คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คูมือครูฝก 0920164150301 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 3 09215202 ทฤษฎีไฟฟา
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คํา นํา
คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 โมดูล 3 ทฤษฎีไฟฟาฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ได พั ฒ นาขึ้ น เพื่ อ ใช เ ป น เอกสารประกอบการจัด การฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ซึ่งไดดําเนินการภายใตโครงการพั ฒ นา ระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงานดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใ ชเปนเครื่องมือในการบริหาร จัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ เกี่ย วกับระบบไฟฟา หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา ตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และการคํานวณไฟฟาเบื้องตน เพื่อติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือ สมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรีย นรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรีย นรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธก ารฝก อบรมในการที่ทําใหผูรั บการฝก อบรมมีค วามสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบั ติง าน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรีย นรูแ ละฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพร อม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรีย ม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเปนรูปแบบการฝกที่มี ความสํา คัญ ต อการพั ฒ นาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบั นและอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ นการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใ ชแ รงงานผูวางงาน นักเรีย น นักศึกษา และผูประกอบอาชีพ อิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เรื่อง
สารบัญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 1 09215202 ทฤษฎีไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921520201 ระบบไฟฟา หัวขอวิชาที่ 2 0921520202 หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา หัวขอวิชาที่ 3 0921520203 ตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา หัวขอวิชาที่ 4 0921520204 การคํานวณไฟฟาเบื้องตน คณะผูจัดทําโครงการ
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
20 35 48 62 97
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถ แบบออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบี ย นแบบออนไลน ให ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นผ า นเว็ บ ไซต โดยกรอกประวั ติ เลือกหลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบี ย นแบบออฟไลน ผู ที่ ส นใจเข า รั บ การฝ ก ลงทะเบี ย นที่ ศู น ย ฝ ก โดยการเลื อ กหลั ก สู ต ร กรอกประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวใ นระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผ าน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6 ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรับจากผูที่สนใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐาน ของกรมพัฒนาฝมือแรงงาน 7 ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูสมัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8 ครูฝกคัดเลือกผูสมัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรับ 9 เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสือ่ สิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ข อเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก
ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดย ใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการดาวน โหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และ เขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการ ฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คู มื อ การประเมิ น รู ป แบบเอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (.pdf) เพื่ อ บั น ทึ ก ผลการประเมิ น การทดสอบของ ผูรับการฝก
- สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาทีต่ รวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920164150301
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ด านความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกในสาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางดานชางไฟฟาอุตสาหกรรมไดอยางปลอดภัย 1.2 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัดทางไฟฟาและเครื่องมืออุปกรณปองกันสวนบุคคล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟา 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการอานแบบ-เขียนแบบวงจรไฟฟาอุตสาหกรรม 1.5 มีความรูเกี่ยวกับหลักการทํางานของอุปกรณในระบบไฟฟา มาตรฐานสายไฟฟา ขอกําหนดในการติดตั้ง และการเดินสายไฟฟา 1.6 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการตอสายไฟฟา 1.7 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายรอยทอโลหะ และทอพีวีซี 1.8 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายภายในตูควบคุม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมื อ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 78 ชั่วโมง เนื่องจากเปนการฝกที่ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรู ทักษะ ความสามารถและความพรอมของผูรับการฝกแตละคน มีผลให ผูรับการฝกจบการฝกไมพ รอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวใ นหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริห าร ระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ใ หอยูใ นดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 8 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 8 โมดูล 16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 3 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920164150301 2. ชื่อโมดูลการฝก ทฤษฎีไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215202 3. ระยะเวลาการฝก รวม 3 ชั่วโมง ทฤษฎี 3 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟาได 2. บอกหนวยวัดทางไฟฟาได 3. อธิบายการอานและเขียนสัญลักษณของหนวยวัดทางไฟฟาได 4. บอกเกี่ยวกับตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟาได 5. คํานวณไฟฟาเบื้องตนดวยกฎของโอมหได 6. คํานวณหาคาตามกฎของโอมหจากวงจรไฟฟาแบบตาง ๆ ได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับทฤษฎีไฟฟาจาก ผูรับการฝก หนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 2 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟาได หัวขอที่ 1 : ระบบไฟฟา 0:30 0:30 2. บอกหนวยวัดทางไฟฟาได หัวขอที่ 2 : หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา 0:30 0:30 3. อธิบายการอานและ เขียนสัญลักษณของหนวยวัด ทางไฟฟาได 4. บอกเกี่ยวกับตัวนํา ฉนวน หัวขอที่ 3 : ตัวนํา ฉนวน ความตานทาน 0:30 0:30 ความตานทาน และ และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา (Inductor) สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 1
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ตัวเหนี่ยวนําไฟฟาได 5. คํานวณไฟฟาเบื้องตนดวย หัวขอที่ 4 : การคํานวณไฟฟาเบื้องตน กฎของโอมหได 6. คํานวณหาคาตามกฎของโอหม จากวงจรไฟฟาแบบตาง ๆ ได รวมทั้งสิ้น
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
1:30
-
1:30
3:00
-
3:00
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0921520201 ระบบไฟฟา (ใบเตรียมการสอน)
1. ผลลัพธการเรียนรู - อธิบายเกี่ยวกับระบบไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ 1. ไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ 2. ระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส 3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2557. ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.blueconcept.co.th/blue-article/109-2014-05-16-16-11-54.html ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. วัชรพงษ ยงไสว. หนวยวัดปริมาณไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric83.htm วิทยาลัยแลมป – เทค. กฎของโอหม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://www.tatc.ac.th/files/110528099420636_11060719190113.pdf หนวยทางไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/7-1 aunew BANGRAK. 2554. งานพื้นฐานวงจรไฟฟาและการวัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก: http://aunewbuathong.blogspot.com/2011/08/blog-post.html
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟา
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เกี่ ย วข องกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สราง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่องระบบไฟฟา 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องระบบไฟฟา หนาที่ 15 - 27 2. สอนเนื้อหาเรื่องระบบไฟฟา โดยใชวิธีถ ามตอบกับผูรับ การฝ ก และใชความรูเ ดิ ม ของ ผูรับการฝกมาตอยอดเปนความรูใหมพรอมใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาที ที่ 00.00 – 10.37 โดยมี สาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ 2.2 ระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ ฝก หนาที่ 24 - 27 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือครูฝก หนาที่ 34
1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องระบบไฟฟา หนาที่ 15 - 27 ไปศึกษา 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย
3. ทําใบทดสอบหนาที่ 24 - 27 โดยครูฝกคอยสังเกต และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง ระบบไฟฟา อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ระบบไฟฟ า เกี่ย วกับกิจนิสัย ในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ระบบไฟฟา 1. ไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ กระแสไฟฟา เกิดจากการเคลื่อ นที่ข องอิเ ล็ก ตรอนในตัวกลางหรือ ตัว นําไฟฟ าที่อ ยูภายใตอิ ทธิพลของสนามไฟฟา ซึ่งแตกตางจากไฟฟาสถิตที่ประจุไฟฟาไมมีการเคลื่อนที่ ทั้งนี้การผลิตไฟฟาขึ้นมาใชงาน สามารถผลิตไดจากแหลงกําเนิดไฟฟา ที่แตกตางกัน โดยกระแสไฟฟาแบงออกเปน 2 ชนิด คือ ไฟฟากระแสตรง และไฟฟากระแสสลับ 1.1 ไฟฟากระแสตรง (Direct Current : DC) ไฟฟากระแสตรง หมายถึง ไฟฟาที่กําเนิดขึ้นมาจากแหลงกําเนิดไฟฟาที่มีขั้วไฟฟาจายศักยไฟฟาออกมาแนนอน เชน ศักยบวก (+) และศักยลบ (-) เมื่อนําไปใชงานจะเกิด กระแสไฟฟาไหลไปในทิ ศ ทางเดีย ว และมีแ รงดันไฟฟา จายออกมาคงที่ตลอด แหลงกําเนิดไฟฟากระแสตรงที่ผลิตมาใชงาน เชน ถานไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต เปนตน 1.2 ไฟฟากระสลับ (Alternating Current : AC) ไฟฟากระสลับ หมายถึง ไฟฟาที่กําเนิดขึ้นมาจากแหลงกําเนิดไฟฟาที่มีขั้วจายไฟศักยไฟฟาออกมาไมแ นน อน ซึ่งแตละขั้วไฟฟาสามารถจายศักยไฟฟาออกมาเปลี่ยนแปลงสลับไปมาทั้งบวก (+) และลบ (-) เมื่อนําไปใชงานจะเกิด กระแสไฟฟาไหลในทิศทางกลับไปกลับมาเปลี่ย นแปลงตลอดเวลา และมีแรงดันไฟฟาจายออกมาเปลี่ย นแปลง ไมคงที่ แหลงกําเนิดไฟฟาที่ผลิตมาใช ไดแ ก เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ทั้งนี้พ ลังงานที่นํามาใชขับเคลื่อนใหเครื่องกําเนิด ไฟฟากระแสสลับทํางานสามารถทําไดหลายวิธี เชน ใชพลังน้ํา พลังงานลมในการขับเคลื่อนและใชเชื้อเพลิงชนิ ดตาง ๆ เชน น้ํามัน ถานหิน กาซ ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนตน 2. ระบบไฟฟาแบบ 1 เฟส และ 3 เฟส 2.1 หนวยงานที่ทําหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการผลิตและสงจายกําลังไฟฟาภายในประเทศไทย หนวยงานที่รับผิดชอบมีจํานวน 3 องคกร โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1.1 การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) (Electricity Generating Authority of Thailand (EGAT)) ทําหนาที่จัดหาพลังงานไฟฟาใหกับประชาชน โดยการผลิต จัดหา และจําหนายพลังงานไฟฟาใหกับ การไฟฟานครหลวง และการไฟฟาสวนภูมิภาคและผูใชพลังงานไฟฟา ซึ่งจะมีระบบการสงจายกําลังไฟฟา ดวยคาแรงดัน 500 kV, 230 kV, 115 kV และ 69 kV
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 1.1 ตราสัญลักษณการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.) 2.1.2 การไฟฟานครหลวง (กฟน.) (Metropolitan Electricity Authority (MEA)) ทําหนาที่จัดใหไดมา จัดสง และจํ า หน า ยพลั ง งานไฟฟ า แก ป ระชาชน ธุ ร กิ จ และอุ ต สาหกรรม เขตพื้ น ที่ 3 จั ง หวั ด ได แ ก กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ ทําหนาที่ดูแลรักษาสายสงไฟฟาแรงสูง สถานีเปลี่ยนแรงดัน สายจําหนายไฟฟาแรงสูง
ภาพที่ 1.2 ตราสัญลักษณการไฟฟานครหลวง (กฟน.) 2.1.3 การไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) (Provincial Electricity Authority (PEA)) ทําหนาที่จัดใหไดมา จัดสง และ จําหนายพลังงานไฟฟาใหแ กประชาชน ธุรกิจ และอุตสาหกรรมในเขตพื้นที่จังหวัดรวม 74 จังหวัด (รวมจังหวัดบึงกาฬ) (ยกเวน กรุงเทพมหานคร นนทบุรี และสมุทรปราการ) มีระบบจําหนายแรงสูง คาแรงดัน 33 kV, 22 kV และระดับแรงดันต่ํามีขนาด 400/230 V, 3 เฟส 4 สาย โดยระดับแรงดันของ การไฟฟานครหลวงกั บการไฟฟ าส ว นภู มิภ าคจะมี ค าไมเ ท ากั น เนื่องจากใชม าตรฐานต า งกั น คือ การไฟฟานครหลวงใชมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา สวนการไฟฟาสวนภูมิภาคใชมาตรฐานของยุโรป
25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ที่ 1.3 ตราสัญลักษณการไฟฟาสวนภูมิภาค (กฟภ.) 2.2 ระบบผลิตกําลังไฟฟา (Generating System) ระบบผลิตกําลังไฟฟา หรือเรียกวา โรงไฟฟาหรือโรงจักรไฟฟา (Power Plant) หมายถึง ระบบที่มีการเปลี่ยนรูปพลังงาน จากพลังงานรูปแบบอื่น ๆ เปนพลังงานไฟฟา เชน การเปลี่ยนพลังงานศักยของน้ําการเปลี่ยนพลังงานความรอนจากถานหิน แกส น้ํามัน ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนตน ซึ่งกระบวนการเปลี่ยนพลังงานรูปแบบอื่นเปนพลังงานไฟฟาโดยสวนใหญจะผานรูปของ พลังงานกลกอนเสมอ และใชพลังงานกลเปนตัวขับ (Primemover) เครื่องกําเนิดไฟฟาอีกทีหนึ่ง เครื่องกําเนิดไฟฟ าของ โรงไฟฟาในปจจุบันจะมีคาแรงดันจายออกหลายระดับ เชน 3.5 kV, 11 kV และ 13.8 kV ซึ่งแรงดันดังกลาวจะถูกแปลง ใหสูงขึ้นที่ลานไกไฟฟา (Switch Yard) โดยมีคาเปนไปตามระดับแรงดันมาตรฐานที่ใชสงกําลังไฟฟา คือ 69 kV, 115 kV, 230 kV หรือ 500 kV การสงกําลังไฟฟาจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งจะเลือกสงดว ยระดับ แรงดัน ระดับ ใดขึ้น อยูกับ ระยะทางที่ใ ชสงเปนสําคัญ ในการสงกําลังไฟฟาแรงดั นสูง นั้ นจะสงดวยระบบ 3 เฟส เนื่องจากการเพิ่ม สายสง ขึ้น อีกหนึ่งเสนจะสามารถสงกําลังไฟฟาไดสูงกวาระบบเฟสเดียวถึง 75% เมื่อเปรียบเทียบขณะใชแรงดันและกระแสไฟฟา จํานวนเทา ๆ กัน 2.3 ระบบสงกําลังไฟฟา (Transmission System) ระบบสง กํา ลังไฟฟา คือ ระบบสง พลัง งานไฟฟา จากระบบผลิต ไฟฟา ไปยังระบบจําหนาย ซึ่ง เปน ศูนยกลาง การจายโหลด (Load Center) อาจใชสายอากาศเดิ นเหนื อศี รษะ (Overhead Aerial Line) หรือใชสายเคเบิ ลเดิ นใต ดิ น (Underground Cable) ก็ได โดยระดับแรงดันไฟฟาที่สงผานสายสงไฟฟาของการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยใน ปจจุบันมีระดับ 69 kV,115 kV, 132 kV, 230 kV และ 500 kV ระบบสงกําลังไฟฟาจะประกอบดวยสถานียอย ดังนี้ 1) สถานียอยแปลงแรงดันไฟฟาใหสูงขึ้น (Step-up Substation) 2) สายสงกําลังไฟฟา (Transmission Line) หรือเรียกวา สายสง 3) สถานียอยตนทาง (Primary Substation) 4) สายสงกําลังไฟฟายอย (Subtransmission Line) หรือเรียกวา สายสงยอย 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.4 ระบบจําหนายกําลังไฟฟา (Distribution System) ระบบจําหนายกําลังไฟฟา คือ ระบบที่ทําหนาที่รับแรงดันไฟฟาจากระบบสงกําลังไฟฟา เพื่อจายไปยังผูบริโภค ระบบจายกําลังไฟฟาประกอบดวย 1) สถานีไฟฟายอยจําหนาย (Secondary Substation) 2) สายปอนหรือสายจําหนายแรงสูง (Primary Distribution Line or High Tension Feeder) 3) หมอแปลงจําหนาย (Distribution Transformer) 4) สายจายหรือสายจําหนายแรงต่ํา (Secondary Distribution Line or Low Tension Feeder) เมื่อสถานียอยจําหนายไดรับแรงดันไฟฟาจากสายสงยอย จะแปลงแรงดันไฟฟาใหมีพิกัดแรงดัน 12 kV, 24 kV (กฟน.) และ 11 kV, 22 kV, 33 kV (กฟภ.) แลว สง แรงดัน ไฟฟา ผา นสายปอ น ใหผูใ ชไ ฟรายใหญ ซึ่ง อาจเปน โรงงานอุตสาหกรรม สวนราชการ และศูนยการคา รวมไปถึงอาคารสิ่งปลูกสรางขนาดใหญ แลวผูใชไฟดังกลาวจะติดตั้ง หมอแปลงลดระดับแรงดั นใหมีพิกั ดแรงดั น 230/400 V แลวนําไปจายโหลด หรือการไฟฟาสงแรงดั นไฟฟ า ไปยัง หมอแปลงของการไฟฟา เพื่อลดระดับแรงดันและจําหนายทางดานแรงดันต่ําแบงเปนระบบจําหนาย 1 เฟส 2 สาย 230 V, ระบบจําหนาย 1 เฟส 3 สาย 230/460 V และ ระบบจําหนาย 3 เฟส 4 สาย 230/400 V หลังจากนั้นจึงสงพลังงานไฟฟา ผานสายจําหนายแรงต่ําไปยังผูใชไฟ 2.5 ระดับแรงดันของระบบจําหนายกําลังไฟฟา ระดับ แรงดัน ไฟฟา ของระบบจําหนายไฟฟาแบง ออกเปน 2 ระดับ คือ ระดับ แรงดัน ไฟฟาทางดานปฐมภูมิ หรือทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) และระดับแรงดันไฟฟาทางดานทุติยภูมิหรือทางดานแรงต่ํา (Low Voltage : LV) 2.5.1 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง (High Voltage : HV) 1) ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟานครหลวง มีแรงดัน 2 ระดับคือ 12 kV และ 24 kV ชนิด 3 สาย ดังภาพที่ 1.4
(ก) ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 12 kV 3 เฟส 3 สาย (ข) ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 24 kV 3 เฟส 3 สาย ภาพที่ 1.4 ระดับแรงดันไฟฟาของระบบจําหนายกําลังไฟฟาของการไฟฟานครหลวง 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) ระดับแรงดันทางดานแรงสูงของการไฟฟาสวนภูมิภาค มีแรงดัน 3 ระดับ ดังนี้ - ระดับแรงดัน 11 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย มีการใชงานใน 3 จังหวัด คือ เชียงใหม ลําปาง และลําพูน ดังภาพที่ 1.5
ภาพที่ 1.5 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 11 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค - ระดับแรงดัน 22 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้จะใชงานเกือบทั่วประเทศ ดังภาพที่ 1.6
ภาพที่ 1.6 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 22 kV เปนระบบ 3 เฟส 3 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค - ระดั บ แรงดั น 33 kV เป น ระบบ 3 เฟส 3 สาย ระบบนี้ จ ะใช ง านในภาคใต ตั้งแต จัง หวัด ระนองลงไปและในภาคเหนือ ที่จัง หวัด เชีย งราย ระบบนี้จ ะแตกตา งกับ ระบบแรงดัน 11 kV และ 22 kV คือ สายดินจะอยูดานบนสุดของวงจร ทําหนาที่ เปนจุดตอลงดินและเปนเกราะปองกันฟาผา ดังภาพที่ 1.7
28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 1.7 ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 33 kV เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ของการไฟฟาสวนภูมิภาค 2.5.2 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา (Low Voltage : LV) 1) ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส สามารถแบงออกเปน - ระบบ 1 เฟส 2 สาย 230 V มีลักษณะวงจร ดังภาพที่ 1.8
ภาพที่ 1.8 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 2 สาย 230 V - ระบบ 1 เฟส 3 สาย 230/460 V มีลักษณะวงจร ดังภาพที่ 1.9
ภาพที่ 1.9 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 3 สาย 230/460 V 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส เปนระบบ 3 เฟส 4 สาย ระดับแรงดันไฟฟา 230/400 V เปน ระบบที่ม ีค วามคลอ งตัวสูงในการใชงาน ซึ่ง สามารถใชกับโหลดแสงสวาง (Lighting) และโหลดกํา ลัง (Power) เพราะระบบนี้ม ีแ รงดั น 2 ระดับ คือ แรงดัน 1 เฟส 230 V (เปนแรงดันระหวางสายไลนกับสายนิวทรัล) และแรงดัน 3 เฟส 400 V (เปนแรงดันระหวาง สายไลนกับสายไลน) ดังภาพที่ 1.10
ภาพที่ 1.10 ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 230/460 V
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด กลาวถึงไฟฟาระบบ DC ไดถูกตอง ก. กระแสไฟฟาจะไหลไปทิศทางเดียวและไมไหลกลับ ข. ขั้วไฟฟาแตละขั้วจายศักยไฟฟาสลับไปมาทั้งบวก (+) และลบ (-) ค. เมื่อนําไปใชงาน กระแสไฟฟาจะไหลในทิศทางกลับไปกลับมาตลอดเวลา ง. เปนระบบไฟฟาที่มีแหลงกําเนิดไฟฟามาจากเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 2. กฟน. ทําหนาที่จําหนายพลังงานไฟฟาใหกับเขตพื้นที่ใด ก. ชลบุรี ข. บึงกาฬ ค. เชียงใหม ง. กรุงเทพมหานคร 3. ระบบแรงดันของการไฟฟานครหลวงแตกตางจากระบบแรงดันของการไฟฟาสวนภูมิภาคอยางไร ก. ใชมาตรฐานระบบแรงดันของประเทศสหรัฐอเมริกา ข. มีระบบจําหนายแรงสูงที่มีคาแรงดัน 33 kV และ 22 kV ค. มีระบบการสงจายกําลังไฟฟาดวยคาแรงดัน 500 kV, 230 kV, 115 kV และ 69 kV ง. การไฟฟานครหลวง มีระบบจําหนายระดับแรงดันต่ําขนาด 400/230 V, 3 เฟส 4 สาย 4. ขอใด กลาวถึงระบบกําลังผลิตไฟฟาไมถูกตอง ก. ระบบกําลังผลิตไฟฟา เปนการเปลี่ยนพลังงานรูปแบบอื่นเปนพลังงานไฟฟา ข. การผลิตพลังงานไฟฟา จะเปลีย่ นพลังงานรูปแบบอื่นเปนพลังงานกลกอนเสมอ ค. คาแรงดันที่จายออกมาจากเครื่องกําเนิดไฟฟา จะถูกปรับใหลดต่ําลงที่ลานไกไฟฟา ง. พลังงานที่ใชเปนตัวขับเครื่องกําเนิดไฟฟา คือ พลังงานกล
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
5. ขอใด คือ ระดับแรงดันไฟฟามาตรฐานที่การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย สงผานสายสงไฟฟาไปยังระบบจําหนาย ก. 115 kV ข. 400 kV ค. 200 kV ง. 60 kV 6. ขอใด คือ สถานียอยในระบบจําหนายกําลังไฟฟา ก. สายสงกําลังไฟฟา ข. สถานียอยตนทาง ค. สายปอนหรือสายจําหนายแรงสูง ง. สายสงกําลังไฟฟายอย 7. ระบบจําหนายแรงดันไฟฟา 3 เฟส 4 สาย มีคาแรงดันไฟฟาเทาใด ก. 230/460 V ข. 230/400 V ค. 220 V ง. 230 V 8. ระดับ แรงดัน ทางดา นแรงสูง ของการไฟฟา สวนภูม ิภาค ที่ร ะดับ แรงดัน 33 kV แตกตา งกับ ระบบแรงดัน 11 kV และ 22 kV อยางไร ก. มีความคลองตัวในการใชงานสูง ข. สายดินจะอยูดานบนสุดของวงจร ค. ใชงานใน 3 จังหวัด คือ เชียงใหม ลําปาง และลําพูน เทานั้น ง. สามารถใชกับโหลดแสงสวาง (Lighting) และโหลดกําลัง (Power) ได
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
9.
จากภาพ ขอใดคือระดับแรงดันที่ถูกตอง ก. ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 11 kV ข. ระดับแรงดันทางดานแรงสูง 22 kV ค. ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 3 เฟส 4 สาย 230/460 V ง. ระดับแรงดันทางดานแรงต่ํา 1 เฟส 3 สาย 230/460 V
10.
จากภาพ คือ ระดับแรงดันที่ใชงานในเขตพื้นที่ใด ก. ลําพูน ข. ระนอง ค. เชียงราย ง. ใชงานเกือบทั่วประเทศ
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2
0921520202 หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกหนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟาได 2. อธิบายการคํานวณทางไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ 1. หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา 2. การคํานวณทางไฟฟา
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทาํ แบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2557. ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.blueconcept.co.th/blue-article/109-2014-05-16-16-11-54.html ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ วัชรพงษ ยงไสว. หนวยวัดปริมาณไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric83.htm วิทยาลัยแลมป – เทค. กฎของโอหม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/110528099420636_11060719190113.pdf หนวยทางไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/7-1aunew BANGRAK. 2554. งานพื้นฐานวงจรไฟฟาและการวัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://aunewbuathong.blogspot.com/2011/08/blog-post.html 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรู เกี่ ย วกับ หนวยวัด และสัญ ลั ก ษณ ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ทางไฟฟา ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เกี่ ย วข องกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สราง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพ ธการเรีย นรูใ นเรื่องหนวยวัดและ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย สัญลักษณทางไฟฟา ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องหนวยวัดและสัญลักษณ 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องหนวยวัดและสัญลั ก ษณ ทางไฟฟา หนาที่ 28 - 38 ไปศึกษา ทางไฟฟา หนาที่ 28 - 38 2. สอนเนื้อหาเรื่องหนวยวัดและสัญลักษณทาง 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม เนื้อหาดวยวาจาทีส่ ุภาพเรียบรอย ไฟฟา โดยใชวิธีถาม-ตอบกับผูรับการฝก และ ใชค วามรู เ ดิม ของผู รั บ การฝ ก มาต อ ยอด เปนความรู ใ หม พ ร อมใชสื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาทีที่ 00.00 – 09.44 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 หน ว ย วั ด แ ละสั ญ ลั ก ษณ ท างไฟฟ า ประกอบดวย หนวยพื้นฐาน,หนวยไฟฟา ประยุ ก ต , สู ต รแสดงความสั ม พั น ธทาง ไฟฟา,การขยายหนวย 2.2 การคํ า นวณทางไฟฟ า ประกอบด ว ย วิ ธี ก ารคํ า นวณค า ของตั ว ขยายหน ว ย, วิ ธี ก ารคํ า นวณ การบวก และการลบ หนวย 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 36 - 38 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 36 - 38 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 47 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสํ า คัญเรื่อ ง หนวยวัดและ สัญลักษณทางไฟฟา ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิน ผลรวมเรื่ อ ง หน ว ยวั ดและ สัญลักษณทางไฟฟา เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติง าน แ ละคุ ณ ลั ก ษณะที่ ต อ งการบู ร ณาการคุ ณ ธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา 1. หนวยวัดและสัญลักษณทางไฟฟา หนวยวัดทางไฟฟาที่ใชกันอยางแพรหลาย และเปนที่ยอมรับใชกันทั่วโลก คือ SI หรือ The International System of Units โดยไดกําหนดเปนรูปแบบของระบบเมตริก ปริมาณ หนวย และสัญลักษณไว ดังนี้ 1.1 หนวยพื้นฐาน หนวยหรืออาจจะเรียกวายูนิต (Unit) มีความสําคัญมากในการคํานวณวงจรไฟฟากระแสตรง เพราะจะทําใหทราบ ถึงขนาดหรือปริมาณทางไฟฟานั้น ๆ ตารางที่ 2.1 แสดงหนวยพื้นฐานระบบ SI ปริมาณ
หนวยวัด
สัญลักษณ
ความยาว (Length)
เมตร (Meter)
m
มวล (Mass)
กิโลกรัม (Kilogram)
kg
เวลา (Time)
วินาที (Second)
s
กระแสไฟฟา (Current)
แอมแปร (Ampere)
A หรือ I
อุณหภูมิ (Temperature)
เคลวิน (Kelvin)
K
ปริมาณของสาร (Amount of Substance)
โมล (Mole)
mol
ปริมาณสองสวาง (Luminous Intensity)
แคนเดลา (Candela)
cd
มุมระนาบ (Plane Angle)
เรเดียน (Radian)
rad
มุมตัน (Solid Angle)
สเตเรเดียน (Steradian)
Sr
1.2 หนวยไฟฟาประยุกต ตารางที่ 2.2 แสดงหนวยไฟฟาประยุกต ปริมาณ
หนวยวัด
สัญลักษณ
ประจุไฟฟา (Electric Charge)
คูลอมบ (Coulomb)
C
ศักยไฟฟา (Electric Potential)
โวลต (Volt)
V หรือ E
ความตานทาน (Resistance)
โอหม (Ohm)
Ω หรือ R
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ปริมาณ
หนวยวัด
สัญลักษณ
ความนําไฟฟา (Conductance)
ซีเมนส (Siemens)
S
ความเหนี่ยวนํา (Inductance)
เฮนรี่ (Henry)
H
ความจุ (Capacitance)
ฟาราด (Farad)
F
ความถี่ (Frequency)
เฮิรตซ (Hertz)
Hz
แรง (Force)
นิวตัน (Newton)
N
พลังงาน (Energy)
จูล (Joule)
J หรือ W
กําลัง (Power)
วัตต (Watt)
W หรือ P
เสนแรงแมเหล็ก (Magnetic Flux)
เวเบอร (Weber)
Wb
ความหนาแนนเสนแรงแมเหล็ก
เทสลา (Tesla)
T
(Magnetic Flux Density) 1.3 สูตรแสดงความสัมพันธทางไฟฟา 1.3.1 E (โวลต)
= I (แอมแปร) × R (โอหม)
1.3.2 R (โอหม ) = E (โวลต)/ I (แอมแปร) 1.3.3 I (แอมแปร) = E (โวลต) / R (โอหม ) 1.3.4 P (วัตต)
= E (โวลต) × I (แอมแปร)
1.3.5 P (วัตต)
= I2 ( แอมแปร ) × R (โอหม)
1.3.6 P (วัตต)
= E2 (โวลต) / R (โอหม)
1.3.7 P (วัตต)
= W (จูล) / เวลา (วินาที)
1.4 การขยายหนวย การขยายหนวย คือ การทําใหหนวยนั้นเล็กหรือใหญขึ้น ดวยการเติมตัวขยายหนาหนวยที่ตองการ เพื่อใหเหมาะสม และสะดวกในการคํานวณ เชน - แรงดันไฟฟา 10,000 โวลต (V)
มีคาเทากับ 10 kV
- ความตานทาน 2,000,000 โอหม (Ω)
มีคาเทากับ 2 MΩ
- กระแสไฟฟา 0.001 แอมแปร (A)
มีคาเทากับ 1 mA
สําหรับตัวขยายหนวยคาอื่น ๆ นั้น ดังแสดงในขอมูลดังนี้ 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ตารางที่ 1.3 แสดงเลขยกกําลังในระบบ SI ชื่อ
สัญลักษณ
เลขยกกําลัง
ตัวคูณ
ยอตตะ (yotta)
Y
1×1024
1,000,000,000,000,000,000,000,000
เซตตะ (zetta)
Z
1×1021
1,000,000,000,000,000,000,000
เอกซะ (exa)
E
1×1018
1,000,000,000,000,000,000
เพตะ (pata)
P
1×1015
1,000,000,000,000,000
เทระ (tera)
T
1×1012
1,000,000,000,000
จิกะ (giga)
G
1×109
1,000,000,000
เมกะ (mega)
M
1×106
1,000,000
กิโล (kilo)
k
1×103
1,000
หนวย (unit)
-
1×100
1
มิลลิ (milli)
m
1×10-3
0.001
ไมโคร (micro)
µ
1×10-6
0.000 001
นาโน (nano)
n
1×10-9
0.000 000 001
พิโก (pico)
p
1×10-12
0.000 000 000 001
เฟมโต (femto)
f
1×10-15
0.000 000 000 000 001
อัตโต (atto)
a
1×10-18
0.000000 000 000 000 001
เซปโต (zepto)
z
1×10-21
0.000 000 000 000 000 000 001
ยอคโต (yocto)
y
1×10-24
0.000.000 000 000 000 000 000 001
2. การคํานวณทางไฟฟา 2.1 วิธีการคํานวณคาของตัวขยายหนวย 2.1.1 การบวกและลบหน ว ย หน ว ยของปริ ม าณทางไฟฟ า เมื่ อ มี ก ารขยายหน ว ยให เ ล็ ก หรื อ ใหญ แ ล ว จะสามารถนํามาบวก หรือลบกันไดนั้น จะตองทําใหหนวยนั้นมีขนาดเปนหนวยเดียวกันกอน จึงจะทําการบวก หรือลบกันได เชน
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
= 100 W + (1×103) W
1) 100 W + 1 kW
= 100 W + 1000 W = 1100 W หรือ (100×10-3×103) W + 1 kW
= (100×10-3) kW + 1 kW = 0.1 kW + 1 kW = 1.1 kW = 10 kW + (1×106) W
2) 10 kW + 1 MW
= 10 kW + (1×103×103) W = 10 kW + 1000 kW = 1010 kM หรือ (10×103×10-6×106) W + 1 MW
= (10×103×10-6) MW + 1 MW = 0.01 MW + 1 MW = 1.01 MW
3) 1 kV – 500 V
= 1 kV – (500×10-3×103) V = 1 kV – (500×10-3) kV = 1 kV – 0.5 kV = 0.5 kV
หรือ (1×103) V – 500 V
= 1000 V – 500 V = 500 V
2.1.2 การคูณและการหารหนวย จะมีวิธีการคํานวณแตกตางจากการบวกและการลบ กลาวคือไมจําเปนตอง ทําใหหนวยที่มีการขยายแลวมีข นาดหนวยเดีย วกันกอน แตจะสามารถนํามาคูณและหารกันไดทันที โดยการนําตัวขยายหนวยมาคูณและหารกันดวย จะไดผลลัพ ธที่มีตัวขยายหนวยติดมากับคาผลคูณ และคาผลหารนั้นดวย เชน 1) 10 mA × 4 MV
= (10×10-3) A × (4×106) V = (4×10) × (10-3×106) × (A×V) = 40×103 W หรือ 40000 W
2) 5 mA × 1 kV
= (5×10-3) A × (1×103) V = (5×1) × (10-3×103) × (A×V)
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
= 5×100 W = 5x1 W =5W = (2×103) W / 2 V
3) 2 kW / 2 V
= (2000/2) × (W/V) = 1000 A = (6×103) W / (3×10-3) A
4) 6 kW / 3 mA
= (6/3) × (103 /10-3)) × (W/A) = (6/3) × 106 × (W/A) = 2×106 V หมายเหตุ การนําหนวยมาคูณและหารกันนั้น จะไดผลลัพธเปนหนวยใด ใหดูจากความสัมพันธของ หนวยทางไฟฟา ในหัวขอที่ 1.3 สูตรแสดงความสัมพันธทางไฟฟา 2.2 วิธีการคํานวณ การบวก และการลบหนวย 2.2.1 พิจารณาตัวขยายหนวย วามีคาตัวคูณเทาไร ตัวอยาง
100 W + 1 kW
= 100 W + (1×103) W = 1100 W
จากตัวอยางจะเห็นวา 1 kW เมื่อ k = 103
= 1×103 W = 1000
ดังนั้น แทนคาของ k ลงไปในสมการ หลังจากนั้น จึงนําตัวเลขทั้งสองชุดมาบวกกัน 2.1.2 การเติมตัวขยายหนาหนวย ตัวอยาง
1 kV – 500 V
= 1 kV – (500×10-3×103) V = 1 kV – (500×10-3) kV = 1 kV – 0.5 kV = 0.5 kV
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ดังนั้น เมื่อเติม ตัวขยายหนาหนวยแลว จะตองสามารถทํากลับมาเปนอยางเดิมได โดยที่คาของตัวเลข และหนวยจะตองไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากตัวอยางจะไดวา = 0.5×103 V
0.5 kV
= 500 V
44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด คือ หนวยวัดในระบบ SI ของกระแสไฟฟา ก. จูล
ข. วัตต
ค. โวลต
ง. แอมแปร
ค. 1x102
ง. 1x103
2. หนวย กิโล (kilo) มีคาเทากับเทาไร ก. 1x10-3
ข. 1x10-2
3. ขอใด คือ หนวยวัดของปริมาณทางไฟฟาที่เขียนแทนดวยสัญลักษณ P ก. W
ข. J
ค. R
ง. V
ค. V
ง. kJ
ค. วัตต
ง. โอหม
ค. M
ง. Ω
4. ขอใด คือ หนวยวัดของศักยไฟฟา (Electric Potential) ก. A
ข. W
5. ขอใด คือ หนวยวัดของพลังงานไฟฟา ก. จูล
ข. โวลต
6. ปริมาณทางไฟฟาในขอใด เขียนแทนดวยสัญลักษณ Ω ก. กําลัง (Power) ข. พลังงาน (Energy) ค. ความตานทาน (Resistance) ง. ศักยไฟฟา (Electric Potential) 7. ขอใด คือ สัญลักษณของหนวยวัด มิลลิ (milli) ก. m
ข. P
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
8. ขอใด คือ สัญลักษณของศักยไฟฟา (Electric Potential) ก. E
ข. W
ค. I
ง. R
ค. A
ง. R
9. ขอใด คือ สัญลักษณของกําลังไฟฟา ก. P
ข. W
10. กระแสไฟฟา (Current) เขียนแทนดวยสัญลักษณใ นขอใด ก. I
ข. A
ค. Ω
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง. J
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 3
0921520203 ตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา (อินดักเตอร) (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู -
บอกเกี่ยวกับตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟาได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
ตัวนําไฟฟา ฉนวนไฟฟา ความตานทานไฟฟา ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา (อินดักเตอร)
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2557. ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา. [ออนไลน] เขาถึงไดจาก : http://www.blueconcept.co.th/blue-article/109-2014-05-16-16-11-54.html ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. วัชรพงษ ยงไสว. หนวยวัดปริมาณไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric83.htm
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
วิทยาลัยแลมป – เทค. กฎของโอหม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/110528099420636_11060719190113.pdf หนวยทางไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/7-1 aunew BANGRAK. 2554. งานพื้นฐานวงจรไฟฟาและการวัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://aunewbuathong.blogspot.com/2011/08/blog-post.html
50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับตัวนํา ฉนวน ความตานทาน ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เกี่ ย วข องกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สราง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพ ธการเรีย นรูใ นเรื่ องตัวนํ า ฉนวน 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝก เรื่องตั วนํ า ฉนวน ความ 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องตัวนํา ฉนวน ความตานทาน ตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา หนาที่ 39 - 49 และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา หนาที่ 39 – 49 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่องตัวนํา ฉนวน ความตานทาน 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา โดยใชวิธีถ าม-ตอบกับ เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ผูรับการฝก และใชความรูเดิมของผูรับการฝก มาตอยอดเปนความรูใหมพรอมใชสื่อวี ดิทั ศ น นาทีที่ 00.00 – 06.01 โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 ตัวนําไฟฟา 2.2 ฉนวนไฟฟา 2.3 ความตานทานไฟฟา 2.4 ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 47 - 49 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 47 – 49 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม
51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 61 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นํ า อภิ ป รายสรุ ป สาระสํ า คั ญ เรื่ อ ง ตั วนํ า ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุ ป ผลการประเมิ น ผลรวมเรื่ อ ง ตั วนํ า ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา เกี่ย วกับกิจนิสัย ในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ตองการบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 3 ตัวนํา ฉนวน ความตานทาน และตัวเหนี่ยวนําไฟฟา 1. ตัวนําไฟฟา (Conductor) ตัวนําไฟฟา คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรืออุปกรณที่ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดงาย หรือเปนวัตถุที่มีความตานทานต่ํา ไดแก ทองแดง อะลูม ิเ นีย ม ทอง และเงิน ตัว นํา ของสายไฟฟา อาจอยูใ นรูป ของตัว นํา เดี่ย ว (Solid) หรือ ตัว นํา ตีเ กลีย ว (Strand) ซึ่ง ประกอบไปดวยตัวนําเล็ก ๆ ตีเขาดวยกันเปนเกลียว ซึ่งมีขอดี คือ การนํากระแสตอพื้นที่สูงขึ้น เนื่องจากผลของ Skin Effect ลดลง และการเดินสายทําไดงาย เพราะมีความออนตัวกวา โลหะที่นิยมใชเปนตัวนํา ไดแก 1.1 ทองแดง เปนโลหะที่มีความนําไฟฟาสูงมาก มีความแข็งแรง เหนียว ทนตอการกัดกรอนไดดี แตมีขอเสียอยู คือ น้ําหนักมาก และราคาสูง จึงไมเหมาะสําหรับงานดานแรงดันสูง แตเหมาะสําหรับการใชงานโดยทั่วไป โดยเฉพาะงานภายในอาคาร 1.2 อะลูมิเนียม เปน โลหะมีค วามนํ า ไฟฟา สูง รองจากทองแดง แตเ มื ่อ เปรีย บเทีย บในกรณีก ระแสเทา กัน แลว พบวา อะลูม ิเ นีย มมีน้ําหนักเบาและราคาถู กกว า จึงเหมาะกั บงานเดิ นสายไฟนอกอาคารและระบบไฟฟ าแรงดั นสู ง ถาทิ้ ง อะลูมิเนีย มไวในอากาศจะเกิดออกไซคข องอะลูมิเนีย ม ซึ่งมีคุณสมบัติเปนฉนวนฟลมบาง ๆ เกาะตามผิวชวยปองกัน การสึกกรอน แตมีขอเสีย คือ ทําใหการเชื่อมตอทําไดยาก โลหะทั้งสองชนิดนี้มีขอดี ขอเสียตางกันไป ตามแตลักษณะของงาน ดังตารางที่ 3.1 การเปรียบเทียบคุณสมบัติของ ทองแดงและอะลูมิเนียม ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบคุณสมบัติของทองแดงและอะลูมิเนียม คุณสมบัติ
ทองแดง
อะลูมิเนียม
ความนําไฟฟาสัมพัทธ (ทองแดง = 100%)
100
61
สภาพความตานทานไฟฟาที่ 20๐C (Ωm x 10-8)
1.724
2.803
17
23
1.083
659
ความนําความรอน (W/cm๐C)
3.8
2.4
ความหนาแนนที่ 20๐C (g/cm3)
8.89
2.7
สัมประสิทธิ์การขยายตัว เนื่องจากความรอน (per ๐C x 10-8) จุดหลอมเหลว (๐C)
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. ฉนวนไฟฟา (Insulator) ฉนวนไฟฟา คือ สสาร วัตถุ วัสดุ หรืออุปกรณที่สามารถตานการไหลของกระแสไฟฟาไมใ หผานไปได ไดแ ก ไมแหง พลาสติก ยาง แกว และกระดาษแหง เปนตน ฉนวนไฟฟาทําหนาที่ปองกันอันตรายจากกระแสไฟฟา ฉนวนของสายไฟ ทําหนาที่หอหุมตัวนํา เพื่อกันการสัมผัสกันโดยตรงระหวางตัวนํา หรือระหวางตัวนํากับสวนที่ตอลงดิน และเพื่อปองกันตัวนํา จากผลกระทบทางกลและทางเคมีตาง ๆ ในระหวางที่ตัวนํานํากระแสไฟฟา จะเกิดพลังงานสูญเสีย ในรูปของความรอน ซึ่งความรอนที่เกิดขึ้นจะถายเทไปยังเนื้อฉนวน ดังนั้น ฉนวนจะตองสามารถปองกันความรอนหรือของเหลวที่สามารถกัดกรอน ตัว นํา ไฟฟา ได รวมทั้ง มีคุณ สมบัติใ นการกัน น้ํา ไดดี มีค วามตา นทานสูง และไมดูด ความชื้น ในอากาศ ฉนวนที่ใ ชหุม ตัวนําไฟฟามีอยูหลายชนิด ไดแ ก แรใ ยหิน ยางทนความรอน พลาสติก PVC เปนตน สวนฉนวนสําหรับอุป กรณไ ฟฟา ที่ปองกันการสัม ผัสกับรางกาย เชน สวนที่เปนมือจับของไขควง จะใชฉ นวนไฟฟาจําพวกพลาสติก การเลือกใชชนิดของ ฉนวนจะขึ้น อยูกับ อุณ หภูม ิใ ชง านระดับ แรงดัน ของระบบ และสภาพแวดลอ มในการติด ตั้ง วัส ดุที่นิยมใชเปนฉนวน มากที ่ส ุด ในขณะนี ้ คือ Polyvinyl Chloride (PVC) และ Cross Linked Polyethylene (XLPE) โดยแสดงการ เปรียบเทียบคุณสมบัติของฉนวน PVC และ XLPE ดังตารางที่ 3.2 ตารางที่ 3.2 แสดงคุณสมบัติของฉนวน PVC และ XLPE คุณสมบัติ
PVC
XLPE
พิกัดอุณหภูมิสูงสุดขณะใช (๐C)
70
90
พิกัดอุณหภูมิสูงสุดขณะลัดวงจร (๐C)
120
250
คาคงที่ไดอิเล็กตริก
6
2.4
ความหนาแนน (g/cm3)
1.4
0.92
ความนําความรอน (cal/cm.sec ๐C)
3.5
8
ความทนทานตอแรงดึง (kg/mm2)
2.5
3
จะเห็นวา ฉนวน XLPE มีความแข็งแรง ทนตอความรอนและถายเทความรอนไดดีกวาฉนวน PVC จึงมีการใชฉ นวน XLPE เพิ่มมากขึ้นในปจจุบัน
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3. ความตานทานไฟฟา (Resistance) ความตานทานไฟฟา คือ ความสัมพันธระหวางแรงดันและกระแสไฟฟาของวัตถุ โดยวัตถุที่มีความตานทานต่ําจะยอมให กระแสไฟฟาไหลผานไดงาย เรียกวา ตัวนําไฟฟา ในขณะที่วัตถุซึ่งมีความตานทานสูง จะยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดย าก เรียกวา ฉนวนไฟฟา โดยความตานทานมีหนวยเปนโอหม (Ohm) ความตานทานเกิดขึ้นทุกที่ที่มีกระแสไฟฟาไหลผานไมได เกิดขึ้นเฉพาะในสายไฟเทานั้น ตัวอยางความตานทานตาง ๆ ไดแก 1) ความตานทานของตัวนํา เชน ความตานทานของลวดในสายไฟฟาเมื่อมีกระแสไฟฟาไหลผาน เปนตน 2) ความตานทานของจุดสัม ผัส คือ ความตานทานที่เกิดขึ้นที่จุ ดสัม ผัสของสวิตซห รือรอยเชื่อมต อระหว า ง สายไฟทีจ่ ุด สัม ผัสนี้กระแสไฟฟาจะไหลผานไดย ากเพราะมีความตานทานสูง ความตานทานนี้จะลดลง โดยการขัดผิวที่จุดสัมผัสใหเรียบ หรือเพิ่มแรงกดที่จุดสัมผัสหรือบัดกรีเชื่อมตอระหวางสายไฟ 3) ความตานทานของสายดิน คือ ความตานทานที่เกิดขึ้นระหวางดินและแผนโลหะฝงลงดิน 4) ความตานทานของฉนวน เชน การใชไวนิลหรือยางซึ่งเปนวัสดุที่มีคาความตานทานจําเพาะสูงหุม สายไฟ เพื่อปองกันไมใหกระแสไฟฟารั่วจากสายไฟ เปนตน 5) คาความตานทานของสายสงกําลังไฟฟา 3.1 คาความตานทานของสายสงกําลังไฟฟา (R) วัสดุที่ใชทําสายตัวนําจะแตกตางตามสภาพการใชงาน ดังนั้นเนื้อวัสดุจึงมีคาความตานทานไฟฟาแตกตางกัน ซึ่งคานี้ จะตานทานการไหลของกระแสเกิดเปนคาความรอนในสาย และมีผลตอแรงดันตกครอมสาย การควบคุมไฟฟาของระบบ รวมถึงประสิทธิภาพของระบบ ผลของคาความตานทานที่ทําใหเกิดคาความรอนในสายเปนไปตามสมการ ดังตอไปนี้ จาก เมื่อ
Ploss
=
R
= Ploss
I2R
R
คือ กําลังไฟฟาสูญเสียในสายตัวนํา, w คือ คาความตานทานของสายตัวนํา, Ω
I
คือ กระแสที่ไหลในสายตัวนํา, A
แตคากระแสของไฟฟากระแสสลับไมไดไหลอยางสม่ําเสมอในพื้นที่หนาตัดของตัวนําเหมือนกับไฟฟากระแสตรง ดังนั้นสมการ R =
จะมีความเที่ย งตรงเฉพาะไฟฟากระแสตรง ถาเปนไฟฟากระแสสลับจะตองเปลี่ย นคาความ
ตา นทานเปน คาความตานทานกระแสสลับ อยางไรก็ดีจะตองคํานวณหาคาความตานทานกระแสตรงกอน โดยอาศั ยสู ตร พื้นฐาน ดังนี้
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เมื่อ
RDC
=
RDC
คือ คาความตานทานไฟฟากระแสตรง
ρ
คือ คาความตานทานจําเพาะของสายตัวนํา
I
คือ ความยาวของสายตัวนํา
A
คือ พื้นที่หนาตัดของสายตัวนํา
ρ
ตารางที่ 3.3 เปรียบเทียบหนวยระบบอังกฤษและระบบ SI ระบบหนวยอังกฤษ
ระบบหนวย SI
I
= ฟุต (ft)
I = เมตร (m)
A
= เซอรคิวลารมิล (CM)
A = ตารางเมตร (m2)
ρ
= Ω-CM/ft
ρ=
Ω-m
หรือ p = Ω/CM-ft 3.1.1 พื้นที่หนาตัด (A) 1” = 100 มิล พื้นที่หนาตัดของสายตัวนํา 1 CM คือ ตัวนําที่มีเสนผานศูนยกลาง 1 มิล A = 1 CM = d2
จะได
แตสายตัวนําในปจจุบันนิย มบอกขนาดพื้นที่หนาตัดสายตัวนําเปนตารางมิลลิเมตร ซึ่งสามารถแปลง หนวยเซอรคิวลารมิล เปนตารางมิลลิเมตรได ดังนี้ จาก
A = 1 CM = d2 = = (d x 10-3 x 2.54 x 10) x (d x 10-3 x 2.54 x 10) x = (10-3 x 2.54 x 10 x 10-3 x 2.54 x 10) x
ดังนั้น จากสมการ
A = (5.067 x 10-4) x d2 A
คือ พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน mm2
d
คือ เสนผานศูนยกลางของสายตัวนํา มีหนวยเปนมิล (mils)
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
และจากสมการดังกลาว สามารถทําพื้นที่หนาตัดในหนวยตารางเมตร (m2) ไดดังนี้ A = [(5.067 x 10-4) x d2] x 10-6
จาก
A = (5.067 x 10-12) x d2
ดังนั้น จากสมการ
A
คือ พื้นที่หนาตัด มีหนวยเปน m2
d
คือ เสนผานศูนยกลางของสายตัวนํา มีหนวยเปนมิล (mils)
3.1.2 คาความตานทานจําเพาะ (ρ) ρ ของทองแดงรีดแข็ง
= 1.77 x 10-8 Ω-m ที่ 20๐C = 10.66
ρ ของอะลูมิเนียม
Ω/CM–ft ที่ 20๐C
= 2.83 x 10-8 Ω-m ที่ 20๐C = 17.00
Ω/CM–ft ที่ 20๐C
4. ตัวเหนี่ยวนําไฟฟา (Inductor) ตัว เหนี่ย วนํา หรืออิน ดักเตอร (Inductor) เปน อุป กรณพื้น ฐานที่ถูกนํา มาใชงานอยา งแพรห ลายในวงจรไฟฟาและ วงจรอิเ ล็ก ทรอนิก ส โดยเปน เสน ลวดตัว นํา พวกทองแดง ขดลวดเปน วงเรีย งกัน หลาย ๆ รอบ เรีย กวา ขดลวดหรือ คอยล (Coil) เมื่อมีกระแสไฟฟาไหลในสายสง จะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก (Magnetic Field) ขึ้นรอบ ๆ สายสง ซึ่งสนามแมเหล็ก นี้จะสงผลใหเกิดความเหนี่ยวนําขึ้นในสายสง การพันจํานวนรอบของตัวเหนี่ยวนํามีผลตอความเหนี่ยวนํา (Inductance) และ ปริม าณสนามแม เหล็ กที่ เกิ ดขึ้ น คือ หากพันจํานวนรอบนอ ย ความเหนี่ย วนํา และสนามแมเ หล็ ก จะเกิ ด นอ ย หากพัน จํานวนรอบมาก ความเหนี่ยวนําและสนามแมเหล็กจะเกิดมาก
ภาพที่ 3.1 เกิดสนามแมเหล็ก (Magnetic Field) ในสายสง
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ตัวเหนี่ยวนําสามารถแบงไดเปน 2 ชนิดหลัก ๆ คือ 4.1 ตัวเหนี่ยวนําชนิดขดเดียว ตั ว เหนี่ ย วนํ า ชนิ ด ขดเดี ย ว คื อ ตั ว เหนี่ ย วนํ า ที่ มีข ดลวดพัน ไวข ดเดี ย ว มั ก เรี ย กว า โช ค (Choke) หรื อ คอยล โครงสรางประกอบดวยเสนลวดทองแดงอาบน้ํายาฉนวน พันเปนขดลวดอยูบนแกนหรือฐานรองตาง ๆ การเรีย กชื่อ ตัวเหนี่ยวนําประเภทนี้จะเรียกตามชื่อของแกนที่ทําเปนฐานขดลวด แบงออกไดเปน 1) ตัวเหนี่ยวนําแกนอากาศ (Air Core Inductor) 2) ตัวเหนี่ยวนําแกนผงเหล็กอัด (Powdered - Iron Core Inductor) 3) ตัวเหนี่ยวนําแกนเฟอรไรด (Ferrite Core Inductor) 4) ตัวเหนี่ยวนําแกนทอรอยด (Toroidal Core Inductor) 5) ตัวเหนี่ยวนําแกนเหล็กแผน (Laminated - Iron Core Inductor) 4.2 ตัวเหนี่ยวนําชนิดหลายขด ตัวเหนี่ยวนําชนิดหลายขด คือ ตัวเหนี่ยวนําที่มีขดลวดพันไวบนแกนมากกวาหนึ่งขด โดยแบงขดลวดเปน 2 สวน ไดแก สวนทางเขา (Input) หรือขดลวดปฐมภูมิ (Primary) ทําหนาที่รับแรงดันไฟสลับที่ปอนเขามา ทําใหเกิดสนามแมเหล็กพอง ตัวออก เมื่องดจายแรงดันไฟฟากระแสสลับ สนามแมเหล็กจะยุบตัวลงเพื่อจายผานสนามแมเหล็กไปตัวผานขดลวดขด อื่น ๆ อีกสวนของขดลวด คือ สวนทางออก (Output) หรือขดลวดทุติย ภูมิ (Secondary) ทําหนาที่รับการชักนําของ สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นจากขดลวดปฐมภูมิ ในขณะที่สนามแมเหล็กของขดลวดปฐมภูมิพองตัวออก จะเกิดสนามแม เหล็ก ตัดผานขดลวดทุติยภูมิ ทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา (Induce Electro Motive Force : EMF) ขึ้นมา ซึ่งก็คื อ ขดลวดทุติยภูมิเกิดแรงดันขึ้นมา โดยขดลวดทุติยภูมิจะมีคาแรงดันมากหรือนอยขึ้นอยูกับจํานวนรอบของการพันขดลวด หากพันขดลวดรอบนอยแรงดั น จะเกิ ด น อย พันขดลวดรอบมากแรงดั น จะเกิด มาก เมื่อนําหลักการดัง กล าวไปใช ในตัวแปลงแรงดั น ใหม ากขึ้ น หรื อ น อยลง จะเรีย กตั วเหนี่ ย วนํา ชนิ ด นี้ว า หมอแปลงไฟฟา (Transformer) โดย การเรียกชื่อหมอแปลงไฟฟาจะเรียกชื่อตามชื่อของแกนที่เปนฐานรองขดลวด ซึ่งแบงไดเปน 1) หมอแปลงไฟฟาแกนอากาศ (Air - Core Transformer) 2) หมอแปลงไฟฟาแกนเฟอรไรต (Ferrite - Core Transformer) 3) หมอแปลงไฟฟาแกนเหล็ก (Iron - Core Transformer)
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. วัสดุหรืออุปกรณขอใด มีคุณสมบัติเปนตัวนําไฟฟา ก. ลวดทองแดง
ข. เชือกไนลอน
ค. ถุงมือหนัง
ง. ปากกาเคมี
ค. เงิน
ง. ทอง
2. ในระบบไฟฟาแรงสูง ใชวัตถุในขอใดเปนตัวนําไฟฟา ก. ทองแดง
ข. อะลูมิเนียม
3. ขอใด อธิบายเกี่ยวกับคุณสมบัติของฉนวนไฟฟาไดถูกตอง ก. ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดบางสวน ข. เปนตัวกลางในการไหลของกระแสไฟฟา ค. ตานการไหลของกระแสไฟฟาไมใ หผานไปได ง. ไมสามารถปองกันตัวนําไฟฟาจากการกัดกรอนของของเหลว 4. ขอใด ไมใชฉ นวนที่ใ ชหมุ ตัวนําไฟฟา ก. แรใ ยหิน
ข. หนังสัตว
ค. พลาสติก PVC
5. เมื่อวัตถุมีความตานทานต่ํา จะมีลักษณะการไหลของกระแสไฟฟาอยางไร ก. กระแสไฟฟาไหลผานไดนอยลง ข. กระแสไฟฟาไหลผานไดมากขึ้น ค. กระแสไฟฟาไหลผานไดเพียงบางสวน ง. ไมเกิดการไหลของกระแสไฟฟาในวงจร
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง. ยางทนความรอน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
6. ขอใด คือ วิธีลดความตานทานบริเวณรอยเชื่อมตอระหวางสายไฟ ก. ขัดบริเวณรอยเชื่อมตอระหวางสายไฟใหเรียบ ข. คลายรอยตอของสายไฟไมใหแนนจนเกินไป ค. ลดแรงกดบริเวณรอยเชื่อมตอระหวางสายไฟ ง. เพิ่มความหนาของรอยเชื่อมตอระหวางสายไฟ 7. การพันตัวเหนี่ยวนําไฟฟา มีผลตอความเหนี่ยวนําและปริมาณสนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นอยางไร ก. จํานวนรอบนอย ทําใหความเหนี่ยวนําและสนามแมเหล็กเกิดนอย ข. จํานวนรอบนอย ทําใหความเหนี่ยวนําสูงขึ้น แตเกิดสนามแมเหล็กนอยลง ค. จํานวนรอบมาก ทําใหความเหนี่ยวนําลดลง แตเกิดสนามแมเหล็กเพิ่มขึ้น ง. จํานวนรอบมาก ทําใหความเหนี่ยวนําและสนามแมเหล็กเกิดนอย 8. ขอใด คือ ลักษณะของตัวเหนี่ยวนําชนิดขดเดียว ก. ตัวเหนี่ยวนําที่มีขดลวดพันไว 1 ขด ข. ตัวเหนี่ยวนําที่มีขดลวดพันไวบนแกนตั้งแต 2 ขดขึ้นไป ค. ตัวเหนี่ยวนําที่มีขดลวดพันบริเวณทางเขาและทางออก ง. ตัวเหนี่ยวนําที่ประกอบดวยขดลวดปฐมภูมิและขดลวดทุติยภูมิ 9. ขดลวดปฐมภูมิจะถูกพันที่บริเวณใดของแกน ก. ทางเขา
ข. ทางออก
ค. จุดกึ่งกลางของแกน
10. ขดลวดทุติยภูมิ ทําหนาที่อยางไร ก. จายแรงดันไฟฟากระแสสลับ ข. รับแรงดันไฟสลับที่ปอนเขามา ค. เหนี่ยวนําใหสนามแมเหล็กยุบตัวลง ง. รับการชักนําของสนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นจากขดลวดปฐมภูมิ
60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง. สวนปลายของแกน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 4
0921520204 การคํานวณไฟฟาเบื้องตน (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. คํานวณไฟฟาเบื้องตนดวยกฎของโอหมได 2. คํานวณหาคาตามกฎของโอหมจากวงจรไฟฟาแบบตาง ๆ ได
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4.
กฎของโอหม กําลังไฟฟา พลังงานไฟฟา วงจรไฟฟาเบื้องตน
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน กระทรวงพลังงาน. 2557. ความรูพื้นฐานทางดานไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.blueconcept.co.th/blue-article/109-2014-05-16-16-11-54.html ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร. พันธศักดิ์ พุฒิมานิตพงศ. 2555. งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพศูนยสงเสริมวิชาการ. วัชรพงษ ยงไสว. หนวยวัดปริมาณไฟฟา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.mwit.ac.th/~physicslab/content_01/electricitis/electric83.htm
63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
วิทยาลัยแลมป – เทค. กฎของโอหม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.tatc.ac.th/files/110528099420636_11060719190113.pdf หนวยทางไฟฟาเบื้องตน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/mechatronicett09/project-definition/7-1 aunew BANGRAK. 2554. งานพื้นฐานวงจรไฟฟาและการวัด. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://aunewbuathong.blogspot.com/2011/08/blog-post.html
64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับการคํานวณไฟฟาเบื้องตน
ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู
ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ า ถามที่ เกี่ ย วข องกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สราง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลั พ ธ ก ารเรี ย นรู ใ นเรื่ อ งการคํ านวณ 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ไฟฟาเบื้องตน ขั้นสอน 1. แจกคู มื อผู รั บการฝ ก เรื่ องการคํ านวณไฟฟ า 1. รับคูมือผูรับการฝก เรื่องการคํานวณไฟฟาเบื้องตน เบื้องตน หนาที่ 50 - 82 หนาที่ 50 – 82 ไปศึกษา 2. สอนเนื้ อ หาเรื่ อ งการคํ านวณไฟฟ าเบื้ องต น 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัย ตรงตาม โดยใช วิ ธี ถ าม-ตอบกั บ ผู รั บ การฝก และใช เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ความรู เ ดิ ม ของผู รั บ การฝ ก มาต อ ยอดเป น ความรูใหมพรอมใชสื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 – 26.13โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้ 2.1 กฏของโอหม 2.2 กําลังไฟฟา 2.3 พลังงานไฟฟา 2.4 วงจรไฟฟาเบื้องตน 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 79 - 82 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 79 – 82 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม
65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 96 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรื่อง การคํานวณไฟฟา เบื้องตน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรื่อง การคํานวณไฟฟา เบื้ องต น เกี่ ย วกั บ กิ จ นิ สั ย ในการปฏิ บั ติ ง าน และ คุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุ ณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน
รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย
66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 4 การคํานวณไฟฟาเบื้องตน ในเรื่ อ งการคํ า นวณไฟฟ า เบื้ อ งต น จะเป น การศึ ก ษากฎของโอห ม เพื่ อ ใช ห าความสั ม พั น ธ ร ะหว า งแรงดั น ไฟฟ า กระแสไฟฟา และความตานทานไฟฟาในวงจร รวมไปถึงการหาคาแรงดันไฟฟาและพลังงานไฟฟา ตลอดจนนํากฎของโอหม มาใชคํานวณหาคาจากวงจรไฟฟาแบบอนุกรม ขนาน และผสม 1. กฎของโอหม 1.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับกฎของโอหม กฎของโอหม กลาววา “ ปริมาณกระแส 1 แอมแปร ไหลผานความตานทาน 1 โอหม จะทําใหเกิดแรงดันไฟฟา 1 โวลต ” เมื่อแตละสวนที่สัมพันธกันเปลี่ยนแปลงไป ยอมทําใหการทํางานของวงจรไฟฟาเกิดการเปลี่ย นแปลงไปดวย กลา วคือ “จํานวนของกระแสไฟฟาที่ไหลในวงจรไฟฟาเปลี่ย นแปลงตามคาแรงดันไฟฟาที่จายใหกับวงจรนั้น แตเปลี่ยนแปลง เปนสวนกลับกับความตานทานในวงจร” ซึ่งความสัมพันธดังกลาว สามารถเขียนออกมาเปนสมการไดเปน 2 สมการ คือ 1.1.1 ถาความตานทาน (R) ในวงจรคงที่ กระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลไดม ากเมื่อจายแรงดันไฟฟา (E) ใหวงจรมาก และกระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลไดนอยเมื่อแรงดันไฟฟา (E) ในวงจรนอย โดยสามารถ เขียนความสัมพันธออกมาไดดังภาพที่ 4.1 และ ภาพที่ 4.2 I α V เมื่อ R คงที่
(ก) แรงดันไฟฟานอย กระแสไฟฟาไหลนอย (ข) แรงดันไฟฟามาก กระแสไฟฟาไหลมาก ภาพที่ 4.1 กระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามแรงดันไฟฟา เมื่อความตานทานคงที่
67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3 Iα E
เมื่อ R คงที่
ภาพที่ 4.2 เมื่อกําหนดใหความตานทานไฟฟาคงที่ 1.1.2 ถาแรงดันไฟฟ า (E) ในวงจรคงที่ กระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลได ม ากเมื่ อ ตัว ต า นทานในวงจร มีคาความตานทาน (R) นอย และกระแสไฟฟา (I) ในวงจรจะไหลได นอยเมื่อ ตัว ต า นทานในวงจร มีคาความตานทาน (R) มาก โดยสามารถเขียนความสัมพันธออกมาได ดังภาพที่ 4.3
Iα
1 เมื่อ E คงที่ R
ภาพที่ 4.3 การไหลของกระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตามความตานทาน จากปรากฏการณทั้ง 2 ขอทําให จอรจ ไซมอน โอหม เขียนสมการออกมาในรูปกฎของโอหม ดังสมการ
E R E คือ Electromotive Force หมายถึง แรงผลักดันของแรงดันไฟฟาซึ่งก็คือ แหลงกําเนิดไฟฟานั่ น เอง มีหนวยเปนโวลต (V) I คือ Current หมายถึงปริมาณการไหลของกระแสไฟฟา หรือผลของอิเล็กตรอน ที่เกิดการเคลื่อ นที่ซึ่ง กระแสไฟฟานิยมไหลจากไฟบวกไปหาไฟลบ สวนอิเล็กตรอนจะไหลจากไฟลบไปหาไฟบวก มีหนวยเปน แอมแปร (A) R คือ Resistance คือคาของความตานทานนั้นมีหนวยเปนโอหม (Ω) โดยจะแปรผกผันกับคากระแส คือ ถาคาความตานทานสูง จะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลไดนอย และในทางกลับกันถาคาความตานทานต่าํ จะทําใหมีกระแสไฟฟาไหลไดมาก I=
เมื่อ
68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
จากสมการ I =
1.2 สูตรการคํานวณ
E สามารถสับเปลี่ยนความสัมพันธ เพื่อหาคาความตานทานหรือแรงดันไฟฟาได ดังนี้ R E R= และ E = IR I
ภาพที่ 4.4 สูตรกฎของโอหมในรูปวงกลม เมื่อ
I = กระแสไฟฟา
หนวย แอมแปร (A)
E = แรงดันไฟฟา
หนวย โวลต (V)
R = ความตานทาน
หนวย โอหม (Ω)
ในการคํานวณคาแตละครั้ง ตองทําการแปลงหนวยของปริม าณไฟฟาที่ เกี่ย วข องทั้งหมดใหอยูใ นรูปหน ว ย มาตรฐานกอน จึงสามารถคํานวณได เพื่อไมใ หเกิดความผิดพลาดจากผลลัพธที่คํานวณออกมา การหาสมการ ในแตละสวนทําไดโดย ใชนิ้วมือปดสวนที่ตองการหาไว สวนที่เหลือ คือ สูตรที่ใชในการคํานวณ หากสมการที่ได อยูใ นแถวเดียวกันใหนํามาคูณกัน และถาหากสมการอยูตางแถวกัน ใหนํามาหารกันดังภาพที่ 4.5 ภาพที่ 4.6 และภาพที่ 4.7
ภาพที่ 4.5 สูตรการหาคากระแส
69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 4.6 สูตรการหาความตานทาน
ภาพที่ 4.7 สูตรการหาคาแรงดันไฟฟา 1.2.1 ตัวอยางโจทย 1) จายแรงดันไฟฟาใหเสนลวด เสนหนึ่ง 200 V เกิดกระแสไฟฟาไหลผานเสนลวดความรอน 50 mA จงคํานวณหาคาความตานทานของเสนลวดความรอนนี้
70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) มีกระแสไฟฟาไหล 2A ผานความตานทาน 75 Ω จะเกิดแรงดันตกครอมวงจรเทาใด
3) จายแรงดันไฟฟา 220 V ใหกับเตารีดไฟฟาตัวหนึ่งที่มีความตานทาน 80 Ω จะเกิดกระแสไฟฟา ไหลผานเตารีดตัวนี้เทาใด
71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2. กําลังไฟฟา 2.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับกําลังไฟฟา กําลังไฟฟา (Electrical Power; P) คือ อัตราการใชพ ลังงานไฟฟา (W) หนวยเปนจูล (J) ที่ทําใหอิเล็กตรอน เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ในหนึ่งหนวยเวลาหนวยเปนวินาที (s) มีสมการ ดังนี้
เมื่อ
P = กําลังไฟฟา
หนวย วัตต (W)
W = พลังงานไฟฟา หนวย จูล (J) t = เวลา
หนวย วินาที (s)
โดยกําลังไฟฟามีความสัม พันธกับกฎของโอหม ดังนี้ กําลังไฟฟา 1 วัตต คือ อัตราของงานที่ถูกกระทําในวงจร ซึ่งเกิดขึ้นกับกระแสไฟฟา (I) ไหล 1 แอมแปร เมื่อมีแรงดันไฟฟา (E) จายใหวงจร 1 โวลต ซึ่งมีสมการ ดังนี้
เมื่อ
P = กําลังไฟฟา
หนวย วัตต (W)
E = แรงดันไฟฟา
หนวย โวลต (V)
I = กระแสไฟฟา
หนวย แอมแปร (A)
สําหรับกําลังของมอเตอรไฟฟามักบอกหนวยเปนกําลังมา (Horsepower; hp) หนวยกําลังมานี้ไมจัดเปนหนวย ใน ระบบ SI แตมีความสัมพันธกับหนวยระบบ SI คือ กําลังของมอเตอรไฟฟา 1 hp = 746 วัตต สวนกําลังงาน 1 กําลังมา คือ แรง ที่ใชในการดึงน้ําหนัก หนัก 550 ปอนดสูงขึ้น 1 ฟุต (ft) ในเวลา 1 วินาที (s)
72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2.2 ตัวอยางโจทย 2.2.1 หลอดไฟหลอดหนึ่งใชพลังงานไป 40 J ในเวลา 0.5 s หลอดไฟหลอดนี้ใชกําลังไฟฟาเทาใด วิธีทํา
สูตร P = ? , W = 40 J , t = 0.5 s
แทนคา หลอดไฟจะใชกําลังไฟฟา = 80 วัตต (w) 2.2.2 หลอดไฟฟาขนาด 100 W ตออยูในวงจรไฟฟาที่มีแรงดัน 24 V หลอดไฟฟาหลอดนี้จะกินกระแสไฟฟา เทาใดและมีคาความตานทานในตัวเทาไหร
73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
หลอดไฟจะกินกระแสไฟฟา = 80 w และมีความตานทานในตัว = 5.76 Ω 2.2.3 จายแรงดัน 100 V ใหกับตัวตานทานที่มีค าความต านทาน 2.5 kΩ จงหาคากระแสไฟฟ าไหลในวงจร และคาทนกําลังของตัวตานทานนี้
74 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คากระแสไฟฟาที่ไหลในวงจร = 0.04 A หรือ 40 mA และทนกําลังไฟฟาได = 4 W 2.2.4 มอเตอร ไ ฟฟ า กระแสตรงตั ว หนึ่ ง บอกขนาดไว 4 hp, 150 V มอเตอร ไ ฟฟ า กระแสตรงตั ว นี้ จะใช กระแสไฟฟาเทาไรขณะทํางาน
มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวนี้ จะใชกระแสไฟฟาขณะทํางาน 0.05 A 3 3. พลังงานไฟฟา 3.1 ขอมูลเบื้องตนเกี่ยวกับพลังงานไฟฟา พลังงานไฟฟา (Electrical Energy; W) คือ พลังงานที่ตองการสําหรับการเคลื่อนยายประจุไฟฟาจํานวน 1 คูลอมบ (C) ผานที่ที่มีความตางศั กย ทางไฟฟ า 1 โวลต (V) อีกความหมายหนึ่ ง คือ พลังงานที่ทําเพื่ อใหไดกํ าลั งไฟฟา 1 วัตต (W) ตอเนื่องกันเปนเวลา 1 วินาที (s) ซึ่งพลังงานไฟฟามีหนวยเปน จูล (J) เขียนสมการได ดังนี้ W = Pt เมื่อ
W = พลังงานไฟฟา หนวย จูล (J) P = กําลังไฟฟา
หนวย วัตต (W)
t = เวลา
หนวย วินาที (s)
ไฟฟาที่ใ ชกันในชีวิตประจําวัน คาพลังงานไฟฟาไมไดคิดออกมาเปน จูล แตจะคิดออกมาเปนกิโลวั ตต-ชั่ว โมง หนวยนี้ไมจัดเปนหนวยในระบบ SI แตมีความสัมพันธกับหนวยระบบ SI คือ W (kWh)
=
P (kW) X t (h)
75 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3.2 ตัวอยางการคํานวณ 3.2.1 หลอดไฟฟาขนาด 60 วัตต จํานวน 3 หลอด เปนเวลา 40 นาที จะใชพลังงานไฟฟาไปเทาใด คิดคาพลังงานไฟฟาในหนวยของ J และ kJ หาพลังงานไฟฟาจากสูตร W = Pt W=? P = 60 x 3 = 180 W t = 60 x 40 = 2,400 s แทนคา
W = 180 x 2,400 = 432,000 J หรือ 432 kJ
ใชพลังงานไฟฟาทั้งหมด = 432 kJ คิดคาพลังงานไฟฟาในหนวยของ กิโลวัตต-ชั่วโมง หาพลังงานไฟฟาจากสูตร W = Pt W=? P = 60 x 3 = 180 W t = 40 นาที เปลี่ยนหนวยของ P จากหนวย วัตต (W) เปน กิโลวัตต (kW) โดยการหารดวย 1,000 จะได P = 180 1,000 P = 0.18 kW เปลี่ยนหนวยของ t จากหนวย วินาที (s) เปน ชั่วโมง (h) โดยการหารดวย 60 จะได t = 40 60 t = 0.67 h แทนคา
W = 0.18 x 0.67 = 0.12 kWh
ใชพลังงานไฟฟาทั้งหมด = 0.12 kWh
76 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3.3 การคํานวณคาไฟฟา 3.3.1 สูตรในการคํานวณ การคํานวณคาไฟฟาในแตละเดือ น เปนการคํานวณการใชไฟฟ าของเครื่องใชไฟฟา ที่ถูกเปดใชง าน ภายในระยะเวลา 1 เดื อ น โดยคํ า นวณการใช ง านจากจํ า นวนวั ต ต ซึ่ ง จะถู ก ระบุ ไ ว บ นป า ยที่ ติ ด อยู กั บ เครื่องใชไฟฟาหรือคูมือของเครื่องใชไฟฟาชนิดนั้น ๆ สําหรับสูตรในการคํานวณ มีดังนี้
3.3.2 อัตราคาไฟฟาประเภทบานอยูอาศัย ในการคํานวณคาไฟฟาประเภทบานอยูอาศัยนั้น จะมีอัตราการคิดคาไฟฟาที่แตกตางกันตามหนวยไฟฟาที่ใช โดยลักษณะการใชงานของผูใชไฟฟาสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก 1) การใชพลังงานไฟฟาไมเกิน 150 หนวยตอเดือนมีอัตรา ดังตอไปนี้ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) การใชไฟฟา (หนวย) หนวยที่ 1-5 (5 หนวยแรก)
อัตราคาไฟฟาหนวยละ (บาท) 4.96
หนวยที่ 6-15 (10 หนวยตอไป)
0.7124
หนวยที่ 16-25 (10 หนวยตอไป)
0.8993
หนวยที่ 26-35 (10 หนวยตอไป)
1.1516
หนวยที่ 36-100 (65 หนวยตอไป)
1.5348
หนวยที่ 101-150 (50 หนวยตอไป)
1.6282
หนวยที่ 151-400 (250 หนวยตอไป)
2.1329
เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป)
2.4226
77 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) การใชไฟฟาเกินกวา 150 หนวยตอเดือนมีอัตรา ดังตอไปนี้ (ไมรวมภาษีมูลคาเพิ่ม) การใชไฟฟา (หนวย)
อัตราคาไฟฟาหนวยละ (บาท)
หนวยที่ 1-35 (35 หนวยแรก)
85.21
หนวยที่ 36-150 (115 หนวยตอไป)
1.1236
หนวยที่ 151-400 (250 หนวยตอไป)
2.1329
หนวยที่ 401 เปนตนไป (เกินกวา 400 หนวย)
2.4226
3.3.3 คา Ft (Energy Adjustment Charge) คา Ft หรือ คาการปรับอัตราคาไฟฟา โดยอั ตโนมัติ คือ ตัวประกอบที่ใ ชใ นการปรับ อั ตราคา ไฟฟา โดยอัตโนมัติ มีคาเปนสตางคตอหนวย ใชสําหรับปรับคาไฟฟาขึ้นลงในแตละเดือน โดยนําไปคูณกับหนวยการใช ประจํา เดือ น ซึ่ง คา Ft ดัง กลา วอาจจะเพิ่ม ขึ้น หรือ ลดลงได โดยสามารถตรวจสอบไดจากใบเสร็จรับเงิน/ ใบกํากับภาษีคาไฟฟาประจําเดือนนั้น ๆ 3.3.4 ตัวอยางการคํานวณ 1) บ า นหลั ง หนึ่ ง มี ก ารใช เ ครื่ อ งใช ไ ฟฟ า ทั้ ง หมด 6 ชนิ ด ในเดื อ นมิ ถ ุ น ายน พ.ศ. 2541 โดยเครื่องใชไฟฟาเหลานี้ มีจํานวนวัตตระบุไวบนปายที่ติดอยูกับเครื่องใชไฟฟา ดังนี้ เครื่องใชไฟฟา
จํานวนวัตต
หมายเหตุ
หลอดไฟฟา
40
รวมบัลลาสตอีก 10 วัตต
หมอหุงขาว
600
-
ตูเย็น
125
-
เครื่องปรับอากาศ
2,000
-
เครื่องปรับอากาศ
1,300
-
เตารีด
800
-
78 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
วิธีทํา 1) มีหลอดไฟฟาขนาด 40 วัตต (รวมบัลลาสต 10 วัตต เปน 50 วัตต) จํานวน 10 ดวง เปดใชประมาณวันละ 6 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 50 × 10 × 6 = 3 หนวย หรือประมาณเดือนละ 30 x 3 = 90 หนวย 1000 2) หม อ หุ ง ข า ว ขนาด 600 วั ต ต จํา นวน 1 ใบ เป ด ใช ป ระมาณวั น ละ 30 นาที จะใชไฟฟาวันละ 600 × 1 × 0.5 = 0.3 หนวย หรือประมาณเดือนละ 30 x 0.3 = 9 หนวย 1000 3) ตูเย็น ขนาด 125 วัตต จํานวน 1 ตู เปดตลอด 24 ชั่วโมง สมมติคอมเพรสเซอร ทํางาน 8 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 125 × 1 × 8 = 1 หนวย หรือประมาณเดือนละ 30 x 1 = 30 หนวย 1000 4) เครื่องปรับอากาศ ขนาด 2,000 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดวันละ 12 ชั่วโมง สมมติ คอมเพรสเซอรทํางานวันละ 8 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 2000 × 1 × 8 = 16 หนวย หรือ ประมาณเดือนละ 30 x 16 = 480 หนวย 1000 - เครื่องปรั บอากาศ ขนาด 1,300 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดใชงานวั นละ 8 ชั่วโมง สมมติคอมเพรสเซอรทํางานวันละ 5 ชั่วโมง จะใชไฟฟาวันละ 1300 × 1 × 5 = 6.5 หนวย หรือ ประมาณวันละ 30 x 6.5 = 195 หนวย 1000 - เตารีดไฟฟา ขนาด 800 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดวันละ 1 ชั่วโมง จะใช ไฟฟาวันละ 800 × 1 × 1 = 0.8 หนวย หรือประมาณเดือนละ 30 x 0.8 = 24 หนวย 1000 ดังนั้น ใน 1 เดือน ใชไฟฟาไปทั้งหมดประมาณ 828 หนวย จากนั้นคํานวณคาไฟฟาของตามอัตราคาไฟฟาดังนี้ หนวยการใชไฟฟา
จํานวนตามหนวยการใชไฟฟา (บาท)
35 หนวยแรก
จํานวนเงิน (บาท) 85.21
115 หนวยตอไป
115 x 1.1236 บาท
129.21
250 หนวยตอไป
250 x 2.1329 บาท
533.22
79 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
หนวยการใชไฟฟา
จํานวนตามหนวยการใชไฟฟา (บาท)
สวนที่เกินกวา 400 หนวย
จํานวนเงิน (บาท)
828-400 = 428 x 2.4226 บาท
1,036.87
รวมเปนเงิน
1,784.51
เมื่อทราบจํานวนเงินตามหนวยการใชทั้งหมดแลว ใหนําจํานวนเงินดังกลาวมาคิดคา Ft และภาษีมูลคาเพิ่ม (7%) โดยใชตัวอยางคา Ft ของเดือนมิถุนายน 2541 หนวยละ 5.45 สตางค ( = 0.0545 บาท) ตัวอยางการคํานวณ จากการคํานวณในหัวขอที่ 3.3.4 หนวยการใชไฟฟาทั้งหมด
= 828 หนวย
คิดคา Ft (หนวยละ 0.0545 บาท)
= 828 x 0.0545 = 45.126 บาท
หนวยการใช + คา Ft
= 1,784.51+ 45.126 = 1,829.64 บาท
คิดภาษีมูลคาเพิ่ม (7%)
= 1,829.64 x 0.07 = 128.03 บาท
รวมเปนเงิน
= 1,829.64 + 128.03 = 1,957.67 บาท
คาไฟฟาที่เรียกเก็บ
= 1,829.64 + 128.03 = 1,957.67 บาท
คาไฟฟาที่ตองชําระในเดือนมิถุนายน 2541 คือ 1,957.65 บาท หมายเหตุ ในกรณีที่คํานวณค าไฟฟ าแลว เศษสตางคที่ คํา นวณไดม ีค าต่ํากว า 12.50 สตางค กฟน. จะปด เศษลงใหเ ต็ม จํานวน ทุก ๆ 25 สตางค และถา เศษสตางคม ีคา เทากับ หรือ มากกวา 12.50 สตางค กฟน.จะปดเศษขึ้นใหเต็มจํานวนทุก ๆ 25 สตางค 4. วงจรไฟฟาเบื้องตน องคประกอบที่สําคัญของวงจรไฟฟา มีอยางนอย 3 อยาง คือ แหลงจายไฟ (Power Supply) ตัวนําไฟฟา (Conductor) และภาระทางไฟฟาหรือโหลด (Load) 4.1 วงจรไฟฟาแบบอนุกรม วงจรอนุกรม คือ วงจรที่อุปกรณตา ง ๆ เรีย งตอกันไปเรื่อย ๆ โดยปลายดานหนึ่งของอุป กรณ ตัวแรกตอ กับ ปลายดานหนึ่งของอุปกรณตัวถัดไปเรื่อย ๆ จนเปนลูกโซ ดังภาพที่ 4.7
80 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ภาพที่ 4.7 วงจรไฟฟาแบบอนุกรม 4.2.1 คุณสมบัติของวงจรไฟฟาแบบอนุกรม 1) ค า ความตา นทานรวมทั้ง หมด (R T ) มี คา เท า กั บ ค า ความต า นทานย อยของตั ว ต า นทาน แตละตัวบวกกัน 2) กระแสไฟฟา (IT) ที่ไหลผานตัวตานทานทุกตัวเทากัน และเทากับคากระแสไฟฟารวมของวงจร
ดังนั้น กระแสไฟฟารวม 3) แรงดันตกครอมตัวตานทานแตละตัวจะแตกตางกัน คาความตานทานมากเกิดแรงดั น ไฟฟ า ตกคร อมมาก คาความตา นทานน อ ยเกิ ด แรงดั น ไฟฟ า ตกคร อ มน อ ย ผลรวมของแรงดั น ตกครอมตัวตานทานแตละตัวรวมกันเทากับแรงดันไฟฟาที่ปอน ดังนั้น แรงดันแหลงจาย 4) กําลังไฟฟาที่เกิดขึ้นกับตัวตานทานแตละตัวในวงจรเทากับแรงดันไฟฟาตกครอมตัว ต า นทาน แตล ะตัว คูณ กับ กระแสที่ไ หลผา นวงจร (เชน PR = E R × I ) แรงดัน ไฟฟา ตกครอ มนอ ย 1
1
กํา ลัง ไฟฟา เกิดนอ ยแรงดัน ไฟฟาตกครอมมากกํา ลังไฟฟาเกิด มาก ผลรวมกํา ลังไฟฟาของ ตัวตานทานแตละตัวรวมกันเทากับกําลังไฟฟาทั้งหมดของวงจร ดังนั้น กําลังไฟฟา
81 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
4.2.2 ตัวอยางการคํานวณ 1) เมื่อจายแรงดันไฟฟา 12 V เขาสูจากวงจรไฟฟาดังภาพ จงคํานวณหาคาความตานทานรวม ในวงจร กระแสไฟฟารวมในวงจร และแรงดันตกครอมที่ตัวตานทานแตละตัว มีคาเปนเทาไร
82 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาแรงดันไฟฟาที่ออกมาจากแบตเตอรี่ E มีคาเปนเทาไร
83 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3) ความต า นทาน 4 ตั ว ต อ กั น แ บบอนุ ก รม แ ละต อ เข า กั บ แบตเตอรี่ ตั ว หนึ่ ง ดั ง ภาพ โดยความตานทานแตละตัวมีคาดังนี้ คือ 0.5 kΩ, 1 kΩ, 1.5 kΩ และ 2 kΩ ถาระหวางขั้วของ ความตานทาน 1 kΩ มีคาความตางศักยเกิดขึ้นเทากับ 2 V จงคํานวณหาคากระแสที่ไหลในวงจร (I) และแรงดันของแบตเตอรี่ (E)
84 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
4) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาของ R 1 , R 2 , V2 , V3 ,V4
85 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
- เมื่อนํา R มาตอขนานกับแหลงไฟฟา พบวาแรงดันที่ตกครอม R แตละตัวมีคาเทากัน กลาวคือ เทากับแหลงจายไฟฟา นั่นคือ - กระแสไฟฟาไหลผาน R แตละตัว หาไดจากอัตราสวนระหวางจายแรงดั น ไฟฟา ต อ คาความตานทานนั่นคือ - แรงดัน ไฟฟา ที่ต กครอ ม R แตล ะตัว มีคา เทา กับ กระแสที่ไ หลผา น R นั้น ๆ เชน กระแสไหลผาน R1 เทากับ 10 มิลลิแอมป โดยคาของ R1 เทากับ 1 kΩ นั่นหมายความวา แรงดันที่ตกครอม R1 จึงมีคาเทากับ 10 mA x 1 kΩ มีคาเทากับ 10 โวลต สรุปวา E1 (แรงดันตกครอม R1) เทากับ = I1 x R1 นั่นเอง - ค า กํ า ลั ง ไฟฟ า R แต ล ะตั ว หาได จ ากปริ ม าณกระแสคู ณ กั บ แรงดั น นั่ น คื อ P1 (กําลังไฟฟาของ R1) = I1 (กระแสไหลผาน R1) x E1 (แรงดันแหลงจาย) 4.2 วงจรไฟฟาแบบขนาน วงจรไฟฟาแบบขนาน คือ การตอสายไฟฟาจากทั้งขั้วบวกและขั้วลบของแหลงจายไฟ แลวจึงตอสายยอยออกมา เปนคู ๆ เพื่อตอเขากับอุปกรณไฟฟา นิยมใชกับการตอวงจรไฟฟาในบานเรือน
ภาพที่ 4.8 วงจรไฟฟาแบบขนาน 4.2.1 คุณสมบัติของวงจรไฟฟาแบบขนาน 1) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัวถูกแยกอิสระออกจากกัน โดยกระแส I1 ไหลผานตัวตานทาน R1 กระแส I 2 ผ า น R 2 และกระแส I 3 ไหลผ า น R 3 กระแสที่ไ หลผ า น R จะแปรผกผั น กับ คาความตานทานกระแสที่ไหลผาน R ไดมาก แสดงวา R มีคาความตานทานนอย และกระแส จะไหลผาน R ไดนอย แสดงวาความตานทานตัวนั้นมีคาสูง 2) แรงดันตกครอมตัวตานทานแตละตัวรวมกัน ยอมมีคาเทากับแหลงจาย ถึงแมวา R จะมีคามาก หรือนอยก็ตาม นั่นคือ
86 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัว เมื่อนํามารวมกันแลวจะมีคาเทากับกระแสไฟฟารวมของวงจร นั่นคือ 4) กระแสที่ไหลผาน R แตละตัวนั่นมีคาเทา กับ อัต ราส วนของแหลง จายตอ ค าความตา นทาน นั้น ๆ เชน 4.2.2 ตัวอยางการคํานวณ 1) จากภาพกํา หนดใหแ หลง จา ยมีคา 20 V, R 1 = 1 kΩ, R 2 = 470 kΩ, และ R3 = 560 kΩ จงหากระแสที่ไหลผาน R แตละตัว กระแสไฟฟารวม และคาความตานทานรวมของวงจรมี คา เปนเทาไร
87 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
2) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาแหลงจาย E และ R3
88 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
3) จากภาพวงจรไฟฟาที่กําหนดให จงหาคาของ I2, E, R1, R3
4.3 วงจรไฟฟาแบบผสม วงจรไฟฟาแบบผสม เปนวงจรไฟฟาที่เกิดจากการรวมกันของวงจรไฟฟาแบบอนุกรมกับวงจรไฟฟาแบบขนาน โดยมีรูปแบบที่ไมแนนอน ดังภาพที่ 4.9
ภาพที่ 4.9 วงจรไฟฟาแบบผสม 89 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
จากภาพตัวอยาง สามารถหาคาได ดังนี้ 1) หาคา R รวม 2) หาคา E รวม 3) หาคา I รวม 4) หาคา I1 5) หาคา I2 6) หาคา I3 7) หาคา I4 ตัวอยาง จงหาคาความตานทาน คากระแสไฟฟา และคาแรงดันไฟฟาตกครอมของวงจรตอไปนี้
90 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
วิธีทํา หาคาความตานทานรวมที่จุด AB
หาคาความตานทานรวมที่จุด BC
หาคาความตานทานรวมทั้งวงจร
RT = RAB + RBC + R6 + R7 = 16 Ω + 40 Ω + 100 Ω + 400 Ω RT = 556 Ω
หาคากระแสรวมในวงจร
= IT = 107.9 mA
หาคาแรงดันตกครอม
EAB = ITRAB = 107.9 x 10-3 A x 16 Ω EAB = 1.73 V EBC = ITRBC = 107.9 x 10-3 A x 40 Ω
91 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
EAB = 4.32 V ER6 = ITR6 = 107.9 x 10-3 A x 100 Ω E6 = 10.79 V ER7 = ITR7 = 107.9 x 10-3 A x 400 Ω E7 = 43.16 V
92 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. เมื่อจายแรงดันไฟฟาใหเสนลวดเสนหนึ่ง 150 V เกิดกระแสไฟฟาไหลผานเสนลวดความรอน 20 mA เสนลวดความรอนนี้ จะมีคาความตานทานเทาไร ก. 0.13 Ω ข. 75 Ω ค. 3 kΩ ง. 7.5 kΩ 2. หากเปดใชเครื่องทําน้ําอุนขนาด 3,500 วัตต เปนเวลา 10 นาที เครื่องทําน้ําอุนเครื่องนี้จะใชพลังงานไฟฟาเทาไร ก. 2,100 KJ หรือ 0.6 kWh ข. 35 KJ หรือ 595 kWh ค. 0.5 KJ หรือ 35 kWh ง. 350 KJ หรือ 5.83 kWh 3. หลอดไฟขนาด 50 W ตออยูในวงจรไฟฟาที่มีแรงดัน 30 V หลอดไฟฟาหลอดนี้จะกินกระแสไฟฟาเทาใด ก. 15 A
ข. 150 A
ค. 0.6 A
ง. 1.67 A
4. เตาไมโครเวฟขนาด 800 W ตออยูกับไฟบานที่มีแรงดัน 220 V เตาไมโครเวฟดังกลาวจะมีคาความตานทานในตัวเทาไร ก. 60.44 Ω
ข. 70.5 Ω
ค. 66.3 Ω
ง. 72.1 Ω
5. จายแรงดัน 150 V ใหกับตัวตานทานที่มีคาความตานทาน 3 kΩ ตัวตานทานตัวนี้จะทนกําลังไฟฟาไดเทาไร ก. 50 W
ข. 0.05 W
ค. 7,500 W
ง. 7.5 w
6. มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวหนึ่งบอกขนาดไว 5 hp, 100 V มอเตอรไฟฟากระแสตรงตัวนี้จะใชกระแสไฟฟาเทาไรขณะทํางาน ก. 20 A
ข. 0.03 A
ค. 0.13 A
93 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง. 37.3 A
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
7. เมื่อจายแรงดันไฟฟา 15 V เขาสูวงจรไฟฟาที่กําหนดให แรงดันตกครอมที่ R1 จะมีคาเทาไหร ก. 75.35 V ข. 3.01 V ค. 0.33 V ง. 65.28 V
8. จากภาพ กําหนดใหแหลงจายมีคา 10 V, R1= 2 kΩ, R2= 500 kΩ, R3= 550 kΩ จงหาคาความตานทานรวมของวงจร ก. 0.50 kΩ
ข. 1.98 kΩ
ค. 50.4 kΩ
ง. 45.8 kΩ
ค. 5 V
ง. 20 V
9. จากภาพวงจรที่กําหนดให จงหาคา E ก. 1.67 V
ข. 60 V
94 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
10. จากภาพวงจรที่กําหนดให จงหาคาความตานทานรวม ก. 491.25 Ω
ข. 568.78 Ω
ค. 590.05 Ω
95 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง. 608.75 Ω
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
96 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช 4. นายสุรพล
เบญจาทิกุล พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 97 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 1 โมดู ล การฝ ก ที่ 3
98 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน