คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คูมือครูฝก 0920162070801 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 5 09207205 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คํา นํา
คูมือ ครูฝก สาขาชางเชื่อ มแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 5 การเลือ กใชล วดเชื่อ ม และแกส ปกปอ ง ฉบับ นี้ เปนสวนหนึ่ง ของหลัก สูตรฝก อบรมฝมือ แรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่ง พัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหมีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชล วดเชื่อ ม และแกสปกปอง และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐาน ที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสง มอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคั ญ ต อ การพัฒ นาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นัก เรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอ ยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เรื่อง
สารบั ญ
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก
ข 1
โมดูลการฝกที่ 5 09207205 การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง หัวขอวิชาที่ 1 0920720501 ลวดเชื่อม หัวขอวิชาที่ 2 0920720502 แกสปกปอง คณะผูจัดทําโครงการ
20 43 60
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก
4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบียนแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบียนแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกทีล่ งทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6. ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรบั จากผูทสี่ นใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7. ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูส มัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8. ครูฝกคัดเลือกผูส มัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรบั 9. เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ค. ผังการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ขอเขารับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือ เขารับ การฝก ในโมดูล ถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบตั ิ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝก ควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ
15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920162070801
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็ก เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมฟลเล็ท ตําแหนงทาเชื่อม PB PF PD และ D150PH 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับ การฝก จะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือ แรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตล ะคน มีผ ลใหผูรับการฝ กจบการฝ กไมพ ร อมกัน สามารถจบกอนหรือ เกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลัก สูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการ สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผู รั บ การฝ ก ที่ ผ า นการประเมิ น ผลหรื อ ผ า นการฝ ก ครบทุ ก หน ว ยความสามารถ จะได รั บ วุ ฒิ บั ต ร วพร. ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)
17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 5 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920162070801 2. ชื่อโมดูลการฝก การเลือกใชลวดเชื่อม และแกสปกปอง รหัสโมดูลการฝก 09207205 3. ระยะเวลาการฝก รวม 2 ชั่วโมง ทฤษฎี 2 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. บอกการเลือกชนิดของลวดเชื่อม ขนาด ความสามารถใชไดของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. บอกการเก็บรักษา การใชลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกขอกําหนดตามมาตรฐานของลวดเชื่อม สําหรับเหล็กกลาคารบอนและเหล็กกลา ผสมต่ํา เหล็กกลาเกรนละเอียดไดอยางถูกตอง 4. บอกการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตั้งกระแสไฟใหเหมาะสมกับขนาดของ ลวดและทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. บอกการกําหนดขั้วเชื่อมเปน DC+ ไดอยางถูกตอง 6. บอกชนิดมาตรฐานของแกสปกปองและการเลือกใชไดอยางถูกตอง 7. บอกผลกระทบของการเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนาและถอยหลังไดอยางถูกตอง 8. บอกผลกระทบของการใชปริมาณของแกสปกปองมากหรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง 9. บอกแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใชไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 4 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. บอกการเลือกชนิดของลวดเชื่อม หัวขอที่ 1 : ลวดเชื่อม 1:00 1:00 ขนาด ความสามารถใชไดของ ลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา)
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2. บอกการเก็บรักษา การใช ลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกขอกําหนดตามมาตรฐาน ของลวดเชื่อม สําหรับ เหล็กกลาคารบอนและ เหล็กกลาผสมต่ํา เหล็กกลา เกรนละเอียดไดอยางถูกตอง 4. บอกการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตั้งกระแสไฟ ใหเหมาะสมกับขนาดของลวด และทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. บอกการกําหนดขั้วเชื่อมเปน DC+ ไดอยางถูกตอง 6. บอกชนิดมาตรฐานของ หัวขอที่ 2 : แกสปกปอง แกสปกปองและการเลือกใช ไดอยางถูกตอง 7. บอกผลกระทบของการเอียง หัวเชื่อมแบบเดินหนา และ ถอยหลังไดอยางถูกตอง 8. บอกผลกระทบของการใช ปริมาณของแกสปกปองมาก หรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง 9. บอกแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใช ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
1:00
-
1:00
2:00
-
2:00
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920720501 ลวดเชื่อม (ใบเตรียมการสอน)
1. ผลลัพธการเรียนรู 1. บอกการเลือกชนิดของลวดเชื่อม ขนาด ความสามารถใชไดของลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 2. บอกการเก็บรักษา การใชลวดเชื่อมไดอยางถูกตอง 3. บอกขอกําหนดตามมาตรฐานของลวดเชื่อม สําหรับเหล็กกลาคารบอนและเหล็กกลาผสมต่ํา เหล็กกลาเกรนละเอียด ไดอยางถูกตอง 4. บอกการกําหนดคาแรงดัน (Volt) การปรับตัง้ กระแสไฟใหเหมาะสมกับขนาดของลวดและทาเชื่อมไดอยางถูกตอง 5. บอกการกําหนดขั้วเชื่อมเปน DC+ ไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
การเลือกชนิดของลวดเชื่อม การใชลวดเชื่อม การเก็บรักษาลวดเชื่อม มาตรฐานของลวดเชื่อมสําหรับเหล็กกลาคารบอน มาตรฐานของลวดเชื่อมสําหรับเหล็กกลาผสมต่ํา มาตรฐานของลวดเชื่อมสําหรับเหล็กกลาเกรนละเอียด การกําหนดคาแรงดัน (Volt) ใหเหมาะสมกับขนาดของลวดและทาเชื่อม การปรับตัง้ กระแสไฟใหเหมาะสมกับขนาดของลวดและทาเชื่อม การกําหนดขั้วเชื่อมเปน DC+
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
7. บรรณานุกรม มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท.
British Standards Institute. 2008. BS EN ISO 14341:2008. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.specialisedwelding.co.uk/datasheets/Super_6_Data_Sheets_&_MSDS/W elding-wire-BS-2.pdf
22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับลวดเชื่อม ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง ลวดเชื่อม 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือ ผูรับการฝกเรื่อ ง ลวดเชื่อ ม หนาที่ 1. รับคูมือผูรับการฝกเรื่อง ลวดเชื่อม หนาที่ 14 - 34 14 - 34 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อ หาเรื่อง ลวดเชื่อ ม โดยใชวิธีถาม - 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ตอบกั บ ผู รั บ การฝ ก และใช ความรูเ ดิม ของ เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ผูรับการฝกมาตอยอดเปนความรูใหมพรอมใช สื่อวีดิทัศน นาทีที่ 00.00 - 14.10 ประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 การเลือกชนิดของลวดเชื่อม 2.2 การใชลวดเชื่อม 2.3 มาตรฐานของลวดเชื่อม 2.4 การกําหนดคาแรงดัน และการ ปรับตัง้ กระแสไฟ 2.5 การกําหนดขั้วเชื่อมเปน DCEP 2.6 การเก็บรักษาลวดเชื่อม 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 32 - 34 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 32 - 34 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดูเ ฉลยจากคูมือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 42 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม 23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง ลวดเชื่อม อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง ลวดเชื่อม รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ลวดเชื่อม ในกระบวนการเชื่อมแม็ก ลวดเชื่อมที่นํามาใชตองมีความบริสุทธิ์ทางเคมีสูง การเลือกลวดเชื่อมที่ถูกตองจะปองกัน ความบกพรองที่เกิดขึ้นแกรอยเชื่อมได ซึ่งคุณภาพของรอยเชื่อมที่ดีขึ้นอยูกับสวนผสมทางเคมีของลวดเชื่อ ม ความสะอาด ผิวลวดเชื่อม และขนาดเสนผานศู นย ก ลางลวดเชื่อ มที่ส ม่ําเสมอ โดยผิวลวดเชื่อ มจะเคลือ บทองแดงเพื่อ ปอ งกันสนิม แตไมมีผ ลตอ สวนผสมของเนื้ อ โลหะรอยเชื่ อ ม สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่งคือ ความตานแรงดึงของลวดเชื่อม ซึ่งกําหนดจากความตานแรงของเนื้อโลหะเชื่อมที่ไดจาก การเชื่อ มดวยลวดชนิดนั้น โดยความตานแรงดึง อาจเปลี่ยนแปลงไปเมื่อ นําไปเชื่อ ม เพราะออกซิเ จนจากบรรยากาศ และความชื้นจะทําใหผิวลวดเชื่อมเปนออกไซดได 1. การเลือกชนิดของลวดเชื่อม การเลือกชนิดของลวดเชื่อมสิ่งที่ผูปฏิบัติงานควรพิจารณามีดังนี้ 1) สมบัติท างกลของโลหะชิ้นงาน ลวดเชื่อ มที่เ ลือ กใชตอ งมีความตานแรงดึง ที่เ ขา กันไดกับ โลหะชิ้นงาน ซึ่ง เป นสิ่ ง สําคั ญ ที่ สุ ดในการพิ จ ารณา 2) สวนผสมทางเคมีของโลหะชิ้นงาน ตอ งเหมาะสมกับสวนผสมทางเคมีของโลหะลวดเชื่อมและเขากันได กับสวนผสมของโลหะชิ้นงาน โดยเฉพาะงานที่ตองการความตานทานตอการกัดกรอน มีผิวที่เหมือนเดิม ความตานตอการคืบ และการนําความรอนหรือไฟฟา 3) ความหนาและรูป ทรงโลหะชิ้นงาน งานเชื่อ มที่มีความหนาและรูป ทรงแตกตางกัน เมื่อ นํามาเชื่อ มตอ ประกอบเขาดวยกันตองการความเหนียวสูงสุด เพื่อปองกันงานเชื่อมเกิดรอยราวจึงควรเลือกใหเหมาะสม เพื่อใหชิ้นงานเชื่อมมีสมบัติดานความเหนียว 4) สภาพการใชงานและขอกําหนดรายละเอียด สภาพการใชงานเชื่อมอาจแตกตางกัน เชน อุณหภูมิ การกระแทก เปนตน ดัง นั้น ลวดเชื่อ มตอ งมีสวนผสมที่เ ขากันไดกับ โลหะงานเชื่อ ม โดยเลือ กใชล วดเชื่อ มที่มีสมบัติ ดานความเหนียวและตานทานแรงกระแทกได นอกจากขอควรพิจารณาตามขางตนแลว ขนาดของลวดเชื่อมก็เปนสิ่งสําคัญ โดยลวดเชื่อมในกระบวนการเชื่อมแม็ก จะเปนเสนยาวทําเปนมวนหรือขดเพื่อใชงานเชื่อมไดตอเนื่อง ซึ่งมวนลวดจะมีน้ําหนักราว 0.9 - 27 กิโลกรัม และมีขนาด เสนผานศูนยกลางเล็กเมื่อเทียบกับลวดเชื่อมที่ใชในกระบวนการเชื่อมแบบอื่น โดยมีขนาดตั้งแต 0.8 - 1.6 มิลลิเมตร ซึ่งเปน ขนาดที่นิยมใชกันแพรหลาย และยังมีขนาดเล็กสุดคือ 0.5 มิลลิเมตร และขนาดใหญสุดคือ 3.2 มิลลิเมตร เนื่องจากลวดเชื่อม มีขนาดเล็กจึงตองใชกระแสเชื่อมสูงเพื่อใหไดอัตราหลอมเหลวของลวดเชื่อมอยูในชวงประมาณ 40 - 255 มิลลิเมตรตอวินาที 25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ดังนั้น ผิวลวดเชื่อมตองสะอาด ไมเปนสนิม มีฝุนละออง น้ํามัน หรือสารมลทินเกาะติดผิวลวดเชื่อม เพราะเปนสาเหตุ ของการเกิดจุดบกพรองในเนื้อโลหะเชื่อม เชน ความพรุน หรือรอยราว และยังมีผลตอปริมาตรโลหะที่ไดรับจากการหลอมดวย 2. การใชลวดเชื่อม ลวดเชื่อ มที่ใชกับกระบวนการเชื่อมแม็กมีทั้ง ชนิดลวดตัน และลวดไสฟ ลักซ ในที่นี้จ ะอธิบายเฉพาะลวดตันเทานั้น โดย AWS (American Welding Society) ไดกําหนดมาตรฐานของลวดเชื่อมไวเพื่อใหสะดวกในการใชงาน แบงเปนกลุมรหัส ดังนี้ AWS Spec.
โลหะ
A 5.7
ทองแดงและทองแดงผสม
A 5.9
เหล็กกลาไรสนิม
A 5.10
อะลูมเิ นียมและอะลูมเิ นียมผสม
A 5.14
นิกเกิลและนิกเกิลเจือ
A 5.16
ไทเทเนียมและไทเทเนียมผสม
A 5.18
เหล็กกลาคารบอน
A 5.19
แมกนีเซียมผสม
A 5.24
เซอรโครเนียมและเซอรโครเนียมผสม
A 5.28
เหล็กกลาผสมต่ํา
การแบง ชั้นคุณภาพสําหรับ ลวดเชื่อ มตาม AWS ไดถูก กําหนดใหใชตัวอัก ษรและตัวเลข บอกชนิดของลวดเชื่อ ม และบอกสวนผสมทางเคมี โดยรหัสแบงเปนตัวอักษรและตัวเลข ดังนี้
ภาพที่ 1.1 ความหมายของตัวอักษรในชื่อของลวดเชื่อม
26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
E (Electrode)
หมายถึง ลวดเชื่อมแม็กหรือลวดเชื่อมไฟฟาที่ใชกับการเชื่อมแม็ก
R (Welding Rod)
หมายถึง ลวดเชื่อมเติมไดเชนเดียวกับลวดที่ใชกับการเชื่อมทิกและพลาสมา
XX
หมายถึง ตัวเลขที่บอกถึงความตานแรงดึงต่ําสุดของเนื้อโลหะเชื่อม โดยคูณดวย 1,000 หนวยเปนปอนดตอตารางนิ้ว
S (Solid Wire)
หมายถึง ลวดตัน
หมายเหตุ ถาอักษร T หมายถึง ลวดไสฟลักซ X
หมายถึง สวนผสมทางเคมีของลวดเชื่อมและสมบัติทางกล
ตัวอยาง ER 70S – 6 Mild Steel Electrodes ER หมายถึง ใชเปนลวดเชื่อมแม็กและเปนลวดเชื่อมเติมรอยตอพรอมกัน 70 S 6
หมายถึง หมายถึง หมายถึง
คาความตานแรงดึงต่ําสุดของเนื้อโลหะเชื่อม 70 × 1,000 psi ลวดตัน ตัวเลขเฉพาะแสดงสวนผสมทางเคมีและสมบัติทางกายภาพ
ER 80S – B2L Low Alloy Steel Electrodes ER หมายถึง ใชเปนลวดเชื่อมแม็กและเปนลวดเชื่อมเติมรอยตอพรอมกัน 80 S
หมายถึง หมายถึง
คาความตานแรงดึงต่ําสุดของเนื้อโลหะเชื่อม 80 × 1,000 psi ลวดตัน
B2 L
หมายถึง หมายถึง
สวนผสมทางเคมี คารบอนเจือต่ํา (สูงสุด 0.05%)
ER316 – L Stainless Steel Electrode ER หมายถึง ใชเปนลวดเชื่อมแม็กและเปนลวดเชื่อมเติมรอยตอพรอมกัน 316 หมายถึง เกรดเหล็กกลาไรสนิม L ER 5356
หมายถึง คารบอนเจือต่ํา (สูงสุด 0.03%) Aluminum Electrodes
ER 5356
หมายถึง หมายถึง
ใชเปนลวดเชื่อมแม็กและเปนลวดเชื่อมเติมรอยตอพรอมกัน สวนผสมทางเคมีและเกรดอะลูมิเนียม 27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
3. มาตรฐานของลวดเชื่อม ลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 สามารถจําแนกตามการใชงานไดดังนี้ ER70S-1 ER70S-2 ER70S-3
ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนต่ํา ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนทุกเกรดกับเหล็กกลาผสมต่ําบางตัว ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาละมุน
ER70S-4 ER70S-5
ใชสําหรับเชื่อมเหล็กกลาละมุน ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนทุกเกรดกับเหล็กกลาผสมต่ําบางตัว และสามารถใชกับการเชื่อม
ER70S-6
บนเหล็กกลาที่ผิวเปนสนิม หรือผิวที่เปอนน้ํามันไดดี ใชสําหรับเหล็กที่มีออกซิเจนเจือปนสูง
ER70S-7 สมบัติเหมือนกับ ER 70S-6 แตมีแมงกานีสผสมอยู จึงใหรอยเชื่อมที่ดี ER70S-G เปนลวดเชื่อมที่ไมกําหนดรายละเอียดของสวนผสมทางเคมี ขึ้นอยูกับการตกลงของผูซื้อและผูผลิต ในสวนของลวดเชื่อมที่เปนเหล็กกลาผสมต่ําจะเปนไปตามมาตรฐาน A5.28 โดยการกําหนดรหัสมาตรฐานเหมือนกับ AWS A5.18 แตตา งที่ ร หัส ตั วเลขจะเป น 80 90 หรือ 100 โดยอัก ษรยอ และตัว เลขทายสุด จะเปนสวนผสมทางเคมี โดยยกตัวอยางไดดัง นี้ ER80S-B2 ใชสําหรับเหล็กกลาโครเมียม-โมลิบดีนัม (Cr-Mo) โดยใชอักษร B กําหนดตอทายรหัส ER80S-Ni1 ใชสาํ หรับเหล็กกลาผสมนิกเกิล โดยใชอักษร Ni กําหนดตอทายรหัส และเลข 1 ตัวสุดทาย แสดงสวนผสมทางเคมีซึ่งมีความหมายวา ลวดเชื่อมมีนิกเกิลผสมอยู 1% ER80S-D2 ใชสําหรับเหล็กกลาผสมแมงกานีส-โมลิบดีนัม โดยใชอักษร D กําหนดตอทายรหัส นอกจากลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18, A5.28 แลว ลวดเชื่อมในมาตรฐานอื่น ๆ เชน ISO 14341 ก็สามารถ นํามาใชในการเชื่อมไดเชนกัน โดยสามารถเปรียบเทียบไดดังตารางตอไปนี้ ตารางที่ 1.1 เปรียบเทียบมาตรฐานลวดเชื่อม มาตรฐานลวดเชื่อม
โลหะ เหล็กกลาตามมาตรฐานโรงงาน
AWS
ISO14341
AWS A5.18 / A5.18M: ER 70S-G
ISO 14341-A-G 42 3C G0
เปนผูกําหนด เหล็กกลาคารบอน
ISO 14341-B-G 49A Z C SZ AWS A5.18: ER70S-3
และเหล็กกลาละมุน 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ISO 14341-B-G 49A 2 S3
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
มาตรฐานลวดเชื่อม
โลหะ
AWS
ISO14341
เหล็กกลาโครงสราง (Structure Steel)
AWS A5.18: ER70S-6
ISO 14341-A-G42 3M21 4Si1
เหล็กกลาผสมนิกเกิล
AWS A5.28: ER80S-Ni1
ISO 14341-A: G46 5M G3Ni1
เหล็กกลาไรสนิม (Stainless Austenitic steel)
AWS A5.9: ER307
ISO 14343-A: G18 8 Mn
ตารางที่ 1.2 สวนผสมทางเคมีของลวดเชื่อมตันและเนื้อโลหะเติมรอยเชื่อมของลวดไสฟลักซเหล็กกลาคารบอนและ เหล็กกลาผสมต่าํ (AWS. A5.18, A5.28) C ER70S-2
.07
Mn
Si
P S Ni เหล็กกลาคารบอน .90-1.40 .40-.70 .025 .035 -
Cr
Mo
Cu
Other
-
-
.50 .50 .50
Ti. Zr. Al -
.50 .50
Al -
.50
-
.35
-
.35
-
.35
-
ER10S-3 .06-.15 .90-1.40 .45-.70 .025 .035 ER10S-4 .07-.15 1.00- .65-.85 .025 .035 1.50 ER70S-5 .07-.19 .90-1.40 .30-.60 .025 .035 ER70S-6 .07-.15 1.40.80- .025 .035 1.85 1.15 ER70S-7 .07-.15 1.50- .50-.80 .025 .035 2.00 ER70S-G ไมระบุสวนผสมทางเคมี เหล็กกลาโครเมียม – โมลิบดีนัม ER80S- .07-.12 .40-.70 .40-.70 .025 .025 .20 1.2-1.5 .40-.65 B2 ER80S.05 .40-.70 .40-.70 .025 .025 .20 1.2-1.5 .40-.60 B2L ER90S- .07-.12 .40-.70 .40-.70 .025 .025 .20 2.3-2.7 .90B3 1.20 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
C .05
Mn Si P .40-.70 .40-.70 .025
ER90SB3L E80C.05 .40-1.00 .25-.60 .025 B2L E80C-B2 .07-.12 .40-1.00 .25-.60 .025 E90C.05 .40-1.00 .25-.60 .025 B3L E90C-B3 .07-.12 .40-1.00 .25-.60 .025
ER80SNi1 ER80SNi2 ER80SNi3 E80C-Ni1
.12
1.25
.12
1.25
.12
1.25
.12
1.25
E80C-Ni2
.12
1.25
E80C-Ni3
.12
1.25
ER80SD2
.07-.12
1.602.10
ER100S1
.80
1.251.80
S .025
Ni .20
Cr 2.3-2.7
.030
.20
.030
.20
.030
.20
.030
.20
1.001.5 1.0- .40-.65 1.50 2.0-2.5 .901.20 2.0-2.5 .901.20
เหล็กกลานิกเกิล .40-.80 .025 .025 .801.10 .40-.80 .025 .025 2.002.75 .40-.80 .025 .025 3.003.75 .60 .025 .030 .801.10 .60 .025 .030 2.002.75 .60 .025 .030 3.003.75 เหล็กกลาแมงกานีส – โมลิบดีนัม .50-.80 .025 .025 .15 เหล็กกลาเจือต่าํ อื่น ๆ .20-.50 .010 .010 1.402.10
30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
Mo .901.20 .40-.65
Cu .35
Other -
.35
-
.35
-
.35
-
.35
-
.15
.15
.35
V
-
-
.35
-
-
-
.35
-
-
.65
.35
V
-
-
.35
-
-
-
.35
-
-
.40-.60
.50
-
.30
.25-.55
.25
V.Ti.Zr. Ai
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ER100S2 ER110S1 ER120S1 EXXXS-G SXXC-G
C .12
Mn Si P 1.25- .20-.60 .010 1.80 .09 1.40- .20-.55 .010 1.80 .10 1.40- .25-.60 .010 1.80 ไมระบุสวนผสมทางเคมี ไมระบุสวนผสมทางเคมี
S .010 1.902.60 2.002.80
Ni .801.25 .50
Cr .30
Mo .20-.55
.50
.25-.55
Cu .35.65 .25
.60
.60
.30-.65
.25
Other V.Ti.Zr. Ai V.Ti.Zr. Ai V.Ti.Zr. Ai
4. การกําหนดคาแรงดัน (Volt) และการปรับตั้งกระแสไฟ ในการกําหนดตัวแปรของการควบคุมการเชื่อมและคุณภาพการเชื่อม สิ่งสําคัญคือ ตองเลือกตัวแปรการเชื่อมภายหลัง จากที่ไดกําหนดและออกแบบรอยตอ ซึ่งผูปฏิบัติงานควรเลือกตัวแปรที่สามารถเชื่อมไดงาย โดยตัวแปรหลักที่ถูกกําหนดใหชัดเจนกอนการเริ่มเชื่อม คือ ขนาดลวดเชื่อม ชนิดของแกสปกปอง อัตราการไหลของแกส ชนิดของโลหะชิ้นงาน เปนตน ซึ่งภายหลังจากไดเลือกตัวแปรหลักแลว ยังมีตัวแปรที่สามารถปรับเปลี่ยนไดเพื่อใหเหมาะสม กับสภาพงานเชื่อม ไดแก คาแรงดัน และกระแสไฟเชื่อม ในการตั้งกระแสไฟเชื่อมนั้น ชางเชื่อมสามารถดูไดจากกลองลวดเชื่อมซึ่งจะระบุชนิดกระแสที่ใช แรงดันเชื่อม เปนตน หรือหาไดจาก I = U/R I = กระแสไฟฟา (A) U = แรงดันไฟฟา (V) R = ความตานทาน (Ω) ดังนั้น ขอกําหนดรายละเอียดตอไปนี้ คือ เงื่อนไขที่นําไปใชปฏิบัติการเชื่อมเพื่อใหไดผลงานเชื่อมที่มคี ุณภาพสูงในสภาวะ การเชื่อมปกติ 1) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอน โลหะแบบลัดวงจร
31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.2 รอยเชื่อมฉาก รอยเชื่อมชนหนาฉาก และรอยเชื่อมรองบาก - สําหรับรอยเชื่อมฉาก รอยเชื่อมชนหนาฉาก และรอยเชื่อมรองบาก - แกสปกปองคารบอนไดออกไซด หรือแกสผสม 75% อารกอน กับ 25% คารบอนไดออกไซด - ตําแหนงแนวราบและแนวระดับเทานั้น ถาเปนการเชื่อมแนวตั้งและเหนือศีรษะ ควรลดกระแสเชื่อมลง - วิธกี ารเชื่อมกึ่งอัตโนมัติหรืออัตโนมัติ ตารางที่ 1.3 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร ความหนา วัสดุงาน
เสนผาน
ศูนยกลาง หรือขนาด จํานวนเที่ยว ลวดเชื่อม รอยเชื่อม เชื่อม (mm) ฉาก (mm)
อัตราการ
อัตราเร็ว
ปอนลวด (mm/s)
ไหลของ แกสคลุม (L-min)
เคลื่อนที่ หัวเชื่อม (mm/s)
แรงดัน
กระแส
อัตราเร็ว
เชื่อม (V)
เชื่อม (A)
0.9
1
0.9
15-17
65-85
38-55
9
15-17
1.2
1
0.9
17-19
80-100
51-72
9
15-17
1.6
1
0.9
17-19
90-110
63-80
12
13-15
2.4
1
0.9
18-20
110-130
80-102
12
11-13
3.2
1
0.9
19-21
140-160
118-135
12
8-11
3.2
1
0.9
20-23
180-200
89-102
12
11-14
4.8
1
0.9
19-21
140-160
118-135
12
6-8
4.8
1
1.1
20-23
180-200
89-102
12
7.5-10
6.4
1
0.9
19-21
140-160
118-135
12
4-6.5
6.4
1
1.1
20-23
180-200
118-135
12
5-7
32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาคารบ อนผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร
ภาพที่ 1.3 รอยเชื่อมฉาก - สําหรับรอยเชื่อมฉากเทานั้น - แกสปกปองคารบอนไดออกไซด - ตําแหนงแนวเชื่อมตั้งเทานั้น - วิธกี ารเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ ตารางที่ 1.4 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลา คารบอนธรรมดาและเหล็กกลา คารบอน ผสมต่ําใชการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร ขนาดรอย เชื่อมฉาก (mm)
เสนผาน จํานวน ศูนยกลาง เที่ยวเชื่อม ลวดเชื่อม (mm)
แรงดัน เชื่อม (V)
กระแส เชื่อม (A)
อัตราการ อัตราเร็ว อัตราเร็ว ไหลของ เคลือ่ นที่ ปอนลวด แกสคลุม หัวเชือ่ ม (mm/s) (L-min) (mm/s)
9.5
1-2
0.9
19-21
150-160
123-135
12
2.5-3
12.7
2-3
0.9
20-22
160-170
135-148
12
2-2.5
19.1
3-4
0.9
20-22
170-180
148-161
12
1.5-2
3) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอน โลหะแบบลัดวงจร
33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ภาพที่ 1.4 รอยเชื่อมฉาก - สําหรับรอยเชื่อมฉากเทานั้น - แกสปกปองคารบอนไดออกไซด - ตําแหนงแนวเชื่อมเหนือศีรษะเทานั้น - วิธกี ารเชื่อมกึ่งอัตโนมัติ ตารางที่ 1.5 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร ขนาดรอย เชื่อมฉาก (mm)
เสนผาน ศูนยกลาง
แรงดัน
กระแส
อัตราการ อัตราเร็ว อัตราเร็ว ไหลของ เคลือ่ นที่
เที่ยวเชื่อม ลวดเชื่อม (mm)
เชื่อม (V)
เชื่อม (A)
ปอนลวด แกสคลุม (mm/s) (L-min)
จํานวน
หัวเชื่อม (mm/s)
9.5
3
0.9
19-21
150-160
123-135
12
5-5.5
12.7
3
0.9
20-22
160-170
135-148
12
3-3.5
19.1
6
0.9
20-22
170-180
148-161
12
2.5-3
4) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอน โลหะแบบหยดขนาดใหญ
ภาพที่ 1.5 รอยเชื่อมฉากและรอยเชื่อมชนหนาฉาก 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- สําหรับรอยเชื่อมฉาก รอยเชื่อมชนหนาฉาก หรือรอยเชื่อมรองบาก - แกสปกปองคารบอนไดออกไซด - รอยเชื่อมฉากตําแหนงแนวราบและขนานเทานั้น - การเชื่อมอัตโนมัติหรือการเชื่อมดวยเครื่องกล ตารางที่ 1.6 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ ความหนา วัสดุงาน
เสนผาน ศูนยกลาง
จํานวน หรือขนาด เที่ยวเชื่อม ลวดเชื่อม รอยเชื่อม (mm) ฉาก (mm)
แรงดัน
กระแส
เชื่อม (V)
เชื่อม (A)
อัตราการ อัตราเร็ว อัตราเร็ว ไหลของ เคลือ่ นที่ ปอนลวด แกสคลุม (mm/s) (L-min)
หัวเชื่อม (mm/s)
1.2
1
1.1
24-26
260-290
137-159
12
76-80
1.5
1
1.1
26-28
300-340
169-203
17
59-63
1.9
1
1.1
27-29
310-350
173-212
17
42-55
3.2
1
1.6
27-29
360-400
114-131
17
32-40
3.2
1
1.1
28-30
330-370
190-233
17
38-47
4.8
1
1.6
30-32
375-425
118-135
17
30-34
6.4
1
1.6
30-32
375-425
118-135
17
30-34
95
1
2.4
33-35
550-600
53-63
17
13-17
12.7
1
2.4
35-37
600-650
63-74
17
11-15
5) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอน โลหะแบบหยดขนาดใหญ
ภาพที่ 1.6 รอยเชื่อมรองวีใชแผนรองหลัง 35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- สําหรับรอยเชื่อมรองวีใชแผนรองหลัง - แกสปกปองคารบอนไดออกไซด - ตําแหนงแนวราบเทานั้น - การเชื่อมอัตโนมัติหรือการเชื่อมดวยเครื่องกล ตารางที่ 1.7 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ํา ใชการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ ความหนา วัสดุงาน (mm)
จํานวน
เสนผาน ศูนยกลาง
เที่ยวเชื่อม ลวดเชื่อม (mm)
อัตราการ อัตราเร็ว ไหลของ เคลือ่ นที่
แรงดัน เชื่อม
กระแส เชื่อม
อัตราเร็ว ปอนลวด
(V)
(A)
(mm/s)
แกสคลุม (L-min)
หัวเชื่อม (mm/s)
12.7
1
2.4
35-37
525-575
55-61
17
8.5-13
15.9
1
.24
36-38
600-650
63-74
17
7-11
19.1
1
3.2
36-38
650-700
38-42
17
6.5-10
25.4
2
3.2
36-38
650-700
38-42
17
5-8.5
6) ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอน โลหะแบบละออง
ภาพที่ 1.7 รอยเชื่อมฉาก รอยเชื่อมรองบากใชแผนรองหลัง และรองวีสองขาง - สําหรับรอยเชื่อมรองบากใชแผนรองหลังและรอยเชื่อมฉาก รอยเชื่อมชนรองเหลี่ยมความหนา ไมเกิน 6.4 มิลลิเมตร รอยเชื่อมรองวีขางเดียวความหนาตั้งแต 6.4 - 12.7 มิลลิเมตร รองวีสองขาง ความหนาตั้งแต 12.7 มิลลิเมตรขึ้นไป - แกสปกปองอารกอน - ออกซิเจน (1 - 5% ออกซิเจน) 36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- ตําแหนงแนวราบเทานั้น - การเชื่อมอัตโนมัติ ตารางที่ 1.8 ขอกําหนดรายละเอียดสําหรับการเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถาย โอนโลหะแบบละออง ความหนา วัสดุงาน หรือขนาด รอยเชื่อม ฉาก (mm)
เสนผาน จํานวน ศูนยกลาง เที่ยวเชื่อม ลวดเชื่อม (mm)
อัตราการ อัตราเร็ว
แรงดัน
กระแส
อัตราเร็ว
เชื่อม (V)
เชื่อม (A)
ปอนลวด (mm/s)
ไหลของ แกสคลุม (L-min)
เคลื่อนที่ หัวเชื่อม (mm/s)
3.2
1
1.6
32-25
275-325
66-74
21
14-15
4.8
1
1.6
24-26
325-375
89-110
21
13-14
6.4
1-2
1.6
24-26
325-375
89-110
21
13-14
6.4
1-2
2.4
26-29
400-450
42-51
21
14-15
9.5
2
1.6
24-26
325-375
89-110
21
8-10
9.5
1-2
2.4
26-29
400-450
42-51
21
8-12
12.7
3
1.6
24-26
325-375
89-110
2
9-11
12.7
3
2.4
26-29
400-450
42-51
21
11-13
19.1
4-5
1.6
24-26
325-375
89-110
21
9-11
19.1
4
2.4
26-29
400-450
42-51
21
10-12
25.4
7
16
24-26
325-275
89-110
21
9-11
25.4
6
2.4
26-29
400-450
42-51
21
10-12
5. การกําหนดขั้วเชื่อมเปน DCEP การเชื่อมแม็กจะประกอบดวยระบบปอนลวดเชื่อม จะเปนตัวควบคุมการปอนลวดเชื่อม เครื่องเชื่อมที่ใชเปนชนิดแรงดันคงที่ (CV) สวนหัวเชื่อ มจะทํ าหน าที่ให ลวดเชื่ อ มและแกส ปกปองไหลผานออกมาสูพื้นที่อ ารก กระบวนการเชื่อ มนี้จ ะใชไฟ กระแสตรง ซึ่งกระแสตรงที่ใหประสิทธิภาพในการเชื่อมสูงที่สุด คือ กระแสตรงกลับขั้ว (Direct Current Reverse Polarity, DCRP) โดยลวดเชื่อมจะเปนขั้วบวก (Direct Current Electrode Positive, DCEP) ความรอนที่ไดรับจากการอารกจะหนาแนน 37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ที่บอ หลอมเหลวจึงเกิ ดการซึม ลึก มาก ผิ วงานสะอาดเหมาะกับ งานเชื่อ มที่มีอ อกไซดบ นผิวงานหนา เชน อะลูมิเ นียม แมกนีเ ซียม เปนตน กระแสตรงกลับ ขั้วจะใหก ารถายโอนโลหะแบบละอองขนาดเล็ก สวนกระแสสลับ จะไมนํามาใช เพราะมีอัตราสิ้นเปลืองไมเทากันในแตละครึ่งวัฏจักร การเชื่อ มดวยกระแสตรงไมก ลับ ขั้ว (Direct Current Straight Polarity, DCSP) ลวดเชื่อ มจะเปนขั้วลบ (Direct Current Electrode Negative, DCEN) ไมนิยมใชกับการเชื่อมแม็ก เพราะระยะซึมลึกตื้น รอยเชื่อมกวาง และมีสะเก็ด โลหะกระเด็นมากเกินไป ผิวงานไมส ะอาด ตอ งใชล วดเชื่อ มชนิดพิเ ศษคือ ผิวลวดตอ งเคลือ บดวยสารที่มีกําลัง เปลง เพื่อ ใหก ารปลดปลอ ยอิเ ล็กตรอนไดดี การเชื่อ มโดยลวดเปนขั้วลบจึงไมคอ ยนิยมนักเพราะสารเคลือบลวดมีราคาแพง และรูปแบบการถายโอนโลหะจากปลายลวดสูบอหลอมเหลวเปนการถายโอนโลหะแบบหยดขนาดใหญ แตมีขนาดหยด ไมสม่ําเสมอ การถายโอนโลหะแบบพัลสตองใชเครื่องเชื่อมพิเศษ เพื่อทําการพัลสกระแสจากระดับต่ําไปสูร ะดับสูงที่ความถี่เทากัน หรือเปนสองเทาของเสนความถี่ ปกติจะเทากับ 50 หรือ 60 เฮิรตซ และ 100 หรือ 120 เฮิรตซ กระแสเชื่อมจะแปรผันจาก คาต่ําสุด 20 แอมแปรที่แรงดันอารก 17 โวลตถึงสูงสุด 750 แอมแปรที่แรงดันอารก 50 โวลต ซึ่งพิสัยของกระแสและแรงดัน จะเกิดขึ้นทุกจังหวะที่มีการถายโอนโลหะ
ภาพที่ 1.8 ผลของขั้วเชื่อมทีม่ ีตอการเชื่อมแม็ก
38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
6. การเก็บรักษาลวดเชื่อม หลังจากใชงานแลว ผูปฏิบัติงานควรเก็บรักษาลวดเชื่อมใหถูกตองโดยมีวิธีปฏิบัติดังนี้ 1) เก็บรักษาลวดเชื่อมในที่รม ทําใหระบายอากาศไดดี 2) ไมควรปลอยใหลวดเชื่อมโดนแสงหรือไดรับความชื้น 3) ควรวางลวดเชื่อมไวบนพาเลทไม และหางจากกําแพงอยางนอยดานละ 10 เซนติเมตร เพื่อการระบายอากาศที่ดี 4) ไมควรวางซอนลวดเชื่อมบนพาเลทไมเกินกวา 3 ชั้น การเก็บรักษาอยางถูกวิธีนั้นจะทําใหลวดเชื่อมพรอมใชงาน เมื่อนําไปเชื่อมจะทําใหเกิดการอารกสม่าํ เสมอเกิดชิ้นงานเชือ่ ม ที่สวยงาม
39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมใชองคประกอบทีส่ ําคัญในการเลือกลวดเชื่อม MIG/MAG ก. สมบัตทิ างกลของโลหะชิ้นงาน ข. สวนผสมทางเคมีของโลหะชิ้นงาน ค. สภาพการใชงานและขอกําหนดรายละเอียด ง. บริษัททีผ่ ลิตและแหลงทีผ่ ลิต 2. ลวดเชื่อมเหล็กกลาคารบอนตามมาตรฐาน AWS A 5.18 ER 70 S-6 ขอใดบอกความหมายของหมายเลข 6 ไดถูกตอง ก. คาความตานทานแรงดึงต่ําสุด x 1000 psi ข. คาความตานทานแรงกระแทก ค. สวนผสมทางเคมีและสมบัติทางกายภาพ ง. เกรดเหล็กกลาไรสนิม 3. ขอใดเปนการตอขั้วไฟที่ถูกตองของกระบวนการเชื่อม MIG/MAG ก. หัวเชื่อมขั้ว + ชิ้นงานขั้ว – ข. หัวเชื่อมขั้ว – ชิ้นงานขั้ว + ค. ตอแบบกระแสสลับ (AC) ง. สามารถตอแบบไหนก็ได 4. ขอใดไมใชการใชงานลวดเชื่อมตามมาตรฐาน AWS A5.18 ก. ER70S-4 ใชสําหรับเชื่อมเหล็กกลาละมุน ข. ER70S-6 ใชสําหรับเหล็กที่มีคารบอนไดออกไซดเจือปนสูง ค. ER70S-3 ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาละมุน ง. ER70S-1 ใชสําหรับเหล็กกลาคารบอนต่ํา
40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
5. การเชื่อมแม็กของเหล็กกลาคารบอนธรรมดาและเหล็กกลาผสมต่ําใชการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร ที่ขนาดรอยเชื่อมฉาก เทากับ 2.4 มิลลิเมตร ตองใชแรงดันเชื่อมและกระแสไฟเชื่อมอยางละเทาใด ก. แรงดัน 17-19 โวลต และกระแสไฟ 90-110 แอมแปร ข. แรงดัน 18-20 โวลต และกระแสไฟ 110-130 แอมแปร ค. แรงดัน 19-21 โวลต และกระแสไฟ 140-160 แอมแปร ง. แรงดัน 18-20 โวลต และกระแสไฟ 80-102 แอมแปร
41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5
42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920720502 แกสปกปอง (ใบเตรียมการสอน)
1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.
บอกชนิดมาตรฐานของแกสปกปองและการเลือกใชไดอยางถูกตอง บอกผลกระทบของการเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนาและถอยหลังไดอยางถูกตอง บอกผลกระทบของการใชปริมาณของแกสปกปองมากหรือนอยเกินไปไดอยางถูกตอง บอกแกสปกปองแนวราก ความจําเปน และวิธีการใชไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.
การเลือกใชแกสปกปอง มาตรฐานของแกสปกปอง การเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนา การเอียงหัวเชื่อมแบบถอยหลัง ผลกระทบของการใชปริมาณของแกสปกปองมากเกินไป ผลกระทบของการใชปริมาณของแกสปกปองนอยเกินไป ความจําเปนของแกสปกปองแนวราก วิธีใชแกสปกปองแนวราก
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูร ับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม มานะศิษฎ พิมพสาร. ม.ป.ป. คูมือการเชื่อม มิก-แม็ก. : ม.ป.ท. 44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับแกสปกปอง ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูในเรื่อง แกสปกปอง 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ขั้นสอน 1. แจกคูมือผูรับการฝกเรื่อง แกสปกปอง หนาที่ 1. รับคูมือผูรับการฝกเรื่อง แกสปกปอง หนาที่ 35 - 49 35 - 49 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง แกสปกปอง โดยใชวิธีถาม - 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ตอบกั บ ผู รั บ การฝ ก และใช ความรูเ ดิม ของ เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ผูรับการฝกมาตอยอดเปนความรูใหมพรอมใช สื่อวีดิทัศน นาทีท่ี 00.00 - 19.00 ประกอบการ สอน โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 การเลือกใชแกสปกปอง 2.2 มาตรฐานของแกสปกปอง 2.3 มุมหัวเชื่อม 2.4 ผลกระทบจากการใชปริมาณของ แกสปกปอง 2.5 ความจําเปนของแกสปกปองแนว ราก 2.6 วิธีใชแกสปกปองแนวราก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 48 - 49 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 48 - 49 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม
45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 59 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง แกสปกปอง ขั้นประเมินผลหลังการฝก รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง แกสปกปอง เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ
46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 แกสปกปอง แกสที่นํามาใชคลุมบอหลอมเหลวสําหรับกระบวนการเชื่อมแม็ก ไดแก แกสคารบอนไดออกไซด (CO2) แกสผสมอารกอน (Ar) และคารบอนไดออกไซด (CO2) ซึ่งการเลือกแกสปกปองขึ้นอยูกับชนิดโลหะชิ้นงาน ขนาดลวดเชื่อม และชนิดการถายโอนโลหะ 1. การเลือกใชแกสปกปอง การเลือกแกสปกปองขึ้นอยูกับชนิดโลหะชิ้นงาน ขนาดลวดเชื่อม และชนิดการถายโอนโลหะ ซึ่งหลักในการพิจารณาเพื่อเลือก แกสปกปองมีดังนี้ 1) ลักษณะรอยเชื่อม ความกวาง และระยะซึมลึก 2) สมบัติการอารก และชนิดการถายโอนโลหะ 3) การออกแบบรอยตอ 4) ชนิดโลหะงานเชื่อม และความหนา 5) การยึด และการจับยึดงานเชื่อม 6) แนวโนมตอการเกิดรอยกินลึก 7) อัตราเร็วเคลื่อนที่หัวเชื่อม 8) สมบัติทางกลที่ตองการ 9) หาซื้อไดงาย 10) ราคาถูก ผู ป ฏิ บั ติ ง านจึง ควรรู ส มบั ติท างกายภาพของแกส ปกปอ งเพื่ อ จะได เ ลือ กแกส ใหเ หมาะสมกับ ชนิด งานเชื่ อ มและ กระบวนการถายโอนไดถูกตอง โดยสมบัติทางกายภาพของแกสแบงเปนดังนี้ 1) พลังงานการเกิดอิออน หรือศักยการเกิดอิออน หมายถึง พลังงานนอยที่สุดที่จําเปนเพื่อทําใหอิเล็กตรอน หลุดออกจากโมเลกุลหรืออะตอมหรืออิออนที่ไมมีการกระตุน พลังงานนี้มีหนวยเปนอิเล็กตรอนโวลต (eV) กลุมอิออนในประจุไฟฟาของแกสเรียกวา พลาสมา ซึ่งพลาสมาแกสนี้จะนําไปใชในการเชื่อมพลาสมา (PAW) หรือเชื่อมดวยทังสเตนอารก (GTAW) และใชกับการเชื่อมแม็กได
47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตารางที่ 2.1 พลังงานการเกิดอิออนของแกส ชนิดของแกส
สัญลักษณ
eV
อารกอน
Ar
15.760
ไฮโดรเจน
H2
15.430
ฮีเลียม
He
24.588
ไนโตรเจน
N2
15.580
O2
12.070
O
13.618
คารบอนไดออกไซด
CO 2
13.770
คารบอนมอนอกไซด
CO
14.100
ออกซิเจน
2) การนําความรอน เปนความสามารถของสารตอการนําความรอน ซึ่งแกสที่นําความรอนไดดีจะนําความรอน เขาสูงานไดดีเชนกัน ระดับการนําความรอนของแกสปกปองจะมีอิทธิพลตอลักษณะของรอยเชื่อมและจะ นําความรอนเขาสูบริเวณกระทบความรอนของโลหะชิ้นงาน 3) ความหนาแนน เปนน้ําหนักตอหนวยปริมาตรของแกส แกสปกปองที่หนักจะคลุมรอยตอไดดีกวา ในขณะที่มี อัตราไหลเทากัน ตารางที่ 2.2 สมบัติทางกายภาพของแกสปกปอง ชนิดแกส
N2
Ar
He
H2
CO 2
น้ําหนักโมเลกุล
28.0134
39.948
4.0026
2.01594
44.011
K 0C
77.347 -195.81
87.280 -185.88
4.224 -268.94
20.268 -252.89
194.65 -78.51
0F
-320.44
1302.57
-452.07
-423.19
-109.3
1.161 0.07249
1.656 0.1034
0.1667 0.01041
0.0841 0.00525
1.833 0.1144
จุดเดือดที่ 1 atm
ความหนาแนนที่ 21.1 0C (70 0F), 1 atm Kg/m3 1b/ft3
48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชนิดแกส
N2
Ar
He
H2
CO 2
(70 0F), 1 atm m3/kg
0.8613
0.6039
5.999
11.89
0.5455
ft3/1b
13.79
9.671
96.06
190.5
8.741
0.9676
1.380
0.1389
0.0700
1.527
ความรอนจําเพาะ (Cp) ที่ 21.1 0C (70 0F), 1 atm J/kg · K
1.41
521.3
5192
1490
846.9
Btu/1b · 0F
0.2487
0.1246
1.241
3.561
0.2024
21.1 0C (70 0F), 1 atm J/kg · K
742.2
312.1
3861
1077
653.4
Btu/1b · 0F
0.1774
0.0746
0.7448
2.575
0.1562
ปริมาตรจําเพาะที่ 21.1 0C
ความถวงจําเพาะที่ 21.1 0C (700F), 1 atm (อากาศ = 1)
ความรอนจําเพาะ (Cv) ที่
4) จุดน้ําคาง แกสที่จะนํามาใชคลุมสําหรับกระบวนการเชื่อมแม็กตองมีจุดน้ําคางต่ํามาก ๆ แกสที่มีจุดน้ําคาง ที่อุณหภูมิที่ -18 หรือ -51 °C (0 °F หรือ -60 °F) ความชื้นในแกสจะกลั่นตัวเปนน้ํา ดังนั้น ความชื้นจึงเปน ตัวกําหนดความบริสุท ธิ์ของแกส ซึ่ง แกส ที่ใชในการเชื่อ มตอ งมีความแหง มาก (จุดน้ําคางตอ งต่ํามาก) จึง จะคลุ ม รอยเชื่ อ มได ดี และให คุ ณ ภาพงานเชื่ อ มสูง เพราะความชื้นในแกส จะเปลี่ย นสถานะไปเป น แกสไฮโดรเจนและออกซิเจนเมื่อผานเขาสูการอารก เฉพาะไฮโดรเจนจะมีความสามารถทําลายรอยเชื่อมไดมาก ความชื้นแมจ ะเปนเพียงปริม าณเล็ก นอ ยก็สง ผลใหเ นื้อ โลหะเชื่อ มเกิดความพรุน แกส ปกปอ งควรจะมี จุดน้ําค างที่ อุ ณหภู มิ ต่ํากว า -40 °C (-22 °F) หรือ ต่ํากวานี้ถาเปนไปได แกส ปกปอ งที่มีคุณภาพดีจ ะมี จุดน้ําคางราว -62 °C (-80 °F) ซึ่งความชื้นจะมากหรือนอยจึงขึ้นอยูกับอุณหภูมิจุดน้ําคาง
49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ตารางที่ 2.3 อุณหภูมิจุดน้ําคางและเปอรเซ็นตความชื้น จุดน้ําคาง
ความชื้น (%)
-18 0C (0 0F)
0.059
-29 0C (-20 0F)
0.021
-40 0C (-40 0F)
0.0065
-51 0C (-60 0F)
0.0048
-62 0C (-80 0F)
0.0030
2. มาตรฐานของแกสปกปอง แกสปกปองที่ทําหนาที่ชวยปกคลุมเปลวอารกและน้ําโลหะหลอมเหลว และปองกันสารมลทินในอากาศเขามารวมผสม ในบอหลอมเชื่อม มีหลายชนิดดังนี้ 2.1 อารกอน (Ar) เปนแกสเฉื่อย ใชเ ปนแกสปกปองในการเชื่อมโลหะที่ไมใชเหล็ก มีศัก ยก ารเกิดอิออนต่ําจึงให ความเสถียรตอการอารกสูง ชวยใหผิวหนารอยเชื่อมสะอาด แนวเชื่อมแคบ ใหการหลอมลึกทั้งแบบวงจรและแบบละออง 2.2 ฮีเลียม (He) เปนแกสเฉื่อย เหมาะสําหรับเชื่อมอะลูมิเนียมบางตัว ฮีเลียมนําความรอนไดดี เปลวอารกแผกระจาย เปนวงกวาง รูปหนาตัดรอยเชื่อมกวางและตื้นกวาอารกอน ใชไดทั้งแบบลัดวงจรและแบบละออง 2.3 คารบอนไดออกไซด (CO 2 ) เปนแกสปกปองใชกับเหล็กกลาคารบอน เพราะมีราคาถูกกวาแกสปกปองตัวอื่น แตคารบอนไดออกไซดเปนตัวทําเปลวอารก ไมเรียบ ไมคงที่ และเกิดสะเก็ดเชื่อมมาก จึงตองถูกกําหนดใหมี สารดีออกซิไดซเสริมอยูภายในลวดเชื่อม แกสคารบอนไดออกไซดจะนํามาใชกับการถายโอนโลหะแบบลัดวงจร 2.4 ออกซิเจน (O2) เมื่อนํามาผสมกับอารกอนในสัดสวนที่เหมาะสม จะสามารถเชื่อมแบบละอองไดทั้งเหล็กกลาละมุน และเหล็กกลาไรสนิม 2.5 แกส ผสม นํามาใชคลุมรอยเชื่อม เพื่อ เพิ่ม คุณภาพการเชื่อ มและงานเชื่อมใหสูงขึ้นหรือเกิดการถายโอนโลหะ ตามตองการ การผสมจะใชเครื่องผสมแกสกอนจายออกสูหัวเชื่อม โดยหลักในการผสมแบงออกเปน 4 แบบ คือ 1) แกสเฉื่อยผสมแกสเฉื่อย (Ar + He) 2) แกสเฉื่อยผสมแกสเฉื่อยและแอคทีฟแกส 3) แกสเฉื่อยผสมแอคทีฟแกส 4) แอคทีฟแกสผสมแอคทีฟแกส 50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
แกสแตละชนิดที่นํามาผสมมีผลกระทบตอคุณภาพรอยเชื่อม ดังนี้ ฮีเลียม ใหความรอนเปลวอารกสูง รอยเชื่อมกวาง ระยะซึมลึกตื้น อารกอน คารบอนไดออกไซด
ใหป ระจุบ วกไดดี ชว ยใหเ ปลวอารก และกระแสเชื่อ มคงที่ รอยเชื่อ มกวาง ระยะซึมลึกมากทั้งดานขางและดานลางของรอยเชื่อม ใหรอยซึมลึกกวางและลึก ผิวหนารอยเชื่อมมีเกล็ดหยาบและนูนโคง เกิดสภาพ ประจุบวกต่ํา ขนาดหยดโลหะไมสม่ําเสมอ สะเก็ดโลหะกระเด็นมาก แตมีรัศมี การปกคลุมบริเวณบอหลอมเหลวอยางทั่วถึง
ออกซิเจน
ทําใหหยดโลหะกระจายเปนฝอย มีกระแสเชื่อมต่ําขณะเกิดหยดละอองโลหะ รอยเชื่อมกวาง ความนูนต่ํา ผิวรอยเชื่อมเปนเกล็ดละเอียดไมเกิดการอารกลัดวงจร
และหยดโลหะมีเม็ดขนาดเล็กสงผลใหอุณหภูมิที่บอหลอมเหลวสูง โดยแกสแตละชนิดขางตนผสมเปนแกสผสมไดดังนี้ ฮีเลียม – อารกอน แกส ผสมนี้จ ะใหส มบัติในการเชื่อ มดวยแกส เฉื่อ ยอยางเต็ม ที่ โดยฮีเ ลียมใหส มบัติดานการซึม ลึก ดี สวนอารกอนใหการถายโอนโลหะแบบละออง และการอารกมีความเสถียรใกลเคียงกับการใชอารกอนบริสุทธิ์ คลุม รอยเชื่อ ม โดยอัต ราสว นในการผสมคือ 80% He-20% Ar และอาจสูง ถึง 50% He-50% Ar แลวแตความเหมาะสม ซึ่งแกสผสมนี้ใชกับการเชื่อมอะลูมิเนียม ทองแดง แมงกานีส และโลหะผสมอื่น ๆ อารกอน – ออกซิเจน การผสมออกซิเจนจํานวนเล็กนอยกับแกสอารกอนจะทําใหเกิดออกซิไดซิงขึ้นเล็กนอย ลวดเชื่อมที่เลือกใช ควรจะตองมีธาตุดีออกซิไดเซอร เพื่อขจัดออกซิเจนออกจากบอหลอมเหลวปองกันความพรุนของเนื้อโลหะเชื่อม การใชอารกอนบริสุทธิ์จะใหสมบัติการอารกที่ไมดีเมื่อเชื่อมโลหะที่เปนเหล็ก แตการผสมออกซิเจนปริมาณ เพียงเล็กนอย จะชวยใหการอารกมีความเสถียรดี สะเก็ดโลหะกระเด็นนอย และรอยเชื่อมมีลักษณะดีขึ้น การซึมลึกของรอยเชื่อมกวางกวาการใชอารกอนอยางเดียว ไมทําใหเกิดรอยการกินลึกขอบรอยเชื่อมเมื่อเชื่อม เหล็กกลา ซึ่งแกสผสมนี้ใชในการเชื่อมอะลูมเิ นียม เหล็กกลาผสมต่ํา เหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาไรสนิม อารกอน – คารบอนไดออกไซด แกสผสมนี้มีจุดประสงคเชนเดียวกับอารกอน – ออกซิเจน ซึ่งการผสมคารบอนไดออกไซดเขาไป จะทําให การอารกมีความเสถียรและการถายโอนโลหะจากลวดเชื่อมไปยังชิ้นงานไดดี มีแรงยึดเกาะบอหลอมดีกวา และลดสะเก็ดโลหะกระเด็นเมื่อเชื่อมโลหะที่เปนเหล็ก ใหสมบัติการอารกดี ขณะเชื่อมบอหลอมเหลวจะขยาย ออกไปถึงขอบรอยตอจึงไมทําใหเกิดรอยกินลึกที่ขอบรอยเชื่อม โดยอัตราสวนในการผสมจะมีผลตางกัน ดังนี้ 51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
- 80% Ar กับ 20% CO 2 การถายโอนจะเปนแบบละออง - แกสผสม Ar กับ 20% CO 2 อาจไมเหมาะกับการเชื่อมในทุกกรณีเพราะการอารกไมเสถียร - แกสผสม Ar/CO 2 ถาจะเชื่อมไดผลดี CO 2 ตองผสมไมเกิน 15% - ถาใชแกสผสม 30% CO 2 เปนไปไมไดที่จะใหการถายโอนเปนแบบละอองอยางเดียว ฮีเลียม – อารกอน – คารบอนไดออกไซด แก ส ผสมชนิ ดนี้ จะใหแรงเกาะยึดของบอหลอมเหลวดีก วา และการถายโอนโลหะเปนแบบลัดวงจร ปริมาตรผสม 90% ฮีเลียม 7.5% อารกอน และ 2.5% คารบอนไดออกไซด นิยมใชกับการเชื่อมเหล็ก กลา ไรส นิ ม ออสเตนนิติก ถ าส วนผสม 60 - 70% ฮีเ ลียม 25 - 35% อารก อน และ 5% คารบ อนไดออกไซด ใชกับ การเชื่อ มเหล็ก กลาผสมต่ําเมื่อ ตอ งการความเหนีย วสูง สว นการถายโอนโลหะเปนแบบลัดวงจร ในการผสมจึงควรใชเปอรเซ็นตของคารบอนไดออกไซดต่ํา เพราะคารบอนเปนตัวลดความเหนียวซึ่งไมควร เพิ่มขึ้นในเนื้อโลหะเชื่อม ลักษณะรอยเชื่อมที่ไดจากแกสผสมชนิดนี้จะแบนราบ ซึ่งขอดีคือ ไมตองเจียระไน ตกแตงรอยเชื่อมมาก จึงเหมาะกับการเชื่อมเหล็กกลาไรสนิมหรือเชื่อมทอ 2.6 ไนโตรเจน เปนแกสปกปองสําหรับการเชื่อมทองแดง และทองแดงผสม ใหสมบัติการเชื่อมคลายฮีเลียม แตการซึมลึก ดีกวาอารกอน และการถายโอนโลหะเปนแบบหยดขนาดใหญ ซึ่งสามารถใชแทนฮีเลียมได โดยปริมาตรการผสม คือ 70% อารกอน 30% ไนโตรเจน แกสผสมนี้ใหการอารกที่เสถียรและราบเรียบ ตารางที่ 2.4 แกสปกปองสําหรับการเชื่อมแม็ก ชนิดแกส
พฤติกรรมทางเคมี
การนําไปใชงาน
Ar
Inert
ใชกับโลหะทุกชนิดยกเวนเหล็กกลา
He
Inert
ใชกับการเชื่อม Al, Mg และ Cu-alloys ใหความรอนเขาสู งานสูง (Heat Input) และลดการเกิดความพรุน
Ar + He
Inert
ใชกับการเชื่อม Al, Mg และ Cu-alloys ใหความรอนเขาสู
(20-30% ถึง 60-80%)
งานสูง และลดการเกิดความพรุน ลักษณะของอารกจะดีกวา การใช He 100%
N2
Unreactive
Ar + 25-30% N 2
-
ใหความรอนเขาสูงานสูง เหมาะสําหรับเชื่อมทองแดง ใหความรอนเขาสูงานสูง การอารกดีกวาการใช N 2 100% นิยมใชเชื่อมทองแดง
Ar + 1-2% O 2
Slightly Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม เหล็กกลาเจือ 52
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ชนิดแกส
พฤติกรรมทางเคมี
การนําไปใชงาน
Ar + 3-5% O 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาเจือต่ําบางประเภท
CO 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาคารบอน และเหล็กกลาเจือต่ําบางประเภท
Ar + 20-50% CO 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาไดหลายประเภท สวนมากใชกับการถาย โอนแบบลัดวงจร
Ar + 10% CO 2 + 5% O 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาไดเกือบทุกประเภท นิยมใชในยุโรป
CO 2 + 20% O 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาไดเกือบทุกประเภท นิยมใชในประเทศ ญี่ปุน
90% He + 7.5% Ar + 2.5% CO 2
Slightly
ใชเชื่อมเหล็กกลาไรสนิม ที่ตองการความทนทานตอการ กัดกรอนที่ดี โดยใชกับการถายโอนแบบลัดวงจร
60-70% He + 25% Ar + 4-58% CO 2
Oxidizing
ใชเชื่อมเหล็กกลาเจือต่ําที่ตองการความเหนียว
3. มุมหัวเชื่อม มุมหัวเชื่อมเปนมุมที่วัดอางอิงระหวางหัวเชื่อมเทียบกับรอยตอซึ่งประกอบดวยมุม 2 มุม ดังนี้ 1) มุมทางขวาง คือ มุมที่ลวดเชื่อมหรือเสนศูนยกลางของหัวเชื่อมทํามุมกับระนาบอางอิงหรือผิวของแผนงานเชื่อม ในระนาบที่ตั้งฉากกับแกนงานเชื่อม จากภาพแสดงใหเห็นมุมทางขวางสําหรับรอยเชื่อมฉาก และรอยเชือ่ มรอง สําหรับการเชื่อมทอมุมทางขวางเปนมุมที่ลวดเชื่อมหรือเสนศูนยกลางของหัวเชื่อมทํามุม กับ แกนอางอิง หรือผิวของทอในระนาบที่เลยออกไปจากศูนยกลางทอเรื่อย ๆ ไปกับบอหลอมเหลว
ภาพที่ 2.1 ลักษณะของมุมขวางของงานเชื่อม
53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
2) มุม ตามแนวยาว คือ มุม ที่ล วดเชื่อมหรือเสนศูนยกลางของหัวเชื่อมทํามุมกับเสนอางอิงที่ตั้งฉากกับแกน ของรอยเชื่อมในระนาบของงานเชื่อม สําหรับการเชื่อมทอมุมตามแนวยาวเปนมุมที่ลวดเชื่อมหรือเสนศูนยกลาง ของหัวเชื่อมทํามุมกับเสนอางอิง เลยออกไปจากศูนยกลางของทอตลอดการอารกในระนาบของแกนงานเชื่อม
ภาพที่ 2.2 มุมตามแนวยาวของงานเชื่อม - มุ ม เชื่ อ มแบบเดิ น หน า (Forehand Welding) หั ว เชื่ อ มจะเอี ยงกลับ ทิ ศทางตรงขามกับ ทิศทาง การเคลื่อนที่ของหัวเชื่อม - มุมเชื่อมแบบถอยหลัง (Backhand Welding) หัวเชื่อมจะเอียงไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ของหัวเชื่อม
ภาพที่ 2.3 มุมหัวเชื่อมแบบเดินหนาและแบบถอยหลัง
54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ในการเชื่อมนั้นมุมเอียงหัวเชื่อมที่ใหระยะซึมลึกมากที่สุดคือ 15 - 20 องศา เมื่อใชการเคลื่อนที่หัวเชื่อม แบบถอยหลัง ถามุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมตางไปจากนี้ ระยะซึมลึกก็จะลดลง ถามุมเชื่อมแบบถอยหลัง 15 องศา และมุมแบบเดินหนา 30 องศาแลว ความสัมพันธระหวางระยะซึมลึกกับมุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมเกือบจะเปนเสนตรง ดังนั้น ถาจะควบคุมระยะซึมลึกใหไดมุมเคลื่อนที่หัวเชื่อมควรอยูในพิสัยนั้น สําหรับการเชื่อมจะไมเลือกใช มุม เชื่อ มแบบถอยหลั ง เกิ น 25 องศา มุม เคลื่อ นที่หัว เชื่อ มที่เ ลือ กใชจ ะมีผ ลตอ การเปลี่ยนแปลงความสูง และความกวางตะเข็บ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบกับลักษณะรอยเชื่อมดวย เมื่อมุมเชื่อมแบบถอยหลัง ลดลง ความสูงของรอยเชื่อมจะลดลงสวนความกวางจะเพิ่มขึ้น
ภาพที่ 2.4 ผลกระทบจากมุมเคลื่อนที่ของหัวเชื่อมที่มีตอระยะซึมลึกและรูปรอยเชื่อม มุ ม เคลื่ อ นที่ หั ว เชื่ อ มแบบเดิ น หน า จะใช เ มื่ อ มี อั ต ราเร็ ว เคลื่ อ นที่ หั ว เชื่ อ มสู ง มุ ม เชื่ อ มเหล า นี้ อ าจ เปลี่ยนแปลงไปบางเล็กนอย หากใชกับกระบวนการเชื่อมและวิธีปฏิบัติในการเชื่อมแบบอื่น หมายเหตุ 1) มุ ม เคลื่ อ นที่ ของหั วเชื่อ มราว 5 - 15 องศา จะเหมาะกับ การเชื่อ มทุก ตําแหนง แนวเชื่ อ ม เนื่องจากควบคุมบอหลอมเหลวไดดี 2) การเอียงหัวเชื่อมแบบถอยหลัง ปกติใชกับการเชื่อมเหล็กกลา 3) การเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนาใชกับการเชื่อมอะลูมเิ นียมเพื่อเลีย่ งความสกปรก ใหระยะซึมลึกดี แตความรอนเขาสูงานต่ํา
55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
การเอียงหัวเชื่อมแบบเดินหนา 1) รอยเชื่อมมีลักษณะแบนราบและกวาง 2) มองเห็นแนวการเชื่อมไดงายกวา 3) ระยะซึมลึกนอยเนื่องจากบอหลอมเหลววิ่งนําหนาเปลวอารก 4) สะเก็ดโลหะเชื่อมมีขนาดใหญและกระเด็นนําหนาไปในทิศทางของการเชื่อม และจะมีปริมาณ มากขึ้นถามุมเอียงของหัวเชื่อมเอียงไปขางหนามากเกินไป การเอียงหัวเชื่อมแบบถอยหลัง 1) สะเก็ดโลหะเชื่อมนอยกวา 2) รอยเชือ่ มจะนูนสูงและแคบ 3) ระยะซึมลึกมากเนื่องจากบอหลอมเหลวไมวิ่งนําหนาเปลวอารก 4) มองเห็นแนวเชื่อมของการเชื่อมไดยากเพราะมีเงาของหัวฉีดมาบัง 5) ถามุมเอียงของหัวเชื่อมมากเกินไปจะเกิดโพรงอากาศไดงาย เนื่องจากเกิดการดูดอากาศเขามา 6) การควบคุ ม ความสู ง และความกวางของรอยเชื่อ มทําไดงายกว า เพราะชางเชื่อ มสามารถ มองเห็นบอหลอมเหลวชัดเจน ตารางที่ 2.5 การใชงานทั่วไปของการเชื่อมแบบเดินหนาและแบบถอยหลัง การใชงาน เชื่อมเหล็กแผนบาง
เชื่อมแบบเดินหนา เชื่อมแบบถอยหลัง ดีกวา
พอใช
ในแนวราบ
หมายเหตุ มองเห็นรอยเชื่อมงายกวา ระยะซึมลึกนอย รอยเชื่อมแบนราบมากกวา
เชื่อมเหล็กหนาปานกลาง และหนามากในแนวราบ
พอใช
ดีกวา
ระยะซึมลึกมากกวา ความสะดวกในการเชื่อมมากกวา จํานวนเที่ยวเชื่อมนอยกวา
เชื่อมตอฉาก
ดีกวา
พอใช
รอยเชื่อมแบนราบมากกวา
ดีกวา
พอใช
เชื่อมเที่ยวสุดทายควรเชื่อมแบบเดินหนา
แนวขนานรอยเดียว เชื่อมตอฉากแนวระดับ หลายรอยเชื่อม (ซอมแนว)
สวนเที่ยวเชื่อมอื่น ๆ ควรเชื่อมแบบถอยหลัง
56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
4. ผลกระทบจากการใชปริมาณของแกสปกปอง ปริมาณของแกสปกปองที่กระจายออกมาคลุมรอยเชื่อมขณะทําการเชื่อมใหไดผลดีนั้น แกสที่ออกมาจากหัวฉีดควรมีการไหล แบบราบเรียบคือ มีแนวการไหลเปนเสนตรง ถาปริมาณของแกสปกปองมากเกินไปจะเกิดการปนปวนคือ เกิดการหมุนวนของแกส แกสที่หมุนวนนี้จะผสมกับอากาศ แลวรวมตัวเขากับเนื้อโลหะชิ้นงานทําใหรอยเชื่อมสกปรกและเสียสมบัติที่ดีไป ถาปริมาณของแกสปกปองนอยเกินไป ไมสามารถคลุมไดดีพอก็จะเกิดโพรงอากาศและความพรุนในเนื้อโลหะเชื่อม ดังนั้น ผูปฏิบัติงานควรเลือกอัตราการไหลของแกสปกปองใหเหมาะสม 5. ความจําเปนของแกสปกปองแนวราก กระบวนการเชื่อมแม็กเปนการเชื่อมที่ใหความเร็วในการเคลื่อนที่หัวเชื่อมเปนไปอยางชา ๆ จึงทําใหดานหลังของแนวราก เกิดการไหมจากการดีออกไซด แกส ปกปอ งแนวรากจะชวยปองกันไมใหเกิดออกไซดที่ผิว ทําใหเ กิดการอบออนบริเวณ ดานหลังแนวราก จึงชวยปองกันการเกิดการไหม หรือเกิดรูพรุนของแนวเชื่อมได 6. วิธีใชแกสปกปองแนวราก แกส ปกปอ งแนวราก โดยทั่วไปจะใชแกส อารก อนกับ เหล็ก กลาไรส นิม และเหล็ก กลาผสม สวนเหล็ก กลาไรส นิม ออสเทไนทิกสามารถใชแกสไนโตรเจนหรือไนโตรเจนผสม และไฮโดรเจนได สําหรับโลหะพิเศษ เชน ไทเทเนียม แทนทาลัม เซอรโคเนียม เปนตน เปนโลหะกลุมที่มีความไวตอการเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชั่นที่อุณหภูมิสูง ๆ ภายหลังการเชื่อม การนําแกสอารกอนมาใชเปนแกสปกปองแนวรากจะชวยทําใหไดร อยเชื่อม ที่มีคุณภาพยิ่งขึ้น ในการเชื่อ มอะลูมิเ นียมไมมีก ารกําหนดใหใชแกส ปกปอ งแนวราก เนื่อ งจากอะลูมิเ นียมมีก ารเปลี่ยนรูปทรงทันที ภายในชั้นผิวของอะลูมิเนียม จึงไมมีความจําเปนที่ตองใช แกสปกปองแนวรากนั้นนอกจากแกสอารกอน สามารถนําแกสอารกอนผสมไฮโดรเจนมาใชเปนแกสปกปองแนวรากได ตามมาตรฐาน DIN EN ISO 14175 โดยจัดไวเปนกลุม F
57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกทีส่ ุดเพียงขอเดียว 1. แกสที่ใชปกคลุมแนวเชื่อม ในการเชื่อมเหล็กกลาคารบอนทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด คือแกสใด ก. ออกซิเจน ข. คารบอนไดออกไซด ค. อารกอน ง. ฮีเลียม 2. ทิศทางการเดินหัวเชื่อมแบบถอยหลัง (Backhand) มีลักษณะอยางไร ก. แนวเชื่อมมีการหลอมลึกทีม่ ากกวาการเดินแบบเดินหนา ข. แนวเชื่อมมีการหลอมลึกที่นอยกวาการเดินแบบเดินหนา ค. แนวเชื่อมมีความนูนสูง ง. แนวเชื่อมมีความแบนนูนต่ํา 3. ขอใดคือสาเหตุหลักและความจําเปนในการใชแกสปกปองแนวราก (Root) ก. เพิ่มความแข็งแรงใหแนวเชื่อม ข. ปองกันอากาศรวมตัวกับแนวราก ค. ปองกันอากาศที่มาจากดานขาง Nozzle ง. เพิม่ ความเหนียวใหแนวเชื่อมราก 4. ขอใดคือผลกระทบจากการใชปริมาณของแกสปกปองมากเกินไป ก. เกิดโพรงอากาศในเนื้อโลหะเชื่อม ข. เกิดความพรุนในเนื้อโลหะเชื่อม ค. เกิดการหมุนวนของแกสกับสะเก็ดโลหะเชื่อม ง. ทําใหรอยเชื่อมสกปรกและเสียสมบัตทิ ี่ดี
58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4
59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ
ศิริรัตน มุขเชิด
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
สุนทรกนกพงศ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ
ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์
หอสุขสิริ บุญเถื่อน
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 1 (ประเภทแผนหนา) โมดู ล การฝ ก ที่ 5
61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน