คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 10

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คูมือครูฝก 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 10 09207403 ทัศนคติในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คํานํา

คูมือครูฝกสาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 10 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ฉบับ นี้ เปน สวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้น เพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการพัฒ นา ระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือในการบริห าร จัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหสามารถนําความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบ อาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ไปใชไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนาของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือ สมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน น ผลลั พธ การฝ กอบรมในการที่ทํา ใหผูรับ การฝ กอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติ ง าน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเ คราะหงานอาชี พ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชี พ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรื อ ตามแผนการฝ ก หรื อ ตามตารางการนั ด หมาย การฝ ก หรื อ ทดสอบประเมิ น ผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึงถือเป น รู ป แบบการฝ ก ที่ มี ความสํา คั ญ ต อการพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ทั้งในปจ จุบัน และอนาคต ซึ่งหากมีการนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝ มือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

สารบัญ เรื่อง

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 10 09207403 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 หัวขอวิชาที่ 1 0920740301 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก คณะผูจัดทําโครงการ

12 22

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอวิชาที่ผูรับ การฝ กต องเรี ย นรู และฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูล และรหัส หัว ขอวิชาเปนตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่ เ กิดจากการนํ าความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชงานระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับ ผิดชอบของผูมีสว นไดสว นเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝกเรีย นรูภ าคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปน ผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถั ด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูล ที่ครูฝ กกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับ การฝกแกผูรับ การฝกที่ศูน ยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม 4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝกทํา แบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่ อสารอิเล็ กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลั กสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก

4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝกสามารถเลือกใชอุปกรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูป แบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมิ นผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝ ก และแบบทดสอบภาคทฤษฎี หลังฝ ก โดยกํ าหนดเกณฑ การให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานโมดูลการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070803

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PF และ H-L045 2. ระยะเวลาการฝก ผู รั บ การฝ กจะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบัน พัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื ่อ งจากเปน การฝก ที ่ขึ ้น อยู ก ับ พื ้น ฐานความรู  ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผู ร ับ การฝก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920162070803 2. ชื่อโมดูลการฝก ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 รหัสโมดูลการฝก 09207403 3. ระยะเวลาการฝก รวม 1 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ - ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. นําจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไปใชไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหงานไดอยางถูกตอง 3. วางแผนการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานได 4. แสดงความคิดเห็นในเรื่องพัฒนาความรูของชางเชื่อมได 5. วางแผนแกไขปญหาในการปฏิบัติงานได 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก ผูรับการฝก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. นําจรรยาบรรณ หัวขอที่ 1 : ทัศนคติในการประกอบอาชีพ 1:00 1:00 ในการประกอบอาชีพ ชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็กไปใช ไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหงานไดอยางถูกตอง 3. วางแผนการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการทํางานได สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

4. แสดงความคิดเห็น ในเรื่องพัฒนาความรู ของชางเชื่อมได 5. วางแผนแกไขปญหา ในการปฏิบัติงานได รวมทั้งสิ้น

1:00

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

-

1:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920740301 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4. 5.

นําจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็กไปใชไดอยางถูกตอง วิเคราะหงานไดอยางถูกตอง วางแผนการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทํางานได แสดงความคิดเห็นในเรื่องพัฒนาความรูของชางเชื่อมได วางแผนแกไขปญหาในการปฏิบัติงานได

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5.

จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การวิเคราะหงาน การวางแผนปฏิบัติงาน การพัฒนาความรูของชางเชื่อม การแกไขปญหาในการปฏิบัติงาน

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

- สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม สภาวิศวกร. 2560. กรณีศึกษาจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.coe.or.th/coe-2/mail/coeHome.php?aMenu=401 สุเมธ ดีชัยชนะ. 2560. การวิเคราะหงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.gotoknow.org/posts/271752 45

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก การประกอบอาชีพ ใด ๆ ก็ต าม ผูที่ป ระกอบอาชีพ นั้น จะตอ งมีค วามเขา ใจและมีจิต สํา นึก ในการประกอบอาชี พ ดังนั้น การประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ผูปฏิบัติงานควรที่จะเรียนรูสิ่งที่เกี่ยวของกับการทํางานเพื่อใหเปนชางเชื่อมที่มีคุณภาพ ซึ่งสิ่งที่ควรทราบมีดังตอไปนี้ 1. จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ชางเชื่อมแม็กเปนงานชางที่มีงานเชื่อมอยูหลายประเภท และหลายระดับ ถาเปนงานวิศวกรรมควบคุมตามกฏหมาย ผูประกอบวิ ช าชี พวิ ศวกรรมต องมี จรรยาบรรณทางวิชาชีพของผูป ระกอบวิช าชีพวิศวกรรมควบคุม ทั้งนี้ จรรยาบรรณ ของชางเชื่อมแม็ก มีดังตอไปนี้ 1) ไมกระทําการที่อาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ 2) ปฏิบัติงานที่ไดรับอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ 3) ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต 4) ไมใชอํานาจโดยที่ไมช อบธรรม ใชอิทธิพล หรือใหผลประโยชนแกบุคคลใดเพื่ อใหตนเองหรือผู อื่น ได รั บ หรือไมไดรับงาน 5) ไมเรียก รับ หรือยอมรับทรัพยสิน เพื่อผลประโยชนอยางใดสําหรับตนเองหรือผูอื่นโดยมิชอบ จากผูรับเหมา หรือบุคคลใดซึ่งเกี่ยวของในงานที่ทําอยูกับผูวาจาง 6) ไมโฆษณา หรือยอมใหผูอื่นโฆษณาเกินกวาความเปนจริง 7) ไมประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที่ตนเองจะกระทําได 8) ไมละทิ้งงานที่ไดรับโดยไมมีเหตุอันสมควร 9) ไมลงลายมือชื่อเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในงานที่ตนเองไมไดรับทํา ตรวจสอบ หรือควบคุม ดวยตนเอง 10) ไมเปดเผยความลับของงานที่ตนไดรับทํา เวนแตไดรับอนุญาตจากผูวาจาง 11) ไมแยงงานจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 12) ไมรับทํางาน หรือตรวจสอบงานชิ้นเดียวกันกับที่ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นทําอยู เวนแตเปนการทํางาน การตรวจสอบตามหนาที่ หรือแจงใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

13) ไมรับดําเนินงานชิ้นเดียวกันใหแกผูวาจางรายอื่น เพื่อการแขงขันราคาเวนแตไดแจงใหผูวาจางรายแรกทราบ ลวงหนาเปนลายลักษณอักษร หรือไดรับการยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางรายแรก และไดแจงให ผูวาจางรายอื่นนั้นทราบลวงหนาแลว 14) ไมใชและคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร ที่เกี่ยวกับงานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น เวนแตจะไดรับอนุญาตจากผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่นนั้น 15) ไมกระทําการใด ๆ โดยจงใจใหเปนที่เสื่อมเสียแกชื่อเสียง หรืองานของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื่น 2. หลักการวิเคราะหงาน การวิเคราะห งาน คื อ กระบวนการหาข อมู ลเกี่ยวกั บลั กษณะงาน เพื่ อให รู ว างานนั้ นจะตองใช ความรูความสามารถ ความชํานาญ และความรับผิดชอบอยางไรจึงจะทํางานนั้นใหสําเร็จ นอกจากนั้นการวิเคราะหงาน ยังรวมไปถึงการวิเคราะห เชิงปริมาณ การศึกษารายละเอียดลักษณะงาน การศึกษาเวลา วิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น และการประเมินผลของงาน ประโยชนของการวิเคราะหงาน การวิ เคราะห งานเป นเครื่ องมื อที่ สํ าคั ญของการบริ หารงาน ซึ่ งทํ าให รู ถึ งหน าที่ และความรั บผิ ดชอบของงาน ความสั มพั น ธ กับ งานอื่ น ความรู ความสามารถของผู ป ฏิบัติง านและสภาพของการทํ างาน โดยการวิเคราะห ง านมี วัตถุประสงคที่สําคัญดังตอไปนี้ 1) การจะทํางานนั้นสําเร็จลงไดตองใชแรงงานเทาไร 2) งานนั้นจะทําเสร็จลงเมื่อไร 3) งานนั้นจะทําสําเร็จในขั้นไหน 4) ผูปฏิบัติงานนั้นจะตองทํางานอยางไร 5) ทําไมจึงตองทํางานนั้น 6) คนที่ทํางานนั้นจะตองมีคุณสมบัติอยางไร โดยชางเชื่อมนั้นควรจะวิเคราะหงานกอนที่จะลงมือปฎิบัติงาน เพื่อที่จะไดทํางานอยางมีแบบแผน เปนขั้นตอน รวมทั้ง จะไดรูวาตองใชเครื่องมือใดในการทํางาน และควรลงมือปฏิบัติสิ่งใดเปนอันดับแรก ถาหากเราไดมีการวางแผนงานไวอยางดีแลว ก็จะทําใหสามารถปฎิบัติงานนั้นไดอยางรวดเร็วและตรงตามเปาหมาย

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

3. การวางแผนการปฏิบัติงาน การวางแผนในการปฏิบัติงานเปนสิ่งสําคัญที่ทําใหบรรลุเปาหมาย สําหรับจุดประสงคหลักในการวางแผน คือ เพื่อลด ความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นไดขณะปฏิบัติงาน ซึ่งขั้นตอนในการวางแผนการปฏิบัติงานมีดังตอไปนี้ 1) การวิเคราะหงาน โดยการหาขอมูลที่เกี่ยวของกับงานจากประสบการณ ปจจัยภายใน เชน เงินทุน เครื่องจักร แรงงาน เปนตน และปจจัยภายนอก เชน ความตองการของผูจางงาน สภาพเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เปนตน เพื่อนํามาวิเคราะหถึงขอดีและขอเสียที่เกี่ยวของกับงาน 2) การกําหนดวัตถุประสงคของงาน ตองกําหนดใหชัดเจน เฉพาะเจาะจง และสามารถทําไดจริง พรอมทั้ง กํ า หนดระยะเวลาในการทํ า งานใหส อดคลองกับ ความสามารถของตนและความตองการของผูจางงาน เพื่อใหสามารถดําเนินการตามแผนไดจริง 3) การวางแผนงาน ในขั้นตอนนี้ผูวางแผนตองประเมินถึงวัตถุประสงคและแผน ที่สามารถทําใหงานเกิดขึ้นไดจริง โดยอาจนําประสบการณมาชวยตัดสินใจวางแผนเพื่อใหสามารถนําไปดําเนินการไดจริง 4) การนําไปใช เมื่อวางแผนงานอยางเหมาะสมแลว ผูวางแผนงานตองอธิบายใหชัดเจน เพื่อใหผูปฏิบัติงาน เขาใจในบทบาทและหนาที่ งานที่วางไวจึงจะสําเร็จลุลวงตามแผน ซึ่งในขณะที่ปฏิบัติงานนั้นผูวางแผน อาจจะตองเขาไปแกไขปญหาระหวางปฏิบัติงาน 5) การตรวจสอบและควบคุม ขณะปฏิบัติงานผูวางแผนงานควรเขาไปตรวจสอบและควบคุมใหเปนไปตามแผน ดังนั้น จึงตองเตรียมตัวและพัฒนาความรูใหพรอมเสมอ เนื่องจากในสถานการณจริงอาจมีการเปลี่ยนแปลง ที่ตางไปจากการคาดคะเนได ในการทํ า งาน ช า งเชื่ อมควรต องวางแผนปฏิ บัติ งานไวเปน กรอบในการทํา งานจริ ง โดยตองคํานึงถึงวัตถุป ระสงค ระยะเวลา และชิ้นงานที่ตองการใหสําเร็จอยูเสมอ รวมถึงคาดคะเนเหตุการณที่อาจเกิดขึ้นไดโดยไมคาดคิดไวดวย เนื่องจาก จะไดแกไขอยางทันทวงที ซึ่งประสบการณและการพัฒนาความรูเปนสวนสําคัญที่ชวยแกปญหาเหลานี้ใหผานไปได 4. การพัฒนาความรู ในโลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนเรื่องของเทคโนโลยี การสื่อสาร สภาพเศรษฐกิจ และขอมูลขาวสารตาง ๆ ที่มีการสงถายถึงกันและกันเร็วขึ้น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วนี้ จึงเปนแรงผลักดันใหทุกคนตองตระหนักถึง ความสํ า คั ญของการเปลี่ ย นแปลง ทํ า ให เ กิ ดการพัฒ นาตนเองอยางตอเนื่องอยูเสมอ เพื่อใหตนมีความพรอมรับ มือ กั บ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ผูที่พัฒนาตนเองยอมเปนบุคคลที่ประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน ไดรับความกาวหนาในสายอาชีพ ไดรับคํายกยอง สรรเสริ ญมากกว าผู ที่ช อบทํ า งานตามคํ า สั่ ง ที่ ไ ด รับ มอบหมายจากหั ว หน า งานเท านั้ น ไมส นใจที่จ ะพัฒ นาความรู แ ละ ความสามารถของตนเอง โดยชางเชื่อมนั้นสามารถที่จะพัฒนาความรูไดโดยหลายวิธี เชน การถามจากผูรู หรือการคนควาหาขอมูลในอินเทอรเน็ต เพิ่มเติ ม เพื่ อพั ฒ นาความรู ตัว เองอยู เ สมอ หรื อจะเปน การลงมือปฎิบัติเปน จํานวนหลายครั้งจนเกิดความชํา นาญและ เพิ่มประสบการณ ก็จะเปนการพัฒนาทางดานทักษะดานการปฎิบัติเพิ่มขึ้นได 5. การแกไขปญหาในการปฎิบัติงาน 5.1 การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา 60

60

ในการที่จ ะแกปญหาใดปญหาหนึ่งไดสิ่งแรกที่ตองทํา คือ ทําความเขาใจในปญหา จากนั้น แยกปญหาใหออก วา อะไรเปน สิ่ง ที่ต อ งหา แลว มีอ ะไรเปน ข อ มูล ที่กํา หนด และมีเ งื่อ นไขใดบ า ง หลัง จากนั้น จึง พิจ ารณาว า ข อ มู ล และเงื่ อ นไขที่ กํา หนดให นั้ น เพี ย งพอที่ จ ะหาคํา ตอบของป ญ หาได ห รื อ ไม ถ า ไม เ พี ย งพอ ให ห าขอ มูล เพิ่ม เติ ม เพื่อที่จะสามารถแก ไขป ญหาได ดังนี้ 1) การระบุขอมูลเขา ไดแก การพิจารณาขอมูลและเงื่อนไขที่กําหนดมากับปญหา 2) การระบุขอมูลออก ไดแก การพิจารณาเปาหมายหรือสิ่งที่ตองหาคําตอบหรือผลลัพธ 3) การกําหนดวิธีประมวลผล ไดแก การพิจารณาวิธีหาคําตอบ หรือผลลัพธ 5.2 การวางแผนในการแกปญหา 60

การทําความเขาใจกั บป ญหาจะชวยให เกิดการคาดคะเนวาจะใชวิธี การใดในการแก ปญหา ซึ่งประสบการณ ของ ผูแกปญหามีสวนชวยอยางมาก ดังนั้น กรณีที่มีประสบการณมากอนควรจะใชประสบการณเปนแนวทาง โดยพิจารณาวา วิธีการแกปญหาเดิมนั้นมีความเหมาะสมกับปญหาหรือไม หรือตองมีการปรับปรุงเพื่อใหไดวิธีการแกปญหาที่ดีขึ้น แต ใ นกรณี ที่ ไ ม เ คยมี ป ระสบการณ ใ นการแก ป ญ หาทํ า นองเดี ย วกั น มาก อ น ควรเริ่ ม จากการมองที่ ป ญ หา แล ว พยายามหาวิ ธี ก ารเพื่ อ ให ไ ด ค วามสั ม พั น ธ ร ะหว า งสิ่ ง ที่ ต อ งการหากั บ ข อ มู ล ที่ มี อ ยู เมื่ อ ได ค วามสั ม พั น ธ แ ล ว ตองพิจารณาวาความสัมพันธนั้นสามารถหาคําตอบไดหรือไม ถาไมไดก็แสดงวาตองหาขอมูลเพิ่มเติมหรืออาจจะตองหา ความสัมพันธในรูปแบบอื่นตอไป เมื่อไดแนวทางในการแกปญหาแลวจึงวางแผนในการแกปญหาเปนขั้นตอน 5.3 การดําเนินการแกปญหาตามแนวทางที่วางไว 60

60

เมื่อไดวางแผนแลวก็ดําเนินการแกปญหา ระหวางการดําเนินการแกปญหาอาจทําใหเห็นแนวทางที่ดีกวาวิธีที่คิดไว ก็สามารถนํามาปรับเปลี่ยนได 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5.4 การตรวจสอบ 60

เมื่อไดวิธีการแกปญหาแลวจําเปนตองตรวจสอบวา วิธีการแกปญหาไดผลลัพธถูกตองหรือไม สําหรับชางเชื่อม เมื่อเกิดปญหาขึ้นโดยสวนมากจะเปนปญหาหนางาน กลาวคือ ในการลงมือปฏิบัติ เมื่อเราเจอปญหาแลวก็ใหตั้งสติ คิดหาทางแกไขปญหานั้นวาในอดีตเคยเจอปญหาแบบนี้แลวหรือยัง ถาเปนปญหาแบบเดิมที่เคยเจอมาก็ใชวิธีแกแบบเดิม แตถาเปนปญหาใหมที่เราไมเคยเจอก็อาจจะตองไปถามผูอื่นที่รูวิธีแกไขในปญหานี้

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมถือวาเปนการปฏิบัติตามจรรยาบรรณในงานเชื่อม ก. ไมกระทําการใด ๆ อันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ ข. ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ค. ตองประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมดวยความซื่อสัตยสุจริต ง. ชวยใหผูวาจางประหยัดคาใชจาย 2. ขอใดกลาวถูกตอง ก. การทํางานตองคํานึงถึงผลกําไรมาเปนอันดับแรก ข. ความปลอดภัยเปนเรื่องที่มีความสําคัญอันดับแรก ค. ชางเชื่อมจะใหดีจะตองมีการฝกฝนฝมืออยูตลอดเวลาเพื่อใหเชื่อมดีอยูเสมอ ง. อุปกรณที่มีมาตรฐานทําใหอุบัติเหตุจากการทํางานไมเกิดขึ้น 3. ทัศนคติที่ดีตอวิชาชีพหมายถึง ก. เปนผูมีน้ําใจตอเพื่อนรวมงานทั้งในและนอกหนวยงาน ข. มีความอดทน ขยัน สามารถควบคุมอารมณไดดี ค. เปนผูมีเหตุมีผล ง. ถูกทุกขอ 4. บุคคลใดตอไปนี้ ไมปฏิบัติตามวัตถุประสงคของหลักการวิเคราะหงาน ก. เกรียงไกรคํานวณตนทุนที่ตองใชโดยละเอียด ข. กฤษดาคํานวณจํานวนแรงงานที่ตองใชในการปฏิบัติงาน ค. กําพลทําการวางแผนงานคราว ๆ วาตองทําสิ่งใดกอนหลัง ง. กิตติมีการประเมินเวลาในการปฏิบัติงาน วาจะเสร็จภายในวันไหน

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

5. ขอใดไมใชสวนประกอบในการคิดแกไขปญหา ก. ประสบการณ

ค. การเสี่ยง

ข. ความรู

ง. การวางแผน

6. การกําหนดระยะเวลาในการทํางานใหสอดคลองกับความสามารถของตนและความตองการของผูจางงาน อยูขั้นตอนใด ของการวางแผนการปฏิบัติงาน ก. การวางแผนงาน ข. การวิเคราะหงาน ค. การตรวจสอบและควบคุม ง. การกําหนดวัตถุประสงคของงาน 7. ในการปฏิบัติงานเชื่อม ชางเชื่อมควรมีการพัฒนาความรูตนเองอยูเสมอ โดยสามารถพัฒนาไดหลายวิธียกเวนขอใด ก. การถามจากผูรู ข. การคิดคนหาวิธีการใหม ๆ ค. การคนควาหาขอมูลในอินเทอรเน็ต ง. การลงมือปฎิบัติจนเกิดความชํานาญ

20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7

21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช

เบญจาทิกุล

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล

พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11. นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3

โมดู ล การฝ ก ที่ 10

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.