คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 1 โมดูล 10

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คูมือครูฝก 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 10 09207401 ทัศนคติในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 10 ทัศนคติใ นการประกอบอาชีพ ชางเชื่อ มแม็ก ระดับ 1 ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝ ก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่ องมือ ในการบริ หารจั ดการการฝ กอบรมให เป นไปตามหลั กสู ตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝ กใหมี ความรูเกี่ยวกับทัศ นคติใ นการ ประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะให เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริม ใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธก ารฝก อบรมในการที่ทําใหผูรั บการฝก อบรมมีค วามสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบั ติง าน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรีย นรูแ ละฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพร อม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย ม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มี ความสํา คัญ ต อการพั ฒ นาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบั นและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ นการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 10 09207401 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 หัวขอวิชาที่ 1 0920740101 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก คณะผูจัดทําโครงการ

12 22

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070801

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลา คาร บอนแผ นหนารอยเชื่อมฟล เลท ตําแหนงทาเชื่อม PB PF PD และ D150PF 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับ การฝ กในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมื อแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื ่อ งจากเปน การฝก ที ่ขึ ้น อยู ก ับ พื ้น ฐานความรู  ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผู ร ับ การฝก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070801 2. ชื่อโมดูลการฝก ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 รหัสโมดูลการฝก 09207401 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 2. บอกการปฏิบัติงานที่ตรงตอเวลาไดอยางถูกตอง 3. บอกการรักษาวินัยไดอยางถูกตอง 4. บอกความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 5. การประมาณตนทุนในงานเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกจรรยาบรรณในการ หัวขอที่ 1 : ทัศนคติใ นการประกอบอาชีพ 1:00 1:00 ประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็ก ไดอยางถูกตอง 2. บอกการปฏิบัติงาน ที่ตรงตอเวลาไดอยางถูกตอง 3. บอกการรักษาวินัย ไดอยางถูกตอง 4. บอกความซื่อสัตย ในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 5. การประมาณตนทุนใน งานเชื่อมไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

1:00

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

-

1:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0920740101 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5.

บอกจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง บอกการปฏิบัติงานที่ตรงตอเวลาไดอยางถูกตอง บอกการรักษาวินัยไดอยางถูกตอง บอกความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง การประมาณตนทุนในงานเชื่อมไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การปฏิบัติงานที่ตรงตอเวลา วินัยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การประมาณตนทุนในงานเชื่อม

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม จรรยาบรรณชาง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.engsamui.com/eng6.html ศรีสกุล เฉียบแหลม. 2554. “คุณคาของเวลา”. วิทยาลัยพระปกเกลา. 23 : 94-96 กนกวรรณ อุปลา. 2560. บทที่ 5 ความมีวินัยในตัวเอง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/knkwrrnxupla/bth-thi5khwam-mi-winay-ni-taw-xeng สภาวิศวกร. 2560. กรณีศึกษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/mail/coeHome.php?aMenu=401

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การประกอบอาชีพ ใด ๆ ก็ต าม ผูป ระกอบอาชีพ นั้น จะตอ งมีค วามเขา ใจและมีจิต สํา นึก ในการประกอบอาชีพ ดัง นั้น การประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ ก ผูปฏิบัติงานควรที่จะเรีย นรูสิ่ งที่เ กี่ย วของกับ การทํางานเพื่อให เป นชา งเชื่ อ ม ที่มีคุณภาพ ซึ่งสิ่งที่ควรทราบมีดังตอไปนี้ 1. จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็กเปนงานชางที่มีงานเชื่อมอยูหลายประเภทและหลายระดับ ถาเปนงานวิศวกรรมควบคุม ตามกฏหมาย ผูประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมตองมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ทั้งนี้จรรยาบรรณของ ชางเชื่อมแม็ก มีดังตอไปนี้ 1) ไมกระทําการที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ 2) ปฏิบัติงานที่ไดรับอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ 3) ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต 4) ไมใ ชอํา นาจโดยไมช อบธรรม ใชอิท ธิพ ล หรือ ใหผ ลประโยชนแ กบุค คลใดเพื่อ ใหต นเอง ผูอื่น ไดรับ หรือไมไดรับงาน 5) ไมเรีย ก รับ ยอมรับทรัพ ยสิน หรือผลประโยชนอยางใด สําหรับตนเองหรือผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทําอยูกับผูวาจาง 6) ไมโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณาเกินกวาความเปนจริง 7) ไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได 8) ไมละทิ้งงานที่ไดรับโดยไมมีเหตุอันสมควร 9) ไมลงลายมือชื่อเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในงานที่ตนเองไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือควบคุม ดวยตนเอง 10) ไมเปดเผยความลับงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูวาจาง 11) ไมแยงงานจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 12) ไมรับทํางาน หรือตรวจสอบงานชิ้นเดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นทําอยู เวนแตเปนการทํางาน ตรวจสอบตามหนาที่ หรือแจงใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 13) ไมรับดําเนิ นงานชิ้ นเดีย วกั นให แกผูว าจางรายอื่ น เพื่อการแข งขั นราคา เวนแตไดแจ งใหผูว าจางรายแรก ทราบลวงหนาเปนลายลักษณอักษร หรือไดรับการยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางรายแรก และไดแจง ใหผูวาจางรายอื่นทราบลวงหนาแลว 14) ไมใ ชหรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ย วกับงานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น 15) ไมกระทําการใด ๆ โดยจงใจใหเปนที่เสื่อมเสียแกชื่อเสียง หรืองานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 2. การปฏิบัติงานที่ตรงตอเวลา ชางเชื่อมแม็กเปนงานที่ตองอาศัย ทั้งฝมือ ความละเอีย ด ความปราณีตในการสรางสรรคผลงานใหออกมามีคุณภาพ และใชงานไดตามวัตถุประสงคของการผลิต ทั้งนี้ปจจัยที่สําคัญในการสรางสรรคผลงานใหออกมามีคุณภาพอยางหนึ่ง คือ เวลา งานแตละชิ้นงานจึงมีเวลาในการสรางไมเทากัน ดังนั้น เมื่อชางเชื่อมไดรับงานที่มีการมอบหมายมาแลว จึงจําเปนที่จ ะตอง จัดสรร หรือบริหารเวลาใหดีใ นการทํางาน เพื่อไมใ หลาชาในการผลิต รวมทั้งเปนการสรางความไววางใจใหผูวาจ า งได ในภายภาคหนา การตรงตอเวลาจึงเปนหัวใจของการทํางาน แสดงใหเห็นการเปนคนงานที่มีระเบียบ และไวเนื้อเชื่อใจได ชางเชื่อมจึงควร ฝกฝนใหเปนคนตรงตอเวลา เพื่อความสําเร็จและความกาวหนา การพัฒนาตนเองใหเปนคนตรงตอเวลานั้น สามารถทําได โดยการแบงเวลาใหเหมาะสมกั บแผนงานตาง ๆ ซึ่งการทํางานหรื อส งงานใหผูว าจ างก อนเวลาจะช วยใหมี เวลาตรวจทาน และสงงานใหตรงตามกําหนด รวมถึงหากนัดหมายกั บผูวาจางควรเผื่ อเวลาในการเดิ นทาง เพื่อไปใหถึงจุดหมายกอนเวลา สักเล็กนอย จะไดไมเรงรีบ และมีเวลาเตรียมความพรอมใหกับตนเอง การเปนคนตรงตอ เวลานั้ น จะสามารถจัด การกั บงานได อยางเป น ระเบีย บ สงผลใหเปนคนที่ป ระสบความสํ า เร็ จ มีความกาวหนาในชีวิตและเปนคนนาเชื่อถือ รวมถึงไดรับความไววางใจจากผูอื่น ซึ่งสิ่งเหลานี้ลวนเปนสวนหนึ่งของประโยชน ในการตรงตอเวลา และนอกเหนือไปกวานั้น คือ การตรงตอเวลาจะชวยใหจัดการกับชีวิตของเราไดอยางราบรื่นและมีความสุข ประโยชนของการปฏิบัติงานตรงตอเวลา - ทําใหมีนิสัยขยันขันแข็ง เอาการเอางานอยางจริงจัง - ฝกใหเปนคนกระตือรือรน มีชีวิตชีวา - ทําใหมีความซื่อตรงและรักษาเกียรติยศของตนเอง - ทําใหทํางานไดสะดวก รวดเร็ว เรียบรอย - หนาที่การงานประสบความสําเร็จ ชีวิตกาวหนา - สามารถกําหนดกิจกรรมตาง ๆ ที่เราจะกระทําไดในแตละวัน ทําใหชีวิตมีระเบียบ และมีวินัยกับตนเอง 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - เปนที่เชื่อถือ และไวใจของคนอื่น โทษของการไมตรงตอเวลา - กลายเปนคนเกียจคราน และหาสาเหตุหลีกเลี่ยงงานอยูตลอด - เปนคนผัดวันประกันพรุง - กิจกรรม การงาน และชีวิตยุงเหยิง ไมเปนระเบียบ - กลายเปนคนไมซื่อตรงตอตนเอง - ทําใหผิดนัด กิจกรรมหรืองานเกิดความเสียหาย - ไมเปนที่เชื่อถือของคนอื่น 3. วินัยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก วินัยเปนสิ่งสําคัญที่ชางเชื่อมควรมี เพื่อใหการทํางานของตนเองเปนไปตามที่วางแผนไว ลดความยุงยากที่อาจเกิดขึ้ นได ในอนาคต ซึ่งการมีวินัยในตนเองมีความสําคัญดังตอไปนี้ ความสําคัญของการมีวินัยในตนเอง - ถาไมมีวินัยในตนเอง อาจทําใหงานที่ไดรับมาไมเสร็จตามแผน และเสียโอกาสรับงานในอนาคตขางหนา - วินัยสรางความรับผิดชอบแกตนเอง ซึ่งเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหประสบความสําเร็จได - วินัยสรางระเบียบแบบแผน และสรางความเชื่อมั่นใหกับคนอื่นที่จะมาจางงาน ทําใหมีความกาวหนาในการงาน - ทําใหเราอยูรวมในสังคมไดงายขึ้น 60

ความจําเปนที่ตองมีระเบียบวินัยในตนเอง - ชวยใหตนเองมีระเบียบ - ชวยใหมีความสามัคคีปรองดองในกลุมคน - มีสวนชวยใหประสบความสําเร็จในชีวิต - ชวยใหทุกคนรูจักควบคุม และปกครองตนเองตามหลักประชาธิปไตย - ชวยใหทุกคนอยูรวมกันอยางมีความสุขในสังคม

ดังนั้น หากสรางระเบียบวินัยในชีวิตของแตละคนได และคนในสังคมมีลักษณะชีวิตที่มีระเบียบวินัยไปพรอมกัน นอกจาก ตนเองจะก าวสู ความสํา เร็ จแลว ยังสามารถพัฒนาสั ง คมใหมี ระเบีย บเรีย บร อย ตลอดจนประเทศชาติใ หทั ด เที ย มกั บ อารยประเทศดวย

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 4. ความซื่อสัตยในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก อาชีพชางเชื่อมแม็กเปนอีกหนึ่งอาชีพที่จําเปนตองพบปะกับผูวาจาง และทําขอตกลงในการทํางานหรือขอตกลงในการผลิ ต ชิ้นงานสงใหผูวาจาง ความซื่อสัตยจึงมีความสําคัญที่ชางเชื่อมจะตองมีกันทุกคน เนื่องจากงานที่ทําของชางเชื่อมแม็กบางอยาง อาจมีผลตอความปลอดภัย ของผูใ ช ตัว อยางเชน ชา งเชื่อมไดทําการตกลงกับผูวาจางวา จะใชวัสดุ A เปนการเชื่อมงาน แตเมื่อทําการเชื่อมจริง ชางเชื่อมใชวัสดุ B ที่มีความแข็งแรงนอยกวา เพราะเห็นวาตนทุนต่ํากวาและทําใหไดกําไรที่สูง กวา เมื่อเกิดการใชงานจริงของชิ้นงาน จึงทําใหความแข็งแรงไมไดม าตรฐาน อาจสงผลใหเกิดอุบัติเหตุใ นทายที่สุด จึงจะเห็นวา ความซื่อสัตยนั้นมีผลกับชางเชื่อมมาก จึงเปนสิ่งที่ผูประกอบอาชีพชางเชื่อมทุกคนควรมี 60

ประโยชนของการมีความซื่อสัตย - ทําใหมีความเจริญกาวหนาและประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน - เปนคนเปดเผย จริงใจตอตนเองและผูอื่น - เสริมสรางใหตัวเองเปนคนกลาหาญ และทําในสิ่งที่ถูกตอง - เปนที่เชื่อถือ และไวใจของคนอื่น - ชีวิตมีความสุข

60

โทษของการไมมีความซื่อสัตย - ชีวิตและหนาที่การงานไมประสบความสําเร็จ - ถูกมองเปนคนขี้โกง ทุจริต ไมมีระเบียบวินัยตอตนเองและผูอื่น - ไมเปนที่เชื่อถือของคนอื่น - อาจเปลี่ยนไปประกอบอาชีพทุจริต ทําผิดกฎหมาย

5. การประมาณตนทุนในการเชื่อม ในการทํางานเชื่อมทุกครั้ง ผูประกอบอาชีพ ชางเชื่อมจําเปนตองตรวจสอบและประมาณงบประมาณตนทุนเบื้องตน กอ นทําการลงมือเชื่อม หรือผลิตชิ้นงาน เพื่อเปนการกําหนดงบประมาณที่ชัดเจน และไมทําใหตนทุนของการผลิตนั้นบานปลาย จนทํา ใหตัวผูประกอบอาชีพ ชางเชื่อมเองนั้นขาดทุน กับงานที่ทํา การประมาณงบประมาณลวงหนานั้น จึงมีความสําคัญ ทางธุรกิจตาง ๆ เปนอยางมาก โดยการประมาณการงบประมาณตนทุนลวงหนาของชางเชื่อมนั้น สามารถทําไดดังนี้ 1) ทบทวนขอบเขตของงานที่ไดรับการวาจาง 2) พิจารณาผลกระทบของสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ในรูปของตัวเงิน เชน สถานที่ในการทํางาน พื้นที่วางที่จะใชเก็บวัสดุ ที่พักรวม เปนตน 3) หาปริมาณงานทุกอยางทั้งหมดจากแบบโดยละเอียด 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 4) ใสราคา วัสดุ คาแรง อาจจะเปนคาแรงแตละคน หรือคาแรงเปนกลุมก็ได คาอุปกรณเครื่องจักรเครื่องมือ 5) ใสราคางานพิเศษหรืองานที่ใ หรับเหมาชวงงานบางอยางไปทํา โดยเลือกรายที่เสนอราคาต่ําที่สุด แตทั้งนี้ ตองไมลืมความนาจะเปนหรือโอกาสที่จะทํางานเสร็จดวย ควรทําตารางแสดงรายการที่ผูรับเหมาแตละราย สงราคามาใหพรอมเงื่อนไขหรือรายละเอียดตาง ๆ ถามี 6) ใสราคาที่ผูสงของหรือ SUPPLIER สงมา พรอมทั้งทําตารางเรียงลําดับเอาไว 7) คํานวณภาษี เงินค้ําประกัน คาประกันภัย และคาดําเนินการของทุก ๆ รายการที่เกี่ย วของ และทําตาราง เพื่อเปรียบเทียบภายหลัง 8) เพิ่มรายการเงินสํารอง 9) ใสกําไรที่ตองการ 10) รวมราคา และเตรียมยื่นเสนอ ทั้งนี้ การประมาณการราคาตนทุนของงานเชื่อมนั้นอาจมีการเปลี่ย นแปลงขั้นตอนได ขึ้นอยูกับลักษณะของงานที่ไ ดรับ การวาจาง

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดขอเดียว 1. สมศักดิ์เขาทํางานโดยไมเคยมาสาย จนปลายปบริษัทเพิ่มเงินเดือนมากกวาคนอื่น สมศักดิ์มีจรรยาบรรณดานใด ก. ความซื่อสัตย ข. ความอดทน ค. ความตรงตอเวลา ง. ความเอื้อเฟอเผื่อแผ 2. ขอใดกลาวผิด ก. วินัยชวยใหตนเองเปนผูที่มีระเบียบเรียบรอย ข. วินัยชวยใหมีความสามัคคีปรองดองในกลุมคน ค. วินัยมีสวนชวยใหประสบความสําเร็จในชีวิต ง. วินัยชวยใหมีฐานะทางสังคมที่สูงขึ้น 3. ขอใดมีคุณธรรมดานความซื่อสัตยในดานการเชื่อมอุตสาหกรรม ก. ดําเนินงานตามมาตรฐานที่กําหนดไวระหวางผูวาจางกับผูรับจาง ข. ไมปรับลดคุณภาพวัสดุ ค. ลดตนทุนการผลิตแตไมลดคุณภาพ ง. แนะนําลูกคาในสิ่งที่เหมาะสมที่สุด 4. บุคคลใดไมมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ก. นาสาปฏิบัติงานเชื่อมดวยความซื่อสัตยสุจริต ข. นพดลตองหยุดปฏิบัติงานเชื่อม เนื่องจากไดรับบาดเจ็บ ค. นิกรยอมรับเงินตอบแทนที่นอกเหนือจากคาจาง เพราะมีปญหาทางการเงิน ง. นิพลทํางานตามที่ไดรับมอบหมายอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและหลักวิชาการ

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10 5. ขอใดไมใชขั้นตอนการประมาณงบประมาณตนทุนลวงหนาของชางเชื่อม ก. ใสกําไรที่ตองการ ข. หาปริมาณงานทุกอยางทั้งหมดจากแบบโดยละเอียด ค. ใสราคาวัสดุ คาแรง คาอุปกรณเครื่องจักรเครื่องมือ ง. คํานวณคาแรงเพิ่ม ในกรณีที่ตองทํางานลวงเวลา

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ น หนา) โมดู ลการฝ ก ที่ 10

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.