายละเอียดไดที่ สํานักพิมพสวนเงินมีมา โทร. 02-622-0966, 089-669-2431 คุณวรนุช หรืออีเมลถึง คุณพัชรี patcharee@ Schoolforwellbeing.org

School for Wellbeing Studies and Research, SIFA, และ บริษัทสวนเงินมีมา จํากัด ขอเชิญรวมงาน ปาฐกถาพิเศษ เศรษฐศาสตรแหงความสุข : ทางเลือกและทางรอดของ เศรษฐกิจอาหารชุมชน โดย เฮเลนา นอรเบิรก -ฮอดจ (Helena Norberg-Hodge): นักคิด นักบรรยาย และนักเคลื่อนไหวที่ ตอสูกับความเลยเถิดของแบบแผนการพัฒนาเศรษกิจในยุค ปจจุบัน โดยเฉพาะผลกระทบตอสังคมดั้งเดิมและวัฒนธรรม ทองถิ่น วันเสาร ที่ 4 กันยายน 2553 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ หอง ประชุม 101 คณะเศรษฐศาสตร, ธรรมศาสตร ทาพระจันทร


โครงการตลาดนั ด สีเขียวในโรงพยาบาลตนแบบ ไดเติบโตและขยายโครงการ ออกไปยังที่อื่นๆ ลาสุดไดเปด ตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาล มิชชั่น กรุงเทพฯ ขึ้นอีกแหง เปนทางเลือกสําหรับผูบ ริโภค มา ฟงความคิดเห็นของผูบ ริหาร และเจาหนาทีโ่ รงพยาบาลทีร่ ว ม ทํ า ให เ กิ ด ตลาดนั ด แห ง ใหม นี้ขึ้น...

Consumer

สมชัย ชื่นจิตร

ผูอํานวยการโรงพยาบาลมิชชั่น

ในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของผูที่ชอบ รับประทานอาหาร รูสึกวาอาหารในปจจุบัน คอนขางทีจ่ ะมีสารปนเปอ นมากมายจนไมรวู า ทานไปแลวจะเกิดผลดีหรือผลเสียกันแน ถือ วาการจัดกิจกรรมโครงการตลาดนัดสีเขียว นั้ น ดี ม ากๆ เพราะเป น ตั ว กลางที่ ทํ า ให เกษตรกรและผูซื้อไดพบกันโดยตรง ผูบริโภค ก็ไดสินคาที่ถูกและปลอดสารพิษจริงๆ มี อาหารใหเลือกหลายอยาง สิง่ หนึง่ ทีช่ อบมาก คือ ภายในโครงการมีอาหารที่หลากหลาย ใหเลือกซื้อและเรามั่นใจวาปลอดภัย ก็ขอ ดาวใจ ทองเจริญ เจาหนาที่ฝายการตลาด รพ. มิชชั่น สนับสนุนโครงการนี้และอยากใหขยายใน ตลาดที่กวางมากขึ้น ผมเห็นวาโครงการนีม้ ปี ระโยชน มากและคงสงผลถึงระยะยาว ในอนาคต ทําใหผูซื้อและผูขายไดมาพบกันโดยไม ตองผานพอคาคนกลาง และยังไดแลก เปลี่ยนประสบการณเรื่องของอาหาร สวนใหญผลิตภัณฑปจจุบัน็มีสวนผสม ของสารเคมีคอ นขางเยอะ ยิง่ ชีวติ ในเมือง ก็ไมคอยสนใจเรื่องคุณภาพอะไรเทาไร เอาเร็วไวกอน แตพอมีตลาดนัดสีเขียวนี้ เขามาชวยใหหาซื้อไดงาย และเร็ว สงผล ใหชีวิตและสุขภาพของผูบริโภคในเมือง ดีขึ้น มีทางเลือกมากขึ้น

มิชชั่น เปนรพ.ที่ใหความสําคัญ ดานการสงเสริมสุขภาพ จึงเห็นดวยเปน อยางยิง่ ในการจัดโครงการตลาดนัดสีเขียว ในโรงพยาบาล ซึ่งมีรานคามากมายที่มา จําหนายสินคาทีป่ ลอดภัย แตละรานมีผลิต ผลทางธรรมชาติที่ปลอดภัยจริงๆ ชวยให การรณรงคเรือ่ งสุขภาพเปนสิง่ งายขึน้ และ ทําใหสุขภาพชีวิตของคนเมืองดีขึ้นจาก การรับประทานอาหารที่ปลอดภัย ผมมี ความภูมิใจที่รพ.มิชชั่นมีสวนรวมในการ จัดตลาดนัดสีเขียว ทําใหเกษตรกร ที่ใสใจ สิ่งแวดลอม ปลูกพืชปลอดภัยไรสารพิษ ไดมีชองทางตลาดมากขึ้น สามารถหาซื้อ มารับประทานไดงายขึ้น

คุณวิลาวัลย จันทสุวรรณ

เจาหนาที่ฝายการตลาด รพ. มิชชั่น

ลิขิต บุญครอบ

เจาหนาที่ฝาย IT รพ. มิชชั่น

รูสึกดีนะคะที่มีตลาดนัดสีเขียวเกิด ขึ้นในโรงพยาบาล ทําใหเราสามารถที่เลือก ซื้อผลิตภัณฑที่ปลอดภัยไดงาย และราคาไม แพงมาก พอทราบวาผูมาจําหนายคือผูผลิต เองก็ยิ่งมั่นใจคะ วาอาหารที่เราซื้อปลอดภัย ไดคุณภาพจริงๆ แตละรานก็ใหขอมูลสินคาที่ ขายไดเปนอยางดีถึงประโยชนของผลิตภัณฑ และวิธกี ารผลิตทีถ่ อื วาเปนเกษตรอินทรียจ ริงๆ ไดทั้งความรูและไดประโยชนจากอาหาร ปลอดภัยก็ถือวาคุมแลวคะ


Feature

อาหาร คนไทย วันนี้ เรื่อง/ ภาพ: วุฐิศานติ์ จันทรวิบูล

เชื่ อ ว า คนไทยหลายคนคง คุนเคยกับประโยคที่วา you are what you eat คุณเปนในสิ่งที่คุณกิน หรือ กินอยางไรไดอยางนัน้ เพราะมนุษยเรา ทุกคนรูดีวาอาหารที่เรากินอยูทุกวัน จะเขาไปชวยฟน ฟูสภาพรางกายทีส่ กึ หรอ ของเรา แตในทางตรงกันขาม จะมีใคร ตระหนักไดบา งวานอกจากคุณประโยชน แลวอาหารยังอาจมีโทษทํารายทําลาย รางกายของเราไดอกี ดวย ซึง่ ขึน้ อยูก บั อาหารทีเ่ ราเลือกรับประทานในแตละมือ้ ว า มี คุ ณ ประโยชน ห รื อ มี โ ทษต อ รางกายมากนอยแคไหน หรือวามี คุณภาพมากนอยเพียงใด เมื่อพูดถึงคุณภาพของอาหาร คุณบางคนอาจเริม่ สงสัยวาอาหารทีค่ นไทย กินอยูท กุ วันนีม้ คี ณ ุ ภาพจริงหรือ? แลวเรา จะมีมาตรฐานอะไรมาคอยตรวจวัดคุณภาพ ของอาหารในแตละมื้อ ใครเลยจะรูวาบน โตะอาหารทีเ่ รียงรายดวยอาหารเลิศหรูหรือ มีรสชาติอรอยอาจไมใชมื้ออาหารที่มี

14

วารสารตลาดสีเขียว

คุณภาพเสมอไป หากวัตถุดบิ ทีน่ าํ มาปรุง อาหารนัน้ มิไดถกู คัดเลือกมาอยางดี หรือ แมผานการคัดเลือกอยางดีแลวก็ยังอาจ ปนเปอนดวยสารเคมีทางการเกษตร ปนเปอ นดวยสารพิษ และเชือ้ จุลนิ ทรียที่ เปนโทษได นัน่ อาจทําใหคณ ุ เริม่ ไมแนใจวา อาหารที่กินอยูทุกเมื่อเชื่อวันมีคุณภาพ มากพอหรือเปลา เพราะสวนหนึง่ อาหาร ดีๆ หรือผลผลิตที่มีคุณภาพมักจะถูกสง ออกไปขายยังตางประเทศ จนเกิดเปน มูลคาอยางมหาศาลทางเศรษฐกิจ ซึ่ง อาจทําใหละเลยผูบ ริโภคภายในประเทศ ของเราเอง โดยการหลอเลี้ยงประชากร ดวยอาหารทีไ่ มผา นเกณฑการสงออกหรือ มีคณ ุ ภาพไมดพี อ และในปจจุบนั ประเทศ เรายังรับเอาอาหารการกินแบบฟาสตฟดู อันเปนผลผลิตจากวัฒนธรรมตะวันตก เขามาอีกดวย จนดูเหมือนวาทางเลือก ของเราจะมีเหลือนอยเต็มที เพราะอาหาร ฟาสตฟูดเปนอาหารที่อุดมไปดวยไขมัน

อิม่ ตัว มีโปรตีน และนํา้ ตาลในปริมาณมาก เกินความตองการของรางกาย ซึง่ ถาสะสม มากเขาก็จะทําใหรา งกายของเรากลายเปน แหลงซองสุมโรคภัยในที่สุด คงเหมือนกับ คํากลาวของอองเตลม บรียาซาวาแรง นักการเมืองนักชิมชาวฝรัง่ เศสเคยพูดไววา “ชะตากรรมของชาติ ขึน้ อยูก บั รูปแบบการ กินของคนในชาติ” ทีนคี้ ณ ุ ลองจินตนาการ ถึงชะตากรรมของคนในชาติเราดูบางสิ ตั้ ง แต ป  2547 รั ฐ บาลได มี นโยบายกําหนดใหเปนปแหงสุขอนามัย เนนในเรือ่ งความปลอดภัยดานอาหาร หรือ Food Safety และพัฒนามาตรฐานใหเทียบ เทาสากลเพือ่ ผลักดัน “ครัวไทย สูค รัวโลก” และสรางประเทศไทยใหเปนครัวของโลก (Kitchen of the World) เปนการรณรงค เผยแพรภาพลักษณดานคุณภาพ และ มาตรฐานดานสุขอนามัยของอาหารไทย ใหเปนที่รูจักแพรหลายมากยิ่งขึ้น โดยมี กระบวนการในการตรวจสอบมาตรฐาน และรับรองคุณภาพสินคาเกษตร อาหาร


“ชะตากรรมของชาติ ขึ้ น อยู กั บ รู ป แบบการกิ น ของคนในชาติ ” ที นี้ คุ ณ ลองจิ น ตนาการถึ ง ชะตา กรรมของคนในชาติเราดู บางสิ

ที่สงออกและนําเขาสูประเทศไทย จะตองมีคุณภาพและมาตรฐานเปนไป ตามหลักสากล อีกทัง้ ยังเปนการเสริมสรางความเขมแข็งใหกบั ระบบการผลิต ทางการเกษตรของประเทศไทย ใหมีศักยภาพทั้งดานปริมาณ และคุณภาพ ของสินคาเกษตร ก็เพือ่ สรางความเชือ่ มัน่ ในความปลอดภัยของอาหาร ใหกบั ผูบ ริโภคและผูป ระกอบการทัง้ ในประเทศและตางประเทศ รวมถึงการผลัก ดัน ใหประเทศไทยยังคงเปนประเทศผูสงออกสินคาอาหารที่สําคัญของโลก นายเพ็ชร ชินบุตร ผูอํานวยการสถาบันอาหาร กลาวในแถลงการรวมของ 3 องคกร ประกอบดวย สภาหอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหง ประเทศไทย และสถาบันอาหาร วาในไตรมาสแรกของป 2553 อุตสาหกรรม อาหารไทยขยายตัวเพิม่ ขึน้ ตอเนือ่ งจากไตรมาสสุดทายของป 2552 โดยดัชนี ภาคการผลิตเพิ่มขึ้นรอยละ 4.5 ขณะที่ภาคการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 24.2 เนือ่ งจากการฟน ตัวของเศรษฐกิจโลก โดยมีสนิ คาสงออกสวนใหญยงั เปนกลุม สินคาหลัก คือ ขาว กุงแชแข็ง และกุงแปรรูป ทูนากระปอง และทูนาแปรรูป ผักผลไมทงั้ สดและแปรรูป นํา้ ตาลทราย มันสําปะหลัง และผลิตภัณฑ นํา้ มัน ปาลม เปนตน โดยการคาอาหารของไทยมีสวนแบงในตลาดโลกที่สูงขึ้น มี สัดสวนรอยละ 2.47 ขยับจากอันดับที่ 13 มาเปนอันดับที่ 12 และเปนอันดับ

Feature

2 ของเอเชียรองจากประเทศจีน แนวโน ม การส ง ออกอาหาร ไทยในไตรมาส 2 คาดว า จะมี มู ล ค า 201,944 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของป กอน สวนในภาพรวมการสงออกอาหาร ไทยในป 2553 นัน้ มีแนวโนมขยายตัวเพิม่ ขึน้ ซึง่ หากเศรษฐกิจโลกขยายตัวไดประมาณ รอยละ 3-4 และคาเงินบาทเฉลี่ยทั้งปอยู ที่ 32 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ คาดวาการ สงออกอาหารไทยปนี้จะมีมูลคาสูงถึง ประมาณ 830,000 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้น รอยละ 10 จากป 2552 ทัง้ นีค้ วามตองการบริโภคอาหาร อินทรียก็มีแนวโนมเพิ่มมากยิ่งขึ้น ทําให ธุรกิจการผลิตอาหารอินทรียไดรับความ สนใจมากขึ้น โดยมีการผลิตสินคาเกษตร อินทรียเ พือ่ การสงออกเพิม่ ขึน้ อยางตอเนือ่ ง ทําใหสนิ คาอินทรียท ผี่ ลิตไดวางขายในตลาด ภายในประเทศนอยลง โอกาสที่คนไทย จะไดกินอาหารที่มีคุณภาพจึงลดลง หรือ อีกความหมายหนึ่งก็คือ นั่นอาจทําใหคน ไทยยิ่งมีความเสี่ยงที่จะบริโภคอาหารที่ ไมมีความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น ความจริง แลว ปจจัยเสีย่ งตอความปลอดภัยดานอาหาร เกิดขึ้นไดในทุกขั้นตอน ตั้งแตการผลิต วัตถุดบิ ไปจนกระทัง่ อาหารถึงมือผูบ ริโภค ดังนั้น การดูแลเรื่องความปลอดภัยดาน อาหาร ต อ งดํ า เนิ น การควบคุ ม ตรวจ สอบอยางเขมงวดในทุกขั้นตอนการผลิต ตัง้ แตขนั้ ตอนการผลิตวัตถุดบิ ขัน้ ตอนการ แปรรูปเบือ้ งตน ขัน้ ตอนการขนสง ขัน้ ตอน การจําหนายและปรุง และจากปจจัยความ เสี่ยงตางๆ เหลานี้ทําใหพบวา คนไทยมี ความเสี่ย งเปน อยางมากในการบริโภค อาหารในปจจุบนั นัน่ ยิง่ ไมตอ งจินตนาการ ถึงชะตากรรมของคนในชาติ ดังจะเห็นไดวา สถานการณ ปญหาอันตรายจากความไมปลอดภัย


ดานอาหารที่มีตอผูบริโภคมีปรากฏใหเห็นเปนระยะ อีกทั้งอาหาร ปนเปอนก็ยังพบในปริมาณที่นากังวล ทั้งอาหารที่ผลิตภายใน ประเทศและอาหารที่นําเขาจากตางประเทศ รศ.ดร. ทรงศักดิ์ ศรี อ นุ ช าต ผู  อํ า นวยการสถาบั น โภชนาการและสถาบั น คลังสมองของชาติ กลาวถึงปญหาความปลอดภัยดานอาหารวา เปนปญหาที่สําคัญในทุกประเทศทั่วโลก ทั้งในประเทศที่พัฒนา แลว ประเทศกําลังพัฒนา และประเทศที่พัฒนานอย ความไม ปลอดภัยของอาหารเกิดขึน้ ไดทกุ จุดในหวงโซ หรือเสนทางอาหาร กอนถึงผูบริโภค มีกระบวนการตางๆ ที่เสี่ยงตอความปลอดภัย เริ่มตนตั้งแตกระบวนการผลิตที่มีการใชสารเคมีและสารพิษกัน มากขึ้น การเก็บรักษาและการขนสง การแปรรูปอาหารที่ใชสาร เคมีเกินจากกฎหมายกําหนด การปรุงอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ ตลอดจนกระบวนการบริการที่ยังคงมีความเสี่ยงเกิดขึ้นได แตทั้งนี้กระทรวงสาธารณสุขก็มิไดนิ่งนอนใจ ไดสั่งการ ใหมกี ารคุมเขมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยดานอาหาร โดย มอบใหกรมอนามัยลงไปตรวจสอบตลาดคาอาหารสด และรานคา ปรุงสําเร็จวาผานมาตรฐานความปลอดภัยหรือไม โดยมอบปาย มาตรฐาน Food Sefety และ Clean Food Good Taste ใหกบั รานคา ตางๆ ซึง่ คุณจงกลนี วิทยารุง เรืองศรี ผูอ าํ นวยการศูนยปฏิบตั กิ าร ความปลอดภัยดานอาหารกลาววา แมรา นคาตางๆ จะผานเกณฑ การตรวจสอบของกระทรวงสาธารณสุขแลวก็ตาม แตเราก็ไม สามารถมั่นใจไดวาอาหารนั้นมีความปลอดภัยรอยเปอรเซ็นต เพราะการตรวจเปนวิธกี ารสุม ตรวจ และตรวจเพียงรานละสามถึง สี่ครั้งเทานั้น เพราะหลังจากนั้นหากรานคายังสามารถรักษา คุณภาพอาหารปลอดภัยของตนเอาไวได ก็ถือไดวาเปนโชคดีของ ผูบริโภคอยางเรา สวนทางดานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีหนาที่ในการควบคุมดูแลอาหารแปรรูป โดยเขาไปตรวจสอบ GMP (Good Manufacturing Practice) เขมขน ตัง้ แตสขุ าภิบาล ในโรงงาน กระบวนการผลิตจนกระทัง่ เปนผลิตภัณฑสาํ เร็จรูป โดย มีเครือ่ งหมายของ อย. รับรองมาตรฐาน กองควบคุมอาหาร ประจํา สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดกําหนดนโยบายประจํา ป 2553-2556 โดยคํานึงถึงความปลอดภัย ความคุม คาสมประโยชน และคุณคาทางโภชนาการ อีกทั้งยังเปนการยกระดับระบบการ คุมครองผูบริโภคดานอาหารใหเปนสากล โดยมีวิสัยทัศนในการ

16

วารสารตลาดสีเขียว

เปนผูนําระบบการคุมครองผูบริโภคดานอาหารในภูมิภาค อาเซียนและเปนทีย่ อมรับในระดับสากล โดยมีความปลอดภัย ดานอาหารเปนภารกิจหลักทีม่ คี วามสําคัญ มิใชเฉพาะการ คุมครองสุขภาพของผูบริโภคเทานั้น เพราะสุขอนามัยของ ประชากรยอมสงผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจของชาติดว ย หาก ประชากรเจ็บปวยนัน่ ยอมเกิดผลกระทบตอครอบครัว ชุมชน การดําเนินธุรกิจ ซึ่งนอกเหนือจากคาใชจายในการรักษา พยาบาลแลว การไมสามารถปฏิบัติงานก็จะทําใหผลผลิต ลดลง รายได ลดลง โดยเฉพาะผูมีรายไดนอยจะยิ่งมีผล กระทบมาก ดังนัน้ ประเทศจึงตองมีการดําเนินการดานความ ปลอดภัยของอาหารอยางมีประสิทธิภาพจริงจัง เพราะ จากรายงานของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบ วา ปญหาความเจ็บปวยและการเสียชีวิตของคนไทยใน ปจจุบัน เปลี่ยนจากโรคติดตอมาเปนโรคไมติดตอ เชน มะเร็ง เบาหวาน หัวใจวาย เปนตน ซึ่งอาหารเปนปจจัย สําคัญหนึ่งของสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาดังกลาว นางสาวดารณี หมูขจรพันธ นักวิชาการอาหาร และยา เชี่ยวชาญดานความปลอดภัยของอาหารและการ บริโภคอาหาร กลาววา ปญหามักเกิดจากผูป ระกอบการทัง้ ผู จําหนายวัตถุเจือปนในอาหารและผูผลิต ผูนําเขา ไมมี จริยธรรม จนทําใหเกิดปญหาซํ้าซาก มีการใชวัตถุเจือปน อาหารทีเ่ กินเกณฑมาตรฐาน เชน สารกันเสียหรือสีสงั เคราะห เวลากินอาหารก็เหมือนกับการกินสารเคมีเขาไปดวย นอกจาก นี้ยังพบวา ผลิตภัณฑหลายชนิดฉลากไมถูกตอง มีการ แบงบรรจุ ปลอมฉลาก ฉลากเปนภาษาอังกฤษ สารพัดวิธี ที่จะงัดเอามาใช หรือนั่นคือการแสดงออกถึงความไมใสใจ


ตอชะตากรรมของเพื่อนรวมชาติ ถึงแม กรมอนามัยและ อย. ในสังกัดกระทรวง สาธารณสุขจะมีมาตรการคุมเขมและ พยายามตรวจสอบความปลอดภัยดาน อาหารมากเพียงใด แตก็ยังมีขาวคราว สารพิษปนเปอนในอาหารอยูเสมอ สวน หนึ่งอาจเปนเพราะสารกําจัดศัตรูพืชบาง ชนิดยังคงอยูในดินและนํ้าไดเปนเวลา หลายป สารเหลานี้จึงเขาไปปนเปอนใน พืชที่ปลูก แมเกษตรกรไมไดพนสารเคมี ก็ตาม นัน่ อาจหมายความวา แมแตอาหาร อินทรียก ย็ งั มีโอกาสทีจ่ ะปนเปอ นสารตกคาง บางอยางได สิ่งนี้เกิดขึ้นไดในทุกสวนของ โลก ไมเฉพาะในประเทศไทยเทานั้น ดังนั้น อาหารที่ติดฉลากวา “ปลอดภัย” หรือ “อนามัย” อาจจะมีพษิ ตกคางของสาร กําจัดศัตรูพืชมากกวาอาหารอินทรีย แตก็ มีสารเคมีตกคางนอยกวาพวกที่ไมไดติด ฉลากดังกลาว เพราะจากการตรวจสอบ ของกรมวิชาการเกษตรพบวา 18 เปอรเซ็นต ของคะนาและผักบุง ทีต่ ดิ ฉลากวา “ปลอดภัย” มีพิษตกคางของสารกําจัดศัตรูพืชอยูมาก กวาคาระดับสารตกคางสูงสุด (MRL) และในกรณีของตัวอยางที่ไมไดติดฉลาก จะมีถึง 29 เปอรเซ็นตที่มีปริมาณสาร ตกคางมากกวา MRL ตัวอยางการตรวจ สอบแสดงใหเห็นวา อาหารที่มีฉลากติด อยูจ ะปลอดภัยกวาอาหารทัว่ ไป เปนทางเลือกที่ คอนขางปลอดภัย แตอาหารอินทรียก็ ยังเปนทางเลือกที่ดีที่สุดที่จะทําใหคุณ กินอาหารไดอยางปลอดภัย โดยเฉพาะการเลือกซื้อสินคา อาหารอินทรียท อี่ ยูใ นเครือขายตลาดสีเขียว ซึง่ จัดใหมตี ลาดนัดสีเขียวขึน้ ในโรงพยาบาล ตนแบบหลายแหงในเขตเมือง เพราะได ผานมาตรฐานผลิตภัณฑสีเขียว ซึ่งทําให ตลาดสีเขียวมีความแตกตางจากตลาด ทัว่ ไป คือมาตรฐานของสินคา โดยผลิตภัณฑ ตางๆ ที่นํามาจําหนายไดผานการคัดสรร

กลั่นกรองเรื่องคุณภาพใหเปนที่ยอมรับ โดยแบงโซนเปน 3 สี ไดแก โซนสีเขียว เขม เ ป  น ม า ต ร ฐ า น เ ก ษ ต ร อิ น ท รี ย  (Organic) ใชปจ จัยการผลิตจากธรรมชาติ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ เสริมสรางความหลากหลายทางชีวภาพ ไมมีการตัดตอทางพันธุกรรม หามใชปุย เคมีและสารเคมีทุกขั้นตอนการผลิต โซน สีเขียวกลาง เปนผลิตภัณฑสีเขียวเพื่อ สิ่งแวดลอม ไรสารเคมี ซึ่งอยูในระหวาง การวางกฎเกณฑจากมูลนิธิมาตรฐาน เกษตรอินทรียและเครือขายตลาดสีเขียว และสุดทาย โซนสีเขียวออน เปนมาตรฐาน อาหารปลอดภัย (GAP) ซึ่งปลอดภัยจาก สารพิษ สารเคมีตกคางโดยการรับรอง จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ดังนั้น เราเองในฐานะที่เปนผู บริโภคควร จะตองมีความระมัดระวังใน การเลือกกินอาหาร ถึงแมจะมีหนวยงาน ตางๆ คอยชวยเหลือในการคัดสรรอาหาร ทีด่ เี พียงใด หรือมีทางเลือกใหเรามากมาย ขนาดไหน แตเราตางหากที่เปนคนเลือก ตักอาหารคํานั้นใหกับตัวเราเอง เพราะ

อาหารมีสวนในการกําหนดชะตากรรม ของเราและอาหารมีสว นกําหนดชะตากรรม ของชาติ หากสิ่งที่อองเตลม บรียาซาวา แรงกลาวเปนจริง


Food for life เรื่อง: ปาตา

ฉบับนี้เปนครั้งแรกของ Food For Life ที่จะนําเสนอ เรื่องราวความสําคัญ ความเปนมาของอาหารทีค่ นเรารับประทาน กันอยูทุกวันในอีกแงมุม จากกูรูผูรู...คุณจําเนียร เอี่ยมเจริญ หรือที่รูจักกันในนาม “ปาตา” ผูเชี่ยวชาญดานอาหารโดยเฉพาะ มังสวิรัติ มาเปดตัวเปดใจเลาเรื่องราวความเปนมา กอนที่พา ทุกคนไปเรียนรูเรื่องอาหาร ในฉบับตอๆ ไป และนี่คือเรื่องราว จากปลายปากกาของ “ปาตา” เปนครัง้ แรกทีไ่ ดมโี อกาสมีสว นรวมกับวารสารตลาดสีเขียว ผูเ ขียน ใชนามวา ปาตา เปนชาวกรุงที่ยายถิ่นฐานมาอยู จ.เชียงใหมนานกวา26ป แลว เชียงใหมยงั คงมีสภาพแวดลอม อากาศ ธรรมชาติ วิถชี วี ติ โดยเฉพาะ ความสมบูรณทางอาหาร เปนแหลงเพาะปลูกอาหารปลอดสาร ในแตละวัน หมุนเวียนสับเปลีย่ นจะมีตลาดนัดอาหารปลอดสาร หาซือ้ จับจายไมยากนัก มันเปนความโชคดีของชาวเชียงใหมแตกไ็ มทงั้ หมด หลายๆ คนก็ยงั รีบทาน แบบเดิมก็มากอยู สวนกลมุคนที่รักดูแลสุขภาพก็มีมากพอสมควร แบ

ประเภทผักพืน้ บานก็ยงั หาซือได อ้ ไดตามตลาด ทั่วไป ปาตาเองเปนชาวเวจหรือทาน มังสวิรัติ ทานมาไดประมาณ 16 – 17 ป ความสามารถพิ เ ศษก็ คื อ ทํ า อาหาร มั ง สวิ รั ติ ไ ด ทุ ก รู ป แบบแล ว ก็ อ ร อ ย ดวย เขาวากันอยางนั้น แรกๆ ที่ทานและ ทํานัน้ รูส กึ ลําบากมากในการปรับเปลีย่ น จากเนื้อสัตวมาเปนมังฯ ดวยความเคยชิน กับการทําอาหารเนื้อสัตว อาศัยวาเปน นักคิด นักดัดแปลง เรียกวาพอจะมีพรสวรรศ และมีศลิ ปะในการทําอาหาร เลยคอยๆ ปรับ เปลี่ยนฝกมาเรื่อยๆ จนเปนความเคยชิน และเปนปกตินิสัย สามารถทําอาหารมังฯ ไดรสชาติอรอยไมแพอาหารเนื้อสัตว คน สวนใหญมักจะถามอยูเสมอวาทานมังฯ ไมขาดสารอาหารหรือ ปาตามักตอบเสมอ วา ชางตัวใหญ มา วัวฯ กินหญา กลวย ออย มันยังแข็งแรงกวาเราเลยไมเห็น มัน ขาดสารอาหาร สวนคนมีแตเหตุผลของ ความอรอย ความรูส กึ ติดใจในรสชาติเทานัน้ ขอโทษนะคะไม ไ ด ติ เ ตี ย นคนทาน

18

วารสารตลาดสีเขียว

เนือ้ สัตว ปาตาถือวาชอบใคร ชอบมัน แตขอ ใหรจู กั ทานแบบสมดุลและใชปญ  ญาในการ รับประทาน เพือ่ วาอาหารจะไดเปนยาและ ปจจัยในการดํารงชีวิต เราปฏิเสธไมได วาอาหารเปนสวนหนึ่งในแหลงที่มาของ โรค การที่เรามีเวลาและใหโอกาสกับตัว เองปรับเปลีย่ นพฤติกรรมในการกิน ปาตา วาเราไมประมาทในการใชชีวิต เห็นชีวติ เปนสิ่งที่มีคาควรแกการดูแลบํารุงรักษา รางกาย พาหนะสําคัญในการสราง พัฒนา สถานะและคุณงามความดี เราทุกคนจะ ปฏิเสธไมไดวา ความเจ็บปวย ทุกขทรมาน เปนอุปสรรคสําคัญในการดําเนินชีวติ ครัง้ หนึ่งปาตาเคยผานวิถีชีวิตอันเรงรีบและ ถูกกดดันจากการสรางฐานะ อยากได อยากดี อยากมี อยากเปน จนถึงวิกฤติของ ชีวิต จนเปนเหตุใหที่ตองคนหาตัวเองวา คนเราเกิดมาเพือ่ อะไร จนพบทีน่ งั่ ใหมคอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เกิดความศรัทธา ศึกษาคนควา ปฏิบตั ิ จนชีวติ ไดพบวิถใี นการ ดําเนินชีวติ ใหม ปรับเปลีย่ นมุมมองความคิด

ใชชีวิตบนพื้นฐานตามความจําเปนการ ทํามาหากิน เหลือจากนัน้ เราก็เผือ่ แผดว ย การใชเปนปจจัยในการทําความดี ทุกวันนี้ ปาตาพอใจและเพียงพอกับความตองการ ตามอัตภาพของการดําเนินชีวิต ปาตาจะ ใหความสําคัญกับอาหาร ปจจัยหลักและ สําคัญในการสรางชีวิต โดยเผยแพรการ ทําอาหารมังสวิรัติ ซึ่งใชอาหารที่เปนยา สามารถเสริมภูมคิ มุ กันโรคภัยไขเจ็บ ทําให เบาทั้งกายและใจ ถาเราจัดสรรระบบการ ใชชวี ติ กินอยูห ลับนอนได ไวโอกาสหนา ปาตาจะแนะนําวิธกี ารทําอาหารมัง ฯ เพือ่ ฟนฟูสุขภาพ แลวพบกันคะ


Movement

มือเปอ นดิน ทําสวนผัก มีต ลาดสดอยูห ลัง บา น กับ “โครงการสวนผัก คนเมือง” มูลนิ​ิธิเกษตรกรรมยั​ั่งยื​ืน รวมกั​ับ มูลนิธิศูนยสื่อเพื่อการพัฒนา ชมรมเกษตร ในเมือง และคณะทํางานกินเปลี่ยนโลก มี โครงการดี ๆ ทีไ่ ดรบั การสนับสนุนจากสํานักงาน กองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ขอชวน คนเมือง มือเปอ นดิน ทําสวนผัก สรางตลาดสดใหอยูหลังบาน กับ “โครงการ สวนผักคนเมือง” โดยจะจัดการฝกอบรมให ความรูแกผูที่ยังไมมีประสบการณ หรือยังไม มั่นใจในฝมือของตนเองที่จะอยากจะทําสวน ผักไวบริโภคเองบริเวณบาน มีวิทยากรที่มี ประสบการณจากทั้งหมด 8 ศูนยเรียนรูทั่ว พื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล ไดแก (1) สวน เกษตรดาดฟาสํานักงานเขตหลักสี่ โดย คุณ แหมม เพ็ญศรี โตสะอาด และทีมงาน (2) ศูนย เรียนรูเกษตรในเมือง สาขาลาดพราว 71 สังกัดชมรมเกษตรในเมือง โดย “เจาชายผัก” หรือ คุณนคร ลิมปคุปตถาวร (3) ศูนยการ เรียนรูเกษตรในเมือง สาขาสุวรรณภูมิ สังกัด ชมรมเกษตรในเมือง โดย คุณชูเกียรติ โกแมน (4) ศูนยฝกอบรมบานคุณตา สุขุมวิท 62 โดยทีมงานวารสารเกษตรธรรมชาติและมูลนิธิ ศูนยสื่อเพื่อการพัฒนา (5) โรงแรมพระนคร นอนเลน โดยทีมงานของคุณ “โรส” วริศรา

(6) โรงเรียนอิสลามวิทยาลัย (7) กองดุรยิ างค ทหารบก ถนนวิภาวดี (8) หมูบ า นพฤกษา วิลเลจ คลอง 6 จังหวัดปทุมธานี นอกจากนี้ ยังมีบริการหนวยฝก อบรมเคลื่อนที่ (mobile unit) โดยทีมงาน ของโครงการสวนผักคนเมือง ที่พรอมไป จัดการฝกอบรมซอกซอนไปยังพื้นที่ของ ชุมชนที่มีความตองการการฝกอบรมได แตไมสามารถเดินทางมายังศูนยเรียนรูทั้ง 8 ศูนย ดังกลาวได ทุกศูนยเรียนรูจะประกอบไป ดวยแนวคิด องคความรูและเทคนิคขั้น พื้นฐานของการปลูกผักสวนครัว เอาไวให สําหรับผูที่เขารวมอบรมไดดู ไดชม ไดฟง ไดสัมผัส ไดลงมือทําดวยตนเอง ไมวาจะ เปนการเตรียมดิน การทําปุยอินทรียและ นํ้าสกัดชีวภาพใชเองจากขยะเศษอาหาร จากในบานและชุมชน การเพาะเมล็ดและ ขยายพันธุผัก การปองกันกําจัดโรคและ แมลงศัตรูผัก รวมไปถึงการเพาะปลูกผัก อื่น ๆ เชน การเพาะเห็ด การเพาะถั่วงอก เปนตน นอกจากนี้ กลุมหรือชุมชนใดที่มี ความสนใจในการปลูกผักสวนครัวเอาไว บริโภครวมกัน สามารถเขียนโครงการของ

กลุม หรือชุมชน เพือ่ เสนอขอรับการสนับสนุน จากโครงการสวนผักคนเมือง โดยจะตอง รวมกลุมกันใหไดตั้งแต 5 คน ขึ้นไป ไมได เปนญาติกัน และตองแสดงใหเห็นวามี แนวทางการดําเนินงานไปสูการปลูกสวน ครัวเอาไวบริโภคจริง ๆ ไมไดเปนไปเพื่อ การคาขาย และที่สําคัญจะตองการเปน การปลูกผักสวนครัวโดยไมใชสารเคมี สังเคราะหทางการเกษตรใดๆ ทั้งสิ้น จึง จะเรียกไดวา เปนการเพาะปลูกผักเพื่อ สุขภาพของตนเองและสิ่งแวดลอมอยาง แทจริง สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติม ไดทwี่ ww.sathai.org และ www.thaihealth. org สําหรับทานใดทีต่ อ งการโชวฝไ มลายมือ การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคมี ทีม่ กี าร บริโภคอยูแลวเปน เนืองนิจ ก็สามารถสง ผลงานเขาประกวดไดในโครงการ สวนผัก ในบานฉัน ปที่ 2 โดยผูชนะเลิศจะไดรับ รางวัลและการเชิดชูเกียรติภายในงาน มหกรรมสมุนไพรแหงชาติครั้งที่ 7 ใน เดือนกันยายน 2553 ที่จะถึงนี้ เขาไปดู เงื่อนไขการประกวดและสงผลงานไดที่ www.food4change.in.th


School for

Wellbeing

“เราไมควรทึกทักเอาวาผูค น ทีม่ ชี วี ติ อยูอ ยางคอนขางยากจนหรือมี ภาวะเจ็บปวยเรื้อรังจะตองไมพอใจ กับชีวิตของตนเองเสมอไป” (ดัชนีโลก(ไม) มีสุข: นิก มารคสและทีมงาน เขียน, เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน แปล)

พ.ศ. ๒๕๕๐ มูลนิธเิ ศรษฐกิจใหม หรื อ เนฟ (The New Economics Foundation–nef) ประเทศอังกฤษ ซึ่ง เปนผูจัดทําดัชนีโลกมีสุข(Happy Planet Index – HPI) ไดประกาศผลการจัดอันดับ ประเทศตางๆ ทัว่ โลกโดยใช ดัชนีโลกมีสขุ หรือดัชนีเอชพีไอเปนตัวชี้วัด ซึ่งประเทศที่ พัฒนาแลวสวนใหญตดิ อยูใ นอันดับทายๆ ของตาราง สวนประเทศดอยพัฒนากลับ ขึ้นมาอยูในอันดับตนๆ

ตารางแสดงอันดับของประเทศ ทั่วโลกตามคาดัชนีเอชพีไอ

ดัชนีเอชพีไอเปนนวัตกรรมใหมที่ ถู ก คิ ด ค น ขึ้ น มาเพื่ อ ประเมิ น วั ด ว า ประสิทธิภาพเชิงนิเวศวิทยาของประชากร แตละประเทศ ในการบรรลุเปาหมายเพื่อ ชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุขนั้นแตกตาง กันอยางไร อะไรเปนปจจัยชีว้ ดั ทีส่ าํ คัญ ทัง้ ยั ง ชี้ ใ ห เ ห็ น ความสํ า เร็ จ หรื อ ความ ลมเหลวของประเทศตางๆ ในการสงเสริม ความเปนอยูท ดี่ ี (Wellbeing) ของประชากร ควบคูไปกับการตระหนักถึงความจํากัด ของทรัพยากรที่เราตองพึ่งพาอาศัย ซึ่ง

20

วารสารตลาดสีเขียว

แตกตางไปจากตัวชี้วัดในเรื่องรายได ประชาชาติ ที่ประเมินจากผลิตภัณฑมวล รวมภายในประเทศ หรือจีดีพี (Gross Domestic Product – GDP) อันเปนดัชนี หลักที่บรรดานักวิเคราะหและรัฐบาลทั่ว โลกใชในการวัดความสําเร็จของการบริหาร ดัชนีเอชพีไอประกอบไปดวยตัว ชี้วัดที่สําคัญ ๓ ตัว ไดแก อายุขัยเฉลี่ย ความพึงพอใจในชีวิต และรอยเทานิเวศ และมีแนววิธคี ดิ ทีแ่ ตกตางไปจากดัชนีอนื่ ๆ อยางสิ้นเชิงในเรื่องกระบวนการนิยาม เพราะเอชพีไอใชความเปนอยูที่ดีเปน เปาหมายปลายทาง และการบริโภค ทรัพยากรของโลกเปนปจจัยนําเขาพืน้ ฐาน ซึ่งทําใหเราสามารถเนนยํ้าวาเปาหมาย ของการพัฒนานัน้ ก็เพือ่ นําพาใหเกิดความ เปนอยูที่ดีในระดับสูง ภายใตเงื่อนไขของ การบริโภคทรัพยากรอยางรับผิดชอบและ เทาเทียมกัน คาเอชพีไอสะทอนใหเห็นได อยางชัดเจนวามีประเทศใดบางที่ประสบ ความสําเร็จในการบรรลุเปาหมายดังกลาว ดัชนีเอชพีไอจึงเปนดัชนีแรกที่ ประเมินวัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศวิทยา ของประเทศตางๆ ในการทําใหประชาชน ดํารงชีวิตอยางมีความสุขและมีอายุยืน ผลลัพธจากการประเมินชีใ้ หเห็นวา ประเทศ

รํ่ารวยที่สุดในโลกซึ่งมีคาจีดีพีสูงลวนแต ไรประสิทธิภาพเชิงนิเวศอยางสิ้นเชิง ประเทศเหลานี้ลวนใชทรัพยากรปริมาณ มหาศาลเพื่อสรางความพึงพอใจแกคนใน ประเทศ ดังนั้นหากมองในอีกแงหนึ่ง คา เอชพีไอแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของ ประเทศตางๆ ในการเปลีย่ นแปลงทรัพยากร อันมีจํากัดบนโลก ใหเกิดอรรถประโยชน สูงสุดสําหรับพลเมืองของตนนั่นเอง

นิก มารคส (Nic Marks)เปนผูกอตั้งศูนย ศึ ก ษาความเป น อยู  ที่ ดี ( Centre for Wellbeing) มูลนิธิเศรษฐกิจใหม หรือ เนฟ (The New Economics Foundation – nef) และเปนผูเขียนหนังสือ ดัชนีโลก (ไม) มีสุข (The (un) Happy Planet Index) เขาจะรวม เปนวิทยากรพิเศษในงานเวทีเสวนาหัวขอ “ความ สุขแปรเปลีย่ นโลกไดหรือไม?” ระหวางวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๓ และเปนวิทยากรอบรม เชิงปฏิบัติการ หัวขอ “Well-being at Work” ในวันอังคารที่ ๓ สิงหาคม ณ หองสมาคมนิสติ เกาคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูสนใจกิจกรรมขางตน สามารถเขาไปอาน รายละเอียดไดที่ www.schoolforwellbeing.org หรื อ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ คุณพัชรี โทร 02-622-0955, 622-0966 อีเมล patcharee@schoolforwellbeing.org


ความหวัง ความฝน แรงบันดาลใจ: 100 ผูนําวิสัยทัศนแหงศตวรรษที่ ๒๐ VISIONARIES: The 20th Century’s 100 Most Important Inspirational Leaders

บรรณาธิการ : สาทิศ กุมาร และ เฟรดดี ไวทฟลด กรรณิการ พรมเสาร แปล : 440 บาท ราคา : บรรณาธิการ ฉบับแปล : สดใส ขันติวรพงศ ความหนา : 532 หนา สํานักพิมพ : สวนเงินมีมา

recommend

“สิ่งที่เศรษฐกิจอุตสาหกรรมเรียกวา ‘การเจริญเติบโต’ นั้น แทจริง แลว เปนการโจรกรรมจากธรรมชาติและประชาชนรูปแบบหนึ่ง” วันทนา ศิวะ คําพูดอันแหลมคมบาดความรูส กึ ขางตนนีเ้ ปนพียงเสีย้ วเล็กๆ จากมุมมองของ 3 ใน 100 ผูน าํ วิสยั ทัศน แหงศตวรรษที่ 20 ที่ไดรวบรวมไวในหนังสือกึ่งสารคดีประวัติบุคคลที่ชื่อ ความหวัง ความฝน แรงบันดาลใจ : 100 ผูน าํ วิสยั ทัศนแหงศตวรรษที่ 20 ซึง่ มี สาทิศ กุมาร และเฟรดดี ไวทฟล ด เปนบรรณาธิการ หนังสือเลมนี้ นําเสนอเรื่องราวชีวิตและผลงานของเหลาผูนําที่ลุกขึ้นมาทาทายและตอกรกับความไมเปนธรรมทางสังคม ชองวางระหวางคนรวยกับคนจน การเหยียดผิว หรือแมแตการลมสลายของธรรมชาติและระบบนิเวศ ไปจนถึง ความขาดแคลนทางจิตวิญญาณ ดวยแนวทางสันติวธิ ี อาวุธของบุคคล เหลานีค้ อื คมปญญาทัง้ ทางพุทธปญญา มโนทัศน และเหนืออืน่ ใดคือ มโนธรรมสํานึกอันเปนจิตสาธารณะ ผนวกกับวิสัยทัศนและความหวังเต็มเปยมที่มี ตอมนุษยชาติและโลกใบนี้ หนังสือไดแบงกลุม ผูน าํ ออกเปน 3 กลุม ใหญๆ ไดแก กลุม ผูน าํ ดานนิเวศ ดานสังคม และดาน จิตวิญญาณ เรือ่ งราวของเขาเหลานีเ้ ปนทัง้ แรงบันดาลใจ ใหความหวัง ขณะเดียวกันก็ชว ยเยียวยาบาดแผลที่มนุษยไดกระทําไว กับดาวเคราะหดวงนี้ แมเวลาจะผานมารวมศตวรรษแลว แตผลงานของพวกเขายังคงสดใหม เปนเครือ่ งเตือนใจวา เราไมเคยโดดเดี่ยว ไมเคยไรความหวัง และไมเคยอับจนหนทาง ในยุคที่ผูคนกําลังแสวงหาแรงใจ ฝนถึงโลก ทีด่ กี วา และหวังทีจ่ ะฝาวิกฤต คงไมมอี ะไรดีไปกวาการไดอา นเรือ่ งราวของผูท ไี่ ดฟน ฝาอุปสรรคนานามายิง่ กวาที่ เราจะสามารถจินตนาการได Healthy

นิตยสารมุม Vol. 1 No. 2 เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม 2553

“มุม” เปนนิตยสารธรรมะทีไ่ มเนนการยกหลักธรรมมานําเสนออยางทือ่ ๆ หากแตเลือกทีจ่ ะพูดถึงเรือ่ งราวทีเ่ ปนไป ในสังคมที่เกี่ยวโยงกับชีวิตประจําวันของผูคน เพราะผูจัดทําเชื่อวา ธรรมะนั้นมีอยูในทุกความธรรมดา อันที่จริง นิตยสาร เลมนี้ไมไดเกิดขึ้นมาอยางโดดๆ แตเปนโครงการสงเสริมกิจกรรมหนึ่งภายใตมูลนิธิหยดธรรม วัตถุประสงคหลักๆ เพื่อ สรางสรรคเผยแพรขอมูลธรรมะดวยเนื้อหาที่อานงาย ผานรูปเลมสวยงามสีสันสดใส เพื่อสื่อสารกับกลุมเยาวชนเปนหลัก ดวยหวังวาเรือ่ งราวทีน่ าํ เสนอจะซึมซาบกลายเปนเมล็ดพันธุแ หงความดีงาม ผลิดอกออกชอเบงบานในจิตใจของเยาวชน สืบไป เพื่อสืบสานเจตนารมยของมูลนิธิฯ ที่วา “การทําดีเพื่อผูอื่น คือการทําเพื่อฝกฝนตนเองอยางถึงที่สุด” นั่นเอง นอกจากนิตยสารจะนําเสนอในลักษณะรูปเลมแลว ยังไดนาํ เนือ้ หาทัง้ หมดเผยแพรในรูปแบบของ e-Book เพือ่ ให กลุมเยาวชนสามารถเขาถึงไดงาย ซึ่งผูอานที่สนใจสามารถเขาไปดูหรือดาวนโหลดไฟลไดที่ www.dhammadrops.org มาชวยกันสนับสนุนนิตยสารดีๆ ที่ตั้งใจทําเพื่อสรางสรรคใหเรามีสังคมที่ดีกวาเดิมกันนะคะ

www.truefood.org เว็บไซตของกรีนพีซ เนนเนื้อหาเกี่ยวกับอาหารที่แทจริง อาหารปลอดจีเอ็มโอ จีเอ็มโอ คือ การดัดแปลงพันธุกรรมสิง่ มีชวี ติ เพือ่ ผลประโยชนในเชิงการคาแตฝน ธรรมชาติ และตรงกันขาม กับออรแกนิคโดยสิ้นเชิง จากการสํารวจของกรีนพีซพบวา อาหารที่วางขายอยูในซุปเปอรมาเก็ต ในเมืองไทยปนเปอ นจีเอ็มโอหรือสิง่ มีชวี ติ ดัดแปลงพันธุกรรม โดยไมมกี ารติดฉลากบอกผูบ ริโภคแต อยางใด ทัง้ นีใ้ นสหภาพยุโรป อาหารจีเอ็มโอถูกปฏิเสธอยางสิน้ เชิง แตบา นเราซึง่ ถือเปนแหลงอาหาร ของโลกแทๆ แตพันธุกรรมพืชพื้นบานกลับถูกยํ่ายีและทําใหแหลงอาหารออนแอ พืชจีเอ็มโอในทองตลาดที่มีขายทั่วไป ไดแก ถั่วเหลือง ขาวโพด มันฝรั่ง มะเขือเทศ มะละกอ ฝาย และคาโนลา(พืชใหนํ้ามัน) กรีนพีซทําโครงการ “เรารักขาวไทย” ซึ่งใหความสนใจ เฉพาะเจาะจงกับการรักษาพันธุขาวใหปลอดจีเอ็มโอ ทุกวันนี้พันธุขาวไทยกวา 17,๐๐๐ ชนิด กําลังตกอยูในภาวะเสี่ยงที่จะสูญเสียไปจากแผนดินไทย ในฐานะผูบริโภค เราตองชวยปกปอง ขาวไทยดวยการเลือกบริโภคขาวพันธุธรรมชาติเทานั้น เพื่อสนับสนุนชาวนาไทยและเกษตรกร ของชาติใหปลอดจากเงื้อมมือของจีเอ็มโอ


design

Flowform โฟลวฟอรม

พลังนํ้าหนุนพลังชีวิต

“การไหลเวียน

ของนํ้าและเสียงนํ้า ไหลชวยการผอน คลาย”

22

วารสารตลาดสีเขียว

ประดิษฐกรรมงานศิลปะชิน้ เล็ก โฟลวฟอรม นําแนวคิดดังกลาวมาประกอบ ดวยวัสดุเซรามิกสีสวยงาม เพียงพืน้ ทีเ่ ล็ก นอยก็สามารถสรางมุมสงบทีเ่ ติมเต็มพลัง ชีวิตใหกับบานหรือที่ทํางานของทานได โฟลวฟอรมมีวธิ กี ารติดตัง้ งายๆ เมื่อเติมนํ้าก็สามารถนั่งเอนกายสดับฟง เสียงนํา้ ไหล จากการคนพบการไหลเวียน ของนํา้ ในทวงทํานองเดียวกับสายนํา้ ของ ภู เ ขา และจั ง หวะของธรรมชาติ ปฏิมากรรมที่ลอธรรมชาติชิ้นนี้ สามารถ นํามาจัดวางในบรรยากาศมุมใดของ ที่พักทานก็ได โฟลวฟอรม แตละใบจะใหเสียง ที่แตกตางกัน หากตองการเสียงอันสงบ เย็นควรเติมนํ้าใหอยูในระดับเต็มเสมอ และหมั่นเติมนํ้าทุกๆ สองหรือสามวัน ตามสภาพแวดลอม(ดูคูมือประกอบ) ขณะนี้มีสีใหเลือก 6 เฉดสี ดวยราคา 8,200 บาท ตอหนึ่งชุด

สนใจแวะชม โฟลวฟอรม ไดที่ รานสวนเงินมีมา 77, 79 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ พระนคร กทม. 10200 โทร. 02-622-0966, 02-622-0955 อีเมล shopping@suan-spirit.com เว็บไซต www.suan-spirit.com และ www.thaigreenmarket.com


Support

มาตรฐานเกษตรอินทรีย

หนวยรับรองเพื่อสุขภาพ

ลุงมี เก็บผักที่ปลูกในสวนมา

จําหนาย โดยลุงมีบอกวา ปลูกแบบไมใช สารเคมี ไมฉีดยาฆาแมลง ถามวาผัก ของลุงมี จะเขาขายที่สามารถเรียกวา เกษตรอินทรียไ ดหรือไม ถาพิจารณาตาม เกณฑมาตรฐานเบื้องตน ก็ตองถาม ลุงมีวา -ใชเมล็ดพันธุจ ากการผลิตระบบ อินทรียหรือไม -ใชอนิ ทรียวัตถุจากภายในฟารม หรือภายนอก -สวนที่ อ ยู  ติ ด กั น ใช ส ารเคมี หรือไม แลวมีการจัดทําแนวกันชนหรือ ไม ระยะหางเทาใด -ฯลฯ นีเ่ ปนเพียงตัวอยางเล็กๆ นอยๆ ที่ นาจะพอทําใหเห็นถึงความแตกตางของ การทําการเกษตรตามวิถพี นื้ บาน กับเกณฑ มาตรฐานเกษตรอินทรีย รายละเอียดปลีก ยอยที่เพิ่มขึ้นอาจจะดูยุงยากในการ ปฏิบัติตาม แตถาหากเกษตรกรสามารถ ปฏิบัติไดตามเกณฑมาตรฐาน ผูที่ไดรับ ประโยชนกค็ อื ตัวเกษตรกรและผูบ ริโภค

เพราะสุขภาพที่ดีนั้นเกิดจากวิถีการกิน ดังประโยคที่วา กินอยางไร ไดอยางนั้น นั่นเอง ปาดา อยูหมูบานเดียวกับ ลุงมี ปาดา เห็นวาลุงมีไมใชยาฆาแมลง จริงๆ ปาดามีความมั่นใจ ซื้อผักจาก สวนลุงมีโดยตลอด ที่รานขายผักอีกจังหวัดหนึ่ง คุ ณ สมศรี ต  อ งการซื้ อ ผั ก ที่ ป ลู ก แบบ อินทรีย คนขายบอกวา มีผกั จากสวนลุงมี คุณสมศรีไมรูจักลุงมี คุณสมศรีไมแนใจ วาจะเชื่อถือไดมากนอยแคไหน ในทาง กลับกัน หากผักจากสวนลุงมี มีฉลากซึ่ง มีตราสัญลักษณติดวาสินคานี้ไดรับการ รับรองจากหนวยงานทีเ่ ชือ่ ถือได สามารถ ตรวจสอบขอมูลได คุณสมศรีกจ็ ะมีความ มั่นใจในตัวสินคา ถึงแมจะไมไดเห็นดวย ตาเชนปาดาก็ตาม “มาตรฐานสินคาเกษตรและ หนวยงานตรวจรับรองระบบ” จึงมีบทบาท สําคัญในการสรางความเชื่อมั่นใหกับผู บริโภค สําหรับประเทศไทย หนวยงานที่ เปนหนวยงานหลักในการจัดทํามาตรฐาน

ระดับประเทศและใหการรับรองระบบงาน คือ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตร และอาหารแหงชาติ หรือ มกอช. มาตรฐานที่ มกอช. จัดทําขึน้ นัน้ นอกจากจะตองสรางความเชื่อมั่นใหกับ ผูบ ริโภคในประเทศแลว ยังตองสรางความ เชือ่ มัน่ ใหกบั ผูบ ริโภคในภูมภิ าคอืน่ ๆ การ จัดทํามาตรฐานของ มกอช. จึงตองจัด


ทําใหเปนที่ยอมรับและสอดคลองกับ มาตรฐานระหวางประเทศ เชน Codex, OIE และ IPPC ที่มักเรียกกันวา “WTO three sister organization” โดย มกอช. เปนผูป ระสานความรวมมือกับหนวยงานที่ เกี่ยวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อ จัดเตรียมทาทีของประเทศไทย ในการเขา รวมพิจารณาของทั้ง 3 องคกร ทั้งนี้การ กําหนดทาทีจะอาศัยขอมูลทางวิทยาศาสตร เปนพืน้ ฐานสําคัญ รวมทัง้ คํานึงถึงประเด็น ทีอ่ ยูใ นความสนใจของผูม สี ว นไดสว นเสีย และเนือ่ งจากผูบ ริโภคยุคใหมจึงคํานึงถึง สุขอนามัยความปลอดภัยในการบริโภค และรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น ผลิตผล ทางการเกษตร ที่ถึงแมจะมีคุณภาพ ได มาตรฐาน เชน ไดรบั มาตรฐาน การปฏิบตั ิ ทางการเกษตรทีด่ ี หรือ จีเอพี (GAP) ก็ยงั ไมเพียงพอตอการตอบสนองความตอง การของผูบริโภคในปจจุบัน ผลิตภัณฑ เกษตรอินทรีย ซึ่งเกิดจากกระบวนการ ผลิตที่ปลอดภัย ปลอดสารเคมี และเปน มิตรกับสิ่งแวดลอมและสวัสดิภาพสัตว (animal welfare) จึงเปนผลิตภัณฑทาง เลือก ทีม่ คี วามตองการมากขึน้ เปนลําดับ ทัง้ ตลาดในประเทศและตลาดตางประเทศ มกอช. มีหนาทีด่ าํ เนินการรับรองระบบงาน (Accreditation) ดานเกษตรอินทรีย แก หนวยรับรอง เพือ่ ใหระบบการรับรองเปนที่ เชือ่ ถือยอมรับในระดับสากล มกอช. โดย สํานักรับรองมาตรฐานสินคาและระบบ คุณภาพ (สรม.) ในฐานะหนวยรับรอง ระบบงาน (Accreditation Body : AB) เปนผูรับผิดชอบดําเนินการใหการรับรอง

24

วารสารตลาดสีเขียว

สินคามีมาตรฐานความปลอดภัย ตามมาตรฐานสินคาเกษตร หรือ มาตรฐานสากล

สินคามีมาตรฐานความปลอดภัย และ การคัดแยกคุณภาพ หรือมีการจัดการ เปนพิเศษเพื่อใหไดสินคาที่มีคุณภาพ ระดับสูง ตามมาตรฐานหลักเกณฑที่ กําหนดไว

หนวยรับรองดานสินคาเกษตรและอาหาร (Certification Body : CB) โดยหนวย รับรองทีจ่ ะขอรับการรับรองจะตองปฏิบตั ิ ตามมาตรฐานสากลวาดวยขอกําหนด ทั่ ว ไปสํ า หรั บ หน ว ยรั บ รองคุ ณ ภาพ ผลิตภัณฑ (General Requirements for Bodies Operating Product Certification Systems, ISO/IEC Guide 65 : 1996) และจะตองตรวจรับรอง ตามเกณฑมาตรฐานขัน้ ตํา่ เกษตรอินทรีย ของ มกอช. โดยในปจจุบัน มกอช. ไดจดั ทํามาตรฐานสินคาเกษตร ในหมวด มาตรฐานระบบ ที่เกี่ยวของกับเกษตร อินทรีย จํานวน 4 เรื่อง ไดแก -การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจําหนายเกษตรอินทรีย -ปศุสัตวอินทรีย -อาหารสัตวนํ้าอินทรีย -การเลีย้ งกุง ทะเลระบบอินทรีย ซึ่งหนวยรับรองฯ ที่ไดรับการ รับรองระบบงานจาก มกอช. ในปจจุบนั มี 2 หนวยงาน คือ สถาบันพืชอินทรีย กรมวิชาการเกษตร และ สํานักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) สําหรับ เกษตรกรที่ตองการขอรับการรับรอง สามารถติดตอขอรับการรับรองจากหนวย รับรองทั้งสองหนวยงานที่กลาวมา และ หากผูบ ริโภคเลือกสินคาทีไ่ ดรบั การรับรอง จาก 2 หนวยงานนี้ โดยดูจากตราสัญลักษณ

หรือโลโกก็สามารถมั่นใจไดวาสินคาที่ ทานเลือกเปนสินคาที่มีคุณภาพ ได มาตรฐานเกษตรอินทรียระดับเดียวกับ มาตรฐานสากล

เครื่องหมายรับรองมาตรฐานทั่วไป เปนเครื่องหมายสินคาเกษตรที่ใชแสดง กับสินคาเกษตรที่ไดรับใบรับรองตาม มาตรฐานทั่วไปเพื่อเปนการสงเสริมให ผูผ ลิต ผูส ง ออก หรือผูน าํ เขาสินคาเกษตร ผลิตและจําหนายสินคาเกษตรทีไ่ ดมาตรฐาน เพือ่ ความปลอดภัยของผูบริโภค

เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับ เปนเครือ่ งหมายทีแ่ สดงกับสินคาเกษตรที่ ได รั บ ใบรั ง รองตามมาตรฐานบั ง คั บ เนื่องจากมีความจําเปนที่จะตองควบคุม ใหสินคาเกษตรไดมาตรฐาน เพื่อความ ปลอดภัยของผูบริโภค


Calenda “รวมแบงปนแรงกาย แรงใจ และเวลา มาเปนอาสาทําสมุดเพื่อนองๆกัน” เริ่มกิจกรรมทุกๆวันเสารตลอดทุกเดือน เวลา 13.00 ถึง 16.00 น.รับจํานวนจํากัดเพียงวันละไมเกิน 20 ทาน สนใจสงรายละเอียด แจง ชื่อ เบอรติดตอกลับ และวันเวลาที่สะดวก มาไดที่อีเมล paperranger@live.com หรือโทร. 089 670 4600 (พี) www.paperranger.co.cc

การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อการ เปลี่ยนแปลง ขั้น ๑ Facilitation for Transformation เปนหลักสูตรการอบรมซึ่งเนน กระบวนการเรียนรูที่ทําใหผูเรียนรูจักตนเอง เขาใจความเปนไปของโลกสรรพสิ่ง เคารพ และตระหนักในความหลากหลายของเพื่อน มนุษย เขาใจตําแหนง/สถานะ และใช ศักยภาพของตนเองไดอยางมีจิตสํานึก ครั้งที่ ๑ วันที่ ๑๒ – ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ ครั้งที่ ๒ วันที่ ๒๔ – ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ ครั้งที่ ๓ วันที่ ๑๒ – ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ สถานที่ อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายก วิทยากร: ณฐ ดานนนทธรรม สุนสิ า จําวิเศษ และ สมบัติ ทารัก รับจํานวน ๒๕ ทาน บริจาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๗,๐๐๐ บาท (รวมคาที่พัก อาหาร และรถรับสง)

การสรางบานดินดวยตนเอง “You can hand your own home” รวมศึกษาเรื่องราวของบานดิน ชมภาพตัวอยางบานดินจากทุกภูมิภาค ทั่วโลก เรียนรูหลักการและขั้นตอนสราง บานดินทีถ่ กู ตองทัง้ ภาคทฤษฎีและปฏิบตั ิ จาก วิทยากรผูม ปี ระสบการณ เขาใจหลัก ปฏิ บั ติ ใ นการสร า งบ า นดิ น อย า งง า ย แลกเปลีย่ น ทัศนคติรว มกันและสรรคสราง บานดินดวยตัวคุณเอง เทคนิคอิฐดินดิบและกอนฟาง วิทยากรโดย:สมบูรณ ฐิติชวลิตกุล ครั้งที่๑๒ ๒๘-๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๓ ครั้งที่ ๑๓ ๒๕-๒๖ กันยายน ๒๕๕๓ เทคนิคอิฐดินดิบ วิทยากรโดย: ธนา อุทัยภัตรากูร ครั้งที่ ๑๔ ๒-๓ ตุลาคม ๒๕๕๓ สถานที่ : อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายก รับจํานวน ๒๗ ทาน บริจาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๒,๕๐๐ บาท (รวมคาที่พัก อาหาร และรถรับสง)

การโคชเพื่อเสริมสรางพลังชีวิต (Life Coaching) ปลุกชีวิตใหตื่นจากการหลับใหล ดวยการฟงความจริงภายในที่คุณไมเคยรับรู เป น กระบวนการสนทนาที่ ทํ า ให ผู  ค นได คนพบทางออกของปญหาดวยตัวเอง อาศัย คําถามอันทรงพลัง การฟงอยางลึกซึ้ง การใช ญาณทัสนะจับประเด็นชีวิตระหวางสนทนา ระหวางวันที่ : ๑-๓ ตุลาคม ๒๕๕๓ สถานที่:อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายก วิทยากร: จีรนันท หลายพูนสวัสดิ์ : ณัฐ ดานนนทธรรม รับจํานวน ๒๔ ทาน (เทานั้น) บริจาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวม คาเอกสาร ทีพ่ กั อาหาร และรถรับสง) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ ฝาย ประชาสัมพันธ เสมสิกขาลัย สํานักงาน อาศรมวงศสนิท โทรศัพท ๐๓๗-๓๓๒ ๒๙๖ ถึง ๗ หรือ ๐๘๔-๓๕๐ ๐๙๔๖ (สํานักงาน อาศรมวงศสนิท) เว็บไซต www.wongsanit-ashram.org , www. semsikkha.org อีเมล info@wongsanit-ashram.org

พบกับตลาดนัดสีเขียว จําหนายพืชผักเกษตรอินทรีย อาหารเพื่อสุขภาพ สินคาจากชุมชนเพื่อสิ่งแวดลอม ตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานี ทุกวันพุธ เวลา 07.00 น. - 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลบางโพ ทุกวันศุกร เวลา 10.00 - 15.00 น. ตลาดนัดสีเขียว ศูนยสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต ทุกวันพฤหัสฯ เวลา 07.00 – 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว รพ.มิชชั่น ทุกวันอาทิตย เวลา 09.00 - 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว อาคารรีเจนทเฮาร ถ.ราชดําริ ทุกวันพฤหัสฯ เวลา 10.30 – 15.00 น.


26

วารสารตลาดสีเขียว


สมัครสมาชิกวารสารตลาดสีเขียว

• การสมัครสมาชิกมีคา่ ธรรมเนียมท่านละ 200 บาทต่อปี • ใช้เป็นส่วนลดในการเข้าร่วมกิจกรรมการเยีย่ มฟาร์ม ของเครือข่าย 5 % • ได้รบั วารสารตลาดสีเขียวรายสองเดือนรวม 6 ฉบับต่อปี • สามารถเข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ ครือข่ายจัด โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย ติดต่อ : บริษทั สวนเงินมีมา จํากัด 77,79 ถนน เฟือ่ งนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 tel: 02-622-0955, 02-622-0966 Fax : 02-622-3228

downloadใบสมัครได้ทw่ี ww.thaigreenmarket.com

อัตราคาโฆษณา

“เพื่อแลกเปลี่ยนและเชื น ่อมโยงผูประกอบการ ผูผลิต ผูบริโภคที่คํานึงถึงความยั่งยืนและเปนมิตรกับธรรมชาติ” ในการจัดพิมพวารสารฯยังคงขาดงบประมาณในการผลิตที่จะเผยแพรไปยังผูที่สนใจโดยไมเสียคาใชจาย จึงใครขอเชิญทานรวมสนับสนุนดังกลาว ดวยรูปแบบดังนี้ 1.ลงโฆษณา(เนื 1.ลงโฆษณา( ้อหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 4 สี สนับสนุนงบประมาณ 10,000 บาท/ฉบับ 2.ลงโฆษณา(เนื้อหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด ½ A4 พิมพ 4 สี สนับสนุนงบประมาณ 5,000 บาท/ฉบับ 2.ลงโฆษณา( ลงโฆษณา(เนื้อหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 5,000 บาท/ฉบับ 3. ลงโฆษณา 4..ลงโฆษณา(เนื้อหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด ½ A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 3,000 บาท/ฉบับ 4..ลงโฆษณา 5.ลง โลโกองค งคกรพิมพ 4 สี จํานวน 3 ฉบับงบประมาณ 10,000 บาท 6.ลง โลโกองค งคกรพิมพ 4 สี จํานวน 6 ฉบับงบประมาณ 15,000 บาท 7. ลงบทความ(เนื้อหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 4,000 บาท/ หนา


28

วารสารตลาดสีเขียว


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.