คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 1 โมดูล 2

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คูมือครูฝก 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็กระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 2 09207202 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คํา นํา

คูมือครูฝกสาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 2 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล ฉบับ นี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลัก สูตรฝก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถปฏิบัติการใชและบํารุงรักษา เครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถ หรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้ การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการได ทั้งรูปแบบการเรียนรูผ านสือ่ สิง่ พิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวก ของตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียมและดําเนินการทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่มจํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒ นาฝมือ แรงงานใหแกกําลัง แรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูปแบบการฝกที่มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใช ในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 2 09207202 การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล หัวขอวิชาที่ 1 0920720201 การใชเครื่องมือวัด หัวขอวิชาที่ 2 0920720202 การใชเครื่องมือทั่วไป

22 69

หัวขอวิชาที่ 3 0920720203 การใชเครื่องมือกล คณะผูจัดทําโครงการ

123 167

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบียนแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบียนแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกทีล่ งทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6. ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรบั จากผูทสี่ นใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7. ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูส มัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8. ครูฝกคัดเลือกผูส มัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรบั 9. เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ขอเขารับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือ เขารับ การฝก ในโมดูล ถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝก บันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบตั ิ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070801

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พฒ ั นาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมอื แรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นทีป่ ฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกบั งานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอและอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมฟลเล็ท ตําแหนงทาเชื่อม PB PF PD และ D150PH 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมือ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกทีข่ ึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหาร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสภาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 2 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070801 2. ชื่อโมดูลการฝก การใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล รหัสโมดูลการฝก 09207202 3. ระยะเวลาการฝก รวม 12 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ 9 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรบั การฝก เพื่อให การฝก มีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ ไดแก สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและบรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ ไดแก ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลไดอยางถูกตอง 3. บอกการใชอุปกรณการวัดแนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 6. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอนและสกัด ไดอยางถูกตอง 7. บอกการใชดอกสวานและเครื่องเจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และ แมแรงยกของ การใชแปรงลวดไดอยางถูกตอง 8. บอกการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยางถูกตอง 9. บอกการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 10. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 11. บอกการใชเครื่องเจียระไนไดอยางถูกตอง 12. บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะไดอยางถูกตอง 13. บอกการใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสไดอยางถูกตอง 14. บอกการใชเครื่องทดสอบการดัดงอไดอยางถูกตอง 15. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและเครื่องเลื่อยไดอยางถูกตอง 16. บอกการใชอุปกรณจับยึดไดอยางถูกตอง 17. บอกการใชเครื่องดูดควันไดอยางถูกตอง 18. บอกการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

19. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 1 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ หัวขอที่ 1 : การใชเครื่องมือวัด 1:00 3:00 4:00 เชน สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ําและ บรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. บอกการใชเครื่องมือวัด อุณหภูมิ เชน ที่วัดอุณหภูมิ แบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และ เทอรโมคัปเปล ไดอยางถูกตอง 3. บอกการใชอุปกรณการวัด แนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษา เครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. บอกการใชคีม คีมล็อก หัวขอที่ 2 : การใชเครื่องมือทั่วไป แคลมป ปากกา การใชตะไบ และเลื่อยมือ การใชคอนและ สกัดไดอยางถูกตอง 7. บอกการใชดอกสวานและ เครื่องเจาะ การใชประแจ แบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ การใชแปรงลวด ไดอยางถูกตอง 8. บอกการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยางถูกตอง 9. บอกการดูแลและบํารุงรักษา เครือ่ งมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 10. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษา เครือ่ งมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 11. บอกการใชเครื่องเจียระไน หัวขอที่ 3 : การใชเครื่องมือกล ไดอยางถูกตอง 12. บอกการใชเครื่องขัดผิว โลหะไดอยางถูกตอง 13. บอกการใชเครื่องกด ไฮดรอลิกสไดอยางถูกตอง 14. บอกการใชเครื่องทดสอบ การตีหักไดอยางถูกตอง 15. บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงาน และเครือ่ งเลื่อย ไดอยางถูกตอง 16. บอกการใชอุปกรณจบั ยึด ไดอยางถูกตอง 17. บอกการใชเครื่องดูดควัน ไดอยางถูกตอง 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1:00

3:00

4:00

1:00

3:00

4:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

18. บอกการดูแลและ บํารุงรักษาเครื่องมือกล ไดอยางถูกตอง 19. ปฏิบัติการใชและ บํารุงรักษาเครื่องมือกล ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น

3:00

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

9:00

12:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0920720201 การใชเครื่องมือวัด (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการใชเครื่องมือรางแบบ เชน สายวัดระยะ ฉาก บรรทัดเหล็ก เวอรเนียคาลิปเปอร โปรแทรกเตอร ระดับน้ํา และบรรทัดออนไดอยางถูกตอง 2. บอกการใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิ เชน ที่วัดอุณหภูมิแบบสัมผัส (Contact Pyrometer) ชอลกวัดอุณหภูมิ สีวัดอุณหภูมิ และเทอรโมคัปเปลไดอยางถูกตอง 3. บอกวิธีการใชอุปกรณการวัดแนวเชื่อม ไดแก เกจวัด แวนขยาย ไฟฉาย กระจกเงา ไดอยางถูกตอง 4. บอกวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.

เครื่องมือรางแบบ เครื่องมือวัดอุณหภูมิ อุปกรณการวัดแนวเชื่อม การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรบั การฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) แบบชิ้นงานใบงานที่ 1.1 จํานวน 1 ชุด 2) แบบชิ้นงานใบงานที่ 1.2 จํานวน 1 ชุด 3) แบบชิ้นงานใบงานที่ 1.3 จํานวน 1 ชุด 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) บรรทัดเหล็ก จํานวน 1 อัน 2) โปรแทรกเตอรวัดมุม จํานวน 1 อัน 3) เวอรเนียคาลิปเปอร จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอ ยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมทิก ระดับ ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.dsd.go.th/standard/Region/ Download_Doc/9666 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dsd.go.th/standard/Region/ Doc_ShowDetails/6196 กรมพัฒ นาพลัง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ พ ลั ง งาน กระทรวงพลัง งาน. 2555. เครื่องมือตรวจวัด ดา นเครื่ อ งกล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://ienergyguru.com/2015/09/เครื่องมือวัด-เครื่องกล/ กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. 2551. มาตรฐานการตรวจสอบรอยเชื่อม โครงเหล็กรูปพรรณดวย วิธีการทดสอบแบบไมทําลาย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.dpt.go.th/sesb/images/stories/pdf /standard/02.pdf บริษัท โปรโทรนิกส อินเตอรเทรด จํากัด. 2558. การดูแลรักษาเครื่องมือวัดและเทคนิคการดูแลเครื่องมือวัดแบบงาย ๆ . [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.ponpe.com/tech/258-การดูแลรักษาเครื่องมือวัดและเทคนิค การดูแลเครื่องมือวัดแบบงาย ๆ .html บริษัท เลกะ คอรปอเรชั่น จํากัด. 2559. การอานคาจากเวอรเนียคาลิปเปอรแบบอนาล็อก. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://legatool.com/wp/2753/ บริษัท สุพรีมไลนส จํากัด. ม.ป.ป. เทอรโมคัปเปล. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.เทอรโมคัปเปล.com/26เทอรโมคัปเปล-thermocouple.html ห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด โกลบอล เอเชี ย เทค ซั พ พลาย. 2558. ชอล ค วั ด อุ ณ หภู มิ . [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.gatsupplyasia.com/product/ชอลควัดอุณหภูมิ/4 48

48

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เอิบ อักษรทอง. 2560. งานฝกฝมือเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.hanpho.ac.th/aerb/งานฝก ฝมือเบื้องตน/เครื่องมือวัดประเภท.html

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมตัวอยางเครื่องมือวัดเพื่อใชประกอบ การสอน และตรวจสอบความพรอมใชงาน ของเครื่องมือ เชน บรรทัดเหล็ก ฉาก ชุดฉาก ผสม เวอรเนียคาลิปเปอร เกจวัดแนวเชื่อม เปนตน 4. ตัวอยางชิ้นงานตามใบงานที่ 1.1 - 1.3 ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัด ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ ง การใช 2. ฟง และซักถามขอสงสัย เครื่องมือวัด ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝกเรื่อง การใชเครื่องมือวัด 1. รับคูมือผูรับการฝกเรือ่ ง การใชเครื่องมือวัด หนาที่ หนาที่ 16 - 57 16 - 57 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง การใชเครื่องมือวัด โดยใชวิธี 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ถาม - ตอบกับผูรับการฝก และใชความรูเดิม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ของผู รั บ การฝก มาต อ ยอดเป นความรูใหม พรอ มใช สื่ อ วี ดิทั ศน นาที ท่ี 00.00 - 25.01 และตัวอยางของจริงประกอบการสอน โดยมี สาระสําคัญดังนี้ 2.1 เครื่องมือรางแบบ 2.2 เครื่องมือวัดอุณหภูมิ 2.3 อุปกรณการวัดแนวเชื่อม 2.4 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 33 - 35 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 33 - 35 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 46 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.1 เรื่อง การใช 5. ศึกษาใบงานที่ 1.1 เรื่อง การใชบรรทัดเหล็กและ บรรทัดเหล็กและโปรแทรกเตอรวัดมุม จาก โปรแทรกเตอรวัดมุม หนาที่ 36 - 42 โดยครูฝก คูมือผูรับการฝก หนาที่ 36 - 42 คอยสังเกตและใหคําแนะนําเพิ่มเติม 6. อธิบ ายพรอ มสาธิตและถามตอบขอ ซัก ถาม 6. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 03.06 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 การวัดความยาวดวยบรรทัดเหล็ก 6.2 ก า ร วั ด ขน า ด ขอ ง มุ ม ด วยโปร แทรกเตอรวัดมุม 6.3 การดู แ ลและบํ า รุ ง รั ก ษาบรรทั ด เหล็กและโปรแทรกเตอรวัดมุม 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 8. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 8. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 45 ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก หนาที่ 49 9. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ปลอดภัย ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ใกลชิด 10. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 10. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 11. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 11. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ครบถวน

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 12. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.2 เรื่อง การใช 12. ศึก ษาใบงานที่ 1.2 เรื่อ ง การใชเ วอรเ นียคาลิป เวอร เ นี ย คาลิป เปอร จากคู มื อ ผู รั บ การฝก เปอร หนาที่ 43 - 49 โดยครูฝกคอยสังเกตและให หนาที่ 43 - 49 คําแนะนําเพิ่มเติม 13. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 13. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 03.07 - 06.15 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 13.1 การวั ดเส นผ านศู นย ก ลางชิ้นงาน โดยใชเวอรเนียคาลิปเปอร 13.2 การดูแลและบํารุง รักษาเวอรเนีย คาลิปเปอร 14. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 14. แบงกลุมตามความสมัครใจ 15. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 15. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 45 หนาที่ 56 16. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 16. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 17. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 17. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 18. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 18. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 1.3 เรื่อง การใช 19. ศึ ก ษาใบงานที่ 1.3 เรื่ อ ง การใช เ ครื่ อ งมื อ วั ด เครื่องมือวัดละเอียด จากคูมือผูรับการฝกหนาที่ ละเอียด หนาที่ 50 - 57 โดยครูฝกคอยสังเกตและ 50 - 57 ใหคําแนะนําเพิ่มเติม 20. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 20. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย คูมือผูรับการฝก หนาที่ 50 - 57 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 20.1 การใชเครื่องมือวัดชิ้นงาน 20.2 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด 21. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 21. แบงกลุมตามความสมัครใจ 22. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 22. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมื อ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 53 หนาที่ 64 23. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 23. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 24. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 24. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 25. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 25. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง การใชเครื่องมือวัด อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง การใชเครื่องมือวัด รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน

29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 การใชเครือ่ งมือวัด เครื่องมือวัด เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับการวัดซึ่งมีจุดประสงคในการใชแตกตางกัน จึงแบงไดเปนหลายประเภทดังนี้ 1. เครื่องมือรางแบบ 1.1 บรรทัด ใชเปนเครื่องมือวัดบอกขนาดความกวาง ความยาว หรือความสูง และเปนเครื่องมือรางแบบ ใชขีดเสน โดยการวางบนชิ้นงาน ซึ่งแบงตามลักษณะการใชงานดังนี้ 1) บรรทัดเหล็ก ใชสําหรับทาบเพื่อขีดเสนตรงและแสดงคาการวัด ทําจากสเตนเลส จึง มีความทนทาน และไมเปนสนิม

ภาพที่ 1.1 บรรทัดเหล็ก 2) บรรทัดวัดเสนรอบวง ใชสําหรับบอกคาความยาวเสนรอบวงเมื่อทราบคาเสนผานศูนยกลาง ทําใหทราบคาได โดยไมตองคํานวณ

ภาพที่ 1.2 บรรทัดวัดเสนรอบวง 3) บรรทัดชนิดออน มีลักษณะการทํางานแบบเดียวกับบรรทัดเหล็ก แตวัสดุที่ใชทําเปนพลาสติก หรือ PVC ซึ่งสามารถออนตัวได

ภาพที่ 1.3 บรรทัดชนิดออน วิธีการใชงาน 1) ใหปลายดานหนึ่งของสิง่ ของทีจ่ ะวัดตรงกับตําแหนง 0 ของสเกลบรรทัด 2) หาคาสเกลบรรทัดทีป่ ลายอีกดานหนึง่ ของสิ่งที่ถูกวัด 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3) อานคาสเกลบนบรรทัด วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังจากใชงานแลวควรทําความสะอาดทุกครัง้ กอนนําไปเก็บ 1.2 ตลับเมตร ใชสําหรับวัดชิ้นงาน วัดความโตของรู วางแนวเสน ตรวจสอบขนาดความถูกตอง สามารถวัดงานโคงได เพราะมีสมบัติพิเศษที่มีความออนตัว ทําจากเหล็กสปริงบางแบน สวนปลายจะมีตะขอสําหรับเกี่ยวขอบงาน และมีตัว กดล็อกปองกันไมใหแถบวัดเขาไปในตลับขณะวัด

ภาพที่ 1.4 ตลับเมตร วิธีการใชงาน 1) มือหนึ่งจับปลายเทปแลวดึงออกจากตลับ 2) ใชขอปลายเทปเกี่ยวชิ้นงานที่ตรงและไดฉาก 3) ทําเครื่องหมายระยะตามที่ตองการ 4) วัดขนาดโดยการอานคา วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ระวังและรักษาขอเกี่ยวปลายเทปไมใหหัก 2) เมื่อจะปลอยเสนเทปตองคอย ๆ ผอน เพราะถาปลอยเร็วเกินไปปลายขอเกี่ยวอาจชํารุดเสียหายได 3) ทําความสะอาดหลังเลิกใชงานแลวเก็บใหเปนระเบียบ 1.3 ฉาก เปนอุปกรณสําหรับใชรางแบบ หรือใชวัดขนาดไดหลากหลาย ซึ่งแบงตามการใชงานไดดังนี้ 1) ฉากเหล็ก ใชสําหรับรางแบบโดยใชมุมฉากของฉากเหล็กเปนจุดเริ่มตนในการรางแบบ หรือใชสําหรับ รางเสนตัดชิ้นงานที่เปนแผนโลหะ ซึ่งจะตองทํามุม 90 องศาเสมอ

ภาพที่ 1.5 ฉากเหล็ก 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) ชุดฉากผสม (Combination Square Set) เปนเครื่องมือที่สามารถใชวัดขนาดไดหลากหลาย โดยสามารถ วัดมุมขนาดตาง ๆ ได มีระดับน้ําเพื่อวัดระดับชิ้นงานในแนวระนาบ และหาจุดศูนยกลางของชิ้นงานได โดยประกอบดวยสวนสําคัญ 4 สวน คือ - บรรทัดเหล็ก (Steel Ruler) มีลักษณะเหมือนบรรทัดเหล็กทั่วไป แตจะมีความหนามากกวา และมีรองสําหรับเลื่อนหัววัดมุมฉาก หัวปรับมุม และหัวหาศูนยกลาง - หัววัดมุมฉาก (Square Head) ใชสําหรับวัดมุมฉาก และวัดมุม 45 องศา มีระดับน้ําสําหรับ วัดระดับชิ้นงานในแนวระนาบ หัววัดมุมฉากจะประกอบกับบรรทัดเหล็กขันล็อกดวย Knurled Nut - หัวปรับมุม (Protractor Head) ใชสําหรับวัดมุมตาง ๆ ที่นอกเหนือจาก 45 องศา และ 90 องศา เพราะเมื่อประกบบรรทัดแลวสามารถหมุนปรับมุมตั้งแต 0 - 180 องศา เพื่อวัดองศาไดตามตองการ - หัวหาศูนยกลาง (Centre Head) ใชสําหรับแบงครึ่งวงกลม และหาจุดศูนยกลางมีรูปรางตัววี (V) ใชงานโดยประกอบเขากับบรรทัดแลวนําชิ้นงานมาวางในรองตัววีขีด 1 ครั้ง จะไดเสนแบ ง ครึ่ ง วงกลม ถ า เลื่ อ นหมุ น ไปตํา แหนง ใหมแ ล ว ขี ด อี ก 1 ครั้ ง จุ ด ตั ด ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะเปน จุด ศู นย ก ลางที่ ตอ งการ

ภาพที่ 1.6 ชุดฉากผสม วิธีการใชงาน 1) วางฉากทาบลงบนผิวหนาชิ้นงาน ใหขอบของเหล็กฉากแตะชิดกับขอบชิ้นงาน 2) สังเกตวา ชิ้นงานที่ตอ งการวัดไดมุมฉากหรือไม ขอควรระวัง 1) ไมควรเก็บรวมกับเครื่องมืออื่น โดยเฉพาะเครื่องมือที่มีคมตัด 2) หามใชฉากวัดความเรียบของผิวงานดิบ หรือผิวงานที่หยาบไมไดลบคม 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3) เมื่อตองการเปลี่ยนจุดตรวจสอบ ใหยกฉากขึ้นจนพนผิวงานกอน อยาลากฉากเพราะจะทําใหฉากชํารุด 4) ในการใชฉากจะตองมีความระมัดระวัง อยาใหหลนตกพื้น วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) วางฉากลงบนโตะปฏิบัติงานเบา ๆ อยางระมัดระวังเมื่อนําฉากเหล็กไปใช 2) ไมควรนําฉากเหล็กไปใชงานลักษณะอื่น นอกจากการวัด ขีดเสน ตรวจสอบมุม วัดขนาดความยาวชิ้นงาน 3) ไมควรใชฉากในการดัน ยกเวนการทําเพื่อดัดฉากใหได 90 องศา 4) ทําความสะอาดฉากใหปราศจากฝุนและทราย กอนเช็ดดวยน้ํามันเครื่องเพื่อกันสนิม 5) ไมใชดามฉากเคาะหรือตอกแทนคอน 6) ระวังไมใหฉากตกลงพื้น เพราะจะทําใหฉากคลาดเคลื่อนจากความเที่ยงตรง 7) เก็บฉากไวในที่เรียบ ไมวางทับซอนกับเครื่องมือชนิดอื่น 1.4 เวอรเนียคาลิปเปอร ใชในการวัดความยาว ความกวาง หรือความลึก เชน การวัดความหนาของเเผนเหล็ก การวัด ความกวางของนอตสกรู การวัดความลึกของรู เปนตน โดยมีการออกแบบตามหลักการทํางานเเละการนําไปใชงาน ดังนี้ 1) เวอรเนียคาลิปเปอรเเบบแอนะล็อก จะมีการอานคาตามสเกลที่ปรากฎบนตัวเครื่อง ซึ่งการอานคอนขางยาก และจะตองใชทักษะในการอาน

ภาพที่ 1.7 เวอรเนียคาลิปเปอรเเบบแอนะล็อก 2) เวอรเนียคาลิปเปอรเเบบดิจิทัล ถูกออกเเบบมาใหมีการอานคาไดงายผานหนาจอเเสดงผลแบบดิจิทัล บนตัวเครื่อง

ภาพที่ 1.8 เวอรเนียคาลิปเปอร เเบบดิจทิ ลั 48

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการใชงาน การอานคาของเวอรเนียคาลิปเปอร ถาใหตําแหนงของเลข 0 บนสเกลเลื่อนอยูระหวาง 20 กับ 21 และ บนสเกลเลื่อนกับสเกลหลักตรงกันที่ตําแหนง 50 จะอานได 20.50 มิลลิเมตร ขอควรระวังในการใชงานเวอรเนียคาลิปเปอร 1) ตองลบคมชิ้นงานและทําความสะอาดชิ้นงานทุกครัง้ กอนทําการวัดคา 2) หามวัดชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานมีการเคลือ่ นที่ 3) หามวัดชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานมีอุณหภูมิที่สงู อยู 4) ตรวจสอบความสมบูรณของปากวัดกอนการใชงาน 5) อยาลากปากวัดไปมาบนชิ้นงาน จะทําใหปากวัดเกิดการสึกได การบํารุงรักษาเวอรเนียคาลิปเปอร 1) ไมควรเก็บเวอรเนียคาลิปเปอรใหอยูในที่อุณหภูมิสงู เกินไป หรืออุณหภูมิต่ําเกินไป 2) วางเวอรเนียคาลิปเปอรบนผา หรือแผนไม 3) ทําความสะอาดและทาน้ํามันกันสนิมทุกครัง้ หลังจากเลิกใชงาน 4) ถาปากวัดนอกหรือในของเครื่องเกิดรอยบิ่น ใหทําการขัดดวยหินน้ํามันละเอียด 1.5 โปรแทรกเตอรวัดมุม เปนเครื่องมือวัดแบบละเอียด ใชสําหรับวัดขนาดของมุมที่เกิดขึ้นบนชิ้นงาน วัดระยะทาง กําหนดมุม รวมไปถึงการสรางมุมตามแบบที่ตองการ ใบวัดมุมของโปรแทรกเตอรชนิดนี้จะสามารถวัดขนาดของมุม ไดตั้งแต 0 - 180 องศา จึงเหมาะสําหรับการวัดชิ้นงานตาง ๆ เชน วัดมุมของมีดกลึงและมีดใส การรางเสนแบงมุม บนโลหะแผน เปนตน

ภาพที่ 1.9 โปรแทรกเตอรวัดมุม วิธีการใชงาน 1) วางใบวัดมุมเขากับชิ้นงาน โดยใหจุดกึ่งกลางของใบวัดมุมตรงกับยอดมุมที่ตองการวัด ดังภาพ

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.10 วางใบวัดมุมของโปรแทรกเตอรวัดมุมเขากับชิ้นงาน 2) หมุนกานใบวัดมุมแนบกับชิ้นงาน 3) หมุนสกรูปรับล็อกใหแนน เพือ่ ปองกันการคลาดเคลื่อนของคาที่วัดได 4) อานคาสเกล โดยเริ่มจากเสนศูนยองศาของดานที่กานใบวัดมุมแนบกับชิ้นงานไปจนถึงขีดชี้ตํา แหนง ที่ปลายยอดแขนวัดตรงกับเสนแบงองศา จากภาพจะเห็นวา มุมของชิ้นงานที่วัดไดมีขนาด 120 องศา

ภาพที่ 1.11 หมุนกานใบวัดมุมแนบกับชิ้นงาน และอานคาสเกล 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการดูแลและบํารุงรักษาโปรแทรกเตอรวัดมุม หลังการใชงานใหเช็ดทําความสะอาด แลวทาดวยน้ํามันกันสนิมบาง ๆ และเก็บใสซองหรือกลองใหเรียบรอย ขอควรระวังในการใชงานโปรแทรกเตอรวัดมุม 1) ระวังอยาใหโปรแทรกเตอรวัดมุมตก 2) ชิ้นงานที่นํามาวัดจะตองลบครีบคมกอนทุกครั้ง 3) ระวังอยาใหปลายตะขอของกานใบวัดมุมบิดงอ 4) ขณะใชงานสกรูปรับล็อก จะตองปรับใหกานใบวัดมุมหมุนดวยความฝดที่เหมาะสม 5) หามวัดชิ้นงานที่รอ น และในขณะที่ชิ้นงานกําลังหมุน 6) ใบวัดมุมและกานใบวัดมุมจะตองประกบแนบสนิทกับชิ้นงาน 1.6 เหล็กขีด เปนเหล็กที่ใชขีดทําเครื่องหมายลงบนผิวหนาของวัสดุ ทําดวยแทงเหล็กชุบแข็ง โดยผานการชุบแข็ง สูงขึ้นมาประมาณ 2 นิ้ว ปลายแหลมของเหล็กขีด มีมุม 15 - 20 องศา เหล็กขีดสวนใหญมีความยาว 6 นิ้วถึง 10 นิ้ว ซึ่งมีการออกแบบไวหลายแบบตามลักษณะของการใชงาน

ภาพที่ 1.12 เหล็กขีดชนิดตาง ๆ วิธีการใชงาน 1) กอนใชงานตรวจสอบปลายใหแหลมอยูเ สมอ 2) ยึดหรือวางชิ้นงานใหมั่นคง กอนนําเหล็กขีดทําเครื่องหมายบนชิ้นงาน 3) ใชเหล็กขีดรางแบบบนชิ้นงานตามแบบที่ตองการ เพื่อความแมนยําควรใชงานรวมกับฉากหรือบรรทัด วิธีการดูแลและบํารุงรักษาเหล็กขีด หลังการใชงานใหเช็ดทําความสะอาด แลวทาดวยน้ํามันกันสนิมบาง ๆ และเก็บใสซองหรือกลองใหเรียบรอย ขอควรระวังในการใชงานเหล็กขีด 1) ตองใหปลายของเหล็กขีดแหลมอยูเสมอ 2) หามใชเหล็กขีดในขณะที่ชิ้นงานมีการเคลื่อนที่ หรือในขณะที่ชิ้นงานมีอุณหภูมิที่สงู

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.7 วงเวียน เปนเครื่องมือที่ใชในการถอดแบบ เขียนสวนโคงและวงกลม ตัววงเวียนทําดวยเหล็กแข็ง ปลายของวงเวียน จะต อ งแหลมคมและสามารถปรับ ขนาดขาวงเวี ย นได ต ามความกว างของวงเวี ยน วงเวี ย นมี อยู ห ลายชนิด เพื่อใหเหมาะสมกับการนําไปใชงาน

ภาพที่ 1.13 วงเวียนชนิดตาง ๆ วิธีการใชงาน 1) กอนใชงานตรวจสอบปลายใหแหลมอยูเ สมอ 2) ยึดหรือวางชิ้นงานใหมั่นคง กอนใชวงเวียนขีดบนชิ้นงาน 3) ใชขาดานหนึ่งของวงเวียนยึดที่จุดศูนยกลาง ปรับความกวางของขาวงเวียนใหไดตามแบบที่ตอ งการ กอนที่จะลากเสนโคง วาดวงกลม หรือถอดแบบชิ้นงาน วิธีการดูแลและบํารุงรักษาวงเวียน หลังการใชงานใหเช็ดทําความสะอาด แลวทาดวยน้ํามันกันสนิมบาง ๆ และเก็บใสซองหรือกลองใหเรียบรอย ขอควรระวังในการใชงานวงเวียน 1) ตองใหปลายของวงเวียนแหลมอยูเ สมอ 2) หามใชวงเวียนในขณะที่ชิ้นงานมีการเคลื่อนที่ 3) ระวังอยาทําวงเวียนตก เพราะอาจทําใหวงเวียนคดงอ 1.8 เหล็กตอกรางแบบและเหล็กตอกนําศูนย 1) เหล็กตอกรางแบบ ทําจากเหล็กกลาคารบอนที่ผานการชุบแข็งแลว ใชสําหรับตอกเพื่อทําเครื่องหมาย ถายแบบจากงานที่เขียนบนกระดาษเขียนแบบลงบนแผนโลหะ เพื่อใหเกิดจุดหรือรอยลึกบนแผนโลหะ ตามลัก ษณะรูป รา ง ชิ้น งาน หรือ ตอกเพื่อ ใชเ ปน จุด ศูน ยก ลางในการเขีย นสว นโคง ดว ยวงเวียน ลักษณะปลายแหลมเปนมุม 50 - 60 องศา

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.14 เหล็กตอกรางแบบ 2) เหล็กตอกนําศูนย มีลักษณะคลายกับเหล็กตอกรางแบบ แตตางกันที่รูปรางของมุมสวนปลายสําหรับ ตอกบนแผนงานจะทํามุม 90 องศา ใชทําเครื่องหมายสําหรับงานเจาะดวยดอกสวาน

ภาพที่ 1.15 เหล็กตอกนําศูนย วิธีการใชงาน 1) ทําการรางแบบเพือ่ หาตําแหนงในการตอกลงบนชิ้นงาน 2) จรดปลายเหล็กตอกที่ตําแหนงที่รางไว โดยเอียงเล็กนอยเพือ่ ใหมองเห็นปลาย 3) คอย ๆ ตั้งเหล็กตอกขึ้นจนตั้งฉากกับชิ้นงาน แลวใชคอนตอกเบา ๆ ทีป่ ลายดานบน 4) เมือ่ ไดตําแหนงที่ตองการแลว ใหวางปลายเหล็กตอกไวที่ตําแหนงเดิม แลวตอกใหแรงอีกครั้ง เพื่อความชัดเจน ของตําแหนง ขอควรระวังในการใชงานเหล็กตอกรางแบบและเหล็กตอกนําศูนย 1) กอนใชงานตรวจสอบปลายใหแหลมอยูเ สมอ 2) ควรใชคอนตอกเบา ๆ กอน เพื่อใหสามารถแกไขไดเมื่อตอกไมตรงตําแหนงที่ตองการ 3) หามใชเหล็กตอก ตอกชิ้นงานในขณะที่ชิ้นงานมีการเคลื่อนที่ วิธีการดูแลและบํารุงรักษาเหล็กตอกรางแบบและเหล็กตอกนําศูนย หลังใชงานเหล็กตอกทั้งสองแบบเสร็จแลว ใหทําความสะอาดทั่วตัวเหล็กตอก หลังจากนั้นชโลมน้ํามันบาง ๆ แลวเก็บใสกลองเพื่อปองกันไมใหปลายเกิดความเสียหายจากการตกหลนได

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1.9 ระดับน้ํา ใชสําหรับวัดพื้นผิววาไดระดับหรือไม โดยมีหลอดแกว 3 หลอดวางไวตั้งฉากกัน และทแยงมุม 45 องศา วัสดุทํามาจากอะลูมิเนียมหรือพลาสติก ยาวประมาณหนึ่งศอก มีชองใส ๆ หลายชอง แตละชองจะมีหลอดแกว ที่มีของเหลวมีสีอยูขางใน ในของเหลวจะมีฟองอากาศขนาดเทาเมล็ดถั่ว เมื่อลองขยับระดับน้ําดู จะสังเกตเห็นวา ฟองอากาศนั้นจะเคลื่อนที่ไปดวย ซึ่งระดับน้ํานั้นมีอยูหลายขนาด โดยสวนใหญใ ชข นาด 2 ฟุต (60 เซนติเ มตร) ขนาด 4 ฟุต (1.2 เมตร) หรือขนาด 6 ฟุต (1.8 เมตร) สําหรับประตูและหนาตาง โดยระดับน้ําจะมีตาวัว (แปน วงกลม) ใชแสดงทิศทางของการเอียง

ภาพที่ 1.16 ระดับน้ํา วิธีการใชงาน ใหสังเกตที่ระดับน้ํา โดยมีหลอดแกวที่ใชวัดระดับในแนวราบ และหลอดแกวที่ใชวัดระดับในแนวดิ่ง วาง ระดับน้ําลงบนพื้นผิวที่ตองการตรวจสอบแลวสังเกตฟองอากาศ ถาฟองอากาศลอยไปอยูที่ตรงกลางของหลอดแกว แสดงวา พื้นไดระดับในแนวราบแลว แตถาฟองอากาศไมอยูตรงกลาง แสดงวา พื้นเอียงไปดานใดดานหนึ่ง ถาตองการรูวาพื้นเอียงทางใดและเอียงมากแคไหน ใหลองยกปลายของระดับน้ําขึ้นดานหนึ่ง แลวสังเกตวา ฟองอากาศเลื่อ นไปทางไหน เมื่อ ฟองอากาศอยูตรงกลาง จะเห็นวามีชอ งวางระหวางพื้นกับ ขอบของระดับ ผูปฏิบัติงานจะทราบไดวา พื้นเอียงมากเทาไร หากพื้ นได ระดั บแนวราบแลว ให ห มุนระดับน้ําไปที่ 90 องศา แลวตรวจดูอีกครั้ง โดยพื้นที่ไดระดับนั้น ฟองอากาศจะตองอยูตรงกลางหลอดแกวเสมอ ไมวาจะหมุนระดับน้ําไปทางใดก็ตาม วิธีการดูแลและบํารุงรักษา ควรถือดวยความระมัดระวังไมทําใหตกหลน เพราะจะทําใหลูกปดน้ําเสียหายและทําการวัดระดับไมได

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. เครื่องมือวัดอุณหภูมิ 2.1 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส เปนเครื่องมือที่ใชตรวจวัดอุณหภูมิของพื้นผิวในระยะไกล ซึ่งตรวจวัดไดจากการแผรังสี ของสเปกตรัม เหมาะสําหรับกับการวัดอุณหภูมิของวัตถุที่เคลื่อนที่ได หรือพื้นผิวที่ไมสามารถสัมผัสได

ภาพที่ 1.17 เครื่องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส 2.2 ชอลกวัดอุณหภูมิ หรือสีวัดอุณหภูมิ ใชสําหรับตรวจสอบอุณหภูมิในชวงอุนเครื่องกอนเริ่มกระบวนการ หรือหลัง เสร็จสิ้นกระบวนการ โดยใชชอลกแตะลงบนพื้นผิวที่มีอุณหภูมิสูงตามที่กําหนด เนื้อชอลกจะละลายสามารถขีดเขียน เปนเครื่องหมายบนพื้นผิวโลหะได

ภาพที่ 1.18 ชอลกวัดอุณหภูมิ 2.3 เทอรโมคัปเปล ใชสําหรับวัดอุณหภูมิ โดยใชหลักการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิหรือความรอน เปนแรงเคลื่อนไฟฟา ซึ่งประกอบดวย ลวดโลหะตัวนํา 2 ชนิดที่แตกตางกันทางโครงสรางของอะตอม ปลายขางหนึ่งเปนจุดวัดอุณหภูมิ (Measuring Point หรือ Hot Junction : T1) และจะมีปลายอีกขางหนึ่งของลวดโลหะปลอยวางเปนจุดอางอิง (Cold Junction : T2) นําปลายทั้ง 2 เชื่อมเขาดวยกัน หากจุดวัดอุณหภูมิและจุดอางอิงมีอุณหภูมิตางกันจะทําให มีการนํากระแสในวงจรเทอรโมคัปเปลทั้งสองขาง เมื่อตอเขากับจอแสดงผลก็จะสามารถแสดงอุณหภูมิได

ภาพที่ 1.19 เทอรโมคัปเปล 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอควรระวัง 1) ศึกษาวิธีใชเครื่องมือวัดใหเขาใจ 2) ตองเลือกใชใหถูกกับชนิดและประเภทของการวัด วิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัด เครื่องมือวัดเมือ่ ใชงานเสร็จแลว ผูปฏิบัติงานตองดูแลรักษาใหถูกวิธีซึ่งมีขั้นตอนงาย ๆ ดังนี้ 1) ทําความสะอาดชิ้นงาน โดยขจัดสิ่งสกปรก และเศษผงออกใหหมดกอนวัดงาน 2) กอนทําการวัดทุกครั้ง ควรปรับตั้งยานการวัดใหถูกตองเสมอ 3) เครื่องวัดที่ใชไฟฟา หามใหเครื่องวัดสัมผัสน้ําหรือไดรับความรอนมากเกินไป 4) ถาหากไมไดใชเครื่องวัดเปนเวลานาน ควรถอดแบตเตอรี่ออก 5) ไมควรใชเครื่องมือวัดผิดประเภท 3. อุปกรณการวัดแนวเชื่อม 3.1 เครื่องมือและอุปกรณขยายภาพ เชน แวนขยาย มีสวนประกอบเปนเลนสรูปแบบตาง ๆ ใชในการตรวจสอบรอยเชือ่ ม ดวยสายตา ชวยขยายภาพใหใหญขึ้น 3.2 เครื่องมือและอุปกรณสองสวา ง ชวยเพิ่ม ความสวางในบริเ วณตรวจสอบงานเชื่อ มที่มีแสงสวางไมเพียงพอ โดยอุปกรณที่ใชไดแก ไฟฉาย หลอดไฟฟลูออเรสเซนต ซึ่งเกิดความรอนและเงานอยกวาหลอดไสหรือหลอดไฟรุนใหม ที่สามารถปรับความเขมของแสงได 3.3 เครื่องมือและอุปกรณวัดคา ใชสําหรับตรวจวัดขนาดความกวาง ความนูนของแนวเชื่อม การหลอมลึกและจุดบกพรอง ซึ่งเครื่องมือวัดมีทั้งวัดหยาบและวัดละเอียด ไดแก 1) เวอรเนียวัดแนวเชื่อม ใชสําหรับวัดแนวเชื่อมตามมาตรฐานที่กําหนด เชน ความกวางแนวเชื่อมตอชน แนวเชื่อมตอตัวที และวัดความสูง ความกวางของแนวซึมลึกงานเชื่อมตอชน 2) บรรทัด ใชสําหรับวัดขนาดความกวางของแนวเชื่อม และแนวซึมลึกรอยต อบากหนางาน ขนาดของ ขอบกพรองตาง ๆ โดยใชรวมกับอุปกรณวัดชนิดอื่น ๆ 3) เกจวัดแนวเชื่อม ใชสําหรับการวัดความกวาง ความสูง แนวซึมลึก ความลึกรอยตอมุมองศา ทั้งงานเชื่อมตอชน และงานเชื่อมตอตัวที 3.4 เครื่องมือและอุปกรณบันทึกขอมูล ใชบันทึกผลการตรวจสอบ เพื่อเปนหลักฐานยืนยันผลการตรวจสอบ เชน การบันทึกเอกสาร เครื่องบันทึกเสียง กลองถายรูป เปนตน 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3.5 เครื่องมือและอุปกรณตรวจสอบอื่น ๆ คือ เครื่อ งมือ และอุป กรณชวยตรวจสอบสายตาที่อ อกแบบใชง าน พิเ ศษเฉพาะ เปนกลุม เครื่อ งมือ ที่ใชตรวจสอบในรูห รือ ทอ ที่ม องดวยตาเปลาไมเ ห็น ไดแก กลอ งบอรสโคป เครื่องมือวัดปริมาณเฟอรไรท เครื่องมือชวยขยายตรวจดูโครงสราง เปนตน

ภาพที่ 1.20 อุปกรณการวัดแนวเชื่อม วิธีการใชงาน ในการตรวจสอบแบบพินิจ จําเปนตองใชอุปกรณหลายชนิดในการชวยตรวจสอบ - ใชเวอรเนียหรือเกจวัดแนวเชื่อมในการวัดความกวาง ความสูง แนวซึมลึก ความลึกรอยตอ และมุมองศา - ใชไฟฉาย เพื่อเพิ่มความสวางในบริเวณตรวจสอบงานเชื่อมที่มีแสงสวางไมเพียงพอ - ในกรณีที่จุดบกพรองมีขนาดเล็ก จําเปนตองใชแวนขยายหรือกลองบอรสโคปเขามาชวย

ภาพที่ 1.21 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยเกจวัดแนวเชื่อม แบบ Automatic Weld Gauge

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 1.22 การตรวจสอบแนวเชื่อมดวยเกจวัดแนวเชื่อม แบบ Bridge Cam Weld Gauge ขอควรระวัง ไมควรนําเครื่องมือไปใชผิดประเภท เชน การวัดความยาวของชิ้นงานควรใชบรรทัด ไมควรนําเกจวัดชิ้นงาน มาใช อาจทําใหเกิดความเสียหายได เปนตน วิธีการดูแลและบํารุงรักษา อุปกรณที่ทําจากโลหะ เชน เวอรเนียคาลิปเปอร เกจวัดแนวเชื่อม ใหทําความสะอาดดวยผาชุบน้ําแลวเช็ด ใหแหงเพื่อยืดอายุการใชงาน สําหรับอุปกรณอื่น ๆ เชน ไฟฉาย กลองถายรูป ควรตรวจสอบใหสภาพพรอมใชงาน ตลอดเวลา

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. เครื่องมือวัดชนิดใดเหมาะกับการวัดขนาดความโตของทอ (Pipe) ก. เวอรเนียคาลิปเปอร ข. โปรแทรกเตอร ค. ฉากเหล็ก ง. บรรทัด 2. หากตองการวัดอุณหภูมทิ ไี่ มสามารถสัมผัสพื้นผิวงานได ควรใชเครื่องมือวัดอุณหภูมิชนิดใด ก. เทอรโมคัปเปล ข. ชอลกวัดอุณหภูมิ ค. เครื่องวัดอุณหภูมิแบบสัมผัส ง. เครื่องวัดอุณหภูมิแบบดินสอ 3. ถาตองการวัดระดับของชิ้นงานทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ควรเลือกใชเครื่องมือใด ก. ฉาก ข. บรรทัดเหล็ก ค. ระดับน้ํา ง. เวอรเนียคาลิปเปอร 4. ถาตองการวัดความกวาง ความสูง แนวซึมลึก หรือความลึกรอยตอมุมองศาของงานเชื่อม ควรเลือกใชเครื่องมือใด ก. ฉาก ข. บรรทัดเหล็ก ค. ระดับน้ํา ง. เกจวัดแนวเชื่อม

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. ขอใดบอกวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดถูกตอง ก. ไมควรปรับตั้งยานการวัดเอง เพราะจะทําใหผลของการวัดคลาดเคลือ่ นได ข. เครื่องมือวัดที่ใชแบตเตอรี่ ถาไมใชเปนเวลานานควรถอดแบตเตอรี่ออก ค. หากปากนอกหรือปากในของเวอรเนียคาลิปเปอรเกิดรอยบิน่ ใหเปลี่ยนใหมกอนทําการวัด ง. สามารถใชดามฉากเคาะหรือตอกชิ้นงานแทนคอนได

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การใชบรรทัดเหล็กและโปรแทรกเตอรวัดมุม 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกใชบรรทัดเหล็กและโปรแทรกเตอรวัดมุม วัดขนาดแบบรูปชิ้นงานตอไปนี้ แบบชิ้นงานที่ 1

แบบชิ้นงานที่ 2

แบบชิ้นงานที่ 3

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

1. จงวัดขนาดความยาวของชิ้นงานทั้ง 3 แบบ ในหนวยมิลลิเมตรและเซนติเมตร ดวยบรรทัดเหล็กและบันทึกผลลงใน ตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล ชิ้นงานที่ 1 จุด หนวย

A

B

C

E

F

H

A

B

C

D

E

F

A

B

C

D

E

F

มิลลิเมตร เซนติเมตร ชิ้นงานที่ 2 จุด หนวย มิลลิเมตร เซนติเมตร ชิ้นงานที่ 3 จุด หนวย มิลลิเมตร เซนติเมตร 2. จงวัดขนาดมุมของแบบชิ้นงานที่ 1 ดวยโปรแทรกเตอรวัดมุมและบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล จุด หนวย

D

องศา 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

G


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.1 การใชบรรทัดเหล็กและโปรแทรกเตอรวดั มุม 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัตงิ าน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. บรรทัดเหล็ก จํานวน 1 อัน 2. โปรแทรกเตอรวัดมุม จํานวน 1 อัน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แบบชิ้นงานที่ 1 จํานวน 1 ชิ้น 2. แบบชิ้นงานที่ 2 3. แบบชิ้นงานที่ 3

จํานวน 1 ชิ้น จํานวน 1 ชิ้น

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชบรรทัดเหล็กและโปรแทรกเตอรวัดมุม ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เครื่องมือวัดและแบบรูปชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือและแบบชิ้นงานที่ใชในการวัด ระวั งไม ให เครื่ องมื อวั ด และชิ้นงานตก เพราะอาจ ทําใหบิ่นหรือเสียหายได

บรรทัดเหล็ก

โปรแทรกเตอรวัดมุม

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

ชิ้นงานที่ 3

2. วัดความยาวจุด A ของแบบชิ้นงานที่ 1

วัดความยาวของแบบชิ้นงานที่ 1 ในหนวย ไมนําบรรทัดเหล็กขีด เซนติเมตรและมิลลิเมตร ดวยบรรทัดเหล็ก บนชิน้ งาน

3. วางบรรทัดเหล็กทาบบนชิ้นงาน และอานคาสเกล ทําการวัดโดยวางบรรทัดเหล็กทาบบนชิ้นงาน ควรอานคาสเกลบรรทัด ที่ได

อ านค าสเกลที่ ได แล วบั นทึ ก ผลในตาราง เหล็กในระดับสายตา บันทึกผล

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วัดขนาดมุม D ของแบบชิ้นงานที่ 1

คําอธิบาย

วัดขนาดมุม D ของแบบชิ้นงานที่ 1 โดยใช ไม นํ าโปรแทรกเตอร วั ด โปรแทรกเตอรวัดมุม

5. วางโปรแทรกเตอรวัดมุมแนบกับชิ้นงาน

ขอควรระวัง มุมขีดลงบนชิ้นงาน

วางใบวั ดมุ ม ของโปรแทรกเตอร แ นบกั บ อยาใหตะขอของกานใบ ชิ้นงานที่ตองการวัด

วัดมุมบิดงอ และตองปรับ สกรูปรับล็อก ใหกานใบ วัดมุมหมุนดวยความฝด ที่เหมาะสม

6. หมุนกานใบวัด และอานคาสเกลที่ได

หมุนกานใบวัดแนบกับชิ้นงาน อานคาสเกลที่ได ควรหมุนสกรูป รับ ล็อก แลวบันทึกผลในตารางบันทึกผล

ให แ น น เพื่ อ ป อ งกั น การคลาดเคลื่อนของคา ที่วัดได และอานคาสเกล ในระดับสายตา

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. วัดใหครบทั้ง 3 ชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วัดความยาวและขนาดของมุมใหครบทุกจุด ห า มวั ด ชิ้ น งานที่ ร อ น ในแต ล ะชิ้ น งาน แล ว บัน ทึก ผลในตาราง หรื อ ในขณะที่ ชิ้ น งาน บันทึกผล กําลังเคลื่อนที่

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

ชิ้นงานที่ 3

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

2

ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

ความยาวชิ้นงานแตละจุดในหนวยเซนติเมตรและ

วัดความยาวชิ้นงานในหนวยมิลลิเมตรและเซนติเมตร

มิลลิเมตร

ไดถูกตอง ใหจุดละ 2 คะแนน วัดความยาวชิ้นงานในหนวยมิลลิเมตรและเซนติเมตร ไดถูกตองหนวยใดหนวยหนึ่ง ใหจุดละ 1 คะแนน

36

วัดความยาวชิ้นงานในหนวยมิลลิเมตรและเซนติเมตร ไมถูกตองทั้งสองหนวย ให 0 คะแนน 3

ขนาดมุมของชิ้นงานแตละจุดในหนวยองศา

วัดขนาดมุมของชิ้นงานถูกตอง ใหจุดละ 1 คะแนน

2

วัดขนาดมุมของชิ้นงานไมถูกตอง ให 0 คะแนน 4

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย

3

ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 5

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน

2

ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

45

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 32 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.2 การใชเวอรเนียคาลิปเปอร 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกใชเวอรเนียคาลิปเปอรวัดขนาดแบบรูปชิ้นงานตอไปนี้ แบบชิ้นงานที่ 1

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบชิ้นงานที่ 2

1. จงวัดความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงานทั้ง 2 แบบ ในหนวยมิลลิเมตร ดวยเวอรเนียคาลิปเปอรและบันทึกผล ลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล ชิ้นงานที่ 1 จุด

A

หนวย

B

C

D

E

F

มิลลิเมตร ชิ้นงานที่ 2 จุด หนวย

A

B

C

D

มิลลิเมตร

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

E

F

G


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.2 การใชเวอรเนียคาลิปเปอร 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลทีไ่ มเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เวอรเนียคาลิปเปอร จํานวน 1 อัน 1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แบบชิ้นงานที่ 1 จํานวน 1 ชิ้น 2. แบบชิ้นงานที่ 2

จํานวน 1 ชิ้น

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชเวอรเนียคาลิปเปอร ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เครื่องมือวัดและแบบรูปชิ้นงาน

คําอธิบาย

เตรียมเวอรเนียคาลิปเปอรและแบบชิ้นงาน ระวัง ไมใหเ วอร เ นีย ที่ใชในการวัด

เวอรเนียคาลิปเปอร

ชิ้นงานที่ 1

ขอควรระวัง คาลิปเปอรและชิ้นงานตก เพราะอาจทําใหบิ่นหรือ เสียหายได

ชิ้นงานที่ 2

2. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางภายนอกจุด A ของแบบชิ้นงานที่ 1

วัดความยาวเสนผานศูนย ก ลางของแบบ ตรวจสอบความสมบูรณ ชิ้นงานที่ 1 ในหนวยมิลลิเมตร โดยใชเวอรเนีย ของปากวัดกอนใชงาน คาลิปเปอร

3. นําเวอรเนียคาลิปเปอรหนีบชิ้นงาน

และสเกล 0 ของสเกลหลัก และสเกลเลื่อนตองตรง ตามตําแหนง

อาปากวัดนอกของเวอรเนียคาลิปเปอรออก อยาลากปากวัดไปมาบน และนําหนีบชิ้นงาน

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ชิ้ นงาน จะทําใหปากวั ด เกิดการสึกได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงาน และอานคาสเกล หมุนสเกลเลื่อนใหชิดชิ้นงานมากที่สุด แลว ควรหมุนสกรูป รับล็อก ที่ได

หมุนสกรูล็อก อานคาสเกลที่ไดแลวบันทึกผล ใ หแ นน เ พื ่อ ปอ ง กัน ในตารางบันทึกผล การคลาดเคลื่อ นของ คาที่วัดได

5. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางภายในจุด A ของแบบชิ้นงานที่ 1

วัดเสนผานศูนยกลางภายในจุด A ของแบบ ไมนําเวอรเนียคาลิปเปอร ชิ้นงานที่ 2 ขีดลงบนชิ้นงาน

6. สอดปากวัดในของเวอรเนียคาลิปเปอรเขาในรู สอดปากวัด ในของเวอรเ นีย คาลิป เปอร ควรหมุนสกรูป รับ ล็อก ของชิ้นงาน เขาไปในรูของชิ้นงาน ดันสเกลเลื่อนใหพอดี ใ หแ นน เ พื ่อ ปอ ง กัน กับชิ้นงาน และหมุนสกรูปรับล็อก อานคาสเกล การคลาดเคลื่อ นของ ที่ไดแลวบันทึกผลในตารางบันทึกผล คาที่วัดได

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 7. วัดใหครบทั้ง 2 ชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วัดความยาวเสนผานศูนยกลางใหครบทุกจุด ห า มวั ด ชิ้ น งานที่ ร อ น ในแต ล ะชิ้ น งาน แล ว บัน ทึก ผลในตาราง หรื อ ในขณะที่ ชิ้ น งาน บันทึกผล กําลังเคลื่อนที่

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

2

ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

ความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงานแตละจุดในหนวย

วัดความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงานในหนวย

มิลลิเมตร

มิลลิเมตร ไดถูกตอง ใหจุดละ 2 คะแนน วัดความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงานในหนวย มิลลิเมตร คลาดเคลื่อน ±0.1 มิลลิเมตร

26

ใหจุดละ 1 คะแนน วัดความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงานในหนวย มิลลิเมตร คลาดเคลื่อนมากกวา ±0.1 มิลลิเมตร ให 0 คะแนน 3

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย

3

ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 4

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน เก็ บ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ เ ข า ที่ ไ ด ถู ก ต อ ง แต ไ ม

2

ครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

33

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 23 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 1.3 การใชเครื่องมือวัดละเอียด 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือวัดไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกใชบรรทัดเหล็ก โปรแทรกเตอรวัดมุม และเวอรเนียคาลิปเปอรวัดขนาดแบบรูปชิ้นงานตอไปนี้ แบบชิ้นงานที่ 1

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

แบบชิ้นงานที่ 2

1. จงวัดความยาวของชิ้นงานทั้ง 2 แบบ ในหนวยมิลลิเมตร ดวยบรรทัดเหล็ก และบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล ชิ้นงานที่ 1 จุด หนวย

A

B

C

D

E

F

G

A

D

F

G

I

J

M

มิลลิเมตร ชิ้นงานที่ 2 จุด หนวย มิลลิเมตร

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. จงวัดความยาว และเสนผานศูนยกลางวงกลมของชิ้นงานทั้ง 2 แบบ ในหนวยมิลลิเมตร ดวยเวอรเนียคาลิปเปอร และบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล ชิ้นงานที่ 1 จุด

H

หนวย

J

มิลลิเมตร ชิ้นงานที่ 2 จุด หนวย

B

C

E

H

K

L

มิลลิเมตร 3. จงวัดขนาดมุมของแบบชิ้นงานที่ 1 ดวยโปรแทรกเตอรวัดมุม และบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล จุด

I

หนวย องศา

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

N


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 1.3 การใชเครื่องมือวัดละเอียด 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลทีไ่ มเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. บรรทัดเหล็ก จํานวน 1 อัน 2. โปรแทรกเตอรวัดมุม 3. เวอรเนียคาลิปเปอร

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน

1.4 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. แบบชิ้นงานที่ 1 จํานวน 1 ชิ้น 2. แบบชิ้นงานที่ 2 จํานวน 1 ชิ้น

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชเครื่องมือวัดละเอียด ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เครื่องมือวัดและแบบรูปชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องมือและแบบชิ้นงานที่ใชในการวัด ระวัง ไมใหเ ครื่องมือวัด และชิ้นงานตก เพราะอาจ ทําใหบิ่นหรือเสียหายได

บรรทัดเหล็ก

โปรแทรกเตอรวัดมุม

เวอรเนียคาลิปเปอร

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

2. วัดความยาวของชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก

วัดความยาวของแบบชิ้นงานดวยบรรทัดเหล็ก ไม นํ า บรรทั ด เหล็ ก ขี ด ในหน ว ยมิ ล ลิ เ มตร แล ว บั น ทึ ก ผลลงใน บนชิ้นงาน ตารางบันทึกผล

3. วัดขนาดมุมของชิ้นงานดวยโปรแทรกเตอรวัดมุม วัดขนาดมุมของชิ้นงานดวยโปรแทรกเตอรวดั มุม ไม นํ าโปรแทรกเตอร วั ด แลวบันทึกผลลงในตารางบันทึกผล มุมขีดบนชิ้นงาน

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

4. วัดความยาวเสนผานศูนยกลางชิ้นงานดวย

วัดความยาวเสนผานศูนยกลางของชิ้นงาน ไมนําเวอรเนียคาลิปเปอร

เวอรเนียคาลิปเปอร

ดว ยเวอรเ นีย คาลิป เปอร แลว บัน ทึก ผล ขีดบนชิ้นงาน ลงในตารางบันทึกผล

5. วัดใหครบทั้ง 2 ชิ้นงาน

วัดความยาวและขนาดของมุมใหครบทุกจุด ห า มวั ด ชิ้ น งานที่ ร อ น ในแต ล ะชิ้ น งาน แล ว บัน ทึก ผลในตาราง หรื อ ในขณะที่ ชิ้ น งาน บันทึกผล

ชิ้นงานที่ 1

ชิ้นงานที่ 2

66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

กําลังเคลื่อนที่


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 2

ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องมือและอุปกรณไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

ความยาวชิ้นงานแตละจุดในหนวยมิลลิ เมตร (วัดดวย วัดความยาวชิ้นงานในหนวยมิลลิเมตรไดถูกตอง บรรทัดเหล็ก) ใหจุดละ 1 คะแนน

14

วัดความยาวชิ้นงานในหนวยมิลลิเมตรไมถูกตอง ให 0 คะแนน 3

ความยาว และเสน ผา นศูน ยก ลางวงกลมของชิ้นงาน วัดความยาว และเสนผานศูนยกลางวงกลมของชิ้นงาน ในหนวยมิลลิเมตร (วัดดวยเวอรเนียคาลิปเปอร)

18

ในหนวยมิลลิเมตรไดถูกตอง ใหจุดละ 2 คะแนน วัดความยาว และเสนผานศูนยกลางวงกลมของชิ้นงาน ในหนวยมิลลิเมตร คลาดเคลื่อน ±0.1 มิลลิเมตร ใหจุดละ 1 คะแนน วัดความยาว และเสนผานศูนยกลางวงกลมของชิ้นงาน ในหนวยมิลลิเมตร คลาดเคลื่อนมากกวา ±0.1 มิลลิเมตร ให 0 คะแนน

4

ขนาดมุมของชิ้นงานในหนวยองศา

วัดขนาดมุมของชิ้นงานถูกตอง ใหจุดละ 1 คะแนน วัดขนาดมุมของชิ้นงานไมถูกตอง ให 0 คะแนน

1

5

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน

3

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

40

67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 28 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0920720202 การใชเครื่องมือทั่วไป (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกวิธีการใชคีม คีมล็อก แคลมป ปากกา การใชตะไบและเลื่อยมือ การใชคอนและสกัดไดอยางถูกตอง 2. บอกการใชดอกสวานและเครือ่ งเจาะ การใชประแจแบบตาง ๆ การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ การใชแปรงลวด ไดอยางถูกตอง 3. บอกการใชหินเจียระไนมือ (Hand Grinder) ไดอยางถูกตอง 4. บอกการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือไดอยางถูกตอง 5. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

คีม คีมล็อก แคลมป ปากกา ตะไบและเลื่อยมือ คอนและสกัด ดอกสวานและเครื่องเจาะ ประแจ ชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ แปรงลวด หินเจียระไนมือ (Hand Grinder) การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือ

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชิ้น 2) ใบเจียชนิดบาง จํานวน 1 ใบ 3) ใบเจียชนิดหนา จํานวน 1 ใบ 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เครื่องเจียมือ จํานวน 1 เครื่อง 2) ประแจสําหรับขันใบเจีย จํานวน 1 อัน 3) ปากกาจับชิ้นงาน จํานวน 1 ตัว

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอ ยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมทิก ระดับ ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.dsd.go.th/standard/Region/ Download_Doc/9666 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dsd.go.th/standard/Region/ Doc_ShowDetails/6196 กฤษณะ ทางสกุล, ปยะพงษ บางสรอย, สุรัตน คําภูเมือง, อนิวัฒน ไชยาผาม, อภิสิทธิ์ มูลเอก และอัครดล หอชัย. ม.ป.ป. เครื่ อ งเจาะ. [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก : https://sites.google.com/site/krrmwithikarphlitt/neuxhasara/bth-thi-3-kheruxng-ceaa บริษัท ปูนซิเมนตไทย จํากัด. 2558. ศัพทคนสรางบาน ลูกหมู. [Online].Available : http://www.scgbuilding materials.com/th/LivingIdea/NewBuild/Grinder.aspx วสวัชร นาคเขียว และ อนิรุท ไชยจารุวนิช. 2559. บทที่ 5 เครื่องเจาะและงานเจาะรู. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://ie.eng.cmu.ac.th/IE2014/elearnings/2016_08/195/บทที่5%20เครื่องเจาะและงานเจาะรู.pdf ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาขอนแกน กระทรวงศึกษาธิการ. 2554. เครื่องผอนแรง. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.kksci.com/E-Book/pdf/5.pdf

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมตัวอยางเครื่องมือทั่วไปเพือ่ ใชประกอบ การสอน และตรวจสอบความพรอมใชงาน ของเครื่องมือ เชน คีม แคลมป ตะไบ คอน ประแจ เครื่องเจีย เปนตน 4. ตัวอยางชิ้นงานที่ขัดดวยเครื่องเจียมือ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องมือทั่วไป ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง การใชเครื่องมือ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทั่วไป ขั้นสอน 1. แจกคู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่อ ง การใช เ ครื่อ งมือ 1. รับ คูมือ ผูรับ การฝก เรื่อ ง การใชเ ครื่อ งมือ ทั่วไป หนาที่ 58 - 105 ไปศึกษา ทั่วไป หนาที่ 58 - 105 2. สอนเนื้อหาเรื่อง การใชเครื่องมือทั่วไป โดยใช 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย วิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝก และใชความรู เดิมของผูรับการฝกมาตอยอดเปนความรูใหม พรอ มใช สื่ อ วี ดิทั ศน นาที ที่ 00.00 - 34.02 และตัวอยางของจริงประกอบการสอน โดยมี สาระสําคัญดังนี้ 2.1 การใชคีม คีมล็อก และแคลมป 2.2 การใชปากกาจับชิ้นงาน 2.3 การใชตะไบและเลื่อยมือ 2.4 การใชคอน และสกัด 2.5 การใชดอกสวานและเครื่องเจาะ 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.6 การใชประแจแบบตาง ๆ 2.7 การใชชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ 2.8 การใชแปรงลวด 2.9 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่อ งมือ ทั่วไป 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 87 - 88 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 87 - 88 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ หนาที่ 103 กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายให ศึ ก ษาใบงานที่ 2.1 เรื่ อ ง 5. ศึกษาใบงานที่ 2.1 เรื่อง สวนประกอบและหนาที่ ส ว นประกอบและหน า ที่ ของเครื่ อ งเจียมือ ของเครื่องเจียมือ หนาที่ 89 - 93 โดยครูฝกคอย จากคูมือผูรับการฝกหนาที่ 89 - 93 สังเกตและใหคําแนะนําเพิ่มเติม 6. อธิบายและถามตอบขอซักถามเกี่ยวกับงานที่ 6. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใชสื่อวีดิทัศน ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย นาทีที่ 00.00 - 01.52 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 หนาที่ของเครื่องเจียมือ 6.2 สวนประกอบของเครื่องเจียมือ 6.3 วิธีการใชงานเครื่องเจียมือ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 8. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 91 หนาที่ 106 9. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 10. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 10. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 11. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 11. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. มอบหมายใหศึก ษาใบงานที่ 2.2 เรื่อ ง การ 12. ศึกษาใบงานที่ 2.2 เรื่อง การประกอบและถอดใบ ประกอบและถอดใบเจีย จากคูมือผูรับการฝก เจีย หนาที่ 94 - 99 โดยครูฝกคอยสังเกตและให หนาที่ 94 - 99 คําแนะนําเพิ่มเติม 13. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 13. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 02.29 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 13.1 วั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่อ งมือที่ใช ในการประกอบและถอดใบเจีย 13.2 ขั้นตอนการประกอบและถอดใบ เจีย 13.3 การปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย 14. แบงกลุมตามความสมัครใจ 14. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 15. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 15. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 95 ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก หนาที่ 112 16. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 16. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ปลอดภัย ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ใกลชิด 17. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 17. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 18. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 18. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี สภาพพรอมทีจ่ ะใชงานตอไปและสงคืน ครบถวน 19. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 2.3 เรื่อง การขัด 19. ศึ ก ษาใบงานที่ 2.3 เรื่ อ ง การขั ด ชิ้ น งานด ว ย เครื่องเจียมือ หนาที่ 100 - 105 โดยครูฝกคอย ชิ้นงานดวยเครื่องเจียมือ จากคูมือผูรับการฝก สังเกตและใหคําแนะนําเพิ่มเติม หนาที่ 100 - 105 20. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 20. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช 74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 02.24 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 20.1 วั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่อ งมือที่ใช ในการขัดชิ้นงาน 20.2 ขั้ น ต อ น ก า ร ขั ด ชิ้ น ง า น ด ว ย เครื่องเจียมือ 20.3 การปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย 20.4 การเก็บรักษาเครื่องเจียมือ 21. แบงกลุมตามความสมัครใจ 21. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 22. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 22. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 101 ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก หนาที่ 118 23. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 23. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 24. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 24. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 25. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 25. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง การใชเครื่องมือ อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ทั่วไป ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง การใชเครื่องมือ รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ทั่วไป เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบ ทดสอบ และใบงาน

75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 การใชเครือ่ งมือทั่วไป 1. คีม เครื่องมือที่ใชสําหรับการจับยึด พับ ดัด ตัด วัสดุชิ้นงาน โดยคีมจะมีรูปรางและลักษณะแตกตางกันไปตามการใชงาน ดังนี้ 1.1 คีมปากขยาย (Slip Joint Plier) คือ คีมที่ปากคีมมีลักษณะโคงมน สามารถขยายออก หรือลดใหแคบลงได เหมาะสําหรับใชในงานเครื่องกลหรือเครื่องยนต 1.2 คีมล็อก (Vise Grip Pliers) คือ คีมที่ไดรับการออกแบบมาเปนพิเศษ ปลายดามจะมีสกรูปรับ เพื่อใชปรับขนาด ความกวางของปากคีมใหเหมาะสมกับชิ้นงาน เหมาะสําหรับใชจับหรือบีบชิ้นงานที่ตองการความแนนมาก

ภาพที่ 2.1 คีมปากขยาย

ภาพที่ 2.2 คีมล็อก

วิธีการใชงาน 1) เลือกใชคีมใหเหมาะสมกับงาน 2) ฟนและปากของคีมตองอยูในสภาพพรอมใชงาน 3) การจับ คีม ควรใหดามคีม อยูร ะหวางปลายนิ้วทั้ง 4 และใชอุง มือ กับ นิ้วหัวแมมือ กดดามคีมอีกดาน เพื่อใหมีกําลังในการจับหรือตัด ขอควรระวัง 1) ไมควรใชคีมตัดโลหะหรือชิ้นงานที่มีขนาดใหญหรือแข็งเกินไป 2) ไมควรใชคีมขันหรือคลายหัวนอตกับสกรู เพราะอาจทําใหเกิดความเสียหายได วิธีการดูแลและบํารุงรักษาคีม เช็ดทําความสะอาดแลวหยดน้ํามันที่จุดหมุน และชโลมน้ํามันหลังการใชงาน

76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. แคลมป (Clamp) แคลมปเ ปนอุปกรณที่มีความสําคัญในการประกอบ ชวยจับ ชิ้นงานในขณะสรางชิ้นงาน ยึดของสองสิ่ง เขาดวยกัน ดวยแรงบีบเขาหรือดันออก เพื่อปองกันไมใหเกิดการเคลื่อนไหว รวมถึงการบีบชิ้นงานไวดวยกันในขณะติดกาวหรือประกอบ ทําใหทํางานไดอ ยางสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัยมากขึ้น ซึ่งตางจากปากกาจับ ชิ้นงานที่ใชในการยึดจับ ชิ้น งานไว กับ โตะ ในขณะสรางชิ้นงาน แคลมปมีหลายประเภทขึ้นอยูกับประสิทธิภาพและรูปแบบการใชงาน ไดแก 2.1 สปริงแคลมป (Spring Clamp) มีลักษณะคลายไมหนีบที่มีสปริงตัวใหญอยูภายใน ซึ่งมีอยูสองแบบหลัก ๆ คือ แบบที่ทําจากโลหะ และแบบที่ทําจากพลาสติก ขอดีของสปริงแคลมป ใชงานงาย และราคาถูก สวนขอเสียคือ ไมสามารถกําหนดแรงบีบ แรงหนีบจับชิ้นงานได ตองขึ้นอยูกับความแข็งของสปริงเทานั้นตางจากแคลมปแบบอื่น

ภาพที่ 2.3 สปริงแคลมปที่ทําจากโลหะ

ภาพที่ 2.4 สปริงแคลมปที่ทําจากพลาสติก

ตอมาไดมีการพัฒนาสปริงแคลมปใหใชงายขึ้น และสามารถกําหนดแรงบีบได โดยมีชื่อวา สปริงแคลมป ระบบเฟอง (Ratcheting Spring Clamp) โดยที่แคลมปชนิดนี้จะมีสปริงที่ไมแข็งมากในการกางปากแคลมปออก เวลาใชจ ะใชแรงมือบีบดามจับเพื่อ ใหแคลมปบีบชิ้นงานดวยแรงบีบตามความเหมาะสม โดยกลไก Ratchet Spring Clamp จะปองกันไมใหแคลมปกางออกจนกวาจะปลดล็อกกลไกนั้น

ภาพที่ 2.5 สปริงแคลมประบบเฟอง

77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.2 ซีแคลมป (C-Clamp) มีโครงเปนรูปตัวซี ใชระบบมือหมุนเกลียวในการสรางแรงบีบ เหมาะสําหรับการทํางาน เล็ก ๆ นอย ๆ ซีแคลมปที่ดีควรมีสวนที่สัมผัสกับชิ้นงานที่เรียบอยางสม่ําเสมอ ขอเสีย ของซีแคลมป ปรับ ขนาดความกวางของการบีบชิ้นงานยาก เนื่อ งจากจําเปนตอ งคอ ย ๆ หมุนเกลียว จนกวาจะมีที่กวางพอสําหรับใสชิ้นงาน แลวจึงคอย ๆ หมุนเกลียวกลับเพื่อบีบชิ้นงาน แตสําหรับควิกซีแคลมป (Quick C-Clamp) มีลักษณะพิเศษคือ มีกลไกในการยึดจับเกลียวที่เพิ่มปุมกดเพื่อเลื่อนปรับขนาดไดโดยไมตอง คอย ๆ หมุนเกลียว จึงชวยในการทํางานไดเร็วขึ้น

ภาพที่ 2.6 ซีแคลมปรปู ตัวซี

ภาพที่ 2.7 แคลมปแบบมีสองแขน และหุม พลาสติกบริเวณที่สัมผัสกับชิ้นงาน

ภาพที่ 2.8 ควิกซีแคลมป/บารแคลมป

78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.3 เอฟแคลมป (F-Clamp) เปนแคลมปที่มีรูปรางเหมือนตัวเอฟ โดยที่มีแขนขางหนึ่งสามารถเลื่อนไปมาได ขณะที่ อีกขางยึดติดอยูกับที่ สามารถเลื่อนปรับขนาดไดอยางรวดเร็ว ใชไดกับวัตถุขนาดเล็กไปจนถึงขนาดใหญ เอฟแคลมป มีอยู 3 ประเภท คือ เอฟแคลมปแบบแยกประกอบ เอฟแคลมปแบบโครงทําจากโลหะชิ้นเดียว และเอฟแคลมป แบบยาว ขอดีของเอฟแคลมป สามารถเลื่อนปรับขนาดไดอยางรวดเร็ว โดยสามารถเลื่อนแขนขางหนึ่งใหพ อดีกับชิ้นงาน แลวเมื่อ เริ่ ม ออกแรงบีบ ชิ้ นงานแขนข างที่เ คลื่อ นไหวจะเอียงเล็ก นอ ย และขัดกับ แกนของแคลมป จนทําให เคลื่อนไหวตอไมไดในที่สุด อีกทั้งมีใหเลือกหลากหลายขนาดทั้งความยาวของแกน และความยาวของแขน ซึ่งเปน ที่นิยมในปจจุปน

ภาพที่ 2.9 เอฟแคลมปแบบแยกประกอบ

ภาพที่ 2.10 เอฟแคลมปแบบโครงทําจากโลหะชิ้นเดียว

ภาพที่ 2.11 เอฟแคลมปแบบยาว 2.4 สปดแคลมป/ควิกแคลมป (Speed Clamp/Quick Clamp) มีลักษณะแขนคลายเอฟแคลมปคือ มีแขนขางหนึ่ง ที่สามารถเคลื่อนที่ได และมีไกสําหรับใชมือบีบเพื่อใหแคลมปบบี ชิ้นงานแนนขึ้นเรื่อย ๆ และมีปุมไกเล็ก ๆ สําหรับ คลายล็อกเพื่อเลื่อนแขนไป ขอดีของสปดแคลมป/ควิกแคลมป คือ ความเร็ว ซึ่งทําใหประหยัดเวลาและสะดวกสบายในการใชงาน 79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.12 สปดแคลมป 2.5 แคนททวิสทแคลมป (Kant-Twist Clamp) เปนเแคลมปที่มักใชในงานเหล็กและงานอุตสาหกรรมเปนหลัก ดวยโครงสรางการออกแบบที่รวมกําลังของเกลียวแบบซีแคลมปกับ การใชห ลักการคานดีด คานงัด จึง ทําให แคนททวิสทแคลมปใหแรงบีบที่เยอะกวาซีแคลมป สวนที่สัมผัสชิ้นงานทําจากทองแดง ซึ่งเปนโลหะทีค่ อนขางออน จึงไมทําใหเกิดรอยบนชิ้นงานโลหะ แตการใชงานคอนขางชาเพราะเปนระบบเกลียวมือหมุน

ภาพที่ 2.13 แคนททวิสทแคลมป 2.6 แคลมปทอ (Pipe Clamp) เปนแคลมปที่จับชิ้นงานไดหลากหลายขนาดที่สุด เพราะสามารถเลือกความยาวของ แคลมปไดดวยการเลือกความยาวของทอ เพราะแคลมปทอออกแบบมาใหสามารถใสประกอบกับทอเหล็กขนาด 3/4 นิ้ว หรือ 1/2 นิ้ว แตทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับแตละรุน ขอดีของแคลมปทอ คือ สามารถเลือกทอใหเหมาะกับงานที่ตองการทํา สวนขอเสียของแคลมปทอ คือ มีพื้นที่ สัมผัสชิ้นงานนอย ทําใหบีบชิ้นงานไดแคขอบเทานั้น

ภาพที่ 2.14 แคลมปทอ 80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2.7 แคลมปอัดไม/ปากกาอัดไม/แมแ รงอัดไม (T Bar Clamp/I Bar Clamp) เปนแคลมปที่แขนคอ นขางสั้น สวนใหญแคลมปชนิดนี้จะใชในการเพลาะไม แตก็สามารถใชในการประกอบชิ้นงานได โดยจะวางแคลมปไวบนพื้น หรือ บนโต ะ แล ววางชิ้ นงานไว บ นแคลมป เนื่อ งจากแคลมปชนิดนี้ทําจากเหล็ก ที่ห นาและมีน้ําหนัก จึง ยาก ตอการยกขึ้นมาบีบชิ้นงาน T Bar Clamp และ I Bar Clamp มีลักษณะการใชงานที่เหมือนกัน จะแตกตางกัน ที่รูปรางหนาตัดของแทงเหล็กเทานั้น ขอดีของแคลมปอัดไม คือ ราคาที่คอนขางถูกเมื่อเทียบกับขนาดความยาวที่มใี หเลือกตั้งแต 3, 4, 5, 6, 7 ถึง 8 ฟุต สวนขอเสียคือ มีน้ําหนักมาก ทําใหเอาออกมาใชและจัดเก็บไดยาก

T Bar Clamp

I Bar Clamp

ภาพที่ 2.15 แคลมปอัดไม/ปากกาอัดไม/แมแรงอัดไม 2.8 แคลมปขนาน (Parallel Clamp) เปนแคลมปที่สามารถปรับขนาดระหวางแขนไดงาย มีพื้นที่สัมผัสชิ้นงานมาก และทํามุม 90° กับแกน เหมาะกับงานประกอบชิ้นงานที่ตองการความแมนยํา แตไมเหมาะกับการใชยึดจับชิ้นงาน ที่มีขนาดเล็ก นอกจากนั้นยังมีการกระจัดแรงบีบอยางสม่ําเสมอทั่วพื้นที่สัมผัสชิ้นงาน และมีใหเลือกหลายขนาด ขอเสีย ของแคลมปข นาน คื อ มี ขนาดแขนจับ ที่ใหญไมเหมาะกับการใชยึดจับชิ้นงานเล็ก ๆ หรือ จับ ชิ้นงาน ในขั้นตอนขึ้นรูป เหมาะกับการใชในขั้นตอนประกอบงานเปนหลัก และมีราคาคอนขางสูง ซึ่งในปจจุบันยังไม เปนที่นิยม

ภาพที่ 2.16 แคลมปขนาน 2.9 แคลมปเขามุม (Mitre Clamp) แคลมปเขามุมเปนแคลมปที่มีการใชงานคอนขางเฉพาะเจาะจง ใชในการประกอบงาน ที่เขามุมและไมสามารถใชแคลมปชนิดอื่น ๆ ได แตสามารถทําไดเฉพาะมุม 90° เทานั้น ขอดีของแคลมปเขามุม คือ ทําใหการเขามุมงายขึ้น ขอเสีย คือ สามารถเขาไดเฉพาะมุม 90° เทานั้น 81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.17 แคลมปเขามุม 2.10 แคลมปส ายรัด (Band Clamp) เป นแคลมปที่ใชแรงดึง จากเชือ กในการรัดชิ้นงานใหติดกัน โดยมีแผนรอง ที่ มักจะทําจากพลาสติกหรือโลหะรองรับในบริเวณมุมตาง ๆ บนชิ้นงานที่ถูกรัดดวยสายรัด เพื่อปองกันการเกิดรอย จากการถูกรัด ซึ่งเปนอีกวิธีในการประกอบหรือยึดติดชิ้นงานที่เขามุม แตมีความยืดหยุนในการใชงานมากกวา แคลมปเ ข ามุม เนื่ อ งจากสามารถใชกับ มุม ที่ไมใช 90° ได เพราะฉะนั้นจะเปนกรอบสามเหลี่ยม หาเหลี่ยม หกเหลี่ยม ก็สามารถใชได โดยกลไกการเพิ่มแรงบีบจะมีสองแบบที่นิยมใช คือ แบบใชกลไกเฟอง ซึ่งมีสปริงสับ ทําใหหมุนไปไดทางเดียว หรือ Ratchet แบบที่ใชกับสายรัดของหลังรถกระบะ และแบบที่ใชกลไกเกลียวหมุน จับชิ้นงานไวเพื่อดึงสายรัดใหแนน ดังภาพที่ 2.18 ขอดีของแคลมปสายรัด คือ มีความยืดหยุนในการใชงาน แตในความยืดหยุนก็มีขอจํากัด คือ ตองใชแคลมปสายรัด รัดรอบชิ้นงานเทานั้น

ภาพที่ 2.18 แคลมปสายรัด 2.11 แคลมปนก (Toggle Clamp) เปนแคลมปที่ใชสําหรับการยึดชิ้นงานใหติดกับโตะ หรือจิ๊กดวยสกรูที่ติดแคลมปนก เอาไว ดัง ภาพที่ 2.19 สวนใหญนิยมใชในขั้นตอนการขึ้นรูป มากกวาการประกอบ ถือ วาเปนเครื่อ งมือ สําคัญ ในการสรางจิ๊กอีกชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ แคลมปนกยังมีใหเลือกหลากหลายแบบ

82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.19 แคลมปนก วิธีการใชแคลมป 1) แคลมปตองอยูในแนวขนานกับชิ้นงาน 2) หาเศษกระดาษวางระหวางแคลมปกับชิ้นงาน เพื่อปองกันการเคลื่อนที่ของแคลมป และปองกันรอย บนชิ้นงาน 3) Stud (T-Bolt) และนอตรูปตัวที (T-Slot Nut) ตองอยูใกลชิ้นงาน และ Step Block ควรอยูใกล Stud เพราะจะชวยใหจบั ชิ้นงานแข็งแรง มั่นคง แตถา Stud อยูหางจากชิ้นงานเวลาเจาะงานแคลมปจะเคลื่อนที่ได

ภาพที่ 2.20 วิธีการใชแคลมป ขอควรระวังในการใชแคลมป 1) ตองระวังสลักเกลียวปรับ อยาจับยึดใกลแนวเชื่อม เพราะจะทําใหสะเก็ดโลหะเชื่อมกระเด็นติดอยูกับเกลียว แลวทําใหสลักเกลียวปรับเสีย ขันจับยึดชิ้นงานไดยาก และทําใหแคลมปชํารุดเสียหาย 2) ถาเกลียวปรับแคลมปโกงงอ ไมควรใชคอนเคาะดัด 3) การปรับแคลมปใหแนน ไมควรใชทอเหล็กตอแขนหมุน เพราะจะทําใหเกลียวปรับชํารุด หรือตัวแคลมปเสียรูป วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) หนาสัมผัสจับงานใหเรียบอยูเ สมอ 2) เกลียวทาจาระบีเสมอ 3) อยาใชแรงอัดมากเกินไป เพราะจะทําใหหัก 83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4) ไมใชรองรับในการทุบเหล็กหรือตะปู 5) ตองทําความสะอาด และหยอดน้ํามันกันสนิมอยูเ สมอ 3. ปากกาจับชิ้นงาน (Bench Vise) ปากกาจับชิ้นงาน หรือปากกาจับงาน เปนเครื่องมือชางชนิดหนึ่งที่ใชสาํ หรับประกอบชิ้นงาน ใชในการจับ ยึด บีบ อัด ชิ้นงาน ใหแนนเพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานอื่น ๆ เชน ใชจับไม โลหะ พลาสติก ฯลฯ เพื่อใชในการตัด เจาะ ตอก ขัด หรือตะไบ และเปนอุปกรณที่มีน้ําหนักพอสมควร

ภาพที่ 2.21 ปากกาจับชิ้นงาน วิธีใชปากกาจับชิ้นงาน 1) เปดปากกาออกใหกวางกวาขนาดของชิ้นงาน 2) วางชิน้ งานไวระหวางกลาง และหมุนดามเพื่อใหขาหนีบเลือ่ นเขามาจับชิ้นงาน 3) ปรับตําแหนงของชิ้นงาน 4) ขันดามใหแนน เพื่อใหสวนของขาหนีบบีบชิ้นงานแลวลองโยกชิ้นงาน ถายังขยับใหขันจนกวาจะแนน ขอควรระวังในการใชปากกาจับชิ้นงาน ไมจับชิ้นงานครัง้ ละหลายชิ้น เพื่อปองกันการเกิดอันตรายกับเครื่องจักรและผูปฏิบัติงาน วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ไมใชปากการองรับเหล็กเพื่อทุบ จะทําใหปากกาแตกหักไดงา ย 2) ทําความสะอาดทุกสวนของปากกาจับชิ้นงาน หลังจากทําความสะอาดปากกาจับชิ้นงานเสร็จ ใหชโลมดวย น้ํามันเพื่อปองกันสนิม 3) เมื่อเลิกใชงานควรขันปากกาเขาไปใหชิด

84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. ตะไบและเลื่อยมือ 4.1 ตะไบ เปนเครื่องมือที่ทําจากเหล็กแข็ง ใชในการขัดตกแตงผิว หรือปาดหนาชิ้นงานที่ตองการขจัดเนื้อโลหะทิ้งไป ตะไบมีรูปรางลักษณะหลายแบบและหลายขนาด

ภาพที่ 2.22 ตะไบ 1) ลักษณะและรูปรางของตะไบ ตะไบมีหลากหลายแบบแตที่นิยมและใชกันเปนประจําสวนใหญจะพิจารณา จากหนาตัดของตัวตะไบ

ภาพที่ 2.23 ลักษณะของตะไบ 2) ชนิดของฟนตะไบ หรือคมตัดตะไบ มีอยู 4 ลักษณะ ดังนี้ - ลักษณะคมตัดเดี่ยว (Single Cut) จะเปนลักษณะรองฟนมีแถวเดียวซึ่งจะทํามุมกับแนวยาว ของหนาตะไบ

ภาพที่ 2.24 ตะไบลักษณะคมตัดเดี่ยว 85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- ลักษณะคมตัดคู (Doub Cut) จะแตกตางกับลักษณะคมตัดเดี่ยวคือ รองฟนจะตัดกัน ปลายคมตัด จะมียอดแหลมสามารถตัดเฉือนวัสดุไดดีกวา

ภาพที่ 2.25 ตะไบลักษณะคมตัดคู - ลักษณะคมตัดหยาบ (Rasp Cut) ลักษณะของฟนจะเปนยอดแหลม คลายฟนของเครื่องมือชาง สําหรับตกแตงไม ที่เรียกวา “บุง” คมตัดชนิดนี้ใชแตงวัสดุออน เชน อะลูมิเนียม เพื่อทําเปน รูปรางของงานที่ตองการในขั้นตนไดเปนอยางดี

ภาพที่ 2.26 ตะไบลักษณะคมตัดหยาบ - ลั ก ษณะคมตั ดเป นรู ป โคง (Curved Cut) ลัก ษณะของฟนชนิดนี้ จะเปนรูป โคงมีระยะหาง ระหวางฟนมาก เวลาใชงานเศษวัสดุจะไมติดรองฟน เหมาะสําหรับทํางานตกแตง วัสดุนี้มีลักษณะ โคงนูนซึ่งสะดวกกวาแบบอื่น

ภาพที่ 2.27 ตะไบลักษณะคมตัดเปนรูปโคง วิธีการใชงาน เพื่อใหไดผิวงานที่มีคุณภาพและขนาดตามที่ตองการ ผูป ฏิบตั ิควรมีขั้นตอนการตะไบงานที่ถูกตองดังนี้ 1) ใชมือขางที่ถนัดจับที่ดามตะไบ และใชมืออีกขางหนึ่งจับที่ปลายตะไบ 86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) วางตะไบบนชิ้นงาน จากนั้นดันตะไบไปดานหนาพรอมออกแรงกดใหพอดี เมื่อดันไปจนสุดใหดึงกลับมาทีเ่ ดิม และทําซ้ําไปเรื่อย ๆ จนไดผิวงานตามที่ตองการ ขอควรระวังในการใชตะไบ 1) ขณะตะไบชิ้นงาน ไมควรใชมือไปสัมผัสผิวหนางาน 2) หามใชตะไบที่ไมมีดาม 3) ถาตะไบหลวม อาจจะหลุดจากกั่นตะไบและกระแทกเทา ซึ่งจะทําใหเกิดอันตรายได 4) หามใชกั่นตะไบไปเผารอนเพื่อสอดดามตะไบเด็ดขาด เพราะจะทําใหดามหลวมและหลุดงาย 5) ไมควรตะไบงานที่กําลังรอนอยู เพราะจะทําใหฟนตะไบทูเร็ว การจัดเก็บบํารุงรักษาตะไบ 1) ตรวจดูความเรียบรอยของตะไบกอนเก็บเขาที่ 2) หลังการใชงานชโลมน้ํามันตะไบกอนเก็บเขาที่เก็บ 3) ไมควรวางตะไบทับกัน เพราะจะทําใหคมตะไบสึกหรองาย 4.2 เลื่อยมือ เปนเลื่อยที่ใชในงานโลหะเปนสวนใหญ มีสวนประกอบ คือ โครงเลื่อยและใบเลื่อย โครงเลื่อยเปนโครง เหล็กมีดามจับ สวนใบเลื่อยทําดวยเหล็กกลา ฟนเลื่อยมีทั้งชนิดละเอียดและหยาบ

ภาพที่ 2.28 เลื่อยมือ วิธีใชงาน 1) ประกอบใบเลื่อยเขากับโครงเลื่อย โดยตองขันใบเลือ่ ยใหตึงและตรง 2) มุมลิ่มของฟนเลือ่ ยตองชี้ไปทางดานหนา เพื่อใหเลื่อยตัดชิ้นงานได เพราะถาประกอบผิดการเลื่อยจะไมเกิดผล 3) ถาตองการตัดในทางลึก ควรปรับใบเลื่อยใหหมุนไป 90 ° 4) ขณะทําการเลื่อยใหใบเลื่อยเอียงกมลงเล็กนอย 5) ในการเลื่อยใหดงึ ระยะชักใหยาวสุดใบเลื่อย ถาชักไมสม่ําเสมอจะทําใหฟนเลื่อยหักไดงาย ขอควรระวังในการใชเลื่อย 1) อยาปลอยใหใบเลื่อยเปยกน้ํา 87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2) เก็บไวในที่แหง 3) การแตงฟนเลื่อยพยายามใหฟนเลื่อยไดรูปเดิมทุกครัง้ 4) อยาวางเลื่อยใหถูกแดดรอน วิธีการดูแลและบํารุงรักษาเลื่อย 1) หลังจากการใชงานใหคลายใบเลื่อยออกเล็กนอย เพื่อยืดอายุใบเลื่อยใหใชงานไดนานขึ้น 2) ใชแปรงปดทําความสะอาดทุกสวน แลวทาดวยน้ํามัน กอนนําไปเก็บไวในที่เก็บ 5. กรรไกร กรรไกร เปนเครื่องมือที่ใชตัดวัสดุที่เปนแผนหรือเปนเสน ชิ้นงานที่ตัดดวยกรรไกรจะมีขอบเรียบกวาตัดดวยการสกัด กรรไกรที่ใชในงานเชื่อมสําหรับตัดแผนโลหะ มีหลายชนิดดังนี้ 1) กรรไกรตัดตรง (Straight Snips) เปนกรรไกรชนิดที่มีการตัดขวางของคมตัดเปนแนวเสนตรง ใชสําหรับ งานตัดโลหะตามแนวเสนตรงเทานั้น 2) กรรไกรตัดโคง (Circle Snips) เปนกรรไกรชนิดที่มีการตัดขวางของคมตัดเปนสวนโคง เหมาะสําหรับ งานตัดโลหะในแนวเสนโคง 3) กรรไกรแบบผสม (Combination Snips) เปนกรรไกรที่สามารถตัดชิ้นงานไดทั้งแนวเสนตรงและแนวเสนโคง

ภาพที่ 2.29 กรรไกรตัดตรง

ภาพที่ 2.30 กรรไกรตัดโคง

ภาพที่ 2.31 กรรไกรแบบผสม 4) กรรไกรอะเวียชั น (Aviation Snips) เปนกรรไกรที่นิยมใชม ากในงานเชื่อ ม มีลัก ษณะของคมตั ด เรี ย ว เหมาะสําหรับตัดโลหะแผนที่เปนมุมฉากเล็ก ๆ วงกลมเล็ก และตัดเสนตรงซิกแซ็ก กรรไกรอะเวียชันมี 3 แบบ ไดแก กรรไกรตัดซาย กรรไกรตัดตรง และกรรไกรตัดขวา เพื่อจําไดงายจะจําแนกดวยสี ดังภาพที่ 2.32

88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ดามสีเขียว : ตัดซาย

ดามสีเหลือง : ตัดตรง

ดามสีแดง : ตัดขวา ภาพที่ 2.32 กรรไกรอะเวียชัน วิธีใชงาน 1) กอนใชกรรไกรตัดชิ้นงาน ควรตรวจสอบสลักเกลียวที่ขันยึดใบตัดทั้งสองวาแนนหรือไม 2) รางแบบบนชิ้นงานที่จะทําการตัด 3) วางแผนการตัดโดยพิจารณาวาจะตัดสวนใดกอน 4) ขณะทําการตัดชิ้นงาน ควรใหใบตัดของกรรไกรตั้งไดฉากกับแผนชิ้นงานเสมอ 5) ถาเปนการตัดวงกลมหรือเหลี่ยมบนแผนชิ้นงาน ควรเจาะรูบนแผนชิ้นงานกอน 6) ตัดชิ้นงานโดยเลือกชนิดของกรรไกรใหเหมาะสมกับลักษณะของงานที่ตัด ขอควรระวัง 1) เลือกใชกรรไกรใหเหมาะสมกับงานทีต่ องการตัด 2) ไมใชกรรไกรตัดโลหะที่มีความแข็งและหนาเกินไป จะทําใหใบตัดกรรไกรบิ่น 3) ในการตัดดวยกรรไกร ควรใชมือบีบเทานั้น อยาใชคอนทุบหรือเทาเหยียบ 4) เมื่อใชกรรไกรกับงานประเภทหนึ่งแลว ไมควรนํามาใชกับงานประเภทอื่น ๆ อีก เพราะอาจทําใหคมของกรรไกร มีประสิทธิภาพลดลงได 5) ไมควรใชกรรไกรทํางานแทนคีมตัดหรือคีมดัด เชน ใชในการตัดลวด หรือตัดหัวหมุดย้ํา เปนตน 6) อยาใชคมปากของกรรไกรแทนเหล็กขูด เพราะอาจทําใหคมปากของกรรไกรเสียหายได วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ควรหยอดน้ํามันหลอลื่นบริเวณจุดหมุนอยูเสมอ 2) หลังการใชงานกรรไกรทุกครั้ง ใหชโลมน้ํามันหลอลื่นบาง ๆ เพื่อปองกันสนิม และไมควรเก็บกรรไกรปนกับ เครื่องมือที่มีคมชนิดอื่น ๆ

89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. คอนและสกัด 6.1 คอน เปนเครื่องมือประเภทตอก มีหลายชนิดขึ้นอยูกับความเหมาะสมของการใชงาน ดังนี้ 1) คอนหงอน สวนใหญใชกับงานชางไม มีสวนประกอบ 2 สวน คือ สวนหัวคอนและดามคอนทําหนาที่ ตอกและถอนตะปู

ภาพที่ 2.33 คอนหงอน 2) คอนหัวแบนและคอนหัวกลม ใชกับงานโลหะในการตอก ทุบ เคาะโลหะใหเปนรูปทรงตามตองการ

ภาพที่ 2.34 คอนหัวแบน

ภาพที่ 2.35 คอนหัวกลม

3) คอนเล็ก มีรูปรางเล็กน้ําหนักเบา ใชในงานตอกเข็มขัดรัดสายไฟฟา และงานไฟฟาทั่วไป

ภาพที่ 2.36 คอนเล็ก 4) คอนเคาะสแลกชางเชื่อม มีคมที่หัวทั้ง 2 ดาน ดานหนึ่งมีลักษณะคมแบนและอีกดานหนึ่ง เปนคมเรียว ใชสําหรับเคาะสแลกหรือสะเก็ดเชื่อมออกจากผิวหนาแนวเชื่อม อาจใชดามไมหรือดามเหล็กก็ได

ภาพที่ 2.37 คอนเคาะสแลกชางเชื่อม

90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5) คอนพลาสติก สวนหัวคอนทําจากพลาสติก ใชกับงานตีหรือเคาะแตงชิ้นงานที่เปนวัสดุออน และโลหะแผน เพื่อดัดขึ้นรูปและทําใหชิ้นงานเรียบ

ภาพที่ 2.38 คอนพลาสติก 6) คอนพะเนิน หรือคอนปอนด เปนคอนที่ใชกับงานหนัก และตองใชแรงในการเหวี่ยงมาก ซึ่งบางครั้งอาจตอง ใชสองมือชวยตีเหวี่ยง ตัวหัวคอนเปนแทงสี่เหลี่ยม หนาคอนจะโคงนูนเล็กนอยเหมือนกันทั้งสองดาน ใชในงานตีเหล็ก งานสะกัด หรืองานรื้อหรือทําลายสิ่งกอสราง

ภาพที่ 2.39 คอนพะเนิน วิธีใชงาน 1) กอนนําคอนไปใชงานทุกครั้ง ตองตรวจสอบใหแนใจวาหัวคอนยึดแนนกับดาม 2) เลือกใชคอนใหเหมาะสมกับการใชงาน 3) กอนนําคอนไปใชงานทุกครั้ง ตองเช็ดทําความสะอาดใหปราศจากน้ํามันหรือจาระบี 4) ในขณะใชงานตองจับดามคอนใหแนน ปองกันไมใหคอนหลุดมือ 5) วางหนาคอนลงบนหัวตะปูหรืออุปกรณที่จะตอก และตอกใหเต็มหนาคอน 6) การจับดามคอนควรจับใหหางจากปลายขึ้นมาประมาณ 3 สวน 4 ของดามคอน 7) ในขณะใชงานไมควรจับสวนปลายสุดของดามคอน เพราะจะทําใหขาดความแมนยํา และคอนอาจจะหลุดมือได 8) ในขณะใชงานควรยืนในทาที่มั่นคง มือ ชวงแขน และไหลตองมีความสมดุลกัน ขอควรระวัง 1) รักษาหัวคอนใหเรียบสม่ําเสมอกัน 2) อยาใชคอนงัดเกินกําลัง เพราะจะทําใหดามหักได 3) คอนที่ชํารุดหามใช 4) ขณะใชคอนตอกชิ้นงาน ควรระวังไมใหคอนตอกโดนมือ 91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการดูแลและบํารุงรักษาคอน 1) กอนการใชงานควรตรวจสอบความเรียบรอยของตัวดามและหัวคอนใหแนน และแข็งแรง 2) ถอนตะปูดวยความระมัดระวัง 3) หลังจากใชงานควรทําความสะอาดและเก็บเขาที่ใหเรียบรอย 6.2 สกัด เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับตัดโลหะที่มีความหนาใหขาดออกจากกัน

ภาพที่ 2.40 สกัด วิธีใชเหล็กสกัด การใชเหล็กสกัดในการตัดวัสดุตาง ๆ จะตองทําดวยมือเทานั้น 1) ใชมือที่ถนัดจับดามคอน สวนมืออีกขางกําตรงลําตัวสกัดไวใหแนน 2) ออกแรงตี โดยคมสกัดจะตองอยูตําแหนงแนวเสนที่ตองการสกัด ขอควรระวัง 1) ขณะออกแรงตี สายตาควรมองที่คมสกัด ไมควรมองทีห่ ัวสกัดเพราะคอนอาจจะตีไปโดนมือได 2) ขณะปฏิบัติงานควรสวมแวนนิรภัย เพือ่ ปองกันเศษโลหะกระเด็นเขาตา การใชและดูแลรักษาเหล็กสกัด 1) การจับและตอกสกัดดวยคอนควรระมัดระวัง เพราะอาจเกิดอันตรายได 2) เลือกใชเหล็กสกัดและคอนที่ใชใหเหมาะสมกับงานที่ปฏิบัติ 3) ทาดวยน้าํ มันเครื่อง เพื่อรักษาสกัดไมใหเปนสนิม 4) เก็บใสกลองเพื่อรักษาความชื้นและเพือ่ ปองกันสนิม 7. ดอกสวานและเครื่องเจาะ 7.1 ดอกสวานเปนเครื่องมือตัด ที่ใชในการตัดเฉือนวัสดุงานใหเปนรูกลม ซึ่งดอกสวานมีอยูดวยกันหลายชนิด ไดแก 1) ดอกสวานคมตัดเลื้อย (Twist Drills) เปนดอกสวานที่นิยมใชกันมากที่สุดในงานโลหะ ลักษณะคมตัด ของดอกสวานชนิดนี้จะเอียงทํามุมกับแนวแกนของดอกสวาน โดยแบงออกเปน 4 ชนิด ดังนี้ - ชนิด 2 คมตัด (Two Cutting Lips) ดอกสวานชนิดนี้ใชสําหรับงานเจาะรูบนชิ้นงานโลหะ 92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

- ชนิด 3 คมตัด (Three Cutting Lips) ดอกสวานชนิดนี้นิยมใชสําหรับเจาะขยายรูบนชิ้นงานหลอ (Core Holes) ขอดีของดอกสวานชนิด 3 คมตัด คือ สามารถตัดเฉือนเศษวัสดุงานออกไดรวดเร็ว ใหความเที่ยงตรงของขนาดและตําแหนงของรูเจาะ และใหผิวสําเร็จเรียบกวาดอกสวานชนิด 2 คมตัด - ชนิด 4 คมตัด (Four Cutting Lips) ดอกสวานชนิดนี้มีลักษณะการใชงานเหมือนกับดอกสวาน ชนิด 3 คมตัด - ชนิดมีรูน้ํามัน (Oil Hold Twist Drills) ดอกสวานชนิดนี้จะมีรูน้ํามันอยูภายในแกนดอกสวาน โดยน้ํามันหลอลื่นจะถูกสงเขารูน้ํามันของดอกสวานผานทางเพลาหมุนหลักของเครื่อง จากนั้น น้ํามันจะไหลตามรูไปยังคมตัดของดอกสวาน ดอกสวานชนิดนี้ปกติจะใชกับเครื่องมือกลที่ใช เจาะรูบนชิ้นงานดวยอัตราการผลิตสูง

ภาพที่ 2.41 ดอกสวานคมตัดเลื้อย 2) ดอกสวานรองตรง (Straight Fluted or Farmer Drills) ดอกสวานชนิดนี้จะมีคมตัดตรงตามแนวแกน ของดอกสวาน นิยมใชสําหรับ เจาะรูบนชิ้นงานที่ทําจากทองเหลือ ง ทองแดง โลหะออ นชนิดอื่น ๆ และชิ้นงานโลหะบาง ๆ 3) ดอกสว านแบบพลั่ว (Spade Drills) ดอกสวานชนิดนี้ใชสําหรับ เจาะรูข นาดใหญ ตั้ง แตขนาดเสน ผานศูนยกลาง 25.4 ถึง 127 มิลลิเมตร (1 ถึง 5 นิ้ว) คมตัดของดอกสวานชนิดนี้มีลักษณะเปนแผนแบน สามารถถอดเปลี่ยนไดโดยมีสกรูยึดอยูที่ตัวดอกสวาน

ภาพที่ 2.42 ดอกสวานรองตรง

ภาพที่ 2.43 ดอกสวานแบบพลั่ว 93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีใชงาน 1) ใหดอกสวานยึดอยูกบั เดือยดานหนึ่งของสวาน 2) เปดสวิตชของสวาน ดอกสวานจะถูกกดลงไปบนวัสดุแลวหมุน ทําใหปลายดอกสวานสามารถตัดเจาะวัสดุ กําจัดเศษวัสดุระหวางการเจาะหรือทํางานเปนตัวสูบอนุภาคเล็ก ๆ ได ขอควรระวัง 1) เลือกใชใหถูกชนิดและลักษณะของงาน 2) ใสดอกสวานใหตรงและแนนกอนการใชงาน 3) ควรพักระหวางการเจาะ อยาใหดอกสวานรอนเกินไป วิธีการดูแลและบํารุงรักษา เมื่อใชแลวตองทําความสะอาดและใชน้ํามันชโลมกอนจึงเก็บ อยาปลอยทิ้งไวใหเกิดสนิม 7.2 เครื่องเจาะ เปนเครื่องมือที่ใชเจาะรู มีหลายประเภทดังนี้ 1) เครื่องเจาะตั้งโตะ (Bench-model Sensitive Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดเล็กเจาะรูขนาด ไมเกิน 13 มิลลิเมตร มีความเร็วรอบสูง ใชเจาะงานที่มีขนาดรูเล็ก ๆ การสงกําลังโดยทั่วไปจะใชสายพาน และปรับความเร็วรอบดวยลอสายพาน 2-3 ขั้น 2) เครื่องเจาะตั้งพื้น (Plan Vertical Spindle Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญ และเจาะรู บนชิ้นงานที่มีขนาดใหญ เจาะรูไดตั้งแตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญสุดเทาที่ดอกสวานมี และใชงานอื่น ๆ ไดอ ยางกวางขวาง การสง กําลัง ปกติจะใชชุดเฟอ งทด จึง สามารถปรับ ความเร็วรอบไดห ลายระดับ และรับแรงบิดไดสูง 3) เครื่องเจาะรัศมี (Radial Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะขนาดใหญและเจาะรูบนชิ้นงานที่มีขนาด ใหญกวาเครื่องเจาะตั้งพื้น โดยที่หัวจับดอกสวานจะเลื่อนไป-มาบนแขนเจาะ (Arm) จึงสามารถเจาะงาน ไดทุกตําแหนง โดยติดตั้งงานอยูกับที่ การสงกําลังปกติจะใชชุดเฟองทด 4) เครื่องเจาะหลายหัว (Multiple-spindle or Gang-type Drilling Machine) เปนเครื่องเจาะที่ออกแบบมา สําหรับการทํางานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ เครื่องเจาะจะมีหลายหัวจับ ดังนั้นจึงสามารถจับ ดอกสวาน ไดหลายขนาด หรือจับเครื่องมือตัดอื่น ๆ เชน รีมเมอร หรือหัวจับทําเกลียวใน จึงทํางานไดอยางรวดเร็ว 5) เครื่อ งเจาะแนวนอน (Horizontal Drilling Machine) เปนเครื่อ งเจาะที่อ อกแบบมาเพื่อ ใหสามารถ ทํางานไดหลายลักษณะ ทั้งการเจาะรู การควานรู การกัด และการกลึง มักพบในโรงงานอุตสาหกรรม ขนาดใหญ 94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6) เครื่องมอเตอรสวานมือ (Motor Hand Drill) เปนเครื่องเจาะที่พกพาสะดวก ใชเจาะชิ้นงานที่ไมสามารถ นําขึ้นเจาะบนแทนเจาะได ใชพ ลัง งานไฟฟาขับ ใหม อเตอรห มุน ในการใชง านอาจนําไปจับ เขากับ แทนเจาะตั้งโตะหรือแทนเจาะแบบพกพา และสามารถปรับความเร็วรอบชาหรือเร็วไดดวย

ภาพที่ 2.44 เครื่องเจาะตั้งโตะ

ภาพที่ 2.47 เครื่องเจาะหลายหัว

ภาพที่ 2.45 เครื่องเจาะตั้งพื้น

ภาพที่ 2.48 เครื่องเจาะแนวนอน

ภาพที่ 2.46 เครื่องเจาะรัศมี

ภาพที่ 2.49 เครื่องมอเตอรสวานมือ

วิธีใชงาน 1) ศึกษาวิธีการใชเครื่องเจาะใหเขาใจ กอนปฏิบัติงาน 2) นําชิ้นงานมารางแบบใหไดแบบที่ถูกตอง และใชเหล็กนําศูนยตอกนํา 3) นําชิ้นงานมาจับยึดบนเครือ่ งเจาะใหแนน 4) นําดอกสวานที่ตองการเจาะจับยึดกับเครื่องเจาะ 5) ปรับระยะหางระหวางชิ้นงานกับปลายดอกสวานใหตรงตําแหนง 6) ปรับความเร็วรอบใหเหมาะสมกับขนาดของดอกสวาน ขอควรระวัง 1) กอนใชเครื่องเจาะทุกครั้งตองตรวจดูความพรอมของเครือ่ งเสมอ 2) การจับยึดชิ้นงานจะตองจับยึดใหแนนและจับใหถูกวิธี 3) ศึกษาขั้นตอน วิธีการใช และวิธีการทํางานของเครื่องใหถูกตอง 4) ตองแตงกายใหรัดกุม และสวมแวนนิรภัยเพื่อความปลอดภัย 95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการดูแลและบํารุงรักษา จะใชหลักการเดียวกันไมวาจะเปนเครื่องเจาะชนิดใดก็ตาม แตตางกันตรงจุดบํารุงรักษาจะมากนอยแตกตางกันไป ซึ่งวิธีการดูแลและบํารุงรักษามีดังนี้ 1) จะตองตรวจสอบระบบไฟฟาใหอยูในสภาพที่สมบูรณตลอดเวลา เมื่ออุปกรณไฟฟาชํารุดจะตองซอมแซม และเปลี่ยนทันที 2) ตองตรวจสอบชิ้นสวนตาง ๆ ของเครื่องใหพรอมใชงานตลอดเวลา 3) กอนใชงานตองหยดน้ํามันหลอลื่นในสวนที่เคลื่อนที่ 4) หลังเลิกใชงานจะตองทําความสะอาดและชโลมดวยน้ํามัน 8. ประแจ ประแจ คือ เครื่องมือที่ใชสําหรับจับ ยึด ขันหรือคลายเกลียวอุปกรณ เชน นอต สกรู สลักเกลียว เปนตน เปนอุปกรณ ประเภทที่ตองใชกําลังแรงบิด ซึ่งประแจสามารถแบงออกได 3 ชนิด คือ 1) ประแจชนิดปากปรับได (Adjustable Wrenches) คือ ประแจที่สามารถปรับขนาดความกวางของปาก ไดตามความตองการเพื่อใหเหมาะสมกับหนางาน เชน ประแจเลื่อน ประแจคอมา เปนตน 2) ประแจชนิดปากปรับไมได (Nonadjustable Wrenches) คือ ประแจที่ไมสามารถปรับความกวางของปากได เชน ประแจปากตาย ประแจแหวน ประแจรวม เปนตน 3) ประแจชนิดพิเศษ (Special Screw Wrenches) คือ ประแจที่ไดรับ การออกแบบมา สําหรับ การใชงาน เฉพาะจุด เชน ประแจบล็อก ประแจแอล เปนตน

ภาพที่ 2.50 ประแจเลื่อน

ภาพที่ 2.51 ประแจชนิดปากตาย

ภาพที่ 2.52 ประแจแอล

วิธีใชงาน 1) เลือกใชประแจที่มีขนาดของปากและความยาวของดามที่เหมาะสมกับงานที่ใช ไมควรตอดามใหยาวกวาปกติ 2) ปากของประแจตองไมชํารุด เชน สึกหรอ ถางออก หรือราว 3) เมื่อสวมใสประแจเขากับหัวนอตหรือหัวสกรูแลว ปากของประแจตองแนนพอดีและคลุมเต็มหัวนอต 4) การจับประแจสําหรับผูถนัดมือขวา ใหใชมือขวาจับปลายประแจ สวนมือซายหาที่ยึดใหมั่นคง รางกายตองอยู ในสภาพมั่นคงและสมดุล 96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5) การขันประแจไมวาจะเปนขันใหแนนหรือคลาย ตองใชวิธีดึงเขาหาตัวเสมอ และเตรียมพรอมสําหรับปากประแจ หลุดขณะขันดวย 6) ควรเลือกใชประแจชนิดปากปรับไมไดกอน เชน ประแจแหวน หรือประแจปากตาย ถาประแจเหลานี้ใชไมได ใหเลือกใชประแจชนิดปากปรับไดแทน เชน ประแจเลื่อน เปนตน 7) การใชประแจชนิดปากปรับได เชน ประแจเลื่อนหรือประแจจับแปป ตองใหปากดานที่เลื่อนไดอยูติดกับ ผูใชเสมอ 8) การใชประแจชนิดปากปรับได ตองปรับปากประแจใหแนนกับหัวนอตกอน จึงคอยออกแรงขัน 9) ปากและดามของประแจ ตองแหงปราศจากน้ํามันหรือจาระบี 10) การขันนอตหรือสกรูที่อยูในที่แคบหรือลึก ใหใชประแจบล็อก เพราะปากของประแจบล็อกจะยาว สามารถ สอดเขาไปในรูที่คับแคบได 11) ขณะขัน ประแจตองอยูระนาบเดียวกันกับหัวนอตหรือหัวสกรู 12) ไมควรใชประแจชนิดปากปรับไดกับหัวนอตหรือสกรูที่จะนํากลับมาใชอีก เพราะหัวนอตหรือสกรูจะเสียรูป ขอควรระวัง 1) ไมใชประแจตอกหรือตีแทนคอน 2) หลีกเลี่ยงการใชประแจที่มีขนาดใหญกวาสกรูหรือนอต 3) ใชประแจใหเหมาะสมกับลักษณะงาน และรองของนอตสกรู วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดหลังเลิกใชงาน 2) การเก็บประแจ ควรใชวิธีแขวนไวกับผนังหรือใสกลองเก็บประแจโดยเฉพาะ และควรเก็บไวในที่แหงไมมี น้ํามันหรือจาระบี 9. ชะแลง ลิ่ม และแมแรงยกของ 9.1 ชะแลง มีหลักการทํางานเปนไปตามหลักคานดีด คานงัด วัสดุในการทําชะแลงสวนใหญมาจากเหล็ก หรือไทเทเนียม

ภาพที่ 2.53 ชะแลง 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการใชงาน สอดปลายของชะแลงใตวัตถุที่ตองการยกขึ้น จากนั้นออกแรงกดที่อีกดานหนึ่งจะสามารถยกสิ่งของขึ้นมาได ตามหลักของคานดีด คานงัด ขอควรระวัง 1) ควรเลือกขนาดของชะแลงใหเหมาะสมกับงาน 2) หากนําไปงัดกับวัตถุที่มีขนาดใหญเกินไป อาจเกิดการแตกหักซึ่งกอใหเกิดอันตรายกับชีวิตได วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังจากใชงานใหลางทําความสะอาด เช็ดใหแหง และชโลมน้ํามันเพื่อปองกันการเกิดสนิม 9.2 ลิ่ม เปนวัตถุแข็งตันซึ่งปลายดานหนึ่งมีลักษณะแบนหรือแหลม สวนอีกดานหนึ่งเปนหนาเรียบ ใชหลักการพื้นเอียง ในการทํางาน ซึ่งการไดเปรียบเชิงกลขึ้นอยูกับสัดสวนของความยาวและความกวางของตัวลิ่ม ถาลิ่มมีความกวางมาก จะตองใชแรงมากกวาลิ่มที่มีความกวางนอย

ภาพที่ 2.54 ลิ่ม วิธีการใชงาน เมือ่ ตองการแยกของสองสิ่งออกจากกันใหใชแรงตอกลิ่มลงไปในวัตถุ ลิ่มจะแทรกลงไปในวัตถุใหแยกออกจากกัน ขอควรระวัง 1) ควรเลือกขนาดของลิม่ ใหเหมาะสมกับงาน 2) หากนําไปงัดกับวัตถุที่มีขนาดใหญเกินไป อาจเกิดการแตกหักซึ่งกอใหเกิดอันตรายกับชีวิตได วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังใชงานแลวใหทําความสะอาดแลวเช็ดใหแหง และเก็บเขาที่ใหเรียบรอยเพื่อยืดอายุการใชงาน 10. แมแรง แมแรง คือ เครื่องมือที่มีหนาที่ในการเพิ่มแรงยก เพื่อชวยอํานวยความสะดวกในการซอมบํารุงสวนตาง ๆ ซึ่งแมแรง จะแบงออกเปน 2 ชนิดหลัก ๆ ดวยกัน

98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

10.1 แมแรงระบบไฮดรอลิกส คือ เครื่องมือยกขนาดกลาง แตสามารถยกชิ้นงานที่มีน้ําหนักมากได หากใชยกชิ้นงาน ที่มีน้ําหนักมากเกินไป น้ํามันไฮดรอลิกสอาจจะรั่วไหลออกมาได

ภาพที่ 2.55 แมแรงระบบไฮดรอลิกส 10.2 แมแ รงระบบกลไก คือ เครื่อ งมือยกขนาดพกพา สามารถยกชิ้นงานไดสูงตามความยาวของแกนที่สรางเอาไว แตแมแรงชนิดนี้จะมีขาเดียว หากยกน้ําหนักที่มากเกินไป อาจกอใหเกิดอันตรายไดงาย

ภาพที่ 2.56 แมแรงระบบกลไก วิธีการใชงาน 1) กอนยกชิ้นงานตองตรวจสอบใหแนใจวา สอดแมแรงเขาไปถูกตําแหนงหรือไม 2) ตรวจสอบใหมั่นใจวา หากยกชิ้นงานขึ้นแลวจะไมเคลื่อนที่หรือรวงลงจากแมแรง ขอควรระวัง 1) ตรวจสอบตําแหนงของแมแรงใหถกู ตองเพื่อปองกันชิ้นงานเคลื่อนที่ 2) ไมควรขึ้นแมแรงคางไวเปนระยะเวลานาน หากจําเปนควรหาขาค้ํายันมารองรับอีกชั้น 3) หากจะใชฐานรองแมแรงใหคํานึงถึงน้ําหนักของสิ่งของทีจ่ ะยกเปนสําคัญ วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังการใชงานทุกครั้ง ควรตรวจสอบวากระบอกสูบมีการรั่วไหลของน้ํามันหรือไม หากพบรอยรั่วใหดําเนินการ ซอมแซมแกไข จากนั้นใหเช็ดทําความสะอาด และเก็บเขาที่ใหเรียบรอย 99 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

11. แปรงลวด ทําจากเสนลวดมัดเปนกลุมเรียงเปนแถวตั้งแตสองแถวขึ้นไปอยูบนดามไม ใชสําหรับทําความสะอาดแนวเชื่อม เพื่อไมให ชิ้นงานเกิดสนิม มีทั้งชนิดเสนลวดที่ทําจากเหล็ก ทองเหลือง หรือสเตนเลส ขึ้นอยูกับวัสดุแนวเชื่อมที่จะทําการขัด

ภาพที่ 2.57 แปรงลวด วิธีใชงาน ใชขัดเพื่อตกแตงและทําความสะอาดชิ้นงานเชื่อม ขอควรระวัง 1) ควรเลือกขนาดใหเหมาะสมกับการใชงาน 2) เก็บใหพนมือเด็กและบริเวณที่ติดไฟงาย 3) ในขณะที่ใชงานควรสวมอุปกรณปองกัน เชน ถุงมือหนัง หนากากกรองฝุน เปนตน วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังการใชงานควรลางทําความสะอาดเพื่อขจัดเศษสิ่งสกปรกออกไปใหหมด 12. เครื่องเจีย (Hand Grinder) เครื่องเจีย เปนเครื่องมือที่ใชสําหรับนําวัสดุสวนเกินออกจากชิ้นงาน เพื่อใหไดผิวงานละเอียด เพิ่มความเรียบมันวาว และใชในการลับคม ซึ่งตัวเครื่องจะประกอบดวย 2 สวน คือ 1) สวนดามจับ เพื่อถือใชงาน จะเชื่อมตอกับสายไฟ มีสวิตชสําหรับปด - เปด รวมถึงควบคุมความแรงของเครื่อง 2) สวนมอเตอร เชื่อมตอกับใบตัดหรือใบเจียมีรูปรางกลม แบน และบาง ตัวใบหมุนรอบจัดตามกําลังวัตตไฟฟา ของเครื่อง ซึ่งมีความเร็วมากพอสําหรับการเจียหรือตัดวัสดุประเภทตาง ๆ เชน เหล็ก พีวีซี กระเบื้องเซรามิก หิน เปนตน ใบตัดและใบเจียสามารถถอดเปลี่ยนได โดยลักษณะของขอบใบ และผิวสัมผัสจะมีความแตกตางกัน เพื่อใหเหมาะสมกับวัสดุและวัตถุประสงคของการใชงาน เชน ใบเจียเหล็ก ใบเจียสเตนเลส ใบเจียปูน ใบขัด ใบผา ใบปดหางเปย เปนตน

100 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 2.58 เครื่องเจีย วิธีการใชงานเครื่องเจีย 1) สวมอุปกรณปอ งกันใบหนาและดวงตา รวมทัง้ อุปกรณปอ งกันหูขณะใชงาน 2) สวิตชตองอยูในตําแหนงปดกอนเสียบปลั๊กเขากับแหลงจายไฟ 3) ปรับทายืนใหเหมาะสมและสมดุลตลอดเวลา 4) ตรวจสอบวาเครือ่ งมือตัดคมและสะอาด พรอมทัง้ ตรวจสอบวาใบเจียมีสภาพพรอมใชงาน 5) ใชแผนและตัวปองกันสําหรับงานที่แนะนําเทานั้น 6) การถือเครื่องเจีย ใหใชมือขางหนึ่งจับที่ตัวเครื่อง และมืออีกขางจับรอบดามจับใหมั่นคง 7) ปรับตําแหนงตัวปองกันใหจานตัดหันออกจากตัวมากทีส่ ุด 8) ในการเจีย ใหถือเครือ่ งเจียทํามุมประมาณ 20 - 30 องศา

ภาพที่ 2.59 ถือเครื่องเจียทํามุมประมาณ 20 - 30 องศา 9) หลังใชงาน ใหปดสวิตชแลวจึงถอดปลั๊ก ขอควรระวัง 1) ไมใชงานใกลสารไวไฟ หรือบริเวณที่ติดไฟงาย 2) ควรระวังสะเก็ดไฟจากการเจียงานกระเด็นถูกสายไฟของเครื่องจักร การเก็บรักษาเครื่องเจีย ควรเก็บรักษาใหไมโดนน้ํามัน น้ํา ฝุนละออง และไมควรใหหินเจียสัมผัสโดยตรงกับความรอน 101 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. การใชเครื่องเจียมือในการทํางานเจีย ตองใหใบเจียทํามุมเทาไรกับชิ้นงาน ก. 10 องศา ข. 20 องศา ค. 45 องศา ง. 90 องศา 2. ถาตองการงัดวัสดุควรเลือกใชอุปกรณใด ก. ลิ่ม ข. ประแจ ค. ชะแลง ง. แมแรง 3. ตะไบลักษณะใดที่เหมาะสําหรับใชในการตกแตงชิ้นงาน ก. คมตัดเดี่ยว ข. คมตัดหยาบ ค. คมตัดคู ง. คมตัดโคง 4. ขอใดไมใชวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไป ก. คีม : เช็ดใหสะอาดและหยดน้ํามันที่จุดหมุน ข. เลือ่ ยมือ : ในการเลื่อยใหดึงระยะชักสั้น ๆ แตตองสม่ําเสมอ ค. ประแจ : แขวนไวกับผนังหรือใสกลองเก็บโดยเฉพาะ ง. ตะไบ : หลังใชงานใหชโลมน้ํามันกอนเก็บเขาที่เก็บ

102 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4

103 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน

ใบงานที่ 2.1 สวนประกอบและหนาที่ของเครื่องเจียมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกบอกชื่อสวนประกอบ หนาที่ของสวนประกอบ และวิธีการใชงานเครื่องเจียมือ

1. จงบอกชื่อและหนาที่ของสวนประกอบของเครือ่ งเจียมือลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล หมายเลข 1 2 3 4 5 6 7

ชื่อสวนประกอบของเครื่องเจียมือ

104 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

หนาที่


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. จงบอกวิธีการใชงานเครื่องเจียมือใหถูกตอง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

105 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.1 สวนประกอบและหนาที่ของเครือ่ งเจียมือ 1. การเตรียมการ 1.1 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.2 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลทีไ่ มเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.3 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เครื่องเจียมือ

จํานวน 1 เครื่อง

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน สวนประกอบและหนาที่ของเครื่องเจียมือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องเจียมือ

คําอธิบาย เตรียมเครื่องเจียมือ

ขอควรระวัง หยิ บ จั บ เครื่ อ งเจี ย มื อ แ ล ะ อุ ป ก ร ณ ด ว ย ความระมัดระวัง

2. สังเกตสวนประกอบของเครื่องเจียมือ

สั ง เกตส ว นประกอบของเครื่ อ งเจี ย มื อ ไ ม ค ว ร เ ส ีย บ ป ลั ๊ก บั น ทึ ก พร อ มทั้ ง บอกหน า ที่ ล งในตาราง เครื่ อ งเจี ย มื อ ในขณะ บันทึกผล และบอกวิธีการใชงาน ปฏิบตั ิงาน

106 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยใบงาน ใบงานที่ 2.1 สวนประกอบและหนาที่ของเครื่องเจียมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกบอกชื่อสวนประกอบ หนาที่ของสวนประกอบ และวิธีการใชงานเครื่องเจียมือ

1. จงบอกชื่อและหนาที่ของสวนประกอบของเครือ่ งเจียมือลงในตารางบันทึกผล ตารางบันทึกผล หมายเลข 1 2 3 4 5 6

ชื่อสวนประกอบของเครื่องเจียมือ ตัวเครื่อง สวิตชเปด-ปด ดามจับ ตัวปองกันใบเจีย ใบเจีย ตัวล็อก

7

สายไฟ

หนาที่ ใชในการถือจับขณะเจีย ใชควบคุมการเปดและปดของเครื่องเจียมือ ใชในการจับควบคูกับการจับตัวเครื่องเพื่อความปลอดภัย ใชปองกันใบเจียหากเกิดการแตกกระเด็นขณะเจีย เจียขัดชิ้นงาน ใชล็อกขณะที่ตองการถอด และประกอบใบเจียเขากับ เครื่องเจียมือ ใชเสียบเขากับปลั๊กไฟ หรือสายพวงปลั๊กไฟ 107

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. จงบอกวิธีการใชงานเครื่องเจียมือใหถูกตอง 1) สวมอุปกรณปอ งกันใบหนาและดวงตา รวมทัง้ อุปกรณปอ งกันหูขณะใชงาน 2) สวิตชตองอยูในตําแหนงปดกอนเสียบปลั๊กเขากับแหลงจายไฟ 3) ปรับทายืนใหเหมาะสมและสมดุลตลอดเวลา 4) ตรวจสอบวาเครือ่ งมือตัดคมและสะอาด พรอมทัง้ ตรวจสอบวาใบเจียมีสภาพพรอมใชงาน 5) ใชแผนและตัวปองกันสําหรับงานที่แนะนําเทานั้น 6) การถือเครื่องเจีย ใหใชมือขางหนึ่งจับที่ตัวเครื่อง และมืออีกขางจับรอบดามจับใหมั่นคง 7) ปรับตําแหนงตัวปองกันใหจานตัดหันออกจากตัวมากทีส่ ุด 8) ในการเจีย ใหถือเครือ่ งเจียทํามุมประมาณ 20 - 30 องศา 9) หลังใชงาน ใหปดสวิตชแลวจึงถอดปลั๊ก

108 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

เตรียมเครื่องเจียมือและอุปกรณที่เกี่ยวของไดถูกตอง

2

ครบถวน ให 2 คะแนน เตรียมเครื่องเจียและอุปกรณที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องเจียและอุปกรณที่เกี่ยวของไมถูกตอง ให 0 คะแนน 2

ชื่อสวนประกอบของเครื่องเจียมือ

บอกชื่อสวนประกอบของเครื่องเจียมือไดถูกตอง

7

ใหรายการละ 1 คะแนน บอกชื่อสวนประกอบของเครื่องเจียมือไมถูกตอง ใหรายการละ 0 คะแนน 3

หนาที่ของสวนประกอบของเครื่องเจียมือ

บอกหน า ที่ ข องส ว นประกอบเครื่ อ งเจี ย มื อ ถู ก ต อ ง ครบถวน ใหรายการละ 1 คะแนน บอกหนาที่ของสวนประกอบเครื่องเจียมือไมถูกตอง

7

ใหรายการละ 0 คะแนน 4

วีธีการใชงานเครื่องเจียมือ

บอกวีธีการใชงานเครื่องเจียถูกตอง ครบถวน ใหรายการละ 1 คะแนน

9

บอกวีธีการใชงานเครื่องเจียไมถูกตอง ใหรายการละ 0 คะแนน 5

ทําความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ

ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน

3

ไดถูกตอง ครบถวน และสะอาดเรียบรอย ให 3 คะแนน ทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ไดถูกตอง ครบถวน แตไมสะอาดเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ และพื้นที่ปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 6

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

30

109 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

110 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.2 การประกอบและถอดใบเจีย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบตั ิงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกประกอบใบเจียกับเครื่องเจียมือ

111 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.2 การประกอบและถอดใบเจีย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริม่ ปฏิบัตงิ าน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลทีไ่ มเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องเจียมือ จํานวน 1 เครื่อง 2. ประแจสําหรับขันใบเจีย จํานวน 1 อัน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ใบเจียชนิดหนา 2. ใบเจียชนิดบาง

จํานวน 1 ใบ จํานวน 1 ใบ

112 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การประกอบและถอดใบเจีย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือและวัสดุ

เครื่องเจียมือ

คําอธิบาย เตรียมเครื่องเจียมือ อุปกรณ และวัสดุ

ขอควรระวัง หยิ บ จั บ เครื่ อ งเจี ย มื อ และใบเจี ย ด ว ยความ ระมั ด ระวั ง สวิ ต ช ข อง เครื่ อ งอยู ที่ ตํ า แหน ง

ประแจขันใบเจีย

OFF และไมเ สียบปลั๊ก เครื่องเจียมือ ใบเจียชนิดหนา

ใบเจียชนิดบาง

2. กดตัวล็อก คลายหนาแปลนนอก

กดตัวล็อกพรอมกับใชประแจคลายแปลนนอก ในกรณี ที่ เ ครื่ อ งเจี ย มี ออก แลวใสใบเจียชนิดหนา ใบเจียติดอยู ให ถ อดใบเจี ย นั้ น ออก แลวจึงใสใบเจียชนิดหนา

3. ใสหนาแปลนนอก

ใสหนาแปลนนอก โดยหันดานนูนของหนา จั บ เครื่ อ งเจี ย มื อ และ แปลนนอกเขา

ใบเจียใหแนน เพื่อปองกันความเสียหาย ของเครื่องและการแตกหัก ของใบเจีย

4. กดตัวล็อก ขันหนาแปลนนอกตามเข็มนาฬิกา กดตัวล็อกพรอมกับขันใหแนนโดยใชประแจ ครูฝกตรวจความเรียบรอยในการใสใบเจีย ชนิดหนา

113 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. กดตัวล็อก คลายหนาแปลนนอก

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

กดตัวล็อกพรอมกับใชประแจคลายแปลนนอก ออก ถอดใบเจียชนิดหนาออกแลวเปลี่ยนใส ใบเจียชนิดบาง

6. ใสหนาแปลนนอก

ใสห นาแปลนนอก โดยหันดานเรียบของ จั บ เครื่ อ งเจี ย มื อ และ หนาแปลนนอกเขา ใบเจียใหแนน เพื่อปองกันความเสียหาย ของเครื่องและการแตกหัก ของใบเจีย

7. กดตัวล็อก ขันหนาแปลนนอกตามเข็มนาฬิกา กดตัวล็อกพรอมกับขันใหแนนโดยใชประแจ ขณะถอดและประกอบ ครูฝกตรวจความเรียบรอยในการใสใบเจีย ใบเจีย ควรเก็บชิ้นสวน ชนิดบาง ให เ ป น ระเบี ย บ เพื่ อ ปองกันการสูญหายและ อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น

114 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

การเตรียมเครื่องเจียมือและอุปกรณ

เตรียมเครื่องเจียมือและอุปกรณที่เกี่ยวของไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

เตรียมเครื่องเจียและอุปกรณที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน เตรียมเครื่องเจียและอุปกรณที่เกี่ยวของไมถูกตอง ให 0 คะแนน 3

ความถูกตองในการถอดหนาแปลนนอกออก พรอมใส ถอดหนา แปลนนอกออก พรอ มใสใ บเจีย ชนิด หนา ใบเจียชนิดหนา ไดถูกตอง ให 1 คะแนน

1

ถอดหนาแปลนนอกออกไดถูกตอง แตใสใบเจียชนิดหนา ไมถูกตอง ให 0 คะแนน 4

ความถูกตองในการใสหนาแปลนนอก

ใสหนาแปลนนอกไดถูกตอง ให 1 คะแนน

1

ใสหนาแปลนนอกไมถูกตอง ให 0 คะแนน 5

การกดตัวล็อกขณะขันแนน

มีการกดตัวล็อกขณะขันใหแนน ให 1 คะแนน ไมมีการกดตัวล็อกขณะขันใหแนน ให 0 คะแนน

1

6

ทิศทางการขันแนนโดยใชประแจ

ขันตามเข็มนาฬิกา ให 1 คะแนน ขันทวนเข็มนาฬิกา ให 0 คะแนน

1

7

ความเรียบรอยในการใสใบเจียชนิดหนา

ใสใบเจียแนน ให 1 คะแนน

1

ใสใบเจียไมแนน ให 0 คะแนน 8

ความถูกตองในการถอดหนาแปลนนอกออก

ถอดหนาแปลนนอกไดถูกตอง ให 1 คะแนน

1

ถอดหนาแปลนนอกไมถูกตอง ให 0 คะแนน 9

การถอดใบเจียชนิดหนาออก พรอมใสใบเจียชนิดบาง

ถอดใบเจียทวนเข็มนาฬิกา พรอมใสใบเจียชนิดบาง ไดถูกตอง ให 1 คะแนน

1

ถอดใบเจียตามเข็มนาฬิกา ให 0 คะแนน 10

ความถูกตองในการใสหนาแปลนนอก

ใสถูกตอง ให 1 คะแนน ใสไมถูกตอง ให 0 คะแนน

115 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2 ลําดับที่ 11

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การกดตัวล็อกขณะขันแนน

มีการกดตัวล็อกขณะขันใหแนน ให 1 คะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1

ไมมีการกดตัวล็อกขณะขันใหแนน ให 0 คะแนน 12

ทิศทางการขันแนนโดยใชประแจ

ขันตามเข็มนาฬิกา ให 1 คะแนน ขันทวนเข็มนาฬิกา ให 0 คะแนน

1

13

ความเรียบรอยในการใสใบเจียชนิดบาง

ใสใบเจียแนน ให 1 คะแนน ใสใบเจียไมแนน ให 0 คะแนน

1

14

การจัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณ

เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน

2

ให 2 คะแนน เก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

18

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 13 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

116 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 2.3 การขัดชิ้นงานดวยเครื่องเจียมือ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือทั่วไปไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบตั ิงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกใชเครื่องเจียมือในการขัดชิ้นงาน

117 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 2.3 การขัดชิ้นงานดวยเครื่องเจียมือ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริม่ ปฏิบัตงิ าน ไดแก - ถุงมือผา - ที่ครอบหู - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ป ฏิบัติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเ กี่ยวขอ ง หรือ วัส ดุอันตราย เชน วัตถุไวไฟ แกสเชื้อเพลิง เปนตน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรบั การฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัตงิ าน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องเจียมือ จํานวน 1 เครื่อง 2. ปากกาจับชิ้นงาน 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน

จํานวน 1 ตัว

1. ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชิ้น 2. ใบเจียชนิดบาง จํานวน 1 ใบ

118 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การขัดชิ้นงานดวยเครื่องเจียมือ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครือ่ งเจียมือ พรอมใสใบเจียชนิดบาง หยิ บ จั บ เครื่ อ งเจี ย มื อ เตรียมปากกาจับชิ้นงาน และชิ้นงานขนาด ดวยความระมัดระวัง 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร

เครื่องเจียมือ

ปากกาจับชิ้นงาน

ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร

2. นําชิ้นงานยึดกับปากกาจับชิ้นงาน

นําชิ้นงานจับกับปากกาจับชิ้นงาน แลวขัน ใหแนน

3. ลักษณะการจับเครื่องเจียมือ

ใชมือขางหนึ่งจับที่ตัวเครื่อง และมืออีกขาง ควรทดลองเดิ นเครื่อ ง

4. มุมที่ใชในการเจียชิ้นงาน

จับรอบดามจับใหมั่นคง

กอนใชงานจริง

เจียทํามุม 5-15 องศา กับชิ้นงาน

อย า วางเครื่ อ งเจี ย มื อ ขณะที่ใบเจียกําลังหมุน อยู โดยไมไดควบคุม

119 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. เจียขัดออกไซดที่ผิวชิ้นงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เจียชิ้นงานเพื่อขัดออกไซดทผี่ ิวชิ้นงานออก ไมใชง านใกลส ารไวไฟ จนเห็นเปนเนื้อเหล็กสีขาว ครูฝกตรวจความเรียบรอยของชิ้นงานเจีย

หรือบริเวณที่ติดไฟงาย และควรระวังสะเก็ดไฟ จากการเจียงานกระเด็น ถูกสายไฟของเครือ่ งจักร

120 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

เตรียมเครื่องเจียมือ พรอมใสใบเจียชนิดบาง

การเตรียมเครื่องเจียมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน การเตรียมเครื่องเจียมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง

2

แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเตรียมเครื่องเจียมือและวัสดุที่เกี่ยวของ ให 0 คะแนน 3

ลักษณะการจับเครื่องเจียมือ

การจับเครื่องเจียมือถูกตอง ให 1 คะแนน

1

การจับเครื่องเจียมือไมถูกตอง ให 0 คะแนน 4

มุมองศาระหวางใบเจียกับชิ้นงาน

มุมองศาถูกตอง ให 1 คะแนน มุมองศาไมถูกตอง ให 0 คะแนน

1

5

ความเรียบของชิ้นงานขัด

เรียบสม่ําเสมอ ให 2 คะแนน เรียบไมสม่ําเสมอ ให 1 คะแนน ชิ้นงานไมเรียบ ให 0 คะแนน

2

6

การขจัดออกไซดออก

ขจัดออกไซดออกหมด ให 2 คะแนน ขจัดออกไซดออกไมหมด ให 1 คะแนน ไมขจัดออกไซดออก ให 0 คะแนน

2

7

การทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

มีการทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย ให 3 คะแนน ไมมีการทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน

3

8

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และการจัดเก็บเครื่องมือ ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน เก็บเครื่องมือและอุปกรณ และอุปกรณ เขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน แตไมเก็บเครื่องมื อ และอุ ป กรณ เ ข า ที่ หรื อ ไม ทํ า อย า งใดอย า งหนึ่ ง ให 1 คะแนน ไม ทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และไม เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

16

121 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 11 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

122 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3

0920720203 การใชเครื่องมือกล (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.

บอกการใชเครื่องเจียระไนไดอยางถูกตอง บอกการใชเครื่องขัดผิวโลหะไดอยางถูกตอง บอกการใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสไดอยางถูกตอง บอกการใชเครื่องทดสอบการดัดงอไดอยางถูกตอง บอกการใชเครื่องตัดชิ้นงานและเครื่องเลื่อยไดอยางถูกตอง บอกการใชอุปกรณจับยึดไดอยางถูกตอง บอกการใชเครื่องดูดควันไดอยางถูกตอง บอกการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

เครื่องเจียระไน เครื่องขัดผิวโลหะ เครื่องอัดไฮดรอลิกส เครื่องทดสอบการดัดงอ เครื่องตัดชิ้นงานและเครื่องเลื่อย อุปกรณจับยึด เครื่องดูดควัน การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือกล

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก 123 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพือ่ ประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูร บั การฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบรมตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชิ้น 2) ชิ้นงานขนาด 20 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 2 ชิ้น 3) ชิ้นงานทอ sch40 ขนาด 6 นิ้ว หนา 7.11 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชิ้น 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) เครื่องเจียตัง้ โตะ จํานวน 1 เครื่อง 2) เครื่องเลือ่ ยสายพานแนวนอน จํานวน 1 เครื่อง 3) เครื่องอัดไฮดรอลิกส จํานวน 1 เครื่อง 4) ตะไบ จํานวน 1 อัน

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 124 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝก แนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอ ยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมทิก ระดับ ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : www.dsd.go.th/standard/Region/ Download_Doc/9666 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. 2558. คูมือเตรียมทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ กลุมสาขาอาชีพชางอุตสาหการ สาขาอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ ๑. ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dsd.go.th/standard/ Region/Doc_ShowDetails/6196 บริษัท นรินทรอินสทรูเมนท จํากัด. 2553. Universal Testing Machine คูมือการใชงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.narin.co.th/Data%20sheet/INSTRUCTION%20MANUAL(Thai)%20TS501-100.pdf พงษศักดิ์ คําเปลว. 2554. การแตงหนาลอหินเจียระไน. ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.rtc.ac.th/ www_km/03/0318/036_2-2554.pdf ศูนยเทคโนโลยีโลหะและวัสดุแหงชาติ. 2557. การทดสอบการดัดโคง ๑. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www. mtec.or.th/mcu/phml/index.php/th/2014-09-12-03-39-42/18-bending-test

125 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector 3. เตรียมตัวอยางเครื่องมือกลเพื่อใชประกอบ การสอน และตรวจสอบความพรอมใชงาน ของเครื่องมือ เชน เครื่องเจีย เครื่องขัด จิ๊ก ฟกเจอร เปนตน 4. ตัวอยางชิ้นงานเจีย ชิ้นงานที่ไดจากการดัดงอ และชิ้นงานทอ ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องมือกล ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง การใช 2. ฟง และซักถามขอสงสัย เครื่องมือกล ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝกเรื่อง การใชเครื่องมือกล 1. รั บ คู มื อ ผู รั บ การฝ ก เรื่ อ ง การใช เ ครื่ อ งมื อ กล หนาที่ 106 - 144 หนาที่ 106 - 144 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่องการใชเครื่องมือกล โดยใชวิธี 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ถาม - ตอบกับผูรับการฝก และใชความรูเดิม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ของผู รั บ การฝก มาต อ ยอดเป นความรูใหม พรอ มใช สื่ อ วี ดิทั ศน นาที ที่ 00.00 - 19.48 และตัวอยางของจริงประกอบการสอน โดยมี สาระสําคัญดังนี้ 2.1 การใชเครื่องเจียระไน 2.2 การใชเครื่องขัดผิวโลหะ 2.3 การใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส 2.4 การใชเครื่องทดสอบการดัดงอ 126 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 2.5 การใชเครื่องตัดชิ้นงานและเครื่อง เลื่อย 2.6 การใชอุปกรณจับยึด 2.7 การใชการใชเครื่องดูดควัน 2.8 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องมือกล 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 124 - 126 โดยครูฝก คอย ฝก หนาที่ 124 - 126 สังเกตและใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ หนาที่ 148 กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 5. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.1 เรื่อง การใช 5. ศึกษาใบงานที่ 3.1 เรื่อง การใชเครื่องเจียตั้งโตะ หนาที่ 127 - 132 โดยครูฝก คอยสังเกตและให เครื่องเจียตั้งโตะ จากคูมือผูรับการฝก หนาที่ คําแนะนําเพิ่มเติม 127 - 132 6. อธิบ ายพรอ มสาธิตและถามตอบขอ ซัก ถาม 6. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดย ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 02.32 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 6.1 วั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่อ งมือที่ใช ในการเจีย 6.2 แบบชิ้นงานที่ตองทําการเจีย 6.3 ขั้นตอนการเจียชิ้นงาน 6.4 การปฏิบัตงิ านดวยความปลอดภัย 6.5 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องเจีย ตั้งโตะ 7. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 7. แบงกลุมตามความสมัครใจ 8. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 8. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 128 หนาที่ 150

127 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 9. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 9. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 10. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 10. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 11. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 11. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 12. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.2 เรื่อง การใช 12. ศึกษาใบงานที่ 3.2 เรื่อง การใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส หนาที่ 133 - 138 โดยครูฝก คอยสังเกตและให เครื่ องอั ดไฮดรอลิ กส จากคู มื อ ผู รั บ การฝ ก คําแนะนําเพิ่มเติม หนาที่ 133 - 138 13. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 13. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 02.10 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 13.1 วั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่อ งมือที่ใช ในการกดชิ้นงาน 13.2 แบบชิ้นงานที่ตองทําการกด 13.3 ขั้นตอนการกดชิ้นงานดวยเครื่อง อัดไฮดรอลิกส 13.4 การปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย 13.5 การดู แ ลและบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ ง อัดไฮดรอลิกส 14. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 14. แบงกลุมตามความสมัครใจ 15. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 15. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 134 หนาที่ 156 16. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 16. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 128 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 17. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 17. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 18. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 18. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 19. มอบหมายใหศึกษาใบงานที่ 3.3 เรื่อง การใช 19. ศึ ก ษาใบงานที่ 3.3 เรื่ อ ง การใช เ ครื่ อ งเลื่ อ ย เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน จากคูมือผูรับ สายพานแนวนอน หนาที่ 139 - 144 โดยครูฝก การฝก หนาที่ 139 - 144 คอยสังเกตและใหคําแนะนําเพิ่มเติม 20. อธิ บ ายพร อมสาธิ ตและถามตอบข อซั กถาม 20. จดบันทึก ซักถามขอสงสัยเกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติ ดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย เกี่ยวกับงานที่จะปฏิบัติและขอควรระวัง โดยใช สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 02.55 มีสาระสําคัญ ดังนี้ 20.1 วั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่อ งมือที่ใช ในการตัดชิ้นงาน 20.2 แบบชิ้นงานที่ตองทําการตัด 20.3 ขั้นตอนการตัดชิ้นงานดวยเครื่อง เลื่อยสายพานแนวนอน 20.4 การปฏิบัติงานดวยความปลอดภัย 20.5 การดู แ ลและบํ า รุ ง รั ก ษาเครื่ อ ง เลื่อยสายพานแนวนอน 21. แบงกลุมปฏิบัติงานกลุมละ 4 - 5 คน 21. แบงกลุมตามความสมัครใจ 22. จายวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงาน 22. รับวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานตามใบ ตามใบขั้นตอนการปฏิบัติง านในคูมือ ครูฝก ขั้นตอนปฏิบัติงานในคูมือผูรับการฝก หนาที่ 140 หนาที่ 162 23. ควบคุมดูแล ตรวจสอบ และใหคําแนะนําตอ 23. ปฏิ บั ติ ง านด ว ยความตั้ ง ใจและคํ า นึ ง ถึ ง ความ ผูรับการฝกขณะปฏิบัติงานทุกขั้นตอนอยาง ปลอดภัย ใกลชิด 24. ควบคุ ม และดู แ ลการทํ าความสะอาดพื้นที่ 24. ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานของผูรับการฝก 25. ตรวจเช็ ควั ส ดุ - อุ ป กรณ และเครื่ อ งมือ ให 25. เก็บวัสดุ - อุปกรณและเครื่องมือปฏิบัติงานใหมี ครบถวน สภาพพรอมที่จะใชงานตอไปและสงคืน 129 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง การใชเครื่องมือกล อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง การใชเครื่องมือกล รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม ใบทดสอบ และ ใบงาน

130 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 การใชเครือ่ งมือกล 1. เครื่องเจีย เครื่องเจียลับคมตัด เปนเครื่องมือกลพื้นฐานชนิดหนึ่งที่มปี ระโยชนมาก สามารถทํางานไดอยางกวางขวาง เชน ใชสําหรับ ลับคมตัดตาง ๆ ของเครื่องมือตัด ซึ่งไดแก มีดกลึง มีดไส ดอกสวาน และยังสามารถเจียตกแตงชิ้นงานตาง ๆ ไดโดยคํานึงถึง เรื่องความปลอดภัย 1.1 ชนิดของเครื่องเจีย ลับคมตัด เครื่อ งเจียลับคมตัดโดยทั่วไป แบง ออกเปน 2 ชนิด คือ เครื่อ งเจียแบบตั้งโตะ และเครื่องเจียแบบตั้งพื้น ดังนี้ - เครื่อ งเจียแบบตั้ง โตะ (Bench Grinding) เครื่อ งเจียชนิดนี้จ ะยึด ติดอยูกับ โตะ เพื่อ เพิ่ม ความสูง และความสะดวกในการใชงาน - เครื่องเจียแบบตั้งพื้น (Floor Grinding) เปนเครื่องเจียลับคมตัดที่มีขนาดใหญกวาแบบตั้งโตะ มีสวน ที่เปนฐานเครื่องเพื่อใชยึดติดกับพื้น ทําใหเครื่องเจียมีความมั่นคงแข็งแรงกวาเครื่องเจียแบบตั้งโตะ

ภาพที่ 3.1 เครื่องเจียแบบตั้งโตะ

ภาพที่ 3.2 เครื่องเจียแบบตั้งพื้น

วิธีการใชงาน 1) ศึกษาหลักการใช วิธีการ และเตรียมเครื่องมือใหพรอมกอนปฏิบัติงาน 2) ตรวจสอบความพรอมและความเรียบรอยของเครื่องเจียลับคมตัด 3) เปดสวิตชการทํางานของเครือ่ ง 4) ทําการลับมีดตัดหรือชิ้นงานอยางถูกวิธี 5) เมื่อใชงานเสร็จปดสวิตชและทําความสะอาดใหเรียบรอย

131 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขอควรระวัง ขณะใชเครื่องอาจจะมีผงเศษเหล็ก เศษหินกระเด็นเขาตา หรือนิ้วมือถูกลอหินเจียตัดขาดและไฟฟาดูดได เพื่อความปลอดภัยในการใชเครื่องผูใชมีวิธีปฏิบัติดังนี้ 1) ตรวจสอบความพรอมของเครื่องเจียทุกครั้งกอนใชงาน 2) แตงกายใหรัดกุม และสวมแวนปองกันสายตาทุกครั้งกอนใช 3) ตองปรับระยะหางแทนรองรับงาน ประมาณ 3 มิลลิเมตร 4) เมือ่ เกิดรอยบิ่น ใหทําการแตงลอหินเจียใหม 5) หามใชผาจับเครื่องมือหรือชิ้นงานขณะใชเครื่อง เพราะผาอาจจะติดเขาไปในลอแลวเกิดอันตรายได 6) ตองติดตั้งสายดินเพื่อปองกันไฟฟาดูด วิธีการดูแลและบํารุงรักษา เพื่อใหอายุการใชงานไดยาวนาน มีวิธีการดูแลและบํารุงรักษาดังนี้ 1) ตรวจสอบความเรียบรอยของเครื่องใหพรอมใชงานเสมอ 2) กรณีลอหินเจียมีรอยราวหรือไมมีคม ใหปรับแตงหนาหินใหม 3) ตรวจสอบระยะหางของแทนรองรับงานเปนประจํา 4) หลังเลิกใชงาน ควรปดสวิตชและทําความสะอาดทุกครัง้ 2. เครื่องขัดผิวโลหะ เปนเครื่อ งขัดเงาโลหะกอนที่จะนําชิ้นงานไปทําการกัดลาย (Etching) หลัก การและอุปกรณของการขัดเงาคลายกับ การขัดหยาบโดยจะใชจานหมุนอัตโนมัติ เพียงแตขนาดของอนุภาคสารขัดถูจะเล็กกวา ซึ่งอุปกรณในการขัดเงา มีดังนี้ 2.1 ผาขัด ผาขัดที่ใชกับการขัดเงาเปนผาโพลีเอสเตอร มีลักษณะคลายผากํามะหยี่ขนสั้น มีทั้งชนิดที่ติดกาวสําเร็จรูปดานหลัง และชนิดไมติดกาว เวลาใชงานจะแตมดวยผงขัดชนิดที่เปนครีม หรือฉีดดวยผงขัดที่แขวนลอยในน้ํา แขวนลอยในน้ํามัน ผาขัดชนิดที่มีกาวอยูดานหลัง เปนชนิดที่ไวใชกับผงขัดเพชร 2.2 สารขัดเงา สารขัดเงามีทั้งที่เปนผงขัดเพชรอะลูมินาความละเอียดตั้งแต 6 ไมโครเมตร ไปจนถึง 0.25 ไมโครเมตร เวลาแตม ผงขัดหรือฉีดผงขัดลงบนผาควรจะฉีดเปนจุดตามตําแหนง 3, 6, 9 และ 12 นาฬิกาบนแนวเสนรอบวงของการหมุนเดียวกัน ถาเปนชนิดขัดแหง จะขัดโดยไมตองใชน้ํามันหรือสารหลอลื่น สวนการขัดเปยก ตองใชน้ํา หรือน้ํามันชวยในการหลอลื่น 132 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.3 เครื่องขัดผิวโลหะ วิธีการใชงาน ใชหลักการเดียวกับการขัดดวยกระดาษทรายโดยใชจานหมุนอัตโนมัติ กรณีที่ใชมือจับชิ้นงานควรจับใหแนน ความเร็วของจานหมุนที่เหมาะสมควรเปนระดับความเร็ว (จํานวนรอบ/นาที) ที่เ ร็วพอที่จะทําใหเกิดการขัดสี เปดผิวหนาโลหะได แตตองไมเร็วเกินไปจนกระทั่งผูขัดไมสามารถจับชิ้นงานไดอยางถนัด โดยทั่วไปความเร็วในการหมุนจะอยูในชวง 150 - 300 รอบ/นาที ขณะขัดจึงตองมีการใชน้ําเปนสารหลอเย็น และหลอลื่น เพื่อใหเศษโลหะหลุดจากผิวหนาชิ้นงาน และชวยรักษาอุณหภูมิชิ้นงานไมใหรอนขึ้น เวลาในการขัดควรอยูระหวาง 30 - 90 วินาที เพราะการขัดนานเกินไปจะทําใหชิ้นงานเกิดรอยเปนสะเก็ดดาว ชิ้นงานที่ขัดเงาแลวจะตองใสเหมือนกระจกเพื่อที่จะสามารถนําไปกัดลายดวยสารละลายกรดตาง ๆ ได สิ่งสําคัญ ในการขัดเงาคือ การทําความสะอาด เนื่องจากผิวหนาชิ้นงานที่ผานการขัดเงาจะมันวาวมาก จึงควรทําความสะอาด ดว ยการสั่น ในเครื่อ งสั่น (Ultrasonic Cleaning Machine) ทุก ครั้งกอนที่จะเปลี่ยนเบอรผงขัดที่ละเอียดขึ้น เนื่องจากอนุภาคสารขัดเงาที่ตกคางที่ชิ้นงานจะทําใหชิ้นงานเกิดรอยที่ผิวหนาได ขอควรระวัง 1) ขณะทํางานไมควรใหมือ หรืออวัยวะสวนหนึ่งสวนใดของรางกายสัมผัสกับจานขัด 2) ในการขัดชิ้นงานใหกดชิ้นงานเพียงเบา ๆ 3) การขัดชิ้นงานขนาดเล็กใหใชอุปกรณจบั ยึดชิ้นงานแทนการใชมือ 4) ใหสวมกระบังปองกันใบหนาหรือแวนนิรภัยทุกครั้งเมื่อขัดดวยเครื่องขัดกระดาษทรายแบบจาน โดยเฉพาะอยางยิง่ เมื่อขัดชิ้นงานที่เปนโลหะ วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังการขัดงานทุกครั้งควรทําความสะอาดจานหมุน โดยเฉพาะการใชกระดาษทรายประเภทที่ตดิ ดวยกาว สวนการเก็บกระดาษทรายที่เปนแบบมีกาวและไมมีกาวควรจะเก็บในที่แหง เพราะความชื้นจะทําใหประสิทธิภาพ ของกาวลดลง และควรวางในแนวราบเพื่อไมใหงอ นอกจากนี้เมื่อเปลี่ยนเบอรละเอียดขึ้นจะตองเปลี่ยนผาขัดทุกครั้ง และผาขัดที่ใชควรแยกตามชิ้นงานโลหะที่ขัด 133 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3. เครื่องอัดไฮดรอลิกส เครื่องอัดไฮดรอลิกส มีอีกชื่อหนึ่งวา เครื่องจักรกลไฮดรอลิกส เปนเครื่องทุนแรงที่ตองใชแรงในการกดและอัด เพื่ออัด ชิ้นงานเขาหรือดันชิ้นงานออก

ภาพที่ 3.4 เครื่องอัดไฮดรอลิกส วิธีการใชงาน 1) กอนใชงานทุกครั้งตองตรวจสอบเครื่องอัดไฮดรอลิกสใหอยูในสภาพพรอมใชงาน 2) ทําการติดตั้งกระบอกสูบไฮดรอลิกสไวใตชิ้นงานที่ตองการอัดหรือถอด 3) เลื่อนแปนล็อกชิ้นงานใหสนิทเขากับตําแหนงที่ตองการ 4) ปดวาลวน้ํามันไหลกลับใหสนิท 5) ทําการโยกปมดวยมือโยก เพื่อใหกระบอกสูบไฮดรอลิกสดันชิ้นงานขึ้น 6) เมื่อดันชิ้นงานออกเรียบรอยแลว ใหคอย ๆ เปดวาลว เพื่อใหน้ํามันไหลลงสูดานลางของกระบอกสูบ ขอควรระวัง ไมควรยืนอยูตรงหนาของแทนอัด เพื่อปองกันไมใหสงิ่ ของกระเด็นใสในเวลาโยก วิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่องอัดไฮดรอลิกส หลังการใชงานเครื่องอัดไฮดรอลิกสทุกครั้ง ควรตรวจสอบวากระบอกสูบมีการรั่วไหลของน้ํามันหรือไม หากพบ รอยรั่วใหดําเนินการซอมแซมทันที จากนั้นใหลางทําความสะอาดกอนนําไปเก็บเขาที่ใหเรียบรอย

134 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

4. เครื่องทดสอบการดัดงอ 4.1 อุปกรณและเครื่องมือในการทําการทดสอบการดัดโคง อุปกรณและเครื่องมือในการทําการทดสอบการดัดโคงนั้นไมมีขอกําหนดที่ตายตัว เนื่องจากการทดสอบไมซับซอน และไมตองการความละเอียดของเครื่องมือ เพียงแคสามารถทําการดัดโคงชิ้นทดสอบดวยรัศมีตาง ๆ ตามที่กําหนดไว หรือดัดโคงไปดวยมุม (Bending Angle) ที่ตองการ โดยทั่วไปเครื่องมือและอุปกรณตาง ๆ ที่ใชในการทดสอบการดัดโคง เชน Pin Roller และ Mandrel นั้นควรจะมีความยาวยาวกวาความกวางของชิ้นทดสอบ และจะตองมีความแข็งแรง และแข็งเกร็ง ทนตอการแปรรูปและการสึกหรอในระหวางทําการดัดโคงได

ภาพที่ 3.5 อุปกรณ และเครื่องมือในการทําการทดสอบการดัดโคงแบบตาง ๆ

63

135 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีใชงาน การทดสอบการดัดโคงมีหลายวิธี ซึ่ง หลัก การในการทดสอบที่เหมือนกันแตแตกตางกันในรายละเอียด โดยวิธีทดสอบการดัดโคงที่นิยมใชมี 3 วิธี ดังนี้ 1) แบบ Pressing Bend

ภาพที่ 3.6 การทดสอบการดัดโคงแบบ Pressing Bend ทดสอบทําโดยนําชิ้นทดสอบมาวางบนตัวฐานรอง ซึ่งควรจะเปนทรงกระบอกที่มีรัศมีความโคงไมต่ํากวา 10 มิลลิเมตร แลวคอย ๆ เพิ่มแรงในการกดที่จุดกึ่งกลางของชิ้นงานทดสอบ เพื่อทําการดัดโคงชิ้น งาน ซึ่งระยะหางระหวางฐานรองที่ใชในการทดสอบ = 2r + 3t โดยที่ r คือ รัศมีก ารดัดโคง และ t คือ ความหนา หรือ เสนผานศูนยกลางของชิ้นทดสอบ สวนปลาย ของ Mandrel จะตองเปนทรงกระบอก ที่มีรัศมีความโคงเทากับรัศมีการดัดโคงที่ตองการจะทําการทดสอบ 2) แบบ Winding Bend

ภาพที่ 3.7 การทดสอบการดัดโคงแบบ Winding Bend ทดสอบโดยคอย ๆ เพิ่มแรงที่ใชในการมวนชิ้นทดสอบรอบ ๆ Mandrel ตามที่กําหนดไว โดยกดยึดปลาย ดานหนึ่งของชิ้นทดสอบไว และทําการดัดโคงที่ปลายอีกดานหนึ่ง

136 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

3) แบบ V-block Bend

ภาพที่ 3.8 การทดสอบการดัดโคงแบบ V-block Bend ทดสอบโดยนําชิ้นทดสอบมาวางอยูบนฐานรูปตัววี แลวคอย ๆ เพิ่มแรงกดผาน Mandrel ลงตรงกลาง ของชิ้นงานทดสอบ เพื่อทําการดัดโคงชิ้นงานใหไดตามที่กําหนดไว ขอควรระวัง 1) อยาสัมผัสกับสายไฟเมือ่ มือเปยก 2) หลีกเลี่ยงการติดตั้งในสถานที่ ทีเ่ ครื่องทดสอบไดรับแสงแดดโดยตรง 3) อยาใชอุปกรณในบรรยากาศที่ไวไฟ 4) จับชิ้นงานใหแนนกอนทําการดัดโคง 5) ใหชิ้นงานที่อยูในอุณหภูมปิ กติ วิธีบํารุงและดูแลรักษา 1) ทําความสะอาดตัวเครือ่ งดวยผาหรือฟองน้ําดวยน้ํายาทําความสะอาดที่เปนกลาง 2) ทําความสะอาดชิ้นสวนและอุปกรณประกอบดวยฟองน้ําหรือผานุมเปยก 3) เช็ดทําความสะอาดดวยผาแหงอีกครั้ง 4) จัดเก็บเครื่องมือและอุปกรณดวยวิธีการที่เหมาะสมและเก็บในที่ที่ปลอดภัย 5) ชโลมน้าํ มันกอนจัดเก็บ

137 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5. เครื่องตัดชิ้นงานและเครื่องเลื่อย 5.1 เครื่องเลื่อยกล (Sawing Machine) เปนเครื่องมือใชสําหรับงานเลื่อยชิ้นงานอุตสาหกรรม ที่มีชิ้นงานจํานวนมากทั้งชิ้นงานขนาดเล็ก และขนาดใหญ ซึ่งเครื่องเลื่อยกลแบงออกเปนประเภทใหญ ๆ ไดดังนี้ 5.1.1 เครื่องเลื่อยชัก (Power Hack Saw) เครื่องเลื่อยแบบชักเปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลายในการเลื่อย ตัดวัส ดุง านใหไดขนาดและความยาวตามความตองการ ระบบการขับเคลื่อนใบเลื่อยใชสงกําลังดวย มอเตอร แลว ใชเฟองเปนตัวกลับทิศทาง และใชหลักการของขอเหวี่ยงเปนตัวขับเคลื่อนใหใบเลื่ อ ย เคลื่อนที่กลับไป - มา ในแนวเสนตรงอยางตอเนื่อง ทําใหใบเลื่อยสามารถตัดงานได

ภาพที่ 3.9 เครื่องเลื่อยชัก วิธีการใชเครื่องเลื่อยชัก 1) ตรวจสอบความพรอมของเครื่องเลื่อยชักและอุปกรณอยูเ สมอ 2) ผูปฏิบัตงิ านตองมีการตรวจความพรอมทัง้ รางกายและสภาพจิตใจ 3) เปดสวิตชเมนใหญใหกระแสไฟฟาเขาเครือ่ งเลื่อยชัก 4) ยกโครงเลือ่ ยคางไว กอนที่จะทําการตัด 5) บีบจับชิ้นงานดวยปากกาจับงานไมตองแนน เพื่อใหสามารถเลื่อนปรับชิ้นงานได 6) ปรับโครงเลื่อยลง โดยใหฟนของใบเลื่อยหางจากชิ้นงานประมาณ 10 มิลลิเมตร 7) ตั้งระยะความยาวของชิ้นงานโดยใชบรรทัดเหล็กวัดขนาด 8) บีบจับชิ้นงานดวยปากกาจับงานใหแนน 9) ปรับแขนตัง้ ระยะใหยาวเทากับความยาวของชิ้นงาน 138 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

10) เปดสวิตชเดินเครื่องเลื่อยชัก 11) คอย ๆ ปรับระบบปอนตัดไฮดรอลิกสเพื่อใหโครงเลื่อยเลื่อนลงชา ๆ 12) ปรับทอน้ําหลอเย็นใหน้ําฉีดตรงคลองเลื่อย เพือ่ ชวยระบายความรอน 13) รอจนกวาเลื่อยตัดชิ้นงานขาด ขอควรระวังเครื่องเลื่อยชัก 1) กอนใชเครื่องเลื่อยชักทุกครั้ง ตองตรวจสอบความพรอมของเครื่องเสมอ 2) บีบปากกาจับชิ้นงานใหแนนกอนเปดสวิตชเครื่องทํางาน 3) หามตัดชิ้นงานที่มีความยาวนอยกวาปากของปากกาจับงาน เพราะจะทําใหใบเลื่อยหัก 4) เมือ่ ตองการตัดชิ้นงานยาว ๆ ควรมีฐานมารองรับชิ้นงานทุกครั้ง 5) กอนเปดสวิตชเดินเครือ่ ง ตองยกใบเลื่อยใหหางจากชิ้นงานประมาณ 10 มิลลิเมตร 6) การปอนตัดดวยระบบไฮดรอลิกสมากเกินไปจะทําใหใบเลื่อยหัก 7) เหล็กหลอ ทองเหลือง ทองแดง และอะลูมเิ นียมควรหลอเย็นใหถูกประเภท 8) ไมควรกมหนาเขาใกลโครงเลื่อยชักขณะจะเปดสวิตชเดินเครือ่ งเลื่อยทํางาน 9) ขณะเครื่องเลือ่ ยชักกําลังตัดชิ้นงานหามหมุนถอยปากกาจับงานออกเปนอันขาด วิธีการดูแลและบํารุงรักษา เพื่อยืดอายุการใชงานใหยาวนาน จะตองมีวิธีการดูแลและบํารุงรักษาเครื่อง ดังนี้ 1) กอนใชงานเครื่องเลื่อยชักทุกครั้งควรหยอดน้ํามันหลอลื่นบริเวณจุดที่เคลื่อนที่ 2) หลังเลิกใชงานทุกครั้งควรทําความสะอาด และใชผาคลุมเครื่องปองกันฝุนละออง 3) ควรเปลี่ยนน้ําหลอเย็นทุก ๆ สัปดาห 4) ตรวจสอบกระบอกสูบน้ํามันไฮดรอลิกสไมใหรั่วซึม 5) ตรวจสอบ สายพาน มูเ ลย เฟองทด และปม น้ําหลอเย็นเพื่อใหใชงานไดตลอด 5.1.2 เครื ่อ งเลื ่อ ยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เปน เครื ่อ งเลื ่อ ยที ่ม ีใ บเลื ่อ ยยาว ติดตอกันเปนวงกลม การเคลื่อนที่ของใบเลื่อยมีลักษณะการสงกําลังดวยสายพานคือ มีลอขับและลอตาม ทําใหคมตัดของใบเลื่อยสามารถเลื่อยตัดงานไดตลอดทั้งใบ การปอนตัดงานใชระบบไฮดรอลิกสควบคุม ความตึงของใบเลื่อย ปรับ ดวยมือ หมุนหรือ ใชไฮดรอลิก สป รับ ระยะหางของลอ มีโ ครงสรางแข็งแรง ตัวเครื่องสามารถติดตั้งไดกับพื้นโรงงาน

139 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.10 เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน 5.1.3 เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง (Vertical Band Saw) เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้งเปนเครื่องเลื่อยที่ มีใบเลื่อยเปนแบบสายพานแนวตั้ง ซึ่ง จะหมุนตัดชิ้นงานอยางตอ เนื่อง ใชตัดงานเบาไดทุกชนิด เชน ตัดเหล็กแบน เหล็กบางใหขาด หรือตัดเปนรูปทรงตาง ๆ ซึ่งเครื่องเลื่อยชนิดอื่น ๆ ไมสามารถทําได

ภาพที่ 3.11 เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง เครื่องเลื่อยสายพานแตกตางจากเครื่องเลื่อยชัก ที่สามารถตัดชิ้นงานไดตอเนื่อง ในขณะที่เครื่องเลื่อยชัก ทําหนาที่ตัดงานเฉพาะชวงชักตัดเทานั้น และยังใชประโยชนของใบเลื่อยในชวงจํากัด กลาวคือ จะใชประโยชน เฉพาะสวนกลางของใบเลื่อยไดเทานั้น ใบเลื่ อ ยสายพานจะมี ความหนานอ ยกวาใบเลื่อ ยชนิดอื่น จึง ทําใหมีก ารสูญ เสียวัส ดุนอ ยกวาเลื่อย สายพานแนวตั้ง ลักษณะเดนในการทํางานคลายกับงานฉลุดวยมือ ซึ่งจะไมพบในเครื่องเลื่อ ยโลหะชนิ ดอื่ น เชน ตัดชิ้นงานเปนรูปทรงเรขาคณิต 140 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

วิธีการใชงาน 1) ตรวจสอบความตึงของใบเลื่อย และเลือกใชใบเลื่อยใหเหมาะกับขนาดชิ้นงาน 2) ตรวจสอบสายพาน ความเร็วในการตัดใหเหมาะสมกับการใชงาน 3) ตรวจสอบลูกกลิ้งประคองใหใบเลื่อยอยูชิดกับชิ้นงาน 4) วัดชิ้นงานใหไดขนาดตามที่ตองการ แลวปรับระยะตัดชิ้นงาน 5) ยกฝาครอบขึ้นแลวตรวจสอบไฮดรอลิกส เพื่อปรับความเร็วในการตัดชิ้นงาน 6) เปดสวิตชเครือ่ งและวาลวน้ํามันหลอเย็น 7) ปดสวิตชเพื่อทดสอบการหยุดทํางานของเครื่อง แลวเปดเครือ่ งอีกครัง้ 8) หมุนสวิตช Emergency ตามทางลูกศรเล็กนอยเพื่อเปดเครือ่ งไดปกติ 9) ปรับไฮดรอลิกสเพื่อกําหนด FEED การตัดชิ้นงาน โดยการปรับวาลวละเอียด 10) ทดลองตัดชิ้นงานแลวล็อกวาลว และเปด Ball Valve แทนในการตัดงานชิ้นตอไป 11) เมื่อชิ้นงานขาด Cover กด Limit สวิตชเครื่องเลือ่ ยจะหยุดทํางาน 12) หลังใชงานเสร็จควรลดความตึงใบเลื่อย เพื่อเพิ่มอายุการใชงาน ขอควรระวัง 1) ติดตั้งสายดินเพื่อปองกันอันตรายจากไฟดูด 2) ปดฝาครอบใบเลื่อยและพูลเลยทุกครั้งเมื่อตัดงาน 3) กอ นปรับ ใบเลื่อ ยใหตึง ตอ งปรับ แบริ่งประคองเลื่อยใหหางกันประมาณความหนาใบเลือ่ ย 0.1 - 0.2 มิลลิเมตร จากนั้นทดลองเลื่อนใบเลื่อยผานแบริ่งเพื่อไมใหฝด แลวคอยปรับใบเลื่อย ใหตึงพอเหมาะ วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) เช็คระดับน้ํามันเกียรและชุดเฟองทดทุก 6 เดือน 2) ตรวจความตึงสายพาน รอยแตกทุก 6 เดือน 3) กอนใชงานทุกครัง้ ตองตรวจสภาพแบริ่งประคองใบเลือ่ ยไมใหหลวมหรือแนนเกินไป 4) ถาแบริ่งประคองใบเลื่อยแตกหรือติด ใหเปลี่ยนใบใหมทันที 5) ตรวจสอบการรั่วซึมของน้ํามันไฮดรอลิกสที่ชุดกระบอกไฮดรอลิกส 6) ตรวจสอบน้ําหลอเย็นสัปดาหละ 1 ครั้ง หรือถามีกลิ่นเหม็นควรเปลี่ยนใหมทันที

141 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

5.1.4 เครื่องเลื่อยวงเดือน (Circular Saw or Radius Saw) เครื่องเลื่อยวงเดือนเปนเครื่องเลื่อยที่ใบเลื่อย เปนวงกลม มีฟนรอบ ๆ วง สามารถตัดชิ้นงานไดอยางตอเนื่อง มักเปนชิ้นงานบาง ๆ เชน อะลูมิเนียม สามารถตัดงานไดทั้งลักษณะตรงและเอียงเปนมุม

ภาพที่ 3.12 เครื่องเลื่อยวงเดือน วิธีการใชงาน 1) กอนปรับเปลี่ยนหรือปรับตัง้ ขนาดใบเลื่อย จะตองมั่นใจวาเครื่องปดอยูเสมอ 2) การยืนควรยืนอยูขางใดขางหนึ่งของแนวใบเลือ่ ย เพื่อปองกันอันตรายหากใบเลื่อยหลุด 3) ใชที่ครอบใบเลือ่ ยทุกครัง้ ทีม่ ีการตัด 4) คอย ๆ เลื่อนใบเลือ่ ยเพื่อตัดตามรอยที่กําหนดไว 5) เมื่ อ ป ดเครื่ อ งแล วใบเลื่อ ยยัง ไมหยุด หามหยุดใบเลื่อยดวยการนําไมไปใสหรือมือ ไปสัมผัส ใบเลื่อย หามทําความสะอาดแทนเลื่อยดวยมือเปลา ควรใชแปรงปดหรือลมเปา ขอควรระวังในการใชเลื่อยวงเดือน 1) ควรใสฝาครอบใบเลือ่ ยเสมอ 2) อยาออกแรงควบคุมตัดเกิน 3) กอนชิ้นงานจะขาด ใชแรงควบคุมตัดเพียงเล็กนอยพอ 4) หมั่นตรวจการแตกราวของใบเลือ่ ยหรือการยึดติดคมเลื่อย วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ทําความสะอาดเครื่องและใบเลือ่ ยใหปราศจากเศษวัสดุ 2) ตรวจสอบความผิดปกติของเครื่องเปนประจําหลังใชงาน 142 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

6. อุปกรณจับยึด อุป กรณจับยึด คื อ ชิ้นสวนของจิ๊กหรือ ฟก เจอร มีห นาที่ในการจับยึดชิ้นงาน โดยจะยึดจับชิ้นงานใหติดแนนอยูกับ โครงสรางลําตัวของจิ๊กหรือฟกเจอร เพื่อทําใหชิ้นงานอยูในตําแหนงที่ตองการอยางมั่นคงเมื่อมีการปาดผิวชิ้นงาน 6.1 อุปกรณนําเจาะและจับงาน อุปกรณนําเจาะและจับงานแบงออกเปน 2 ชนิด คือ จิ๊ก และฟกเจอร ดังนี้ 1) จิ๊ก (Jig) คือ อุปกรณกําหนดตําแหนงจับยึดชิ้นงาน และเปนตัวนําทางของเครื่องมือตัด (Cutting Tools) โดยทั่วไปนิยมใชในการเจาะรู หรือควานรู จิ๊กจะมีปลอกนําทางอัดติดแนนอยูเสมอ ปลอกนําทางนี้ ทําดวยเหล็กพิเศษที่ผานการชุบแข็งมาแลว และเปนตัวที่ใชสําหรับนําทางในการเจาะรูของดอกสวาน และเครื่องมือตัดอื่น ๆ

ภาพที่ 3.13 จิ๊ก 2) ฟกเจอร (Fixture) เปนเครื่องมือสําหรับการผลิตที่ใชในการกําหนดตําแหนงยึดจับ และรองรับชิ้นงาน ใหอยูคงที่ขณะเครื่องจักรทํางาน และอาจมีแทงตั้งระยะสําหรับตั้งระยะของเครื่องมือตัดประกอบอยู สวนใหญจะใชกับงานไส งานกัด และงานเจียระไน

143 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.14 ฟกเจอร ขอควรระวัง จิ๊ก และฟก เจอรถูก ออกแบบมาโดยเฉพาะเพื่อ ใหเ หมาะสมกับ ชิ้นงานนั้น ผูป ฏิบัติง านไมควรนําไปใช อยางผิดประเภทเพื่อยืดอายุการใชงาน วิธีการดูแลและบํารุงรักษา หลังจากใชงาน ควรทําความสะอาดและตรวจสอบชิ้นสวนใหมีสภาพดี พรอมใชงานเสมอ 7. เครื่องดูดควัน เครื่องดูดควัน เปนอุปกรณที่ใชดูดฝุนและควันไอเชื่อม เพื่อลดผลกระทบตอสุขภาพของชางเชื่อม ทําใหสถานที่ทํางาน ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ซึ่งเครื่องดูดควันมีหลายลักษณะเพื่อใหเลือกใชตามความเหมาะสม ดังตอไปนี้ 1) หัวเชื่อมที่มีชุดดูดควันประกอบ ใชสําหรับดูดสารพิษตรงจุดที่ทําการเชื่อมซึ่งเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด 2) ทอดูดติดบนเครื่องมือ ใชสําหรับดักจับฝุนละออง และอนุภาคที่มีความเขมขนสูงในโรงงานเชื่อม 3) แขนดูดควันเชื่อม ใชดูดจับควันจากแหลงกําเนิดของควันเชื่อม กอนที่จะเขาสูระบบหายใจของชางเชื่อม 4) พัดลมและเครื่อ งเปาลม ใชสําหรับเคลื่อ นยายอากาศที่ปนเปอนฝุนละออง แกส พิษผานตัวกรองออกไป ทําความสะอาด ทําใหพื้นที่ปฏิบัติงานมีอากาศที่บริสุทธิ์

144 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ภาพที่ 3.15 หัวเชื่อมที่มีชุดดูดควัน

ภาพที่ 3.16 ทอดูดติดบนเครื่องมือ

ภาพที่ 3.17 แขนดูดควันเชื่อม

ภาพที่ 3.18 พัดลมและเครื่องเปาลม

วิธีใชงาน 1) ปรับตําแหนงแขนดูดควันเชื่อมใหตรงกับบริเวณทีจ่ ะทําการเชื่อม 2) เปดสวิตชการใชงาน เครื่องดูดควันจะดูดควันหรือไอเชื่อมเขาไป 3) เมื่อหยุดใช ใหปดสวิตชหลังใชงานทุกครั้ง ขอควรระวัง 1) ควรติดตั้งเครื่องดูดควันใหอยูในตําแหนงที่เหมาะสม ไมอยูใกลวัตถุไวไฟ หรือบริเวณที่มีความชื้น 2) ขณะทําการเชื่อมควรระวังไมใหสะเก็ดไปโดนสายไฟของเครื่องดูดควัน เพราะอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได วิธีการดูแลและบํารุงรักษา 1) ตรวจสอบเครื่องมือตามรอบที่ผผู ลิตแนะนําเพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น 2) หมั่นสังเกตความเปลี่ยนแปลงของเครือ่ งมือกล 3) ทําความสะอาดและเปลี่ยนเครื่องมือเมื่อมีการเสื่อมสภาพ 4) ปรับแตงเครื่องจักรกลใหถูกตองตามคาเริม่ ตน 5) ควรใชเครื่องมือกลตามกําลังความสามารถ และใชอยางทะนุถนอม 6) บันทึกขอมูลในการตรวจสอบหรือซอมแซม เพื่อใชอางอิงในครั้งตอไป

145 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบทดสอบ ตอนที่ 1 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. เพื่อความปลอดภัยในการใชเครือ่ งเจียลับคมตัด ควรปรับแทนรองรับงานของเครื่องเจียลับคมตัดใหมรี ะยะหางเทาใด

ก. 3 มิลลิเมตร ข. 5 มิลลิเมตร ค. 7 มิลลิเมตร ง. 9 มิลลิเมตร 2. หากตองการตัดชิ้นงานใหเปนรูปทรงเรขาคณิตควรใชเครื่องเลื่อยแบบใด ก. เครื่องเลื่อยชัก ข. เครื่องเลื่อยวงเดือน ค. เครื่องเลื่อยสายพานแนวตั้ง ง. เครือ่ งเลื่อยสายพานแนวนอน 3. การทดสอบการดัดโคงในขอใด ใชการมวนชิ้นงานทดสอบเพื่อดูความเปลี่ยนแปลง ก. Winding bend ข. V-Block bend ค. Pressing bend ง. U-Block bend

146 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ตอนที่ 2 คําชี้แจง ใหผรู ับการฝกจับคูโจทยและคําตอบใหถูกตอง โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ ขอ

โจทย

4

เครื่องทุนแรงที่ตองใชแรงในการกดและอัด เพื่ออัดชิ้นงานเขาหรือดันชิ้นงานออก

5

อุปกรณกําหนดตําแหนงจับยึดชิ้นงาน และเปนตัวนําทางของเครื่องมือตัด โดยทั่วไปนิยมใชในการเจาะรู หรือควานรู

6

กรณีลอหินเจียมีรอยราวหรือไมมีคม ใหปรับแตงหนาหินใหม ตรวจสอบระยะหางของแทนรองรับงาน เปนประจํา หลัง เลิก ใชง านควรปดสวิตชและทําความสะอาดทุก ครั้ง

7

เครื่องมือที่มีหลักการใชงานเชนเดียวกับการขัดดวยกระดาษทราย โดยใชจานหมุนอัตโนมัติ

8

เครื่องมือที่ใชสําหรับเคลื่อนยายอากาศที่ปนเปอนฝุนละออง แกสพิษผานตัวกรองออกไปทําความสะอาด ทําใหพื้นที่ปฏิบัติงานมีอากาศที่บริสุทธิ์

ขอ

คําตอบ

เครื่องขัดผิวโลหะ

จิ๊ก

พัดลมและเครื่องเปาลม

การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องเจีย

เครื่องดูดควัน

แทนอัดไฮดรอลิกส

147 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

เฉลยใบทดสอบ ตอนที่ 1 ปรนัย ขอ

1 2 3 ตอนที่ 2 จับคู ขอ

4 5 6 7 8

148 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.1 การใชเครื่องเจียตั้งโตะ 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบตั ิงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกเจียลบมุมชิ้นงานดวยเครื่องเจียแบบตั้งโตะทัง้ 4 มุมของชิ้นงาน

ภาพแสดงมุมชิ้นงานที่ทําการเจีย

149 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.1 การใชเครื่องเจียตั้งโตะ 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริม่ ปฏิบัตงิ าน ไดแก - ถุงมือผา - ที่ครอบหู - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ป ฏิบัติงาน ไมใหมีอุป กรณอื่น ๆ ที่ไมเ กี่ยวขอ ง หรือ วัส ดุอันตราย เชน วัตถุไวไฟ แกสเชื้อเพลิง เปนตน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรบั การฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัตงิ าน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เครื่องเจียตัง้ โตะ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน

จํานวน 1 เครื่อง

- ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชิ้น

150 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชเครื่องเจียตั้งโตะ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เตรียมเครื่องมือ และวัสดุ

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เตรียมเครื่องเจียตั้งโตะ และชิ้นงานขนาด ตรวจสอบความพรอ ม 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร

ของเครื่ อ งเจี ย ทุ ก ครั้ ง กอนใชงาน สวมชุ ด ปฏิ บั ติ ก ารชาง และอุ ป กรณ ป อ งกั น อันตรายทุกครั้งกอนใช

เครื่องเจียตั้งโตะ

ชิ้นงานขนาด 100 x 200 x 10 มิลลิเมตร

2. ปรับระยะหางแทนรองรับงานกับลอหินเจีย

ปรั บ ระยะแท น รองรับ งานกับ ลอ หินเจีย ไมควรปรับแทนรองรับ ประมาณ 3 มิลลิเมตร งานให ห า งจากใบเจี ย มาก เพราะจะทํ า ให ชิ้นงานงัดกับลอหินเจีย อาจเกิดอันตรายได

3. จับชิ้นงานใหแนน

จั บ ชิ้ น งานให แ น น โดยสวมถุ ง มือ ปอ งกัน หามใชผาจับ เครื่อ งมือ อันตรายทุกครั้ง

หรือชิ้นงานขณะใชเครื่อง เพราะผาอาจจะติดเขาไป ในลอแลวเกิดอันตรายได

151 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. เจียลบมุมชิ้นงานทั้ง 4 มุม

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เจียลบมุมชิ้นงานดวยเครื่องเจียตั้งโตะทั้ง 4 ไม ใ ช ด า นข า งของหิ น มุมของชิ้นงาน

เจี ย เจี ย ลบมุ ม ชิ้นงาน ให ใ ช ด า นหน า เท า นั้ น เพราะอาจทําใหใบเจีย สึกหรอและแตกไดงาย

5. ชิ้นงานที่ทําการเจียลบมุมเสร็จ

ชิ้นงานที่ทําการเจียลบมุมเสร็จทั้ง 4 มุม

ควรระวังสะเก็ดไฟจาก การเจียชิ้นงานกระเด็น ใ ส ร า ง ก า ย แ ล ะ ถู ก สายไฟของเครื่องจักร

152 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

เกณฑการใหคะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

คะแนนเต็ม 3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 2

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และแผนชิ้นงาน

การเตรียมเครื่องเจียตัง้ โตะ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

การเตรียมเครื่องเจียตัง้ โตะ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเตรียมเครื่องเจียตั้งโตะ และวัสดุที่เกี่ยวของ ให 0 คะแนน 3

ปรับระยะแทนรองรับงานกับลอหินเจีย

ปรับระยะแทนรองรับงานกับลอหินเจีย 3 มิลลิเมตร ให 2 คะแนน

2

ปรับระยะแทนรองรับงานกับลอหินเจีย คลาดเคลื่อน ±1 มิลลิเมตร ให 1 คะแนน ปรับระยะแทนรองรับงานกับลอหินเจีย คลาดเคลื่อนมากกวา ±1 มิลลิเมตร ให 0 คะแนน 4

ลักษณะการจับชิ้นงานวางบนแทนรับงาน

วางบนแทนรับงาน ให 2 คะแนน ไมวางบนแทนรับงาน ให 0 คะแนน

2

5

พื้นที่การเจีย

ใชดานหนาลอ ให 2 คะแนน ใชดานขางลอ ให 0 คะแนน

2

6

ความเรียบของมุมชิ้นงาน

ตรงตามแบบทั้งสี่มุม ให 2 คะแนน

2

ตรงตามแบบเพียงบางมุม ให 1 คะแนน ไมตรงตามแบบ ให 0 คะแนน 7

ชิ้นงานลบครีบเรียบรอย

ลบครีบเรียบรอย ให 2 คะแนน ลบครีบไมเรียบรอย ให 1 คะแนน ไมลบครีบชิ้นงาน ให 0 คะแนน

153 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2 ลําดับที่ 8

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

มีการทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

3

ให 3 คะแนน ไมมีการทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน 9

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และการจัดเก็บเครื่องมือ ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน เก็บเครื่องมือ และอุปกรณ และอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ใหคะแนน 2 คะแนน

2

ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน แตไมเก็บเครื่องมื อ และอุปกรณเขาที่ หรือไมทําอยางใดอยางหนึ่ง ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และไมเก็บเครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

154 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.2 การใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบตั ิงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง 1. ใหผรู ับการฝกเขียนขั้นตอนการใชเครื่องอัดไฮดรอลิกสกดชิน้ งาน ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... 2. ใหผรู ับการฝกกดชิ้นงานโดยใชเครือ่ งอัดไฮดรอลิกส

ภาพชิ้นงานขนาด 20 x 200 x 10 มิลลิเมตร 155 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.2 การใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริม่ ปฏิบัตงิ าน ไดแก - ถุงมือผา - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรบั การฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัตงิ าน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน - เครื่องอัดไฮดรอลิกส 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานขนาด 20 x 200 x 10 มิลลิเมตร

จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 2 ชิ้น

156 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. เขียนขั้นตอนการใชเครื่องอัดไฮดรอลิกส

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

เขียนขั้นตอนการใชเ ครื่อ งอัดไฮดรอลิกส กดชิ้นงาน

2. เตรียมเครื่องมือ และวัสดุ

เตรียมเครื่อ งอัดไฮดรอลิก ส และชิ้นงาน กอนใชงานควรตรวจสอบ ขนาด 20 x 200 x 10 มิลลิเมตร จํานวน 2 ชิ้น เครื่ อ งอั ด ไฮดรอลิ ก ส และตรวจสอบดูรอยรั่ว ของน้ํ ามั นที่ อ าจมี ก าร รั่วไหลของกระบอกสูบ

เครื่องอัดไฮดรอลิกส

ชิ้นงานขนาด 20 x 200 x 10 มิลลิเมตร

3. วางชิ้นงานกดไฮดรอลิกส

วางชิ ้น งานบนแทน รองเพื ่อ ทํ า การกด ไม ค วรยื น อยู ต รงหน า ไฮดรอลิกส ของแทนอัด เพื่อปองกัน ไมใหสิ่ง ของกระเด็นใส ในเวลาโยก

157 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. กดชิ้นงานใหโคงงอเปนรูปตัวยู

คําอธิบาย

ทําการกดโดยใชคันโยกแบบเบาจนชิ้นงาน หากใชคันโยกแบบเบา โคงงอเปนรูปตัวยู

5. ชิ้นงานโคงงอเปนรูปตัวยู

ขอควรระวัง แลวกดไมล งใหเ ปลี่ยน มาใชคันโยกแบบหนัก

เมื่อ กดเสร็จ ชิ้นงานจะโคง งอเปนรูปตัวยู หลังใชงานควรตรวจสอบ และกดใหครบทั้ง 2 ชิ้น

เครื่ อ งอั ด ไฮดรอลิ ก ส และตรวจสอบดูรอยรั่ว ของน้ํ ามั นที่ อ าจมี ก าร รั่วไหลของกระบอกสูบ

158 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานไดถูกตอง ให 2 คะแนน

คะแนนเต็ม 2

เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานไดถูกตองบางสวน ให 1 คะแนน ไมเขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 2

การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น

3

ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และชิ้นงาน

การเตรียมเครื่ องมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถู ก ต อ ง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

การเตรียมเครื่องมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเตรียมเครื่องมือและวัสดุที่เกี่ยวของ ให 0 คะแนน 4

การวางตําแหนงชิ้นงานเพื่อกดไดถูกตอง

วางตําแหนงชิ้นงานถูกตอง ให 2 คะแนน วางตําแหนงชิ้นงานไมถูกตอง ให 0 คะแนน

2

5

การใชคันโยกกดไฮดรอลิกสเหมาะสม

ใชคันโยกกดไฮดรอลิกสเหมาะสม ให 2 คะแนน

2

ใชคันโยกกดไฮดรอลิกสไมเหมาะสม ให 0 คะแนน 6

การคายไฮดรอลิกสเพื่อใหดันขึ้น

คายไฮดรอลิกสไดถูกตอง ให 2 คะแนน คายไฮดรอลิกสไมถูกตอง ให 0 คะแนน

2

7

ชิ้นงานโคงงอเปนรูปตัวยู

ชิ้นงานโคงงอเปนรูปตัวยูทั้ง 2 ชิ้น ให 2 คะแนน ชิ้นงานหักออกจากกัน ให 0 คะแนน

2

8

การคํานึงถึงความปลอดภัย

มีการคํานึงถึงความปลอดภัย ให 3 คะแนน ไมมีการคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน

3

9

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และการจัดเก็บเครื่องมือ ทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ป ฏิ บั ติงาน เก็ บ เครื่ อ งมื อ และ และอุปกรณ

อุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน แตไมเก็บเครื่องมื อ และอุปกรณเขาที่ หรือไมทําอยางใดอยางหนึ่ง ให 1 คะแนน

159 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

ไม ทํ า ความสะอาดพื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน และไม เ ก็ บ เครื่องมือและอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

160 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบงาน ใบงานที่ 3.3 การใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. ปฏิบัติการใชและบํารุงรักษาเครื่องมือกลไดอยางถูกตอง 2. ปฏิบตั ิงานโดยคํานึงถึงความปลอดภัย

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงาน รวม 1 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง 1. ใหผรู ับการฝกเขียนขั้นตอนการใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอนตัดชิ้นงานทอ ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................... 2. ใหผรู ับการฝกตัดชิ้นงานทอโดยใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน

ภาพเครื่องเลือ่ ยสายพานแนวนอน 161 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ 3.3 การใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - ชุดปฏิบัติการชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้นที่ปฏิบัติงาน ไมใหมีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไมเกี่ยวของ หรือวัสดุอันตราย อยูบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน 2. ดูแลไมใหบุคคลทีไ่ มเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเพื่อใชในกรณีฉุกเฉิน 4. ผูรบั การฝกตองเรียนรูวิธีการปฐมพยาบาลเบือ้ งตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัตงิ าน 5. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. เครื่องเลือ่ ยสายพานแนวนอน 2. ตะไบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน - ชิ้นงานทอ sch40 ขนาด 6 นิ้ว หนา 7.11 มิลลิเมตร

162 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชิ้น


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การใชเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

1. เขียนขั้นตอนการใชเครื่องเลื่อยสายพาน

เขียนขั้นตอนการใชเ ครื่อ งเลื่อ ยสายพาน

แนวนอน

แนวนอนตัดชิ้นงานทอ

2. เตรียมเครื่องมือ และวัสดุ

เตรี ย มเครื่ อ งเลื่ อ ยสายพาน ชิ้ น งานท อ ติดตั้งสายดินเพื่อปองกัน sch40 ขนาด 6 นิ้ว หนา 7.11 มิลลิเมตร อั น ต ร า ย จ า ก ไฟ ดู ด และตะไบขัดชิ้นงาน ตรวจสอบความพรอ ม ของเครื่องกอนใชงาน

เครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน

ชิ้นงานทอ sch40 ขนาด 6 นิ้ว หนา 7.11 มิลลิเมตร

ตะไบ

3. วัดขนาดทอใหมีความยาว 150 มิลลิเมตร

วัดขนาดทอใหมีความยาว 150 มิลลิเมตร และทําเครื่องหมายกํากับ

163 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 4. วางชิ้นงานบนเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง

วางชิ้นงานบนเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน กอ นปรับ ใบเลื่อยใหตึง โดยใหจุดที่ทําเครื่องหมายตรงกับใบเลื่อ ย ต องปรั บแบริ่ งประคอง พอดี เลือ่ ย ใหหางกันประมาณ ความหนาใบเลื่อย 0.1 0.2 มิลลิเมตร จากนั้น ทดลองเลื่ อ นใบเลื่ อ ย ผานแบริ่ง เพื่อ ไมใหฝด แลวคอยปรับใบเลื่อยให ตึงพอเหมาะ

5. ล็อกชิ้นงานกับปากกาจับงาน

ล็อ กแนนที่ป ากกาจับ งาน และเปดสวิตช เครื่องเพื่อทําการตัด

6. ตัดทอดวยเครื่องเลื่อยสายพานแนวนอน

ใชเครื่องเลื่อยสานพานแนวนอนตัดชิ้นงาน ป ด ฝาครอบใบเลื่ อ ย ยาว 150 มิลลิเมตร จํานวน 2 ชิ้น

และพูล เลยทุก ครั้งเมื่อ ตัด งาน และตอ งเปด น้ํ า หล อ เย็ น ขณะตั ด ตลอดเวลา เพื่อปองกัน ใบเลื่อยชํารุด

7. ลับคมชิ้นงานดวยตะไบ

ใชตะไบลบคมทอ บริเวณที่ตัดเพื่อปองกัน เพื่อใหงายตอการลับคม การเกิดอันตราย ควรใชปากกาจับชิ้นงาน หนีบชิ้นงานไว

164 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน

เกณฑการใหคะแนน เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานไดถูกตอง

คะแนนเต็ม 2

ให 2 คะแนน เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานไดถูกตองบางสวน ให 1 คะแนน ไมเขียนขั้นตอนการปฏิบัติงาน ให 0 คะแนน 2

การสวมอุปกรณปองกันอันตราย

สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายไดถูกตอง ครบถวน

3

ให 3 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไป 1 ชิ้น ให 2 คะแนน สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขาดไปมากกวา 1 ชิ้น ให 1 คะแนน ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ให 0 คะแนน 3

เตรียมเครื่องมือ อุปกรณ และชิ้นงาน

การเตรียมเครื่ องมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถู ก ต อ ง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

การเตรียมเครื่องมือ และวัสดุที่เกี่ยวของไดถูกตอง แตไมครบถวน ให 1 คะแนน ไมเตรียมเครื่องมือและวัสดุที่เกี่ยวของ ให 0 คะแนน 4

การวัดเพื่อกําหนดตําแหนงการตัดไดถูกตอง

กําหนดตําแหนงการตัดไดถูกตองทัง้ สองชิ้น ให 2 คะแนน

2

กําหนดตําแหนงการตัดไดถูกตอง เพียงชิ้นเดียว ให 1 คะแนน กําหนดตําแหนงการตัดไมถูกตองทั้งสองชิ้น ให 0 คะแนน 5

การวางตําแหนงชิ้นงานเพื่อตัดไดถูกตอง

วางตําแหนงชิ้นงานเพื่อตัดไดเหมาะสม ทั้งสองชิ้น ให 2 คะแนน วางตําแหนงชิ้นงานเพื่อตัดไดเหมาะสม เพียงชิ้นเดียว ให 1 คะแนน วางตําแหนงชิ้นงานเพื่อตัดไดไมเหมาะสม ทั้งสองชิ้น ให 0 คะแนน

165 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

2

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2 ลําดับที่ 6

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การควบคุมเครื่องตัด

ควบคุมไดถูกตอง ขณะตัดงานทั้งสองชิ้น

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

2

ให 2 คะแนน ควบคุมไดไมถูกตอง ขณะตัดงานชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ให 1 คะแนน ควบคุมไดไมถูกตอง ขณะตัดชิ้นงานทั้งสองชิ้น ให 0 คะแนน 7

การลบคมทอดวยตะไบ

มีความเรียบรอยทั้งสองชิ้น ให 2 คะแนน

2

มีความเรียบรอยเพียงชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ให 1 คะแนน ไมมีความเรียบรอยทั้งสองชิ้น ให 0 คะแนน 8

การคํานึงถึงความปลอดภัย

มีการคํานึงถึงความปลอดภัย ให 3 คะแนน

3

ไมมีการคํานึงถึงความปลอดภัย ให 0 คะแนน 9

ความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และการจัดเก็บเครื่องมือ ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน เก็บเครื่องมือ และอุปกรณ และอุปกรณเขาที่ไดถูกตอง ครบถวน ให 2 คะแนน

2

ทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน แตไมเก็บเครื่องมื อ และอุปกรณเขาที่ หรือไมทําอยางใดอยางหนึ่ง ให 1 คะแนน ไมทําความสะอาดพื้นที่ปฏิบัติงาน และไมเก็บเครื่ องมือ และอุปกรณเขาที่ ให 0 คะแนน คะแนนเต็ม

20

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 14 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

166 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 167 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 1 (ประเภทแผ นหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 2

168 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.