คู่มือครูฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 6

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คูมือครูฝก 0920164150302 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 6 09215211 การอานแบบของระบบวงจรไฟฟา และการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คํา นํา คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 โมดูล 6 การอานแบบของระบบวงจรไฟฟา และการอานวงจรการ ควบคุม มอเตอรเ บื้อ งต น เป นส วนหนึ่ ง ของหลัก สูตรฝก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชาง ไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนา ฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเ พื่ อ ให ครู ฝ ก ได ใช เ ป นเครื่ อ งมื อ ในการบริห ารจัดการการฝก อบรมใหเ ปนไปตามหลัก สูตร กลาวคื อ อธิบ ายการอานและเขียนสัญ ลักษณควบคุม มอเตอร อุป กรณในวงจรควบคุม มอเตอร วงจรควบคุมมอเตอรแบบตาง ๆ อานและเขียนสัญ ลักษณท างไฟฟาอุตสาหกรรม ความหมายและอานแบบ Single Line Diagram และ Wiring Diagram รวมไปถึง ติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผรู ับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ง ไดจ ากการวิเ คราะหง านอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกวา จะสามารถปฏิบัติเ องได ตามมาตรฐานที่กํา หนดในแตล ะรายการความสามารถ ทั้ง นี้ก ารสง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความ พรอมตามความสะดวกของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดําเนินการทดสอบ ประเมิ นผลในลั ก ษณะต าง ๆ อันจะทําใหส ามารถเพิ่ม จํานวนผูรับ การฝก ไดม ากยิ่ง ขึ้ น ชว ย ประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึ ง ถื อ เป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ค วามสํา คั ญ ต อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ทั้ ง ในป จ จุ บั น และอนาคตซึ่งหากมีการ นําระบบการฝก อบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒ นาฝมือ แรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นัก เรียน นัก ศึก ษา และผูป ระกอบอาชี พ อิสระ สามารถเขาถึงการฝก อบรมเพื่อ พัฒนาตนเองไดอยางสะดวกและไดรับ ประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 609215211 การอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน หัวขอวิชาที่ 1 0921521101 วงจรควบคุมมอเตอร 12 หัวขอวิชาที่ 2 0921521102 แบบการเดินสายไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม 42 คณะผูจัดทําโครงการ 62

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1. โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2. ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3. ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4. ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5. ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัดไป หรื อ เข ารั บ การฝก ในโมดูล ที่ครูฝก กําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรบั การฝกทีจ่ ะผานโมดูลการฝก ตองไดรบั คารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฏี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150302

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับกฎระเบียบการขอใชไฟฟาของการไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาค 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหลักการทํางาน การตรวจสอบและการบํารุงรักษาอุปกรณ ที่ใชในไฟฟาอุตสาหกรรม 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.4 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณปองกันกระแสเกิน 1.5 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาดวยทอสายไฟฟาและรางเดินไฟฟา 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและการอานวงจรการควบคุมมอเตอรเบื้องตน 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานหรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 60 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 7 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 7 โมดูล

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2 4.3 ผูรับการฝก ที่ ผ านการประเมิ นผลหรื อผานการฝก ครบทุก หนวยความสามารถ จะไดรับ วุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 6 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150302 2. ชื่อโมดูลการฝก การอานแบบของระบบวงจรไฟฟาและอานวงจร รหัสโมดูลการฝก การควบคุมมอเตอรเบือ้ งตน 09215211 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณวงจรควบคุมมอเตอรได 2. อธิบายอุปกรณในวงจรควบคุมมอเตอรได 3. อธิบายวงจรควบคุมมอเตอรแบบตาง ๆ ได 4. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรมได 5. อธิบายความหมายและอานแบบ Single Line Diagram ได 6. อธิบายความหมายและอานแบบ Wiring Diagram ได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกีย่ วกับการอานแบบ ผูรับการฝก ของระบบวงจรไฟฟาและระบบควบคุมมอเตอรเบือ้ งตนจากหนวยงานหรือ สถาบันทีเ่ ชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 5 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายการอานและเขียน หัวขอที่ 1 : วงจรควบคุมมอเตอร 1:00 1:00 สัญลักษณวงจรควบคุมมอเตอรได 2. อธิบายอุปกรณ ในวงจรควบคุมมอเตอรได 3. อธิบายวงจรควบคุมมอเตอร สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 2

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

แบบตาง ๆ ได 4. อธิบายการอานและเขียน หัวขอที่ 2 : แบบการเดินสายไฟฟาในโรงงาน สัญลักษณทางไฟฟา อุตสาหกรรม ในอุตสาหกรรมได 5. อธิบายความหมายและอานแบบ Single Line Diagram ได 6. อธิบายความหมายและอานแบบ Wiring Diagram ได รวมทั้งสิ้น

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

-

1:00

2:00

-

2:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921521101วงจรควบคุมมอเตอร (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณวงจรควบคุมมอเตอรได 2. อธิบายอุปกรณในวงจรควบคุมมอเตอรได 3. อธิบายวงจรควบคุมมอเตอรแบบตาง ๆ ได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

สัญลักษณและอุปกรณในวงจรควบคุมมอเตอร วงจรสตารทตรง วงจรกลับทิศทางหมุน วงจรสตาร-เดลตา วงจรปองกันมอเตอร กรณีการใชงานเกินกําลัง (Over Load) แรงดันไฟฟาสูงหรือต่ําเกิน (Over/Under Voltage) ระบบไฟฟาไมครบเฟส (Phase Failure)

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 วงจรควบคุมมอเตอร 1. สัญลักษณ และอุปกรณในวงจรควบคุมมอเตอร ในการควบคุมมอเตอรจําเปนตองใชอุปกรณสําหรับการควบคุม เพื่อใหมอเตอรทํางานไดตามความตองการซึ่งอุปกรณ ควบคุมมอเตอรมีหลายประเภท เชน อุปกรณในการตัดวงจร อุปกรณในการปองกันกระแสเกิน อุปกรณในการปองกันโหลดเกิน และอุปกรณในการสตารท เปนตน ตารางที่ 1.1 สัญลักษณ และอุปกรณในวงจรควบคุมมอเตอร ชื่ออุปกรณ สวิตชเปด-ปดธรรมดา (Toggle Switch)

ภาพและสัญลักษณ

การใชงาน เป น สวิ ต ช ที่ นิ ย มใช ใ นบ า นเรื อ นที่ พั ก อาศั ย หรื อ ในวงจร อิเล็กทรอนิกสแบบตาง ๆ โดยมีทั้งชนิดโยกไดทั้งทางเดี ยว สองทาง และสามทาง มีลักษณะพิเศษ คือ เมื่อโยกหรือกด สวิตชจะคางอยูในสถานะทํางาน จนกวาจะกดหรือโยกอีกครั้ง

สวิตชปุมกด

เมื่อกดแลวปลอย สวิตชจะคืนสถานะการทํางานโดยไมคางไว

(Push Button)

ที่ เ ดิ ม มี ทั้ ง ชนิ ด หน า สั ม ผั ส ปกติ เ ป ด (Normally Open) และชนิดหนาสัมผัสปกติปด (Normally Close)

ลิมิตสวิตช (Limit Switch)

ทํางานโดยอาศัยการชนของวัตถุกับลูกลอ (Roller) และเปน ผลใหห นาสัม ผัส ที่ตอ อยูกับ กานชนเปด - ปด ตามจัง หวะ ของการชน ซึ่ง มีก ารนําไปใชกับลิฟ ทโดยสาร ลิฟ ทขนของ ประตูที่ทํางานดวยไฟฟา และระบบสายพานลําเลียง เปนตน

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่ออุปกรณ

ภาพและสัญลักษณ

การใชงาน

สวิตชลูกลอย (Floating Switch)

ใชควบคุมระดับน้ําหรือของเหลวในถัง สวิตชลูกลอย 1 ชุด สามารถใชควบคุมระดับน้ําไดทั้งระดับบนและระดับลาง

โอเวอรโหลดรีเลย (Overload Relay)

เปนอุป กรณปอ งกันมอเตอรจ ากการมีภาระงานเกินกําลัง หรือโอเวอรโหลด มีท้ังชนิดทํางานดวยความรอน และชนิด ทํางานดวยแมเหล็กไฟฟา ระดับกระแสโอเวอรโหลดสามารถ ทําการปรับไดตามขนาดพิกัดกระแสสูงสุดของมอเตอร

รีเลย (Relay)

คลา ยกับ คอนแทกเตอรแ ตม ีข นาดเล็ก กวา ทํา งานดว ย คอยลแมเหล็ก ใชสําหรับวงจรคอนโทรลที่มีกําลังไฟฟานอย มีทั้งชนิดที่ใชกับไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่ออุปกรณ

ภาพและสัญลักษณ

การใชงาน

คอนแทคเตอร

ทํา งานด ว ยแรงดึ ง ดู ด แม เ หล็ ก ที่ เ กิ ด จากคอยล และ

(Contactor)

แกนเหล็ก - อารเ มเจอร ทํา ใหห น า สัม ผัส เคลื่ อ นที่มา แตะกั น แล ว ส ง ผา นกํ าลัง ไฟฟ าเขา สูม อเตอร ซึ่ ง นํ า ไปใช สําหรับงานควบคุมไฟฟากําลัง เชน มอเตอรไฟฟา เปนตน

เซอรกิตเบรกเกอร (Circuit Breaker)

ใช ป ลดวงจรและปอ งกัน การลัดวงจร มี ห ลายขนาด และ หลายรูปแบบ ขึ้นอยูกับแรงดันกระแสโหลดและกระแสขณะ ตัดวงจร มีทั้งชนิดทํางานดวยความรอนและชนิดทํางานดวย แมเหล็ก

รีเลยตั้งเวลา (Timer Relay)

ใชสําหรับตั้งเวลาในการตัดตอวงจรควบคุมมอเตอร มีทั้งชนิด หนวงเวลาหลังจากจายไฟเขา และหนวงเวลาหลังจากตัดไฟ ออก

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่ออุปกรณ

หลอดไฟสัญญาณ (Pilot lamp)

ภาพและสัญลักษณ

การใชงาน

ใช แ สดงสถานะการทํา งานของวงจร มี ห ลายสี เช น แดง เหลือ ง น้ําเงิน และเขียว เปนตนสามารถเปลี่ยนสีโดยการ เปลี่ยนฝาครอบพลาสติก ดานหนา บางชนิดจะรวมอยูกับ สวิตชปุมกด หรือมีหมอแปลงเล็กในตัวสําหรับแปลงแรงดัน 220 โวลต ใหเปนแรงดันต่ําประมาณ 6 โวลต

ฟวส (Fuse)

ใชปองกันวงจรควบคุม และวงจรกําลัง ซึ่งทํางานตัดวงจรโดย การหลอมละลาย มีทั้งชนิดตัดวงจรทันที และแบบหนวงเวลา

สวิตชความดัน

ทํางานโดยอาศัยความดันของอากาศในถัง อัดอากาศ (Air

(Pressure Switch)

Compressure) หรื อ ความดัน ของน้ํ า และความดั นอื่ น ๆ สามารถทํ า การปรั บ ระดั บ ความดั น ได ทั้ ง ความดั น สู ง และความดันต่ํา

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ชื่ออุปกรณ

สวิตชทํางาน ดวยอุณหภูมิ

ภาพและสัญลักษณ

การใชงาน

ทํางานโดยอาศัยอุณหภูมิในการตัดตอวงจรไฟฟา สามารถทํา การปรับ ระดับ อุณหภูมิไ ด นิยมใชในเตาเผา เตาอบหรือ

(Temperature Switch)

หองเย็น เปนตน

มอเตอร (Motor)

สามารถเปลี่ ยนพลัง งานไฟฟ า เป น พลั ง งานกล มี ทั้ ง ชนิ ด กระแสตรงและกระแสสลับ มีขนาดแรงมาหลากหลายขนาด เป น เครื่ อ งกลที่ นํ า ไปใช ป ระโยชน ใ นครั ว เรื อ นและ อุตสาหกรรมไดอยางหลากหลาย

2. วงจรสตารทโดยตรง วงจรสตารทมอเตอรโดยตรง เปนวงจรที่ตอแหลงจายไฟฟากําลังเขาสูตัวมอเตอร โดยไมผานอุปกรณหรือวิธีการลด แรงดันใด ๆ กอ น ซึ่ง เป นการสตาร ท ด วยแรงดั นเต็ม พิกัด วิธีก ารสตารท มอเตอรรูป แบบนี้นิยมกับ มอเตอรขนาดเล็ก

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ที่มอเตอรจะถูกตอผานอุปกรณสตารทแลวตอเขากับสายไฟกําลังโดยตรง ทําใหมอเตอรสตารทดวยแรงดันเทากับสายจาย แรงดันทันที ทําใหมอเตอรมีกระแสขณะสตารทประมาณ 600% ของกระแสพิกัด

ภาพที่ 1.1 วงจรกําลังของวงจรสตารทโดยตรง

ภาพที่ 1.2 วงจรควบคุมของวงจรสตารทโดยตรง

2.1 อุปกรณ - F1 = ฟวสหลัก (Main Fuse) - F2 = ฟวสวงจรควบคุม (Control Fuse) - K1 = คอนแทคเตอรหลัก (Main Contactor) - S1 = สวิตชปุมกด OFF - F3 = โอเวอรโหลดรีเลย (Overload Relay) - S2 = สวิตชปุมกด ON - M1 = มอเตอรสามเฟสแบบเหนี่ยวนํา (Three Phase Induction Motor) - H1, H2 = หลอดไฟสัญญาณ (Pilot Lamp) 2.2 ลักษณะการทํางานของวงจร - เริ่มทํางานดวยการกดสวิตชปุมกด S2 ใหคอนแทกเตอร K1 ทํางาน และทําใหหนาสัมผัสหลัก (Main Contact) จายไฟฟากําลังเขาสูมอเตอร

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.3 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2 - คอนแทกเตอรจะทํางานตลอดเวลา ถึงแมจะปลอยมือออกจากสวิตชปุมกด เนื่องจากหนาสัมผัสชวย ของคอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่จายไฟเขาไปสูคอยลของคอนแทคเตอร

ภาพที่ 1.4 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2 แลวปลอย

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ถาตองการหยุดวงจร ใหทําการกดสวิตชปุมกด S1 (Push Button OFF)

ภาพที่ 1.5 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S1 - หากเกิดการโหลดเกินหรือโอเวอรโหลด (Overload) โอเวอรโหลดรีเลย F3 จะตัดวงจร และสามารถ ทําใหกลับมาทํางานใหมอีกครั้งเมื่อรีเซ็ท (RESET) โอเวอรโหลดรีเลย

ภาพที่ 1.6 แสดงสถานะเมือ่ โหลดเกินหรือโอเวอรโหลด F3 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- หากเกิดการลัดวงจรที่วงจรกําลัง ฟวส F1 จะตัดวงจรกําลัง หรือถาการลัดวงจรขึ้นที่วงจรควบคุม ฟวส F2 จะทําหนาที่ตัดวงจรควบคุมออก

ภาพที่ 1.7 แสดงสถานะการการลัดวงจรที่วงจรกําลัง 3. วงจรกลับทิศทางหมุน การกลับทิศทางหมุนมอเตอร 3 เฟสทําไดโดยการสลับสายเมนคูใดคูหนึ่งที่ตอเขากับมอเตอร สวนอีกเสนยังคงไวเชนเดิม ซึ่งการสลับสายเมนทําไดโดยใชคอนแทคเตอร 2 ตัว จากวงจรกําหนดใหคอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่ตอวงจรใหมอเตอร หมุนไปทางขวา และคอนแทคเตอร K2 ใหมอเตอรหมุนไปทางซาย ดังนั้น ในวงจรกําลังหากคอนแทคเตอรตัวใดทํางาน คอนแทคเตอรอีกตัวจะไมสามารถทํางานได เพราะหากทํางานพรอมกัน จะเกิดการลัดวงจรระหวางสาย L1 กับ L3 วงจรกลับทิศทางหมุนของมอเตอรมี 3 วิธี ไดแก

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3.1 วงจรกลับทางหมุนแบบ Jogging

ภาพที่ 1.8 วงจรควบคุมกลับทางหมุนแบบ Jogging

ภาพที่ 1.9 วงจรกําลังกลับทางหมุนแบบ Jogging

วงจรการกลับทิศทางการหมุนแบบ Jogging ทําไดโดยเลือกกดสวิตช S2 หรือ S3 ซึ่งสวิตชทั้งสองมีอินเตอรล็อก - เมื่อกด S2 คางจะทําใหคอนแทคเตอร K2 ทํางาน มอเตอรจะหมุนในทิศทวนเข็มนาฬิกา หนาสัมผัสของ S2 จะทําหนาที่ตัดวงจรการทํางานของคอนแทคเตอร K1

ภาพที่ 1.10 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2 คางไว

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- เมื่อกด S3 คางจะทําใหคอนแทคเตอร K1 ทํางาน มอเตอรจะหมุนในทิศตามเข็มนาฬิกาหนาสัมผัสของ S3 จะทําหนาที่ตัดวงจรการทํางานของคอนแทคเตอร K2

ภาพที่ 1.11 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S3 คางไว 3.2 วงจรกลับทางหมุนแบบ Plugging

ภาพที่ 1.12 วงจรกําลังกลับทางหมุน

ภาพที่ 1.13 วงจรควบคุมกลับทางหมุน

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

วงจรการกลับทิศทางการหมุนแบบ Plugging ทําไดโดยเลือกกดที่สวิตช S2 หรือ S3 ซึ่งสวิตชทั้งสองมีอินเตอรล็อก - เมื่อกด S2 จะทําใหคอนแทคเตอร K1 ทํางาน โดยมอเตอรจะหมุนในทิศตามเข็มนาฬิกา และเมื่อปลอย S2 มอเตอรจะยังคงทํางานอยู เนื่องจากมีหนาสัมผัสของ K1 (Maintaining Contact) ที่เปนแบบปกติเปด ตอขนานกับสวิตช S2 หรืออาจเรียกหนาสัมผัส K1 วาหนาสัมผัสที่ตอตัวเองใหทํางานตลอดเวลา (Self Holding Contact) สวนหนาสัม ผัส ของ K1 ที่เ ปนแบบปกติปดจะทํางานและตัดวงจรการทํา งาน ของคอนแทคเตอร K2

ภาพที่ 1.14 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2 แลวปลอย - เมื่อกด S3 จะทําใหคอนแทคเตอร K2 ทํางาน โดยมอเตอรจะหมุนทิศทวนเข็มนาฬิกา และเมื่อปลอย S2 มอเตอรจ ะยัง คงทํางานอยู เพราะมีห นาสัม ผัส ของ K2 ที่เ ปนแบบปกติเ ปดตอ ขนานกับ สวิต ช S3 สวนหนาสัมผัสของ K2 ที่เปนแบบปกติปดจะทําหนาที่ตัดวงจรการทํางานของคอนแทคเตอร K1

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.15 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S3 แลวปลอย 3.3 วงจรกลับทางหมุนแบบ Reversing After Stop การควบคุมแบบ Reversing After Stop จะมีความปลอดภัยที่สุดหากมอเตอรมีพิกัดกําลังสูงมาก วงจรควบคุมนี้ สามารถกลับทางหมุนของมอเตอรได โดยจะตองหยุดมอเตอรกอน กลาวคือจะใหคอนแทคชวยปกติปดของ K1 และ K2 ที่อินเตอรล็อกกลับสูสภาวะปกติกอน

ภาพที่ 1.16 วงจรกําลังกลับทางหมุน

ภาพที่ 1.17 วงจรควบคุมกลับทางหมุน

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คอนแทคเตอร K1 ทําหนาที่ตอใหมอเตอรหมุนขวา และคอนแทคเตอร K2 ทําหนาที่เชื่อมตอใหมอเตอรหมุนซาย สามารถสตารทมอเตอรใหหมุนซายหรือขวากอนได โดยกดสวิตช S2 หรือ S3

ภาพที่ 1.18 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2

ภาพที่ 1.19 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S3 ทั้งนี้ ในขณะที่มอเตอรกําลังหมุนอยู จะไมสามารถทําการกลับทางหมุนไดซึ่งทําใหมอเตอรหยุดหมุนกอน โดย การกดสวิตช S1 ถากดสวิตช S2 และ S3 พรอมกันจะไมมีคอนแทคเตอรตัวใดทํางาน และคอนแทคเตอร K1 และ K2

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

จะไมสามารถทํางานพรอมกันได เนื่องจากมีอิเตอรล็อก K1 และ K2 ตอไวกอนเขาคอยลแมเหล็กของ K1 และ K2 เพื่อ เปนการปองกันการลัดวงจร เมื่อเกิดการโอเวอรโหลดขึ้น โอเวอรโหลดรีเลย F3 จะทําหนาที่ตัดวงจรควบคุมออกไป 4. วงจรสตาร-เดลตา (Star-Delta) การสตารท แบบสตาร-เดลตาเปนการสตารท มอเตอรแบบลดกระแสตอนเริ่ม ตน เพื่อ แกปญ หากระแสกระชากสูง ซึ่งเกิดผลเสียตออุปกรณปอ งกันในวงจร โดยมอเตอรจะถูกสตารท แบบสตาร ซึ่งเมื่อมอเตอรหมุนไปดวยความเร็ว 75% ของความเร็วพิกัด มอเตอรจะถูกสั่งใหทํางานแบบเดลตาแทน วิธีนี้เ ปนวิธีที่นิยมใช กั นมากเนื่อ งจากออกแบบงายและเหมาะสําหรับ การสตารท มอเตอรส ามเฟสแบบเหนี่ยวนํา ใช มอเตอรที่มีการตอขดลวดภายในที่มีปลายสายตอออกมาขางนอก 6 ปลาย และมอเตอรจะตองมีพิกดั แรงดันสําหรับการตอ แบบเดลตาที่สามารถตอเขากับแรงดันสายจายไดอยางปลอดภัย ปกติพิกัดที่ตัวมอเตอรสาํ หรับระบบแรงดัน 3 เฟส 380 โวลต จะระบุเปน 380/660 โวลต

ภาพที่ 1.20 วงจรกําลังของวงจรสตาร-เดลตา

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.21 วงจรควบคุมของวงจรสตาร-เดลตา 4.1 ลักษณะการทํางานของวงจร วงจรควบคุมสตารทมอเตอรสตาร-เดลตามีขั้นตอนการทํางาน ดังนี้ - กด S2 ทําใหคอนแทกเตอรสตาร (Y) K2 และไทเมอรรเี ลย K4T ทํางาน หนาสัมผัสปกติปดของ K2 ในแถว 4 ตัดวงจร K3 และหนาสัมผัสปกติปดในแถว 2 ตอวงจรใหเมนคอนแทกเตอร K1

ภาพที่ 1.22 แสดงสถานะการทํางานเมื่อกดสวิตชปุมกด S2 - หลังจากที่ K1 ทํางานและปลอยมือจากสวิตช S2 ไปแลว หนาสัมผัสปกติเปด (N.O.) ของ K1 ในแถวที่ 3 ตอวงจรใหคอนแทคเตอร K2 ทั้งนี้ ตัวตั้งเวลา K4T จะทํางานตลอดเวลา โดยมอเตอรจะหมุนแบบสตาร 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.23 แสดงสถานะการทํางานเมื่อปลอยสวิตชปุมกด S2 - รีเลยตั้งเวลา K4T ทํางานหลังจากเวลาที่ตั้งไว K2 และ K4T จะถูกตัดวงจรดวยหนาสัมผัสของรีเลยตั้งเวลา K4T และหนาสัมผัสปกติปดของ K2 ในแถว 4 กําลังกลับตําแหนงเดิม

ภาพที่ 1.24 แสดงสถานะการทํางานเมื่อปลอยสวิตชปุมกด S2 - ชวงทํางานแบบเดลตา เมื่อหนาสัมผัสของ K2 กลับมาที่เดิมเรียบรอยแลว K3 จะทํางานคูกับ K1 ขณะนี้ มอเตอรหมุนแบบเดลตา และ K2 จะถูกอินเตอรล็อกดวยหนาสัมผัสของ K3 เมื่อตองการหยุดการทํางาน ของมอเตอร ใหกดสวิตช S1 (Stop)

30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 1.25 แสดงสถานะการทํางานเมื่อหนาสัมผัสของ K2 กลับมาที่เดิมเรียบรอยแลว 5. วงจรปองกันมอเตอร

ภาพที่ 1.26 แสดงถึงวงจรปองกันมอเตอร (กรณีที่ไมไดติดตัง้ โอเวอรโหลดรีเลย) 1) เครื่องปองกันกระแสลัดวงจรสําหรับวงจรยอยมอเตอร ตองสามารถทนกระแสสตารทของมอเตอรได 2) มีขนาดหรือการปรับตั้งไมเกินคาที่กําหนดในตารางที่ 1.2 3) หากคาที่กําหนดในตารางไมตรงกับมาตรฐาน ใหใชขนาดตามมาตรฐานที่สูงขึ้นได

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4) การปองกันการใชงานเกินกําลัง (Overload Protection) ตองติดตั้งอุปกรณเพิ่ม คือ โอเวอรโหลดรีเลย (Overload Relay) เพราะฉะนั้ น อุป กรณที่ตอ งมีใ นวงจรปอ งกั น มอเตอร คือ เซอรกิต เบรกเกอร ฟวส และโอเวอรโหลดรีเลย ตารางที่ 1.2 ว.ส.ท. พิกัดหรือขนาดปรับตั้งสูงสุดของเครื่องปองกันการลัดวงจรระหวางสาย และปองกันการรั่วลงดินของวงจรยอยมอเตอร รอยละของกระแสโหลดเต็มที่ ชนิดของมอเตอร

ฟวส ทํางานไว

ฟวส หนวงเวลา

300

175

700

250

ซึ่ง เริ่ม เดินโดยรับ แรงดั นไฟฟ าเต็ ม ที่ หรื อเดิน ผานตัวตานทานหรือรีแอ็กเตอร - ไมมีรหัสอักษร

300 300

175 175

700 700

250 250

- รหัสอักษร F ถึง V - รหัสอักษร B ถึง E

250 150

175 150

700 700

200 150

- ไมมีรหัสอักษร กระแสเกิน 30 แอมแปร - ไมมีรหัสอักษร

250

175

700

200

200

175

700

200

- รหัสอักษร F ถึง V - รหัสอักษร B ถึง E

250 200

175 175

700 700

200 200

- รหัสอักษร A

150

150

700

150

มอเตอร 1 เฟส ไมมรี หัสอักษร

เซอรกิตเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอร ปลดทันที เวลาผกผัน

มอเตอร ก ระแสสลั บ 1 เฟส ทั้ ง หมด และ มอเตอร 3 เฟส แบบโรเตอร ก รงกระรอก (Squirrel cage rotor) และแบบชิ ง โครนั ส

- รหัสอักษร A มอเตอรกระแสสลับทั้งหมด แบบโรเตอรกรงกระรอก และแบบซิงโครนัสซึ่งเริ่มเดินโดยผาน หมอแปลงออโต กระแสไมเกิน 30 แอมแปร

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รอยละของกระแสโหลดเต็มที่ ชนิดของมอเตอร

ฟวส

ฟวส

เซอรกิตเบรกเกอร เซอรกิตเบรกเกอร

ทํางานไว

หนวงเวลา

ปลดทันที

เวลาผกผัน

cage rotor) กระแสไมเกิน 30 แอมแปร - ไมมีรหัสอักษร

250

175

700

200

กระแสเกิน 30 แอมแปร - ไมมีรหัสอักษร

200

175

700

200

มอเตอรแบบวาวดโรเตอร ไมมีรหัสอักษร

150

150

700

150

- ไมมีรหัสอักษร ขนาดเกินแรงมา

150

150

250

150

- ไมมีรหัสอักษร

150

150

175

150

มอเตอรแบบโรเตอรกรงกระรอก (Squirrel

มอเตอรกระแสตรง (แรงดันคงที่) ขนาดไมเกิน 50 แรงมา

หมายเหตุ มอเตอรไมมีรหัสอักษร หมายถึง มอเตอรที่ผลิตกอนมีการกําหนดรหัสอักษรโดย NEMA Standard และมอเตอร ที่ขนาดเล็กกวา ½ แรงมา กรณีเครื่องปองกันกระแสลัดวงจร ตัดวงจรขณะมอเตอรเริ่มเดินในสภาพการใชงานปกติ ใหเปลี่ยนขนาดเครื่อง ปองกันกระแสลัดวงจรใหสูงขึ้น ดังนี้ 1) ฟวสชนิดไมหนวงเวลาขนาดไมเกิน 600 แอมแปร ใหเปลี่ยนขนาดสูงขึ้นได แตตองไมเกินรอยละ 400 ของกระแสโหลดเต็มที่ของมอเตอร 2) ฟ ว ส ช นิ ด หนว งเวลา ให เ ปลี่ ยนขนาดสูง ขึ้น ได แตตอ งไมเ กิน รอ ยละ 225 ของกระแสโหลดเต็ม ที่ ของมอเตอร 3) วงจรยอยของทอรคมอเตอร (Torque Motor) ขนาดเครื่องปองกันใหเปนไปตามพิกัดกระแสที่ Name Plate ของเครื่อง ถาไมตรงกับขนาดของฟวสหรือเซอรกิตเบรกเกอร ใหใชขนาดตามมาตรฐานที่สูงขึ้นได 4) เซอรกิตเบรกเกอรเวลาผกผัน (Inverse Time Circuit Breaker) 33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

- ขนาดไมเกิน 100 แอมแปร ใหเปลี่ยนขนาดสูงขึ้นไปไดอีกแตตองไมเกินรอยละ 400 ของกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร - ขนาดเกิน 100 แอมแปร ใหเปลี่ยนขนาดสูงขึ้นไปไดอีกแตตองไมเกินรอยละ 300 ของกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร 5) ฟวสขนาดเกิน 600 แอมแปร ใหเ ปลี่ยนขนาดสูง ขึ้นไปไดแตตอ งไมเ กินรอ ยละ 300 ของกระแส โหลดเต็มที่ของมอเตอร 6. กรณีการใชงานเกินกําลัง (Over Load) แรงดันไฟฟาสูงหรือต่ําเกิน (Over/Under Voltage) หากใชงานมอเตอรเกินกําลังจะทําใหเกิดความรอ นสูง และทําใหมอเตอรลุกไหมได ซึ่งกระแสเกินพิกัดของมอเตอร ไมสูงพอที่จะสั่งใหฟวสหรือเซอรกิตเบรกเกอรทํางาน 6.1 กรณีมอเตอรทํางานที่แรงดันไฟฟาต่ํากวาพิกัด (Under Voltage) เมื่อ ใชง านมอเตอรในสภาวะแรงดันไฟฟาต่ํากว าพิกัด จะสง ผลทําใหก ระแสไฟฟาที่ปอ นใหม อเตอรเ พิ่มขึ้น กอ ใหเ กิดความสูญ เสียดานความรอ นในขดลวดสเตเตอรและโรเตอร ทําใหอุณหภูมิของขดลวดสูง ขึ้น และทําให ความเปนฉนวนของขดลวดเสื่อ ม โดยมีอ ายุก ารใชง านที่สั้นลง หากไมใชง านมอเตอรอ ยางหนัก หรือ มีโ หลดนอ ย การเพิ่ม ขึ้นของกระแสไฟฟ าที่ มี ผลจากการลดลงของแรงดันไฟฟาก็จะมีคาต่ํากวากระแสพิกัดของมอเตอร ซึ่งจะ ไมทําใหเกิดความรอนที่ขดลวดมอเตอรสูงขึ้น สําหรับ กรณี ซิ งโครนั สมอเตอรที่ มี การใชไฟกระแสตรง (DC) ที่ถูก แปลงจากแหลง ไฟฟากระแสสลับ เดียวกับ แหลงจายไฟฟากระแสไฟฟาสลับ 3 เฟสที่ปอนใหมอเตอรไฟฟา กรณีที่เกิดแรงดันต่ํากวาพิกัด จะเปนสาเหตุใหแรงดันไฟฟา กระแสตรงต่ํากวาพิกัด ซึ่งจะลดสนามแมเหล็กไฟฟาที่ถูกสรางขึ้นลงไปดวย สงผลตอการทํางานของมอเตอรโดยตรง 6.2 กรณีมอเตอรทํางานที่แรงดันไฟฟาสูงกวาพิกัด (Over Voltage) เมื่อมอเตอรมีการใชงานที่แรงดันไฟฟาสูงกวาพิกัด กระแสไฟฟาในขดลวดของสเตเตอรจะมีคาลดลง หากแรงดัน ที่ปอนใหมอเตอรมีคาสูงเพียงพออาจทําใหสนามแมเหล็กไฟฟาของแกนเหล็กเกิดการอิ่มตัว สงผลใหกระแสไฟฟากระตุน (Exciting Current) มีคาสูงขึ้น และกอใหเกิดความรอนสูงในขดลวด ทั้งนี้การเกิดสนามแมเหล็กไฟฟาอิ่มตัวอาจเกิดขึน้ ที่ แรงดันไฟฟาสูงกวาพิกัดประมาณ 110 เปอรเซ็นต 6.2.1 ความรอนที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากกระแสไฟฟาเกินพิกัด ความรอนที่เกิดขึ้นของขดลวดในมอเตอรเนื่องจากกระแสไฟฟาเกินพิกัด มักมีสาเหตุจาก แรงดันไฟฟา และความถี่ที่ปอนใหมอเตอรไมอยูในเกณฑมาตรฐานของพิกัด หรืออาจมีสาเหตุมาจากการใชโหลดเกินพิกัด 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6.2.2 อาการที่เกิดจากแรงดันผิดปกติ อาการของมอเตอร ที่ เกิ ดจากปญหาของแรงดันไฟฟ าไมสมดุล หรื อไมตรงตามที่ระบุไวบนปายพิกัด (Nameplate) อาจสั ง เกตได ไม ชัดเจน ทั้ง นี้ร ะดับ แรงดันสามารถเปลี่ยนแปลงไดจ ากผลกระทบของโหลด ที่กําลังขับเคลื่อนอยู ดวยการวัดคาแรงดันในสภาวะคงตัว (Steady State) ในจุดที่สามารถทําไดซึ่งทํา ใหรู ถึงปญหาที่เกิดขึ้นได นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตจากเหตุการณตอไปนี้ เพื่อตรวจสอบปญหาที่เกิดขึ้น 1) มอเตอรไฟฟาหลายเครื่องเสียบอยขึ้น 2) มอเตอรเพิ่งไดรับการซอมแซมมีอายุการใชงานสั้นลงกวาเดิม 3) เกิดการทริปของวงจรที่จายไฟใหมอเตอรโดยไมทราบสาเหตุ 4) มอเตอรมีความไวตอแรงดันกระเพื่อมมากกวาอุปกรณไฟฟาอื่น ๆ 5) สตารทมอเตอรยากกวาปกติ 6) อุปกรณปองกันมอเตอรมีการทริปบอยกวาปกติ ตารางที่ 1.3 แสดงผลกระทบของการเปลี่ยนแรงดันไฟฟาที่สงผลตอคุณสมบัติอื่น ๆ ของมอเตอรไฟฟา 3 เฟส คุณลักษณะของมอเตอรไฟฟา

การเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟา ระดับ 90% ปายพิกัด ระดับ 110% ปายพิกัด

แรงบิดเริม่ ตนและแรงบิดสูงสุด

-19%

+21%

เปอรเซ็นตสลิป

+22%

-19%

สลิปในขณะโหลดเต็มพิกัด

-0.2% ถึง -1.0%

+0.2% ถึง +1.0%

กระแสไฟฟาขณะเริ่มหมุน

-10%

+10%

กระแสไฟฟาขณะโหลดเต็มพิกดั

+5% ถึง +10%

-5% ถึง -10%

กระแสไฟฟาขณะไมมีโหลด

-10% ถึง -30%

+10% ถึง -15%

การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ

+10% ถึง +15%

-10% ถึง -15%

ประสิทธิภาพขณะโหลดเต็มพิกัด

-1% ถึง -3%

+1% ถึง +3%

เพาเวอรแฟกเตอรขณะโหลดเต็มพิกัด

+3% ถึง +7%

-2% ถึง -7%

สัญญาณรบกวนทางแมเหล็ก

ลดลงเล็กนอย

เพิ่มขึ้นเล็กนอย

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

7. ระบบไฟฟาไมครบเฟส (Phase Failure) ความผิดปกติเกี่ยวกับเฟสแบงออกเปน 3 รูปแบบ ไดแก 7.1 เฟสหาย (Phase Loss) เกิ ด จากกระแสไฟฟา ไหลไม ค รบเฟส โดยกระแสไฟฟา อาจไหลผา นเพีย ง 2 เฟสหรื อ หนึ่ง เฟส ซึ่ ง เปน ความผิดปกติ ที่เ กิดเฉพาะไฟฟาระบบ 3 เฟสเทานั้น ทําใหไมเกิดสนามแมเหล็ก หมุนขณะมอเตอรทํางาน สง ผลให มอเตอรไหมเวลาภายในเวลาอันรวดเร็ว 7.2 ลําดับเฟสผิด (Phase Sequence) เปนความผิดปกติซึ่งเกิดในไฟฟาระบบ 3 เฟสเทานั้น หากเปนโหลดประเภทมอเตอร สามารถกอใหเกิดความเสียหาย จากการหมุนกลับ ทิศทางของมอเตอรได เชน มอเตอรในงานเครื่อ งปรับ อากาศตอ งหมุนตามเข็ม นาฬิก าเทา นั ้น หากลําดับเฟสผิดจะทําใหมอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกาซึ่งสงผลใหระบบเกิดความเสียหายได 7.3 เฟสไมสมมาตร (Phese Asymmetry) โดยปกติในระบบ 3 เฟสจะจ ายแรงดั นไฟฟาในอัตราที่เ ทากันทั้ง 3 เฟส หากเกิดเฟสไมส มมาตร หมายถึง แหลงจายสงแรงดันไฟฟาจะไมเทากัน ซึ่งทําใหเกิดความไมสมดุลยขึ้น คือ บางเฟสมีการใชกระแสสูง และบางเฟส มีการใชกระแสที่ต่ํากวา โดยจะกอใหเกิดความเสียหายแกอุปกรณไฟฟาได

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว

1. จากภาพ ก. โอเวอรโหลดรีเลย ข. รีเลย

เปนสัญลักษณของอุปกรณชนิดใด ในวงจรควบคุมมอเตอร

ค. คอนแทคเตอร ง. รีเลยตั้งเวลา 2. หากตองการทดสอบการทํางานของวงจร จะตองกดอุปกรณใด ก. F1 และ F2 ข. K1 และ K2 ค. M1 และ M2 ง. S1 และ S2 3. ขอใด เปนหนาที่ของ K1 ในวงจรกลับทิศทางหมุนมอเตอร 3 เฟส ก. ทําหนาที่ตอวงจรใหมอเตอรหยุดหมุน ข. ทําหนาที่ตอวงจรใหมอเตอรหมุนสลับซายขวา ค. ทําหนาที่ตอวงจรใหมอเตอรหมุนไปทางขวา ง. ทําหนาที่ตอวงจรใหมอเตอรหมุนไปทางซาย

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

4. เพราะเหตุใด คอนแทคเตอรสองตัวของวงจรกลับทางหมุนจึงไมสามารถทํางานพรอมกันได ก. จะเกิดการลัดวงจรระหวางสาย L1 กับ L3 ข. จะเกิดการลัดวงจรระหวางสาย L1 กับ N ค. จะเกิดการลัดวงจรระหวางสาย L2 กับ L3 ง. จะเกิดการลัดวงจรระหวางสาย L2 กับ N 5. วงจรสตาร-เดลตา มีการสตารทมอเตอร แบบใด ก. แบบลดแรงดันตอนเริม่ ตน ข. แบบลดกระแสตอนเริ่มตน ค. แบบเพิม่ แรงดันตอนเริ่มตน ง. แบบเพิม่ กระแสตอนเริม่ ตน 6. อุปกรณชนิดใด ตัดวงจรดวยการหลอมละลายในวงจรควบคุมมอเตอร ก. ฟวสชนิดหนวงเวลา ข. รีเลยตั้งเวลา ค. สวิตชทํางานดวยอุณหภูมิ ง. สวิตชความดัน 7. ในวงจรสตาร-เดลตา เมื่อ มอเตอรส ตารท แบบ Star แลว จะตอ งมีความเร็วรอบเพิ่ม ขึ้นถึง กี่เ ปอรเ ซ็นตของพิ กั ด ถึงจะเปลี่ยนเปนแบบ Delta แทน ก. 55% ข. 65% ค. 75% ง. 85%

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

8. ขอใด ไมใชวงจรกลับทิศทางหมุนของมอเตอร ก. แบบ Jogging ข. แบบ Plugging ค. แบบ Reversing After Stop ง. แบบ Delta 9. ขอใด เปนสาเหตุหลักที่สง ผลตอการทํางานของซิงโครนัสมอเตอร ก. เกิดแรงดันเกินกวาพิกัด ข. เกิดแรงดันต่ํากวาพิกัด ค. เกิดความรอนสูงเกินในขดลวด ง. เกิดความรอนต่ําเกินในขดลวด 10. ขอใด กลาวไมถูกตองเกี่ยวกับระบบไฟฟาไมครบเฟส ก. กระแสไฟฟาไหลผาน 2 เฟส ข. มอเตอรหมุนกลับทิศทาง ค. มอเตอรอยูใ นสภาวะแรงดันไฟฟาต่ํากวาพิกัด ง. จายแรงดันไฟฟาในอัตราที่ตางกัน 3 เฟส 11. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับเครื่องปองกันกระแสลัดวงจรสําหรับวงจรยอยมอเตอร ก. สามารถทนแรงดันสตารทของมอเตอร ข. สามารถทนพิกัดแรงดันสตารทของมอเตอร ค. สามารถทนกระแสสตารทของมอเตอร ง. สามารถทนพิกัดกระแสสตารทของมอเตอร

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

12. เพราะเหตุใด สนามแมเหล็กไฟฟาของแกนเหล็กจึงเกิดการอิม่ ตัว ก. แรงดันในขดลวดมีคาสูงเพียงพอ ข. แรงดันทีป่ อนใหมอเตอรมีคาสูงเพียงพอ ค. กระแสไฟฟาที่ปอ นใหมอเตอรมีคาสูงเพียงพอ ง. กระแสไฟฟาในขดลวดมีคาสูงเพียงพอ

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921521102 แบบการเดินสายไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณของระบบไฟฟาในอุตสาหกรรมได 2. อธิบายความหมายและอานแบบ Single Line Diagram ได 3. อธิบายความหมายและอานแบบ Wiring Diagram ได

2. หัวขอสําคัญ 1. สัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม 2. แบบ Single Line Diagram 3. แบบ Wiring Diagram

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม ศุภชัย เกาเอี้ยน และปลวัชร เตงภู. 2557. การควบคุมมอเตอรไฟฟา. นนทบุรี:ศูนยหนังสือเมืองไทย. สุขสันติ์ หวังสถิตยวงษ และศักรินทร เทิดกตัญูพงศ. 2549. การออกแบบระบบไฟฟา. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสง เสริมวิชาการ. อํานาจ ทองผาสุก และวิทยา ประยงคพันธุ. ม.ป.ป. การควบคุมมอเตอร. ม.ป.ท.

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 แบบการเดินสายไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม ในสวนนี้จะกลาวถึงแบบการเดินสายไฟฟาในโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับสัญลักษณตามมาตรฐานสากล ทางไฟฟาอุตสาหกรรม และแบบการเดินสายไฟฟาในโรงงาน 2 รูปแบบคือ แบบ Single Line Diagram และ แบบ Wiring Diagram 1. สัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม การเขียนแบบทางไฟฟาตองมีการกําหนดสัญลักษณทางไฟฟา เพื่อใชแทนอุปกรณไฟฟาตาง ๆ สัญลักษณที่ใชตองเปนสัญลักษณ ตามมาตรฐานสากล เพื่อใหมีความเขาใจตรงกัน ในหัวขอนี้จะพูดถึงสองมาตรฐานนั้นคือ IEC และ DIN DIN = Deutsches Institut Für Normung หมายถึง มาตรฐานการออกแบบของประเทศเยอรมัน IEC = International Electechnical Commission หมายถึง มาตรฐานทางไฟฟานานาชาติของทวีปยุโรป ตารางที่ 2.1 สัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน DIN สัญลักษณ

ความหมาย คอนแทคปกติเปด (Normally Open-N.O.) คอนแทคปกติเปด (Normally Close-N.C.) คอนแทคปรับตัดตอไดสองทาง

ทํางานรวมแกนเดียวกัน

ตอถึงชวงสั้นๆ

แบบทํางานดวยมือ

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย แบบทํางานกดลง

แบบดึงขึ้น

แบบหมุน แบบผลักหรือกด แบบใชเทาเหยียบ แบบถอดดามถือออกได แบบทํางานดวยแรงกด

ทํางานดวยลูกเบี้ยว 3 ตําแหนง

สวิตชปุมกด-ปกติเปด (N.O.)

สวิตชปด-เปดธรรมดาลักษณะปกติเปด (N.O.)

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย

สวิตชปุมกด-ปกติปด (N.C.)

สวิตชปด-เปดธรรมดาลักษณะปกติปด (N.C.)

ลักษณะของสวิตชเมื่อถูกทํางานปกติปด (N.C.)

ลักษณะของสวิตชเมื่อถูกทํางานปกติเปด (N.O.)

ลักษณะถูกทํางาน

สวิตชปุมกด1 N.O. 1 N.C. ใชไดทั้งสตารทและหยุด

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย

ลิมิตสวิตช

คอนแทคปกติเปดอันที่1ตอกอนอันที่2

คอนแทคปกติปดอันที่1 ตัดกอนอันที่2

การทํางานดวยแรงกลทั่วไป

ทํางานดวยลูกสูบ

คอนแทกเตอร 3 คอนแทคล็อกดวยไฟฟา

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย

สวิตชหนวงเวลา (Time Delay Switch)

รอเลื่อนไปทางขวา

รอเลื่อนไปทางซาย

รอเลื่อนไปทางซายและขวา

คอนแทคปกติเปดของสวิตชหนวงเวลา ชนิดจายไฟเขาคอยลตลอดเวลา

คอนแทคปกติเปดของสวิตชหนวงเวลา รอเวลาเปดหลังจากตัดไฟออกา

รอเวลาเปดชนิดจายไฟเขาคอยลตลอดเวลา

48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย คอยลของคอนแทคเตอร

คอยลของคอนแทคเตอรอกี แบบหนึ่ง

คอนแทคเตอรชนิด 3 เมนคอนแทค

คอนแทคเตอรชนิด 3 เมนคอนแทค คอนแทคชวย 1 N.O.1 N.C.

โอเวอรโหลดรีเลยแบบไมมรี ีเซ็ท

โอเวอรโหลดรีเลยแบบมีรีเซ็ท

หวูดสัญญาณ

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย

ฟวสมีคอนแทคที่ใหสญ ั ญานได

ฟวส 3 สายตัดตอวงจรอัตโนมัติ

เมนฟวสใชกบั เมนสวิตช

ฟวสแยกวงจร

เซอรกิตเบรกเกอร

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ตารางที่ 2.2 สัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน IEC สัญลักษณ

ความหมาย หนาสัมผัสปกติเปด (Normally Open; NO)

หนาสัมผัสปกติปด (Normally Close; NC)

สวิตชปุมกดปกติเปด (NO)

สวิตชปุมกดปกติปด (NC)

สวิตชปุมกดหนาสัมผัสคาง

สวิตชความดัน (ควบคุมความดัน)

สวิตชลูกลอย (ควบคุมระดับของเหลว)

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย สวิตชทํางานดวยความรอน

โฟลสวิตช (ควบคุมการไหล)

ลิมิตสวิตช (ควบคุมระยะทาง)

ฟวส

คอยลของสวิตชแมเหล็ก หรือคอยลรเี ลย

ปลดหรือทริปดวยแมเหล็ก

โอเวอรโหลดรีเลย ทริปดวยความรอน

หลอดสัญญาณ

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

สัญลักษณ

ความหมาย เซอรกิตเบรกเกอร

มอเตอรแบบวาวดโรเตอร

มอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟสแบบกรงกระรอก

มอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบซีรสี มีขดลวด อินเตอรโปลบนอาเมเจอร

ทํางานดวยมือลักษณะทั่ว ๆ ไป

ทํางานดวยการดึงขึ้น

ทํางานดวยการหมุน

ทํางานดวยการกดลง

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

2. แบบ Single Line Diagram ไดอะแกรมเส น เดี ย ว (One Line Diagram or Single Line Diagram) เป น แผนผั ง ไฟฟ า รู ป แบบยอ ของ ระบบไฟฟาที่สามารถอานไดแลวเขาใจงาย มีหลักการเขียนคือ การนําสัญลักษณทางไฟฟาตาง ๆ ของอุปกรณในระบบไฟฟา ตอเชื่อมโยงกันดวยเสนเพียงเสนเดียว แตเ นื่อ งจากไดอะแกรมเสนเดียวยัง ไมมีร ายละเอียดของขอ มูล ตาง ๆ เพียงพอ เพื่อนําไปใชงานในเชิงวิเ คราะห จึงจําเปนตองมีการเขียนแสดงรายละเอียดหรือ ข อมูลประกอบของอุปกรณ แตละอย าง กํากับลงไว ทั้งนี้สําหรับอุปกรณบางประเภทที่มีรายละเอียดมากจนไมสามารถเขียนลงไปในรูปไดทั้งหมด ใหเลือกเฉพาะ ขอมูลสําหรับใชงานในการวิเคราะหเปนเรื่อง ๆ สวนขอมูลที่เหลือใหแสดงรายละเอียดไวขางนอกรูปเพื่อไมใหไดอะแกรมนั้น ดูยากเกินไป

ภาพที่ 2.1 แสดง Single Line Diagram ของระบบไฟฟาแบบงาย 54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.2 แสดง Single Line Diagram ของวงจรไฟฟาแบบงาย 3. แบบ Wiring Diagram ไวริ่งไดอะแกรม (Wiring Diagram) เปนวงจรที่แสดงสวนประกอบในการตออุปกรณดวยการเดินสายจริง โดยที่แตละ อุป กรณจะเชื่อมโยงสายไฟถึงกัน ทําใหเห็นการตอ วงจรถึงกันไดอ ยางชัดเจนไวริ่งไดอะแกรมจึงนิยมใชกับงานชิ้นเล็ก ๆ หรือ วงจรที่ใชอุปกรณไมมาก ซึ่ง เหมาะสําหรับผูไมมีความรูทางการอานสัญลักษณตาง ๆ ของวงจร แตตอ งการตอวงจร อิเล็กทรอนิกสใชงาน ดังนั้น หากใชไวริ่งไดอะแกรมแสดงวงจรที่มีขนาดใหญ จะดูยุงยากและสับสน อาจทําใหผูปฏิบัติงาน ตอวงจรผิดพลาดไดงาย วงจรที่มีขนาดใหญจึงมักเขียนวงจรในรูปสัญลักษณ หรือ ที่เรียกวา Schematic Diagram

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ภาพที่ 2.3 ตัวอยาง Wiring Diagram

ไวริ่งไดอะแกรม วงจรสัญลักษณ ภาพที่ 2.4 การเปรียบเทียบระหวางวงจรไวริ่งไดอะแกรมกับวงจรสัญลักษณ

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

ใบทดสอบ คําชี้แจง : ใหผูรบั การฝกทําเครือ่ งหมาย x หนาตัวเลือกที่ถกู ตองทีส่ ุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. ขอใด เปนสัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน DIN ก. ข. ค. ง. 2. ขอใด เปนสัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน DIN

ก. ข. ค. ง.

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

3. ขอใด เปนสัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน IEC ก. ข. ค. ง. 4. สัญลักษณทางไฟฟาในอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน DIN และ IEC ในขอใด ใชเหมือนกัน ก. ข. ค. ง. 5. ขอใด คือ นิยามของไดอะแกรมเสนเดียว ก. แผนผังไฟฟารูปแบบยอของระบบไฟฟา ข. แผนผังไฟฟารูปแบบขยายของระบบไฟฟา ค. แผนผังไฟฟารูปแบบปกติของระบบไฟฟา ง. แผนผังไฟฟารูปแบบพิเศษของระบบไฟฟา

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

6. ขอใด ไมใชหลักการเขียนไดอะแกรมเสนเดียว ก. การเขียนแสดงรายละเอียดของอุปกรณกํากับไว ข. เลือกเขียนเฉพาะขอมูลที่สําคัญสําหรับอุปกรณทมี่ ีรายละเอียดมาก ค. การเขียนวงจรในรูปสัญลักษณ ง. การเขียนเชื่อมโยงสัญลักษณทางไฟฟาเสนเดียวเขาดวยกัน 7. เพราะเหตุใด จึงจําเปนตองเขียนรายละเอียดของอุปกรณกํากับไวในแบบไดอะแกรมเสนเดียว ก. เพื่อใชแยกการทํางานของวงจร ข. นําไปใชในงานเชิงวิเคราะห ค. นําไปใชในงานเฉพาะดาน ง. เพื่อใชรวมกับวงจรแบบอื่น 8. ขอใด อธิบายความหมายของไวริ่งไดอะแกรมไดถูกตอง ก. วงจรที่แสดงสวนประกอบในการตออุปกรณดวยการเดินสายจริง ข. วงจรทีแ่ สดงอุปกรณเชื่อมโยงสายไฟฟาแยกกัน ค. วงจรทีจ่ ําลองสวนประกอบในการตออุปกรณดวยภาพเสมือนจริง ง. วงจรทีจ่ ําลองอุปกรณเชื่อมโยงสายไฟฟาแยกกัน 9. Wiring Diagram กับ Schematic Diagram แตกตางกันอยางไร ก. Wiring Diagram เขียนวงจรในรูปสัญลักษณ แต Schematic Diangram เขียนวงจรในรูปอุปกรณจริง ข. Wiring Diagram เขียนวงจรในรูปอุปกรณจริง แต Schematic Diangram เขียนวงจรในรูปสัญลักษณ ค. Wiring Diagram เขียนวงจรขนาดใหญ แต Schematic Diangram เขียนวงจรเล็ก ง. Wiring Diagram เขียนวงจรแบบที่มีความซับซอน แต Schematic Diangram เขียนวงจรแบบทีเ่ ขาใจไดงาย

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

10. Wiring Diagram นิยมใชกับงานลักษณะใด ก. แบบวงจรขนาดใหญที่ใชอุปกรณนอยชิ้น ข. แบบวงจรทีม่ ีขนาดเล็กที่ใชอุปกรณมากชิ้น ค. แบบวงจรขนาดใหญที่ใชอุปกรณยุงยาก ง. แบบวงจรขนาดเล็กที่ใชอุปกรณไมมาก 11. ขอใด ไมใข สัญลักษณมอเตอร ตามมาตรฐาน IEC

ก.

ข. ค.

ง. 12. การเขียนแบบสําหรับการเดินสายไฟฟาแบบใด เหมาะสําหรับผูที่ไมเชียวชาญดานการอานสัญลักษณ ก. แบบ Wiring Diagram ข. แบบ Single Wiring Diagram ค. แบบ One Line Diagram ง. แบบ Single Line Diagram

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 2 โมดู ล การฝ ก ที่ 6

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.