คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คูมือครูฝก 0920164150302 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 1 09215401 กฎระเบียบการขอใชไฟฟาของ การไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คํา นํา
คูมือ ครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 1 กฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภู มิ ภาค เป นส วนหนึ่ ง ของหลัก สูตรฝกอบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒ นาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝก อบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขา ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการ พัฒนาฝมือแรงงานดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อธิบ ายการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา กฏระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรมของการไฟฟา นครหลวงและการไฟฟาฟาสวนภูมิภาค การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นจากการประมาทขณะปฏิบัติงานทางไฟฟาได รวมไปถึงติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาวจึ ง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มีความสําคั ญ ต อ การพั ฒนาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบการ ฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึก ษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เรื่อง
สารบั ญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก
ข 1
โมดูลการฝกที่ 109215401 กฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค หัวขอวิชาที่ 1 0921540101 การปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921540102 กฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรม หัวขอวิชาที่ 3 0921540103 การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นไดจากการประมาท ขณะปฏิบัติงานทางไฟฟา คณะผูจัดทําโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
12 19 30 44
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรื อ เข ารั บ การฝก ในโมดูล ที่ครูฝก กําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎี กอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรบั การฝกทีจ่ ะผานโมดูลการฝก ตองไดรบั คารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164150302
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับกฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.4 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณปองกันกระแสเกิน 1.5 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 60 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตล ะคน มีผ ลใหผู รั บ การฝก จบการฝก ไม พ ร อมกัน สามารถจบกอ นหรือ เกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงานหรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล
8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920164150302 2. ชื่อโมดูลการฝก กฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง รหัสโมดูลการฝก และการไฟฟาสวนภูมิภาค 09215401 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการปฏิบัติงานทีป่ ลอดภัยสําหรับงานไฟฟาได 2. อธิบายกฎระเบียบ การขอใชไฟฟาประเภทธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมของการไฟฟ า นครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคได 3. อธิ บ ายการปอ งกั นอั นตรายที่ส ามารถเกิด ขึ้ นจากการประมาทขณะปฏิ บัติง าน ทางไฟฟาได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. ความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับกฎระเบียบ ผูรับการฝก การขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคจากหนวยงาน หรือสถาบันทีเ่ ชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการปฏิบัติงาน หัวขอที่ 1 : การปฏิบัติงานทีป่ ลอดภัยสําหรับ 0:15 0:15 ที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟาได งานไฟฟา 2. อธิบายกฎระเบียบ หัวขอที่ 2 : กฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภท 0:30 0:30 การขอใชไฟฟาประเภท ธุรกิจอุตสาหกรรม ธุรกิจอุตสาหกรรมของ การไฟฟานครหลวงและ การไฟฟาสวนภูมิภาคได สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
3. อธิบายการปองกันอันตราย ที่สามารถเกิดขึ้นจาก การประมาทขณะปฏิบัติงาน ทางไฟฟาได
หัวขอที่ 3 : การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้น ไดจากการประมาทขณะปฏิบัตงิ าน ทางไฟฟา
0:15
-
0:15
รวมทั้งสิ้น
1:00
-
1:00
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1
0921540101 การปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการปฏิบัติงานทีป่ ลอดภัยสําหรับงานไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ - การปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. พุฒิพงศ ไยราช. 2558. การติดตั้งไฟฟาในอาคาร. กรุงเทพฯ : เอมพันธ. กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัยฯ เกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก :http://www.oshthai.org/index.php?option=com_content&view=article&id= 218%3A-m-m-s&catid=1%3Anews-thai&Itemid=201
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา ในการปฏิบัติง านที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ไฟฟ า จํา เป นตอ งใชค วามระมัดระวัง เปน อยา งสูง เนื่อ งจากเปน งานที่อัน ตราย และสามารถเกิดอุบั ติเ หตุ ได ง าย ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งมี ขอ ปฏิบัติดานความปลอดภัยซึ่ง เปนแนวทางสําหรับ ผูป ฏิบัติง าน 1. การปฏิบัติงานที่ปลอดภัยสําหรับงานไฟฟา การปองกันมิใหเกิดอุบัติเหตุเกี่ยวกับไฟฟาเปนเรื่องที่สําคัญ โดยเฉพาะผูที่ไมมีความรูทางดานไฟฟาเลย แตสําหรับผูที่มี ความรูท างไฟฟ า เป น อย า งดี ก็ มิ ไ ด เ ป น หลั ก ประกัน วา จะไม ป ระสบอัน ตรายจากไฟฟ า เพราะกฎเกณฑท างไฟฟา มิ ไ ด มีขอยกเวนใหใครทั้งสิ้น อุบัติเหตุที่เกี่ยวกับไฟฟาสามารถควบคุม ไดโดยตรงดวยการปองกันการขยายขอบเขตของ อันตรายและการกําจัดปจจุบันอันตราย ซึ่งในทางปฏิบัติไดใหความสนใจเปนพิเศษในเรื่องตาง ๆ ตอไปนี้ 1.1 การเลือกซื้อและการใชอุปกรณไฟฟา เลือกซื้ออุปกรณที่ไดรับรองมาตรฐานผานการทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เปนการปองกันอันตรายใน ขั้นตน นอกจากนี้ผูใชตองเลือกใชใหถูกตองเหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนํามาใช อีกทั้งการใชงานจะตองใชงาน อยางถูกวิธีตามคูมือหรือคําแนะนําของผูผลิตอุปกรณตาง ๆ เหลานั้นดวย 1.2 การติดตั้งอุปกรณไฟฟา การตอสายและการติดตั้งทั้งหมดตองเปนไปตามหลักและกฎความปลอดภัย โดยชางผูชํานาญทางไฟฟาที่มีประสบการณ และผานการฝกอบรมมาแลว สําหรับกฎเกณฑที่ตองคํานึงถึงทุกครั้ง มีดังนี้ 1) ขนาดของสายไฟ สวิตช และอุปกรณปองกันทางไฟฟา ตองมีขนาดถูกตองเหมาะสมกับการนําไปใชงาน 2) อุปกรณที่มีเปลือกนอกเปนโลหะ ตองมีการตอสายดินอยางเหมาะสม 3) มีการปองกันเฉพาะอุปกรณแตละตอนดวยฟวสหรือสวิตชหรือเบรกเกอรตัดวงจร อยางเหมาะสม 4) การตอสายไฟและอุปกรณ จะตองตออยางหนาแนนและมั่นคงดวยอุปกรณตอสาย 5) อุป กรณไฟฟาซึ่ง ไมอ าจปองกันหรือ คลุม ดวยฉนวนไดอ ยางมิดชิด จะตอ งมีริ้วลอ มรอบหรือ กั้นหอง พรอมทั้งติดปายเตือนอันตรายจากไฟฟาใหเห็นไดอยางชัดเจน 1.3 การตรวจทดสอบ จําเปนตองมีระบบการตรวจทดสอบเปนระยะและสม่ําเสมอ เกี่ยวกับอุปกรณทงั้ หมด ซึ่งสามารถตรวจสอบอยางงาย ไดดวยตาเปลา ไดแก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1) วัสดุเสียหาย แตกหรือฉีกขาด เชน ฉนวนสายไฟ เตาเสียบ เตารับ สวิตช เปนตน 2) การสะสมของน้ํามัน น้ํา ฝุน หรือสิง่ อื่น ๆ ใกลอุปกรณไฟฟา 3) อุปกรณทํางานปกติหรือไม และปาย หรือสัญญาณเตือนชํารุดหรือไม 4) การตรวจทดสอบการตอลงดินโดยใชเครื่องทดสอบความตานทานของหลักดิน การตรวจเช็คหากระแสรัว่ ของอุ ป กรณ และวงจรไฟฟ าด วยเครื่อ งมือ ตรวจวัดสภาพความเปนฉนวน (เมกกะโอหม ) ควบคูกับ การตรวจดวยตาเปลา 1.4 การบํารุงรักษาอยางสม่ําเสมอ บํารุงรักษาเครื่องใชไฟฟา หรืออุปกรณตาง ๆ โดยชางผูที่มีความชํานาญ 1.5 การใหการศึกษา ใหความรู ความเขาใจเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากไฟฟา สาเหตุและผลของอุบัติเ หตุจากไฟฟาการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงความปลอดภัยการฝกอบรมวิธีปฏิบัติเมื่อประสบอันตรายจากไฟฟา การปฐมพยาบาล และการชวยชีวิต ผูประสบอันตราย 1.6 ขอปฏิบัติดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทางไฟฟา จึงมีขอปฏิบัติที่ควรทราบดังนี้ 1) ก อ นปฏิ บั ติ ง านควรตรวจสอบเครื่อ งมือ และอุป กรณตา ง ๆ ที่ใ ชใ นงานไฟฟา ไมค วรใชอุป กรณ หรือ เครื่อ งมือ ที่ชํา รุด และอยา ซอ มแซมแกไ ขความชํา รุด หรือ ความขัด ขอ งของไฟฟา ดว ยตนเอง หากไมมีความรู 2) ยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกกอนปฏิบัติงานเสมอ 3) กอนลงมือปฏิบัติงานกับอุปกรณไฟฟา ใหตรวจหรือวัดดวยเครื่องมือวัดไฟฟาวาในสายไฟหรืออุปกรณนนั้ มีไฟฟาหรือไม 4) ขณะทํา งานตอ งมั่น ใจวา ไมมีสว นใดสว นหนึ่ง ของรา งกายหรือ เครื่อ งมือ ที่ใ ชอ ยูสัม ผัส กับ สว นอื่น ของอุปกรณที่มีกระแสไฟดวยความพลั้งเผลอ 5) มีสมาธิ และไมประมาทในขณะปฏิบัติงาน 6) การทํา งานกั บ อุ ป กรณ ไ ฟฟา ในขณะปด สวิต ชไ ฟหรือ ตัด ไฟฟา แลว ตอ งตอ สายอุป กรณนั้น ลงดิน กอนทํางานและตลอดเวลาที่ทํางาน 7) การตอสายดินใหตอปลายทางดานดินกอนเสมอจากนั้นจึงตอปลายอีกขางเขากับอุปกรณไฟฟา 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
8) การสัมผัสกับอุปกรณไฟฟาแรงดันต่ําใด ๆ หากไมแนใจใหใชอุปกรณทดสอบไฟวัดกอน 9) เครื่องมือและอุปกรณที่ทํางานกับอุปกรณไฟฟา เชน คีม ไขควง ตองเปนชนิดที่มีฉนวนหุม 2 ชั้นอยางดี 10) อยายืนบนพื้นคอนกรีตดวยเทาเปลาขณะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา ควรใชผายางรองพื้นหรือสวมใสรองเทา 11) อยาใชขอตอแยกหรือเสียบปลั๊กหลายทาง เนื่องจากเปนการใชกระแสไฟเกินกําลัง อาจทําใหสายรอนและ เกิดไฟไหม 12) อยาใชวัสดุอื่นแทนฟวส หรือใชฟวสเกินขนาด 13) อยานําอุปกรณที่ใชไฟฟากระแสตรงไปใชกับไฟฟากระแสสลับ 14) เดินสายไฟชั่วคราวอยางระมัดระวัง เพื่อปองกันการเกิดอันตราย 15) การขึ้นที่สูงเพื่อทํางานกับอุปกรณไฟฟาตองใชเข็มขัดนิรภัย 16) หากเดินสายไฟติดรั้วสังกะสีหรือเหล็กตองใชวิธีรอยสายไฟในทอเพื่อปองกันอันตรายจากไฟฟารั่ว 17) อยาปลอยใหสายเครื่องใชไฟฟาลอดใตเสื่อหรือพรม เพราะเปลือกหุมหรือฉนวนของสายไฟอาจแตกและ เกิดไฟชอตไดงาย 18) อยาใหเครื่องใชไฟฟาเปยก เพราะน้ําจะเปนสะพานใหไฟฟารั่วไหลออกมาได 19) สวิตชและสะพานไฟ (Cut Out) ทุกแหงตองสามารถปด - เปดไดสะดวก 20) การทํางานเกี่ยวกับไฟฟาหากเปนไปไดควรมีผูชวยเหลืออยูดวย
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกพิจารณาขอความตอไปนี้วา ถูก หรือ ผิด และทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ถูก
ผิด
ขอความ 1. ในการปฏิบัติงานทางไฟฟา ตองยกสะพานไฟ (Cut Out) ออกกอนปฏิบัติงานเสมอ 2. กอนการปฏิบัติงานทีเ่ กี่ยวของกับอุปกรณไฟฟา ตองใชเครื่องมือวัดไฟตรวจสอบ ไฟฟาในอุปกรณนั้น ๆ 3. การปฏิบ ัต ิง านที ่เ กี ่ย วขอ งกับ อุป กรณไ ฟฟา ในขณะปด สวิต ชไ ฟหรือ ตัดไฟฟาแลว ไมจําเปนตองตอสายอุปกรณนั้นลงดินตลอดเวลาที่ทํางาน 4. การตอสายดิน จะตองตอปลายขางหนึ่งเขากับอุปกรณไฟฟากอน แลวจึงตอ ปลายทางดานดินเปนลําดับสุดทาย 5. ขณะปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา สามารถยืนบนพื้นคอนกรีตดวยเทาเปลาได 6. การปฏิ บั ติที่เ กี่ยวขอ งกับ อุปกรณไฟฟาในที่สูง ตอ งใชเ ข็ม ขัดนิร ภัยในกรณี ที่ไมมีการใชเชือกขนาดใหญคลองเอาไวกับโครงสรางหรือสวนหนึ่งสวนใดของ อาคาร 7. การเดิ น สายไฟติด รั้ว สั ง กะสีห รือ เหล็ก ต อ งร อ ยสายไฟในท อ เพื่ อ ปอ งกัน อันตรายจากไฟฟารั่ว 8. คี ม และไขควงที่ ใ ช ทํา งานกั บ อุ ป กรณ ไ ฟฟ า ต อ งเป น ชนิ ด ที่ มี ฉ นวน หุ ม ตั้ ง แต 1 ชั้นขึ้นไป 9. ในระหว างการปฏิ บัติง านทางไฟฟ า ต อ งไมมี สวนหนึ่ง สวนใดของรางกาย หรื อ เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช อ ยู สั ม ผั ส กั บ ส ว นอื่ น ของอุ ป กรณ ที่ มี ก ระแสไฟด ว ย ความพลั้งเผลอ 10. การสัมผัสกับอุปกรณไฟฟาแรงดันต่ํา ควรตรวจวัดไฟดวยอุปกรณท ดสอบ ไฟกอน
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ถูก
ผิด
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0921540102กฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายกฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรมของการไฟฟานครหลวงและการไฟฟาสวนภูมิภาคได
2. หัวขอสําคัญ 1. กฎระเบียบการขอใชไฟฟา การไฟฟานครหลวง 2. กฎระเบียบการขอใชไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม ธํารงศักดิ์ หมินกาหรีม. 2559. กฎและมาตรฐานทางไฟฟา. พิมพครัง้ ที่ 2. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. การไฟฟานครหลวง. 2555. การขอใชไฟฟาประเภทตาง ๆ . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.mea.or.th/content/detail/116/281/167 กองเศรษฐกิจพลังไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค. 2559. ความรูเกี่ยวกับไฟฟา เรื่อง การขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจ อุตสาหกรรม.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.pea.co.th/
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 กฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรม 1. กฎระเบียบการขอใชไฟฟา การไฟฟานครหลวง สําหรับการไฟฟานครหลวง กฎระเบียบการขอใชไฟฟาสําหรับธุรกิจอุตสาหกรรมมีดังตอไปนี้ 1.1 การขอใชไฟฟาขนาดตั้งแต 100 - 1,000 กิโลโวลตแอมแปร ในระบบสายปอน 12 กิโลโวลต และขนาดตั้ง แต 100 - 2,000 กิโลโวลตแอมแปร ในระบบสายปอน 24 กิโลโวลต ที่มีการปกเสาพาดสายไมเกิน 500 เมตร 1.1.1 หลักเกณฑหรือเงื่อนไข 1) ไมมีการเดินสายใตดินและไมอยูในพื้นที่การจายไฟฟาดวยระบบสายใตดิน 2) ไมใชการขอใชไฟฟาประเภทอาคารชุด 3) ไมมปี ญหาเรื่องแนวเขตทางและตําแหนงปกเสาไฟฟา 4) การปกเสาพาดสายระยะทางไมเกิน 500 เมตร 5) ผูขอใชไฟฟาชําระคาใชจายพรอมหลักประกันการใชไฟฟาครบถวนถูกตอง 6) สถานที่แจงใชไฟฟานั้นไมมีหนี้คาไฟฟา และ/หรือหนี้คางชําระอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการใชไฟฟา 7) การเดินสายและติดตั้งอุปกรณไฟฟาภายในสถานที่ใชไฟฟาถูกตองตามมาตรฐานการไฟฟานครหลวง มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551) หรือฉบับลาสุด สําหรับการตรวจสายภายในครั้งแรก 1.1.2 เอกสารประกอบการขอใชบริการ 1) แบบแสดงอาณาบริเวณของสถานที่ใชไฟฟาและจุดรับไฟฟา 2) Single Line Diagram 3) Load Schedule และรายการคํานวณทางไฟฟา 4) ตารางกรอกขอมูลการใชพื้นที่อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณไฟฟาสําหรับหางสรรพสินคา สํานักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม 1.1.3 สถานที่ติดตอ - ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของการไฟฟานครหลวงทุกแหง หรือที่ทําการสาขายอย
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.2 การขอใชไฟฟา 1,000 กิโลโวลตแอมแปร ขึ้นไป ในระบบสายปอน 12 กิโลโวลต และขนาด 2,000 กิโลโวลตแอมแปร ในระบบสายปอน 24 กิโลโวลต 1.2.1 หลักเกณฑหรือเงื่อนไข 1) ไมมีการเดินสายใตดิน การออกสายปอนใหม หรือกอสรางสายปอนเพิ่มเติม 2) ไมใชการขอใชไฟฟาประเภทอาคารชุด 3) การขอใชไฟฟาขนาดตั้งแต 2,000 กิโลโวลตแอมแปร ขึ้นไป โปรดแสดงความจํานงเปนหนังสือ ตอการไฟฟานครหลวงลวงหนาเปนระยะเวลาไมนอยกวา 8 เดือน 4) ไมมีปญหาเรื่องแนวเขตทางและตําแหนงปกเสาไฟฟา 5) การปกเสาพาดสายระยะทางไมเกิน 500 เมตร 6) ผูขอใชไฟฟาชําระคาใชจาย พรอมหลักประกันการใชไฟฟาครบถวนถูกตอง 7) สถานที่แจงใชไฟฟานั้นไมมีหนี้คาไฟฟา และ/หรือหนี้คางชําระอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการใชไฟฟา 8) การเดินสายและติดตั้งอุปกรณไฟฟาภายในสถานที่ใชไฟฟาถูกตองตามมาตรฐานการไฟฟานครหลวง มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1พ.ศ. 2551) หรือฉบับลาสุด สําหรับการตรวจสายภายในครั้งแรก 1.2.2 เอกสารประกอบการขอใชบริการ 1) แบบแสดงอาณาบริเวณของสถานที่ใชไฟฟาและจุดรับไฟฟา 2) Single Line Diagram 3) Load Schedule และรายการคํานวณทางไฟฟา 4) ตารางกรอกขอมูลการใชพื้นที่อาคาร เครื่องจักรและอุปกรณไฟฟาสําหรับหางสรรพสินคา สํานักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม 1.2.3 สถานที่ติดตอ - ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของการไฟฟานครหลวงทุกแหง หรือทีท่ ําการสาขายอย 1.3 การขอใชไฟฟาสําหรับอาคารชุด หรืออาคารอื่นทีม่ ีลกั ษณะใกลเคียงกัน 1.3.1 หลักเกณฑหรือเงือ่ นไข 1) หากภาระไฟฟาไมเกิน 2,000 กิโลโวลตแอมแปร 2) ไมมีการออกสายปอนใหม หรือกอสรางสายปอนเพิ่มเติม 3) ความสูงของอาคารไมเกิน 9 ชั้น 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
4) ไมมีปญหาเรื่องแนวเขตทางและตําแหนงปกเสาไฟฟา 5) การปกเสา พาดสายระยะทางไมเกิน 500 เมตร 6) ผูขอใชไฟฟาชําระคาใชจาย พรอมหลักประกันการใชไฟฟาครบถวนถูกตอง 7) สถานที่แจงใชไฟฟานั้นไมมีหนี้คาไฟฟา และ/หรือหนี้คางชําระอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวเนือ่ งกับการใชไฟฟา 8) การเดินสายและติดตัง้ อุปกรณไฟฟาภายในสถานที่ใชไฟฟาถูกตองตามมาตรฐานการไฟฟานครหลวง มาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2551) หรือฉบับลาสุด สําหรับการตรวจสายภายในครั้งแรก 1.3.2 เอกสารประกอบการขอใชบริการ 1) แบบแสดงอาณาบริเวณของสถานที่ใชไฟฟาและจุดรับไฟฟา 2) Single Line Diagram 3) Load Schedule และรายการคํานวณทางไฟฟา 4) ตารางกรอกขอมูลการใชพื้นที่อาคาร และอุปกรณไฟฟาสําหรับ – อาคารชุดอยูอาศัย สํานักงาน รานคา อุตสาหกรรม – อาคารชุดอุตสาหกรรม หรือโรงงานอุตสาหกรรม 1.3.3 สถานที่ติดตอ 1) ศูนยบริการเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ของการไฟฟานครหลวงทุกแหง หรือที่ทําการสาขายอย หมายเหตุ ในกรณีที่ผูขอไฟฟาดังกลาว ประสงคจะดําเนินการติดตั้งสายภายในหลังเครื่องวัดฯ แรงสูงเอง โปรดแสดงเอกสารเพิ่ม ดังนี้ - หนัง สือ แสดงความจํา นงวา ตอ งการใหก ารไฟฟา นครหลวงดํา เนิน การสว นใด และผูข อใชไฟฟาจะดําเนินการเองสวนใด - ใบอนุญาตใหประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธา รับรองฐานราก ของฐานตั้งหมอแปลงไฟฟา - ใบอนุ ญาตใหประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมไฟฟากําลัง ประเภท สามัญวิศวกรขึ้นไปของผูออกแบบและผูควบคุมการติดตั้ง - Specification ของหมอแปลงและอุปกรณไฟฟาแรงสูง - แบบแสดงตําแหนงและวิธีการติดตั้งอุปกรณไฟฟาแรงสูงตาง ๆ 2. กฎระเบียบการขอใชไฟฟา การไฟฟาสวนภูมิภาค การไฟฟาสวนภูมิภาค มีกฎระเบียบการขอใชไฟฟาประเภทธุรกิจอุตสาหกรรมมีดังตอไปนี้ 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2.1 สถานที่ติดตอขอใชไฟฟา ผูประสงคจะขอใชไฟฟา สามารถติดตอขอใชกระแสไฟฟาไดที่สํานักงานใหญกรุงเทพฯ หรือสํานักงานการไฟฟา สวนภูมิภาคในพื้นที่ที่กิจการตั้งอยู โดยพิจารณาจากปริมาณความตองการไฟฟาที่จะขอใชดังนี้ 2.1.1 ความตองการใชไฟฟาเกิน 500 กิโลโวลตแอมแปร หรือระดับแรงดัน 69,000 หรือ 115,000 โวลต ใหติดตอที่ สํานักงานใหญ เลขที่ 200 ถ.งามวงศวาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 2.1.2 ผูประสงคขอใชไฟฟาสามารถติดตอขอใชไฟฟาไดทุกระบบ ขนาดและระดับแรงดัน (ยกเวนหากตองการ ใชไฟฟาเกิน 500 กิโลโวลตแอมแปร หรือระดับแรงดัน 69,000 หรือ 115,000 โวลต) ไดที่สํานักงานใน ส ว นภู มิภ าค ซึ่ง ประกอบดวยสํานัก งานการไฟฟาเขต สํา นัก งานการไฟฟาจัง หวัด และสํานัก งาน การไฟฟาอําเภอ โดยเลือกพื้นที่ที่กิจการตั้งอยู 2.2 เอกสารหลักฐานที่ตองนํามาแสดงในการขอใชไฟฟา 2.2.1 ใบทะเบียนการคาของกรมสรรพากร หรือใบอนุญาตตั้งโรงงาน หรือใบทะเบียนพาณิชย หรือหนังสือ รับรองของสํานักทะเบียนหุนสวนบริษัทจํากัด 2.2.2 แผนผังสังเขปแสดงตําแหนง ที่ตั้งของกิจการ 2.2.3 แผนผังภายในบริเวณของกิจการที่ขอใชไฟฟา (Lay Out) 2.2.4 หนังสือยินยอมใหปกเสาพาดสายไฟฟาตามแบบฟอรมของการไฟฟาสวนภูมิภาค หากจะตองดําเนินการ ดังกลาวผานที่ดินของผูอื่น กรณีผูใชไฟฟาขอเปนผูดําเนินการติดตั้งระบบไฟฟาภายในเอง ตองแนบเอกสารเพิ่มเติมจากขอ 1 - 4 จํานวน 3 ชุด โดยมีวิศวกรผูออกแบบลงนามรับรองดังนี้ 1) แผนผังภายในบริเวณของกิจการที่ขอใชไฟฟาแสดงแนวปกเสาพาดสายตําแหนงติดตั้งอุปกรณ ไฟฟาตาง ๆ เชน หมอแปลง สวิตชแรงสูง เปนตน 2) Single Line Diagram รวมทั้งรายละเอียดของอุปกรณปองกันและเครื่องกําเนิดไฟฟา (ถามี) 3) แบบการกอสรางและติดตั้งอุปกรณไฟฟาตาง ๆ (Detail Drawing) และ Specification ของ อุปกรณไฟฟา 4) หนั ง สื อ รั บ รอง และหลั ก ฐานวิ ศ วกรผู อ อกแบบและควบคุ ม งานติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ า ตาม พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
2.3 ระยะเวลาเตรียมการเพื่อขอใชไฟฟา เมื่อผูประกอบการตัดสินใจเลือกกิจการที่จะลงทุน และสถานที่ประกอบการแลว ควรดําเนินการขอใชไฟฟาทันที เพื่อการไฟฟาฯ จะสามารถเตรียมการจายกระแสไฟฟาไดสอดคลอง และเพียงพอกับความตองการไฟฟาของกิจการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง สําหรับ ผูที่ตอ งการใชไฟฟาที่มีปริม าณสูง ตั้งแต 10,000 กิโ ลโวลตแอมแปร ขึ้นไป หรือ ต่ํากวา 10,000 กิโ ลโวลตแ อมแปร แตม ีความตอ งการความมั่ น คงในการจ ายไฟฟ าสูง ซึ่ง การไฟฟาฯ จะพิจ ารณาจ า ย กระแสไฟฟาดวยระบบแรงดัน 115,000 โวลต นั้นจะตองแจงขอใชไฟฟาแตเนิ่น ๆ กอนกําหนดการใชไฟฟาอยางนอย 2 ป 2.3.1 วิธีการยื่นเรื่องขอใชไฟฟา การยื่นเรื่องขอใชไฟฟาที่สํานักงานใหญกรุงเทพฯ ใหผูประสงคจะขอใชไฟฟาทําหนังสือแจงความประสงค สงตรงถึงผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค โดยหนังสือหรือแบบฟอรมขอใชไฟฟามีรายละเอียดดังตอไปนี้ 1) ชื่อ ที่อยู หมายเลขโทรศัพทของผูขอใชไฟฟา 2) ชือ่ ที่อยู สถานที่ประกอบการ การขอใชไฟฟา 3) ชื่อเจาหนาที่ประสานงานการติดตอขอใชไฟฟา 4) ประเภทของกิจการ 5) ปริมาณความตองการใชไฟฟาที่ขอและที่จะเพิ่มในอนาคต (ถามี) 6) กําหนดการใชไฟฟา 7) ลักษณะการใชไฟฟา (ตลอด 24 ชั่วโมงหรือเฉพาะชวงเวลาใด) 8) ระบบแรงดันไฟฟาที่ขอใช 9) ขอบเขตของงานที่ผูขอใชไฟฟาจะดําเนินการเองและที่จะใหการไฟฟาสวนภูมิภาคดําเนินการให 2.3.2 การมอบอํานาจใหบุคคลหรือนิติบุคคลขอใชไฟฟาแทน ผูขอใชไฟฟาอาจมอบอํานาจใหผูอื่นทําการแทนได โดยผูรับมอบอํานาจจะตองนําเอกสารของผูม อบอํานาจ ไปยื่นเรื่องขอใชไฟฟา พรอมเอกสารเพิ่มเติม ดังนี้ 1) หนังสือมอบอํานาจ (ตนฉบับ) ซึ่งมีผูลงนามเปนพยาน 2 คน และปดอากรแสตมปดังนี้ - มอบอํา นาจใหบ ุค คลคนเดีย ว หรือ หลายคนกระทํา การครั้ง เดีย ว ใหป ด อากร แสตมป 10 บาท - มอบอํานาจใหบุคคลคนเดียวหรือหลายคนกระทําการมากกวาครั้งเดียว ใหปดอากร แสตมป 30 บาท - มอบอํานาจใหกระทําการมากกวาครั้งเดียว โดยใหบุคคลหลายคนตางคนตางกระทํา กิจการแยกกันได ตามรายตัวบุคคลที่รับมอบใหปดอากรแสตมป 10 บาท 2) ภาพถายเอกสารบัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบอํานาจและผูรับมอบอํานาจ 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ เงื่อนไขในการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง สําหรับธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีขนาดตั้งแต 100-1,000 กิโลโวลต แอมแปร ในระบบสายปอน 12 กิโลโวลต ก. เปนการขอใชไฟฟาประเภทอาคารชุด ข. อยูในพื้นที่การจายไฟฟาดวยระบบสายใตดิน ค. มีการปกเสา พาดสายระยะทางไมเกิน 500 เมตร ง. ทําหนังสือแสดงความจํานงลวงหนาไมนอยกวา 8 เดือน 2. ขอใด คือ เงื่อนไขในการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง สําหรับธุรกิจอุตสาหกรรมที่มีขนาดตั้งแต 2,000 กิโลโวลต แอมแปรขึ้นไป ในระบบสายปอน 24 กิโลโวลต ก. มีการเดินสายใตดิน หรือออกสายปอนใหม ข. มีการปกเสา พาดสายระยะทางเกิน 500 เมตร ค. ทําหนังสือแสดงความจํานงลวงหนาไมนอยกวา 8 เดือน ง. ตองเปนพื้นที่ทมี่ ีปญ หาเรื่องแนวเขตทางและตําแหนงปกเสาไฟฟา 3. ขอใด คือ เอกสารที่ใชยื่นประกอบการขอใชไฟฟากับการไฟฟานครหลวง ก. ใบอนุญาตตั้งโรงงาน ข. Single Line Diagram ค. หนังสือยินยอมใหปกเสาพาดสายไฟฟาผานที่ดินของผูอื่น ง. หนังสือรับรอง และหลักฐานวิศวกรผูออกแบบและควบคุมงานติดตั้งระบบไฟฟา 4. ขอใด คือ เงื่อนไขในการขอใชไฟฟาสําหรับอาคารชุดกับการไฟฟานครหลวง ก. ความสูงของอาคารไมเกิน 10 ชั้น ข. มีภาระไฟฟาตั้งแต 2,000 กิโลโวลตแอมแปรขึ้นไป ค. การปกเสา พาดสายระยะทางไมเกิน 500 เมตร ง. ไมมีการออกสายปอนใหม หรือกอสรางสายปอนเพิ่มเติม 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. การขอใชไฟฟาสําหรับอาคารชุดกับการไฟฟานครหลวง ในกรณีที่ตองการติดตั้งสายภายในหลังเครื่องวัดฯ แรงสูงเอง ตองยื่นเอกสารใดเพิ่มเติม ก. Single Line Diagram ข. Load Schedule และรายการคํานวณทางไฟฟา ค. Specification ของหมอแปลงและอุปกรณไฟฟาแรงสูง ง. แบบแสดงอาณาบริเวณของสถานที่ใชไฟฟาและจุดรับไฟฟา 6. หากตองการขอใชไฟฟากับการไฟฟาสวนภูมิภาคที่มีขนาดเกิน 500 กิโลโวลตแอมแปร ตองติดตอหนวยงานใด ก. สํานักงานใหญ ข. สํานักงานการไฟฟาเขต ค. สํานักงานการไฟฟาอําเภอ ง. สํานักงานการไฟฟาจังหวัด 7. การขอใชไฟฟากับการไฟฟาสวนภูมิภาค ในกรณีที่ผูใชไฟฟาขอเปนผูดําเนินการติดตั้งระบบไฟฟาภายในเอง ตองยื่น เอกสารใดเพิ่มเติม ก. Lay Out ข. ใบทะเบียนการคาของกรมสรรพากร ค. แผนผังสังเขปแสดงตําแหนง ที่ตั้งของกิจการ ง. Detail Drawingและ Specification ของอุปกรณไฟฟา 8. การขอใชไฟฟาที่มีป ริม าณ 10,000 กิโ ลโวลตแอมแปร ขึ้นไป หรือ ต่ํากวา 10,000 กิโ ลโวลตแอมแปร แตตอ งการ ความมั่นคงในการจายไฟฟาสูง จะตองยื่นขอใชไฟฟากอนถึงกําหนดการใชไฟฟาเทาไร ก. 1 ป ข. 6 เดือน ค. อยางนอย 2 ป ง. ตั้งแต 8 เดือนขึ้นไป
27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
9. การยื่นเรื่องขอใชไฟฟาที่การไฟฟาสวนภูมิภาคสํานักงานใหญ จะตองทําหนังสือแจงความประสงคสงตรงถึงใคร ก. ผูวาการการไฟฟาสวนภูมิภาค ข. หัวหนาแผนกบริการลูกคา ค. หัวหนาแผนกบริหารงานทั่วไป ง. รองผูจดั การการไฟฟาสวนภูมิภาค 10. การขอใชไฟฟากับการไฟฟาสวนภูมิภาค ในกรณีมอบอํานาจใหบุคคลหรือนิติบุคคลขอใชไฟฟาแทน จะตองเตรียม เอกสารใดเพิ่มเติม ก. หนังสือมอบอํานาจ (ตนฉบับ) ซึง่ มีผูลงนามเปนพยาน 3 คน ขึ้นไป ข. ภาพถายเอกสารบัตรประจําตัวประชาชนของผูมอบอํานาจและผูรับมอบอํานาจ ค. หนังสือมอบอํานาจใหบุคคลคนเดียวกระทําการครั้งเดียว โดยปดอากรแสตมป 30 บาท ง. หนังสือมอบอํานาจใหบุคคลหลายคนกระทําการมากกวา 1 ครั้ง โดยปดอากรแสตมป 10 บาท
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3
0921540103การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นไดจากการประมาท ขณะปฏิบัติงานทางไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายการปองกันอันตรายทีส่ ามารถเกิดขึ้นจากการประมาทขณะปฏิบัติงานทางไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ - การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นไดจากการประมาทขณะปฏิบัติงานทางไฟฟา 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ และคณะ. 2558. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมอาชีวะ. การไฟฟานครหลวง. 2558. การใชไฟฟาอยางมีประสิทธิภาพและปลอดภัย.[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mea.or.th/download/123/2808
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การปองกันอันตรายทีส่ ามารถเกิดขึน้ ไดจากการประมาทขณะปฏิบตั ิงานทางไฟฟา 1. การปองกันอันตรายที่สามารถเกิดขึ้นไดจากการประมาทขณะปฏิบัติงานทางไฟฟา อันตรายจากไฟฟาที่สามารถเกิดขึ้นไดขณะปฏิบัติงาน สามารถแบงไดเปน 3 ลักษณะคือ ไฟฟาดูด ประกายไฟจากอารก และการระเบิดจากอารก 1.1 การปองกันอันตรายจากไฟฟาดูด ไฟฟาดูด คือ การมีกระแสไฟฟาไหลผานรางกาย โดยจะเกิดอาการตาง ๆ ตามปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผาน เสนทางที่กระแสไฟฟาไหลผาน และระยะเวลาที่ถูกไฟฟาดูด ซึ่งผลกระทบของกระแสไฟฟาตอรางกายของแตละบุคคล อาจเปลี่ยนแปลงไปไดไมเหมือนกันในแตละคน การปองกันอันตรายจากไฟฟาดูด สามารถแบงออกไดตามลักษณะที่รางกายสัมผัสกระแสไฟฟา โดยมี 2 ลักษณะ ดังตอไปนี้ 1.1.1 การปองกันจากการสัมผัสโดยตรง 1) หุมฉนวนสวนที่มีกระแสไฟฟา เชน การหุมฉนวนสายไฟฟา เปนตน 2) ปองกันโดยสรางสิ่งกั้นหรือสิ่งกีดขวาง เชน ตู แผงสวิตชหรือลานหมอแปลง เปนตน 3) ยกใหอยูในระยะที่เอื้อมไมถึง เชน ติดตั้งสายบนเสาไฟฟา เปนตน 4) ใชอุปกรณปองกันความปลอดภัยสวนบุคคลระหวางปฏิบัติงาน - อุป กรณหุม ฉนวนยาง เชน ถุง มือ ยาง แขนเสื้อ ยาง รองเทาปอ งกันอันตรายจาก ไฟฟา เปนตน - เครื่องมือหุมฉนวน เมื่อทํางานใกลตัวนําทีม่ ีกระแสไฟฟา
(ก) ลานหมอแปลงไฟฟา
(ข) ถุงมือและรองเทาปองกันกระแสไฟฟา
ภาพที่ 3.1 ตัวอยางการปองกันจากการสัมผัสโดยตรง 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.1.2 การปองกันจากการสัมผัสโดยออม 1) ติดตั้งสายดิน และอุปกรณปองกันไฟรั่ว เชน RCD / ELCB เปนตน 2) ใชเครื่องใชไฟฟาชนิดฉนวน 2 ชั้น หรือประเภท II (double insulation) 3) ติดตั้งอุปกรณในสถานที่ที่ไมเปนสื่อนําไฟฟา
(ก) การติดตัง้ สายดิน
(ข) อุปกรณปองกันไฟรัว่
ภาพที่ 3.2 ตัวอยางการปองกันจากการสัมผัสโดยออม 1.2 การปองกันอันตรายจากประกายไฟจากอารก (Arc Flash) และการระเบิดจากอารก (Arc Blast) ประกายไฟจากอารก (Arc Flash) คือ การลัดวงจรที่ทําใหเกิดประกายไฟ โดยพลังงานจะแตกตัวออกมาเปน จํานวนมาก ดวยการปลดปลอ ยความรอ นออกมาพรอ มกับ มีแสงจาซึ่ง ประกายไฟจากอารก มัก มีส าเหตุม าจาก แรงดันสูง เชน จากฟาผา จากการสวิตชิ่ง หรือจากความชํารุดของอุปกรณเนื่องจากการใชงานไมถูกตอง เปนตน สงผลให ผูที่อยูในบริเวณใกลเคียงไดรับอันตราย เกิดแผลไฟไหมที่รุนแรงถึงแกชีวิตได การระเบิ ด จากอาร ก (Arc Blast) เมื่ อ เกิ ด อาร ก อากาศที่ ไ ด รั บ ความร อ นจะขยายตั ว อย า งรวดเร็ ว ถาการขยายตัวดังกลาวอยูในปริมาตรที่จํากัดแลวกลองหรือเครื่องหอหุมนั้นไมสามารถทนไดก็จะเกิดการระเบิดขึ้น ดังภาพที่ 3.3 ซึ่งอาจมีอุณหภูมิสูงมากจนเปนอันตรายตอบุคคลได นอกจากนั้นผูอยูในบริเวณที่เกิดการระเบิดอาจถูก แรงผลักที่รุนแรงมาก ทําใหตกจากที่สูงหรือกระแทกกับของแข็ง จนเปนเหตุใหเสียชีวิตไดเชนกัน
ภาพที่ 3.3 การระเบิดจากอารก (Arc Blast) 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.1.1 ระยะปฏิบัติงานที่ปลอดภัย ระยะปฏิ บั ติ ง าน หมายถึ ง ผลรวมของระยะห า งที่ ผู ป ฏิ บั ติ ง านยื น อยู ห น า อุ ป กรณ ไ ฟฟ า กั บ ระยะจากดานหนาอุปกรณไปยังตําแนงที่เกิดการอารก และประกายไฟฟาภายในตัวอุปกรณนั้นเพราะประกาย ไฟฟา สามารถทําอันตรายกับใบหนา มือ แขน และผิวหนังของผูที่ยืนอยูหนาอุปกรณไฟฟาไดในระยะการทํางาน ที่ไมปลอดภัย
ภาพที่ 3.4 แสดงพื้นที่ในการเขาทํางาน จากภาพที่ 3.4 แสดงใหเห็นถึงพื้นที่ในการเขาทํางาน แบงเปน ขอบเขตอารก พื้นที่จํากัดการเขาใกลและพื้นที่ เขมงวดการเขาใกล ซึ่งความหมายของนิยามทั้ง 3 นี้ มาจากมาตรฐาน NFPA 70E 2015 โดยพลังงานที่เกิดขึ้น จะเรียกว า พลั ง งานอิ น ซิเ ดนซ มี ห น ว ยวัด พลัง งาน คือ แคลอรีตอ ตารางเซนติเ มตร (cal/cm2 ) ตัว อยาง ระยะปฏิบัติงานที่ปลอดภัยในการใชอุปกรณไฟฟา ดังตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 แสดงตัวอยางระยะปฏิบัติงานในการใชอุปกรณไฟฟา ชนิดอุปกรณไฟฟา
ระยะปฏิบัติงาน (มิลลิเมตร)
สวิตชเกียรแรงดันต่ํา
610
สวิตชเกียร ระดับ 15 กิโลโวลต/5 กิโลโวลต
910
ตูควบคุมไฟฟาแรงดันต่ํา
455
สายเคเบิล
455 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1.1.2 อุปกรณปอ งกันอันตรายสวนบุคคล แนวทางการเลือกเสื้อผาตานทานเปลวไฟ และปองกันประกายไฟฟาระเบิด (Arc Flash) เพื่อลดแนวโนมการ บาดเจ็บ โดยประยุกตมาจากแนวทางการปองกันตามมาตรฐาน NFPA 70E มีรายละเอียด ดังนี้ 1) ประเมินอันตรายทั้งไฟฟาชอ ตและประกายไฟไหมฉับ พลัน (Conduct Both a Shock and FlashHazard Analysis) เพื่อ พิจ ารณาแนวเขตป อ งกั นไฟลุก ไหม ฉับ พลันหรือ ระยะห า งที่ ปลอดภัยจากจุดที่เปนไปไดวาจะเกิดประกายไฟฟาลุก ไหมฉับพลัน (Flash Fire) เนื่อ งจาก บริเวณดังกลาว มีแนวโนมที่จะสัมผัสกับกระแสไฟอารกแลวเกิดการไหมขั้นที่ 2 บริเวณผิวหนัง ของผูปฏิบัติงานได 2) พิจารณาความรุนแรงของอันตรายจากการอารก จากพลังงานความรอนที่เกิดขึ้น มีหนวยเปน แคลอรี/ตารางเซนเมตร (cal/cm2) ซึ่งสามารถประมาณการณพลังงานความรอนดังกลาวได 3 วิธี ดังนี้ - วิธีที่ 1 ใชพื้นฐานความรูดานระบบไฟฟาและลักษณะการทํางาน - วิธีที่ 2 ใชพื้นฐานการแบงประเภทความเสี่ยงอันตรายตามลักษณะงานที่เขียนไวในตาราง การทํางานทั่วไป - วิธีที่ 3 วางระบบเครื่อ งแตง กายตานทานเปลวไฟออกเปน 2 กลุม โดยกลุม แรก คือเสื้อผาที่ใส ทํางานทั่วไป และกลุมที่สองคือเสื้อผาที่ใชทํางานเกี่ยวกับไฟฟา 3) พิจารณาเสื้อผาตานทานเปลวไฟที่จําเปนตามระดับของอันตรายที่แสดงไว ดังตารางที่ 3.2
35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ตารางที่ 3.2 แสดงการเลือกเสื้อผาตามระดับอันตรายที่เกิดจากอารกตามมาตราฐาน NFPA 70E Table 130.7 (C) (16) Protective Clothing andPersonal Protective Equipment ระดับอันตราย /ความเสี่ยง (Hazard / Risk Category) ระดับ 0 แรงดันไฟฟาต่ํา
ระดับการปองกัน อารก ขั้นต่ําที่ตองการ (Required Minimum Arc Rating of PPE) -
กวา 240 โวลต
ระดับ1 แรงดันไฟฟาสูง
รายงานเสื้อผา (Clothing Description)
ผ า ทํ า จากวั ส ดุ ลุ ก ติ ด ไฟได แต ไ ม หลอมละลาย (ผาไหมหรือวัสดุปรุง แตงผาฝายที่ไมไดปรุงแตง ผาเรยอน ผาขนสัตว) น้ําหนักผาอยางนอย 4.5 ออนซ/ตารางหลา
4 cal/cm2
เสื้ อ เชิ ร ต กางเกง หรื อ ชุ ด หมี ตานทานเปลวไฟ
8 cal/cm2
เสื้อผาขางในเปนผาฝายสวมทับดวย เสื้อเชิรตแขนยาว แจก เก็ต ชุดหมี
กวา 240 โวลต
ระดับ 2 แรงดันไฟฟาต่ํา กวา 600 โวลต
หรือกางเกงขายาวตานทานเปลวไฟ
36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ตัวอยางเสื้อผา
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ระดับอันตราย /ความเสี่ยง (Hazard / Risk Category) ระดับ 3
ระดับการปองกัน อารก
ตัวอยางเสื้อผา
ขั้นต่ําที่ตองการ (Required Minimum Arc Rating of PPE) 25 cal/cm2
แรงดันไฟฟาสูง กวา 600 โวลต
ระดับ 4 แรงดันไฟฟาสูง
รายงานเสื้อผา (Clothing Description)
เสื้อผาขางในเปนผาฝายสวมทับดวย เสื้อเชิรตแขนยาว แจก เก็ต ชุดหมี หรือกางเกงขายาวตานทานเปลวไฟ
40 cal/cm2
กวา 1,000 โวลต
เสื้อผาขางในเปนผาฝายสวมทับดวย เสื้อเชิรตแขนยาว แจก เก็ต ชุดหมี หรื อกางเกงขายาวต านทานเปลวไฟ ร วมกั บชุ ดคลุ มผ าหลายชั้ นป องกั น ประกายไฟอารก
4) เลือ กเสื้อ ผ าและชุดหมีตานทานเปลวไฟ โดยมีร ะดับ ความสามารถในการปอ งกันประกาย ไฟอารกในหนวย แคลอรี/ตารางเซนติเมตร (Cal/cm2) ซึ่งจะถูกระบุไวที่ปายของชุด พรอมทั้ง พิจารณาการใชอุปกรณปองกันสวนบคุคลชนิดอื่นรวมดวยตามขอกําหนดสําหรับงาน 1.3 การปองกันอันตรายในการปฏิบัติงานติดตั้งระบบไฟฟา ข อ สํา คั ญ ที่ ต อ งปฏิ บั ติ สํา หรับ การติ ด ตั้ ง ระบบไฟฟ า ไม ว า จะเป น โรงงานอุ ต สาหกรรม ที่ พั ก อาศั ย หรือ สถานประกอบการตา ง ๆ คื อ การติ ด ตั้ ง ไฟฟา ตามกฎหมายและมาตรฐานการติดตั้ง ไฟฟาสํา หรับ ประเทศไทย พ.ศ. 2556 รวมถึง ใชอุปกรณที่มีเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เชน สายรหัสชนิด 60227 IEC 01 ตอ งไดรับ มาตรฐาน มอก.11-2553 เปน ตน และสํา หรับ สิ่ง ที่ผูป ฏิบัติง านควรปฏิบัติใ นการติด ตั้ง ระบบไฟฟา เพื่อ ใหเ กิดความปลอดภัย มีดังนี้
37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
1) หลีกเลี่ยงการปฏิบัติงานขณะที่มีกระแสไฟฟา 2) ก อ นลงมื อ ปฏิ บั ติง าน ต อ งใช เ ครื่อ งมือ ไฟฟา ในการตรวจหรือ วั ด วาระบบไฟฟา ตํา แหนง ที่จ ะซ อ ม มีกระแสไฟฟาหรือไม 3) จับอุปกรณที่มีกระแสไฟฟา โดยใชเครื่องมือและวีธีการที่ถูกตองเทานั้น 4) เครื่องมือที่ใชในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา เชน คีม ไขควง เปนตน ตองเลือกใชชนิดที่มีฉนวนหุม 5) การใชกุญ แจปอ งกันการสับ สวิตชห รือ การแขวนปายเตือ นหามสับ สวิตช ตลอดจนการปลดกุญ แจ และปายแจงเตือนตองตองกระทําโดยบุคคลเดียวกันเสมอ
ภาพที่ 3.5 ตัวอยางไขควงที่มีฉนวนหุม 6) เมื่อปฏิบัติงานกับเครื่องจักรกล เชน เครื่องเจาะ เครื่องกลึง เปนตน ใหสวมใสเสื้อผารัดกุมและเก็บ รวบผมใหเรียบรอยหากมีผมยาว 7) ขณะทํางานตองมั่นใจวา ไมมีสวนใดของรางกายสัมผัสกับอุปกรณที่มีกระแสไฟฟา ดังภาพที่ 3.6
ภาพที่ 3.6 สวมเครื่องปองกันไมใหรางกายสัมผัสกับอุปกรณที่มีกระแสไฟฟา 8) การปฏิบัติงานในที่สูง จะตองใชเข็มขัดนิรภัยคลองเอาไวกับโครงสรางหรือสวนหนึ่งสวนใดของอาคาร เพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน 9) การทํางานเกี่ยวกับไฟฟา ควรมีผูชวยเหลืออยูไมควรทํางานตามลําพัง 10) การทํางานกับอุปกรณไฟฟา ในขณะปดสวิตชหรือตัดกระแสไฟฟาแลว ตองตอสายอุปกรณนั้นลงดิน กอนทํางานและตลอดเวลาที่ทํางาน 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
11) การตอสายดิน ตองตอปลายสายทางดานที่ตอลงดินกอนเสมอ จากนั้นจึงตอปลายอีกขางเขากับอุปกรณ ไฟฟา ดังภาพที่ 3.7
ภาพที่ 3.7 การตอสายดิน 12) การติดตั้ง ระบบไฟฟาจะตอ งติดตั้ง ระบบสายดิน โดยคาของความตานทานดินตอ งไมเ กิน 5 โอหม และไมมีความตางศักยระหวางสายนิวทรัลกับสายดิน 13) เมื่อตอวงจรไฟฟาเสร็จทุกครั้ง จะตองตรวจสอบดวยโอหมมิเตอรกอนจายกระแสไฟฟา 1.4 การปองกันอันตรายจากการซอมบํารุงระบบไฟฟา ผูป ฏิบัติง านซ อ มบํารุ ง ระบบไฟฟ ต อ งมีความรูเ กี่ยวกับ ไฟฟาเปนอยางดี มีความละเอียด รอบคอบ เปนคน ชางสัง เกต และตอ งมี แผนผั ง ของระบบไฟฟ าที่อ ยูในสวนดูแลรับ ผิดชอบ เชน โรงงานอุตสาหกรรม สถานศึก ษา ที่พัก อาศัย เปนตน ในการปฏิบัติง านควรมีก ารตรวจสอบระบบไฟฟาเปนประจํา โดยจัดทําตารางการซอ มบํารุง เพื่อกําหนดระยะเวลาทําการซอมแซมที่แนนอน รวมถึงเปลี่ยนอุปกรณตามระยะเวลาที่กําหนด นอกจากนี้ ผูปฏิบัติงานตองมีความรูความสามารถในการใชเครื่องมือทุกชนิดไดอยางถูกตอง ดามจับของเครื่องมือ ทุกชนิดตองมีฉนวนหุม ขณะทําการตรวจซอมระบบไฟฟาจะตองแจงเตือนใหผูเกี่ยวของไดทราบโดยทั่วกัน โดยการ ติดแผนปายซอมบํารุงใหชัดเจนและกําหนดระยะเวลาที่ใชในการซอมบํารุง หากมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ จะตองแจง ใหผูรวมงานทราบทุกครั้ง
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ การปองกันอันตรายจากการถูกไฟฟาดูดโดยตรง ก. หุมฉนวนสวนที่มกี ระแสไฟฟา ข. ติดตั้งสายดิน ค. ใชเครือ่ งใชไฟฟาชนิดฉนวน 2 ชั้น ง. ติดตั้งอุปกรณในสถานที่ที่ไมเปนสื่อนําไฟฟา 2. ขอใด คือ การปองกันไฟฟาดูดจากการสัมผัสโดยออม ก. หุมฉนวนสายไฟฟา ข. อุปกรณปองกันไฟรั่ว ค. ติดตั้งสายบนเสาไฟฟา ง. ใชถุงมือยางขณะปฏิบัติงานทางไฟฟา 3. ขอใด คือ ระยะปฏิบัติงานทีป่ ลอดภัยในการใชสวิตชเกียรแรงดันต่ํา ก. 455 มิลลิเมตร ข. 550 มิลลิเมตร ค. 610 มิลลิเมตร ง. 910 มิลลิเมตร 4. อุปกรณไฟฟาชนิดใด มีระยะการปฏิบัติงานที่ปลอดภัยเทากัน ก. สวิตชเกียรแรงดันต่ํา และสายเคเบิล ข. สายเคเบิลและตูควบคุมไฟฟาแรงดันต่ํา ค. สวิตชเกียรระดับ 5 กิโลโวลต และสวิตชเกียรแรงดันต่ํา ง. สวิตชเกียรระดับ 15 กิโลโวลต และตูควบคุมไฟฟาแรงดันต่ํา
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
5. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับการแตงกายขณะปฏิบัติงานในบริเวณอารกทีม่ ีอันตรายอยูในระดับ 1 (แรงดันไฟฟาสูงกวา 240 โวลต) ก. เสื้อเชิรต และกางเกงตานทานเปลวไฟ ข. เสื้อผาฝายสวมทับดวยชุดหมีตานทานเปลวไฟ ค. ผาขนสัตวที่มีน้ําหนักอยางนอย 4.5 ออนซ/ตารางหลา ง. ชุดหมีตา นทานเปลวไฟรวมกับชุดคลุมผาหลายชั้นปองกันประกายไฟอารก
6. จากภาพ
เปนการแตงกายขณะปฏิบัติงานในบริเวณอารกที่มอี ันตรายระดับใด
ก. ระดับ 0 ข. ระดับ 1 ค. ระดับ 2 ง. ระดับ 3 7. ขอใด คือ การปฏิบัติงานในการติดตัง้ ระบบไฟฟาโดยคํานึงถึงความปลอดภัย ก. ติดตั้งระบบสายดิน โดยมีคาของความตานทานดิน 10 โอหม ข. เมื่อตอวงจรไฟฟาเสร็จ ใหทดลองจายไฟฟาแลวตรวจสอบดวยโอหมมิเตอร ค. ตอสายดินเขากับอุปกรณไฟฟา กอนการตอสายทางดานที่ตอลงดิน ง. ใชเข็มขัดนิรภัยคลองกับโครงสรางของอาคารเมื่อปฏิบัติงานในที่สูง 8. ขอใด คือ การปฏิบัติงานขณะติดตั้งระบบไฟฟาที่อาจกอใหเกิดอันตรายได ก. ใชคีมชนิดที่มีฉนวนไฟฟาหุม ข. ใชกุญแจปองกันการสับสวิตชขณะปฏิบัติงาน ค. สวมใสเสื้อผารัดกุมเมื่อปฏิบัติงานกับเครือ่ งจักรากล ง. ทดลองจายกระแสไฟหลังตอวงจรเสร็จ แลวใชโอหมมิเตอรตรวจสอบ
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
9. เครื่องมือหรืออุปกรณในขอใด สามารถปองกันไฟฟาดูดจากการสัมผัสโดยออมได
ก.
ข.
ค.
ง. 10. ขอใด ไมใชแนวทางการเลือกเสื้อผาตานทานเปลวไฟ และปองกันประกายไฟฟาระเบิดจากอารกตามมาตรฐาน NFPA 70E ก. ประเมินอันตรายทั้งไฟฟาช็อตและประกายไฟไหมฉับพลัน ข. พิจารณาเสือ้ ผาตานทานเปลวไฟทีจ่ ําเปนตามระดับของอันตราย ค. พิจารณาอุปกรณปองกันสวนบุคคลรวมกับเสื้อผาและชุดหมีตานทานเปลวไฟ ง. พิจารณาความรุนแรงจากพลังงานความรอนทีเ่ กิดขึ้น ในหนวย ๐C/cm2 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ
ศิริรัตน มุขเชิด
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
สุนทรกนกพงศ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ
ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์
หอสุขสิริ บุญเถื่อน
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 1
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน