คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คูมือครูฝก 0920162070802 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)
โมดูลการฝกที่ 10 09207402 ทัศนคติในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2
กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คํานํา
คูมือครูฝก สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) โมดูล 10 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 ฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒ นาขึ้ น เพื่ อใชเปน เอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับ ชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถอธิบายเกี่ยวกับทัศนคติใน การประกอบอาชี พ ช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 ได อ ย า งถู ก ต อ ง และติ ด ตามความก า วหน า ของผู รั บ การฝ ก อบรม ในด า น ความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทํา ใหผูรับ การฝ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเ คราะหงานอาชี พ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญ ต อการพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
สารบัญ เรื่อง
หนา
คํานํา
ก
สารบัญ
ข
ขอแนะนําสําหรับครูฝก
1
โมดูลการฝกที่ 10 09207402 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 หัวขอวิชาที่ 1 0920740201 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก คณะผูจัดทําโครงการ
12 22
ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้
1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรีย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัสหัวขอวิช าเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เ กิ ดจากการนําความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝกอบรมออนไลน ระบบการฝกอบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชง านตามความรับ ผิด ชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนา ที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf
1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
2. ผังการฝกอบรม
3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับ การฝก เรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝกเปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (. pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของ คูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบของ คูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ กทรอนิ กส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร
5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
การฝกภาคทฤษฎี ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสู ตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก
4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70
เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)
ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว
6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก
7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน
รหัสหลักสูตร 0920162070802
1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนแผนหนารอยเชื่อมตอชน ตําแหนงทาเชื่อม PA PC PF และ PE 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื ่อ งจากเปน การฝก ที ่ขึ ้น อยู ก ับ พื ้น ฐานความรู ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผู ร ับ การฝก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กาํ หนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา) 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร 0920162070802 2. ชื่อโมดูลการฝก ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 รหัสโมดูลการฝก 09207402 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง 2. อธิบายแนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรูไดอยางถูกตอง 3. อธิบายหลักการวิเคราะหงานไดอยางถูกตอง 4. อธิบายการตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชาไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 1 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายจรรยาบรรณในการ หัวขอที่ 1 : ทัศนคติในการประกอบอาชีพ 1:00 1:00 ประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็ก ไดอยางถูกตอง 2. อธิบายแนวความคิดเห็น ในเรื่องการพัฒนาความรู ไดอยางถูกตอง 3. อธิบายหลักการวิเคราะหงาน ไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 2 (ประเภทแผนหนา)
10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
4. อธิบายการตัดสินใจแกไข ปญหาในการปฏิบัติงาน ไดอยางถูกตอง 5. อธิบายการใหคําแนะนํา แกผูใตบังคับบัญชา ไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น
1:00
11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
-
1:00
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920740201 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5.
อธิบายจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไดอยางถูกตอง อธิบายแนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรูไดอยางถูกตอง อธิบายหลักการวิเคราะหงานไดอยางถูกตอง อธิบายการตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง อธิบายการใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชาไดอยางถูกตอง
2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.
จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก แนวความคิดเห็นในเรื่องการพัฒนาความรู หลักการวิเคราะหงาน การตัดสินใจแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน การใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชา
3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก
4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม
5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก
6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก
7. บรรณานุกรม สภาวิศวกร. 2560. กรณีศึกษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/mail/coeHome.php?aMenu=401 สุเมธ ดีชัยชนะ. 2560. การวิเคราะหงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.gotoknow.org/posts/271752 45
13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การประกอบอาชีพใด ๆ ก็ตามผูที่ป ระกอบอาชีพนั้น ตองมีความเขาใจและมีจิต สํานึกในการประกอบอาชีพ ดังนั้น การประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ผูปฏิบัติงานควรที่จะเรียนรูสิ่งที่เกี่ยวของกับการทํางานเพื่อใหเปนชางเชื่อมที่มีคุณภาพ ซึ่งสิ่งที่ควรทราบมีดังตอไปนี้ 1. จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็กเปนงานชางที่มีงานเชื่อมอยูหลายประเภทและหลายระดับ ถาเปนงานวิศวกรรมควบคุมตามกฏหมาย ผูป ระกอบวิช าชีพวิศวกรรมตองมีจ รรยาบรรณทางวิช าชีพ ของผูป ระกอบวิช าชีพ วิศวกรรมควบคุม ทั้ง นี้จ รรยาบรรณ ของชางเชื่อมแม็ก มีดังตอไปนี้ 1) ไมกระทําการที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ 2) ปฏิบัติงานที่ไดรับอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ 3) ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต 4) ไมใชอํานาจโดยที่ไมชอบธรรม หรือใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแกบุคคลใด เพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับ หรือไมไดรับงาน 5) ไมเรียก รับ หรือยอมรับทรัพยสิน หรือผลประโยชนอยางใดสําหรับตนเองหรือผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทําอยูกับผูวาจาง 6) ไมโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณาเกินกวาความเปนจริง 7) ไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได 8) ไมละทิ้งงานที่ไดรับโดยไมมีเหตุอันสมควร 9) ไมลงลายมือชื่อเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในงานที่ตนเองไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือควบคุม ดวยตนเอง 10) ไมเปดเผยความลับของงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูวาจาง 11) ไมแยงงานจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 12) ไมรับทํางาน หรือตรวจสอบงานชิ้นเดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นทําอยู เวนแตเปนการทํางาน หรือตรวจสอบตามหนาที่ หรือแจงใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว
14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
13) ไมรับดําเนินงานชิ้นเดียวกันใหแกผูวาจางรายอื่น เพื่อการแขงขันราคาเวนแตไดแจงใหผูวาจางรายแรก ทราบลว งหนา เปน ลายลัก ษณอัก ษร หรือ ไดรับ การยิน ยอมเปน ลายลัก ษณอัก ษรจากผูวาจางรายแรก และไดแจงใหผูวาจางรายอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว 14) ไมใชหรือคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น 15) ไมกระทําการใด ๆ โดยจงใจใหเปนที่เสื่อมเสียแกชื่อเสียง หรืองานของผูประกอบวิชาชีมวิศวกรรมควบคุมอื่น 2. การพัฒนาความรู ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนในเรื่องของเทคโนโลยี การสื่อสาร สภาพเศรษฐกิจ และขอมูล ขาวสารตาง ๆ ที่มีการสงถายถึงกันและกันเร็วขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วนี้เปนแรงผลักดันใหทุกคนตอง ตระหนักถึงความสําคัญของการเปลี่ยนแปลง ทําใหเกิดการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องอยูเสมอ เพื่อใหตนมีความพรอมรับมือ กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ผูที่พัฒนาตนเองยอมเปนบุคคลที่ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน ไดรับความกาวหนาในสายอาชีพ ไดรับคํายกยอง สรรเสริ ญ มากกว า ผู ที่ ช อบทํ า งานตามคํ า สั่ ง ที่ ไ ด รั บ มอบหมายจากหั ว หน า งานเท า นั้ น ไม ส นใจที่ จ ะพั ฒ นาความรู และความสามารถของตนเอง โดยช างเชื่ อมนั้ นสามารถที่ จ ะพั ฒ นาความรู ได โ ดยหลายวิ ธี ไม ว าจะเป น การถามจากผู รู หรื อการค น คว าหาข อ มู ล ในอินเทอรเน็ตเพิ่มเติม เพื่อพัฒนาความรูตัวเองอยูเสมอ หรือจะเปนการลงมือปฎิบัติเปนจํานวนหลายครั้งจนเกิดความชํานาญ และเพิ่มประสบการณ ก็จะเปนการพัฒนาทางดานทักษะดานการปฎิบัติเพิ่มขึ้นได 3. หลักการวิเคราะหงาน การวิเคราะหงาน คือ กระบวนการที่ทําขึ้นเพื่อหาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะงาน โดยทําใหรูวางานนั้นจะตองใชความรู ความสามารถ ความชํานาญ และความรับผิดชอบอยางไรจึงจะทํางานนั้นใหสําเร็จ นอกจากนั้นการวิเคราะหงาน ยังมีรวมไปถึง การวิเคราะหเชิงปริมาณ การศึกษารายละเอียดลักษณะงาน การศึกษาเวลา วิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น และการประเมินผล ของงาน ประโยชนของการวิเคราะหงาน การวิ เคราะห งานเป น เครื่ องมื อที่ สํ าคั ญของการบริ ห ารงาน ซึ่ งทํ าให รู ถึ งหน าที่ และความรั บผิ ดชอบของงาน ความสัม พัน ธกับ งานอื ่น ความรู ค วามสามารถของผูป ฏิบ ัต ิง านและสภาพของการทํ า งาน โดยการวิเคราะหงาน มีวัตถุประสงคที่สําคัญดังตอไปนี้ 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
1) การจะทํางานนั้นสําเร็จลงไดตองใชแรงงานเทาไร 2) งานนั้นจะทําเสร็จลงเมื่อไร 3) งานนั้นจะทําสําเร็จในขั้นไหน 4) ผูปฏิบัติงานนั้นจะตองทํางานอยางไร 5) ทําไมจึงตองทํางานนั้น 6) คนที่ทํางานนั้นจะตองมีคุณสมบัติ อยางไร โดยชางเชื่อมควรจะวิเคราะหงานกอนที่จะลงมือปฎิบัติงานนั้น เพื่อที่จะไดทํางานอยางมีแบบแผน เปนขั้นเปนตอน ไดรูวา จะตอ งใชเ ครื่อ งมือ ใดในการทํา งาน และควรลงมือ ปฏิบัติสิ่ง ใดเปน อัน ดับ แรก โดยเมื่อ เราไดวางแผนงาน ไวอยางดีแลว ก็จะทําใหสามารถปฎิบัติงานนั้นไดอยางรวดเร็วและตรงตามเปาหมาย 4. การแกไขปญหาในการปฎิบัติงาน 4.1 การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา 60
60
ในการที่จ ะแกปญหาใดปญหาหนึ่งไดนั้น สิ่งแรกที่ตองทําคือทําความเขาใจในปญหา แลว แยกปญหาใหออก วาอะไรเปนสิ่งที่ตองหา แลวมีอะไรเปนขอมูลที่กําหนด และมีเงื่อนไขใดบาง หลังจากนั้นจึงพิจารณาวาขอมูล และเงื่อนไข ที่กําหนดใหนั้นเพียงพอที่จะหาคําตอบของปญหาไดหรือไม ถาไมเพียงพอ ใหหาขอมูลเพิ่มเติมเพื่อที่จะสามารถแกไข ปญหาได ดังนี้ 1) การระบุขอมูลเขา ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมากับปญหา 2) การระบุขอมูลออก ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบหรือผลลัพธ 3) การกําหนดวิธีประมวลผล ไดแก การพิจารณาวิธีหาคําตอบหรือผลลัพธ 4.2 วางแผนในการแกปญหา 60
การทํ าความเขาใจกับป ญหาจะช วยใหเกิ ดการคาดคะเนวาจะใชวิ ธี การใดในการแกป ญหา ซึ่ งประสบการณของผู แกปญหามีสวนชวยอยางมาก ดังนั้น ในกรณีที่มีประสบการณมากอนควรจะใชประสบการณเปนแนวทางในการแกปญหา โดย พิจารณาวาวิธ ีก ารแกป ญ หาเดิ ม นั้น มี ค วามเหมาะสมกับ ปญ หาหรื อ ไม หรือ ตอ งมีการปรับ ปรุงเพื่อใหไดวิธีการ แกปญหาที่ดีขึ้น ในกรณีที่ไมเคยมีประสบการณในการแกปญหาทํานองเดียวกันมากอน ควรเริ่มจากการมองที่ปญหา แลวพยายาม หาวิ ธี การเพื่ อให ได ความสั มพั น ธ ร ะหว า งสิ่ งที่ตองการหากับ ขอมูล ที่มีอยู เมื่อไดความสัมพัน ธแลว ตองพิจ ารณาวา
16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ความสัมพันธนั้นสามารถหาคําตอบไดหรือไม ถาไมไดก็แสดงวาตองหาขอมูลเพิ่มเติมหรืออาจจะตองหาความสัมพันธ ในรูปแบบอื่นตอไป เมื่อไดแนวทางในการแกปญหาแลวจึงวางแผนในการแกปญหาเปนขั้นตอน 4.3 ดําเนินการแกปญหาตามแนวทางที่วางไว 60
60
เมื่อไดวางแผนแลวก็ดําเนินการแกปญหา ระหวางการดําเนินการแกปญหาอาจทําใหเห็นแนวทางที่ดีกวาวิธีที่คิดไว ก็สามารถนํามาปรับเปลี่ยนได 4.4 การตรวจสอบ 60
60
เมื่อไดวิธีการแกปญหาแลวจําเปนตองตรวจสอบวา วิธีการแกปญหาไดผลลัพธถูกตองหรือไม โดยปญหาที่เกิดขึ้น สวนมากจะเปนปญหาหนางานซึ่งก็ คือ การลงมือปฏิบัติ เมื่อเราเจอปญหาแลวก็ ใหตั้งสติ คิดหาทางแก ไขปญหานั้น วาในอดีตเคยเจอปญหาแบบนี้ไมแลวหรือยัง ถาเปนปญหาแบบเดิมที่เคยเจอมาก็ใชวิธีแกแบบเดิม แตถาเปนปญหาใหม ที่เราไมเคยเจอก็อาจจะตองไปถามผูอื่นที่รูวิธีแกไขในปญหานี้ 5. การใหคําแนะนําแกผูใตบังคับบัญชา ผูที่ไดรับตําแหนงเปนหัวหนางานและมีลูกนองที่จะตองรับผิดชอบ ผูที่เปนหัวหนามีหนาที่ตองใหความชวยเหลือลูกนอง เมื่อเขาประสบปญหาตาง ๆ ที่ไมอาจจะแกไขไดดวยตนเอง เมื่อมีปญหาเกิดขึ้นแลวแกไขไมไดอาจเปนตนเหตุของสาเหตุอันรุนแรงที่ทําใหการทํางานมีปญหา เชน ขาดงาน มาสาย ทํางานไมสําเร็จ ทํา งานผิดพลาด ซึ่งลว นแตเ ปน อัน ตรายตอความสําเร็จ ของงาน ดังนั้น หัว หนางานจําเปน ตองเขาใจ และใหความชว ยเหลืออยางใหดีที่สุด เพื่อเปน การแกไขปญหาของการทํางานไปดว ย โดยมีห ลัก 10 ประการเพื่อเปน แนวทางในการใหคําปรึกษาแกลูกนอง ดังตอไปนี้ หลัก 10 ประการในการใหคําปรึกษา 1) หัวหนางานจะตองเปนผูที่ “รับฟง” ลูกนองเสมอ 2) พูดนอย ๆ ปลอยใหลูกนองพูดมาก ๆ 3) สังเกตพฤติกรรมของลูกนองตลอดเวลา ทั้งการพูด และทาทาง 4) พยายามเขาใจปญหา และสาเหตุอยางชัดเจน 5) พยายามเก็บความลับของลูกนองทุกคน 6) มีความเห็นอกเห็นใจลูกนอง และมุงมั่นที่จะชวยเหลือ 7) มีความมั่นคงทางอารมณ ไมปลอยอารมณใหออนไหวตาม 8) ตระหนักเสมอวาปญหาที่เกิดขึ้นอาจจะแกไขไดหรือไมได 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
9) ถาไมสามารถชวยลูกนองได ตองแสวงหาขอมูลหรือบุคคลที่จะชวยเหลือได 10) ใหลูกนองจากไปดวยความรูสึกที่ดีตอเรา และอยากกลับมาเมื่อจําเปน โดยเมื่อเราเปนชางเชื่อมแลว อาจจะตองมีลูกนองเขามาชวยในการทํางานเมื่อเกิดปญหาขึ้นและไมมีทางออก เมื่อลูกนอง นําปญหามาปรึกษา ผูที่เปนหัวหนาจําเปนอยางยิ่งที่ควรจะประพฤติตัวเปนหัวหนาที่ดี ใหคําปรึกษาที่เหมาะสมแกลูกนอง ไมดุดาวา หรือใชอารมณ โดยทําตามหลัก 10 ประการที่กลาวไวขางตน
18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมใชจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพที่ดี ก. ไมกระทําการใด ๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ ข. ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ค. ตองประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต ง. ใชอํานาจหนาที่ หรือใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแกบุคคลใดเพื่อใหตนเองหรือผูอื่นไดรับหรือไมไดรับงาน 2. ขอใดกลาวถูกตอง ก. การทํางานตองคํานึงถึงผลกําไรมาเปนอันดับแรก ข. ในการเชื่อมตองยอมรับวาเปนงานที่มีอันตราย ดังนั้น เรื่องความปลอดภัยจึงเปนเรื่องที่มีความสําคัญ ค. ชางเชื่อมจะใหดีจะตองมีการฝกฝนฝมืออยูตลอดเวลาเพื่อใหเชื่อมดีอยูเสมอ ง. เราควรเลือกเครื่องที่มียี่หอเพราะเครื่องมือเหลานั้นมีมาตรฐาน 3. บุคคลใดมีความซื่อสัตย ก. นิกรพูดโกหกเปนประจํา ข. พงศักดิ์เก็บของไดแลวไมคืน ค. สุเมธหยิบของเพื่อนมาใชแลวไมคืน ง. มาลียอมรับวาตัวเองไดทําความผิด 4. ขอใดไมใชวิธีการพัฒนาตนเองของชางเชื่อม ก. สอบถามจากผูรู ข. คนควาหาขอมูลเพิ่มเติมในอินเทอรเน็ต ค. ปฏิบัติงานหลายครั้งเพื่อใหเกิดความชํานาญ ง. ทํางานตามคําสั่งของหัวหนางานอยางเครงครัด
19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
5. นพดลพิจารณาขอมูลและรายละเอียดของงานที่ตองปฏิบัติ เพื่อใหเสร็จตามระยะเวลาที่นายจางกําหนด เปนวิธีการใด ในการแกไขปญหา ก. การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา ข. ดําเนินการแกปญหาตามแนวทางที่วางไว ค. วางแผนในการแกปญหา ง. การตรวจสอบ 6. ขอใดไมใชสิ่งที่หัวหนางานควรปฏิบัติตอลูกนอง ก. ไมเปดเผยความลับของลูกนอง ข. ทําใหลูกนองเห็นวาปญหาทุกอยางสามารถแกไขได ค. รับฟงปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของลูกนอง ง. สังเกตพฤติกรรมของลูกนอง ทั้งการพูด และทาทาง 7. บุคคลใด ไมไดปฏิบัติงานเชื่อมตามหลักการวิเคราะหงาน ก. สมชายอธิบายขั้นตอนการทํางานแกผูรวมงาน ข. สมหมายแจงนายจางวางานจะเสร็จภายใน 1 เดือน ค. สมานแบงงานใหลูกนอง ตามความสมัครใจของแตละคน ง. สมปองประเมินงานและบอกจํานวนแรงงานที่ตองใชในการปฏิบัติงาน
20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
เฉลยใบทดสอบ ขอ
ก
ข
ค
1 2 3 4 5 6 7
21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
ง
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ
สุโกศล
อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
2. นางถวิล
เพิ่มเพียรสิน
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
3. นายธวัช
เบญจาทิกุล
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
4. นายสุรพล
พลอยสุข
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน
5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา
ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก
6. นางเพ็ญประภา
ศิริรัตน
ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก
7. นายวัชรพงษ
มุขเชิด
ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ
คําเงิน
ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร
คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์
สุนทรกนกพงศ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
3. ผศ. สันติ
ตันตระกูล
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
4. นายสุระชัย
พิมพสาลี
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
5. นายวินัย
ใจกลา
ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
6. นายวราวิช
กําภู ณ อยุธยา
สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
7. นายมนตรี
ประชารัตน
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
8. นายธเนศ
วงควัฒนานุรักษ
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
9. นายณัฐวุฒิ
เสรีธรรม
แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี
10. นายหาญยงค
หอสุขสิริ
แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร
11. นายสวัสดิ์
บุญเถื่อน
แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน
คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 2 (ประเภทแผ น หนา)
โมดู ล การฝ ก ที่ 10
23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน