คู่มือครูฝึก ช่างไฟฟ้าอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 10

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คูมือครูฝก 0920164150303 สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 10 09215221 ขอกําหนดของการเดินสายไฟฟา

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คํา นํา

คูมือครูฝก สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 โมดูล 10 ขอกําหนดของการเดินสายไฟฟา เปนสวนหนึ่งของ หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) นี้ ไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสาร ประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ซึ่งไดดําเนินการภายใต โครงการพัฒนาระบบฝกและชุดการฝกตามความสามารถเพื่อการพัฒนาฝมือแรงงาน ดวยระบบการฝกตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่ องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา วิธีเดิน สายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟา วิธีเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาตามขอกําหนด รวมไปถึงติดตามความกาวหนาของผูรับ การฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรูได ตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลายไปใหแ ก ผูรับการฝกอบรม และตองการใหผู รับ การฝ กอบรมเกิ ดการเรีย นรูด วยตนเอง การฝกปฏิบัติ จะดํ าเนิ น การในรู ป แบบ Learning by Doing และเนนผลลัพ ธการฝกอบรมในการที่ทําใหผูรับการฝกอบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงานตามที่ ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบการ ฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่งไดจากการวิเคราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตละสาขาอาชีพจะถูก กําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชใ นการปฏิบัติงาน และ สอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝนจนกวาจะ สามารถปฏิบัติเองได ตามมาตรฐานที่กําหนดในแตละรายการความสามารถ ทั้งนี้การสงมอบการฝก สามารถดําเนินการไดทั้ง รูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถ เรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอมตามความสะดวกของ ตน หรือตามแผนการฝก หรือตามตารางการนัดหมาย การฝกหรือทดสอบประเมินผลความรูความสามารถกับหนวยฝก โดยมี ครู ฝ ก หรื อ ผู ส อนคอยให คํ า ปรึ ก ษา แนะนํ า และจั ด เตรี ย มการฝ ก ภาคปฏิบั ติ ร วมถึง จั ด เตรี ย มและดํ า เนิ น การทดสอบ ประเมินผลในลักษณะตาง ๆ อันจะทําใหสามารถเพิ่ม จํานวนผูรับการฝกไดมากยิ่งขึ้นชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และ ประหยัดงบประมาณคาใชจ ายในการพั ฒ นาฝมื อแรงงานใหแ ก กําลั งแรงงานในระยะยาวจึ งถือ เป น รูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคัญตอการพัฒนาฝมือแรงงาน ทั้งในปจจุบันและอนาคตซึ่งหากมีการนําระบบการฝกอบรมตามความสามารถมาใชใ น การพัฒนาฝมือแรงงานจะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงาน ผูวางงาน นักเรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถ เขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชนอยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน

ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

เรื่อง

สารบัญ

หนา

คํานํา

สารบัญ

ขอแนะนําสําหรับครูฝก

1

โมดูลการฝกที่ 10 09215221 ขอกําหนดของการเดินสายไฟฟา หัวขอวิชาที่ 1 0921522101 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา

15

หัวขอวิชาที่ 2 0921522102 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยรางเดินสายไฟฟา

43

และการรอยสายไฟฟาเขาชองเดินสายไฟฟา คณะผูจัดทําโครงการ

61

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 6 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูม ือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปด วย หัวขอวิชาที่ผูรับการฝกตองเรีย นรูแ ละฝกฝน ซึ่งมีรหัสโมดูลและรหัสหัวขอวิชาเป นตัว กําหนดความสามารถ ที่ตองเรีย นรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝกที่เกิดจากการนํา ความรู ทักษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้ อหา (Content) และเกณฑก ารประเมิน การฝก อบรม ทํา ใหผูรับ การฝก อบรมมีค วามสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรีย นรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบีย น เขา รับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผา นอุป กรณอิเล็กทรอนิก สหรือ อุป กรณสื่อสาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สว นการใชงานตามความรับผิด ชอบของผูม ีสวนไดสวนเสีย ดังภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

2. ผังการฝกอบรม

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. วิธีการฝกอบรม 3.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผูรับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 3.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎี (ดา นความรู) ดว ยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือผูรับการฝกที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรีย นรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่อ อิเ ล็ก ทรอนิ กส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิท ธิ์ข อเขา รับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถา มี) หรือ เขา รับ การฝก ในโมดูล ถัด ไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยสงมอบคูมือผูรับการฝกแกผู รับ การฝก ที่ศู นยฝก อบรม และฝกภาคปฏิบัติ ที่ศูนยฝกอบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับการฝก ทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคํ า ตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติใ นระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 3.1.3 การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแ กผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับการฝกที่ใ ชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใ ชค อมพิว เตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวนโ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิ เคชั น DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถั ดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อด วยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรีย มสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วัน ฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใ บงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้น ตอนการฝกปฏิบัติงาน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือการประเมิน ที่พิม พจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 3.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรับการฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 3.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 4. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือกใชอุป กรณชวยฝกได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิม พ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 4.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 4.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่ม อบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 5.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

5.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัติงาน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัติงาน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้ น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

6. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920164150303

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรับการฝกในสาขาชา งไฟฟา อุต สาหกรรม เพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับระบบการสงจายไฟฟากําลังในประเทศไทย 1.2 มีความรูเกี่ยวกับระบบไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม และรีเลยปองกัน 1.3 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟากําลัง 1.4 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับมอเตอรไฟฟาและการควบคุมมอเตอร 1.5 มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณตัดวงจรอัตโนมัติ 1.6 มีความรูเกี่ยวกับการตอลงดิน และกับดักเสิรจ 1.7 มีความรูเกี่ยวกับการแกตัวประกอบกําลังของระบบไฟฟาแรงดันไฟฟาต่ํา 1.8 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกชนิดและขนาดของสายไฟฟา 1.9 มีความรูเกี่ยวกับดวงโคมไฟฟาชนิดตาง ๆ 1.10 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 1.11 มีความรูความสามารถเกี่ยวกับการเดินสายไฟฟาอุตสาหกรรม 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับการฝกจะไดรับการฝกในภาคทฤษฎีแ ละภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือแรงงาน หรือสํานักงานพัฒนาฝมื อ แรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 90 ชั่วโมง เนื่ อ งจากเป น การฝ ก ที่ ขึ้ น อยู กั บ พื้ น ฐานความรู ทั ก ษะ ความสามารถและความพร อ มของผู รั บ การฝ ก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝก จึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูใน ดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบันพัฒนาฝมือ แรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 10 1. ชื่อหลักสูตร

รหัสหลักสูตร 0920164150303 2. ชื่อโมดูลการฝก ขอกําหนดของการเดินสายไฟฟา รหัสโมดูลการฝก 09215221 3. ระยะเวลาการฝก รวม 13 ชั่วโมง ทฤษฎี 1 ชั่วโมง ปฏิบัติ 12 ชั่วโมง 4. ขอบเขตของหนวย หนวยการฝกนี้ พัฒนาขึ้นใหครอบคลุม ดา นความรู ทักษะ และเจตคติแ กผูรั บการฝ ก การฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาชนิดตาง ๆ ได 2. เดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 3. อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟาได 4. อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาได 5. เดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 6. เดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานงานไฟฟาเบื้องตน หรือผานการฝกอบรมเกี่ยวกับขอกําหนด ผูรับการฝก ของการเดินสายไฟฟาจากหนวยงานหรือสถาบันที่เชื่อถือได 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว 3. ผูรับการฝกผานโมดูลที่ 9 มาแลว 1. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูรับการฝกสามารถปฏิบัติงานโดยมีความรูความสามารถ และใชระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัว ขอวิชา (ชั่วโมง : นาที) ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. อธิบายวิธีเดินสายไฟฟา หัวขอที่ 1 : ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวย 0:30 6:00 6:30 ดวยทอรอยสายไฟฟา ทอรอยสายไฟฟา ชนิดตาง ๆ ได 2. เดินสายไฟฟา ดวยทอรอยสายไฟฟา สาขาชางไฟฟาอุตสาหกรรม ระดับ 3

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. 4. 5.

6.

ชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตอง ตามขอกําหนด อธิบายวิธีเดินสายไฟฟา หัวขอที่ 2 : ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวย ในชองเดินสายไฟฟาได รางเดินสายไฟฟา และการรอยสายไฟฟา อธิบายวิธีเดินสายไฟฟา เขาชองเดินสายไฟฟา ในรางเดินสายไฟฟาได เดินสายไฟฟา ในชองเดินสายไฟฟา ไดอยางถูกตองตามขอกําหนด เดินสายไฟฟา ในรางเดินสายไฟฟาได อยางถูกตองตามขอกําหนด รวมทั้งสิ้น

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

6:00

6:30

1:00

12:00 13:00


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1

0921522101 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาชนิดตาง ๆ ได 2. เดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟาชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 2. หัวขอสําคัญ 1. ทอโลหะหนา ทอโลหะปานกลาง และทอโลหะบาง 2. ทอโลหะออน 3. ทอพีวีซีหรือทออะโลหะแข็ง

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก 15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) Strap ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 15 อัน

2) Strap ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 9 อัน

3) เคเบิลเกรนด

จํานวน 2 ตัว

4) เซอรกิตเบรกเกอรยอย 16 แอมแปร

จํานวน 3 ตัว

5) เตารับมีขั้วสายดิน

จํานวน 1 ตัว

6) เทปพันสายไฟฟา

จํานวน 1 มวน

7) เพรชเชอรคลิป

จํานวน 6 ตัว

8) เอฟเอสซีบอกซ พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

9) เอฟเอสบอกซ พรอมปด 10) โคมฟลูออเรสเซนต 1 x 18 วัตต

จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ชุด

11) ไวรนัท ขนาดกลาง

จํานวน 1 กลอง

12) คอนเนกเตอร ล็อกนัต และบุชชิ่ง ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 16 ชุด

13) คอนเนกเตอร ล็อกนัต และบุชชิ่ง ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 16 ชุด

14) คอนซูเมอรยูนิต เซอรกิตเบรกเกอร 32 แอมแปร 4 ชอง

จํานวน 1 แผง

15) ทอ EMT ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 ทอน

16) ทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 ทอน

17) ทอ PVC ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 ทอน

18) สแควรบอกซ พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

19) สกรูเกลียวเหล็ก ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 20 ตัว

20) สวิตชทางเดียว

จํานวน 1 ตัว

21) สวิตชสองทาง

จํานวน 2 ตัว

22) สาย VCT 2 x 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 เมตร

23) สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีเขียว

จํานวน 10 เมตร

24) สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีขาว

จํานวน 20 เมตร

25) สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีดํา

จํานวน 20 เมตร

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 26) หลอดเผาไสพรอมขั้วรับหลอด

จํานวน 1 ชุด

27) หลอดสปอตไลต 500 วัตต พรอมโคม

จํานวน 1 ชุด

28) หัวงูเหา ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 ตัว

2.1 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2) คัตเตอรปอกสาย

จํานวน 1 อัน

3) คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

4) ดินสอ

จํานวน 1 แทง

5) เบนเดอรดัดทอ EMT ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

6) เบนเดอรดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

7) ปากกาจับทอ

จํานวน 1 เครื่อง

8) ฟุตเหล็ก 1 เมตร

จํานวน 1 อัน

9) ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน

10) รีมเมอร

จํานวน 1 อัน

11) ลวดรอยสายไฟ

จํานวน 1 อัน

12) เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก 17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. 2551. มาตรฐานงานเดินสายไฟฟาทั่ว ไป. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dpt.go.th/sesb/images/stories/pdf/standard/10.pdf เตชา อัศวสิทธิถาวร และจาตุรงค แตงเขียว. 2554. การติดตั้งไฟฟา 1. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ซีแอนดเอ็นบุค. ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร.

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา การเดินทอรอยสายไฟฟา เปนการปองกันสายไฟฟาและวงจรซึ่งอาจไดรับผลกระทบจากจากสภาพแวดลอม เชน สารเคมี ความชื้น และแรงกระแทก เปนตน โดยทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และทอโลหะบาง เปนทอเหล็กอาบสังกะสีเหมือนกั น แตมีขอแตกตางที่ความหนาของผนังทอเพื่อใหเหมาะกับการนําไปใชงาน ทั้งนี้ การเดินสายไฟฟาดวยทอรอยสายไฟฟา ตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยมีทอหลายชนิด แตสําหรับบทเรีย นนี้จะแบงชนิดของทอออกเปน 3 หัวขอหลัก ๆ ดังนี้ 1. ทอโลหะหนา ทอโลหะหนาปานกลาง และทอโลหะบาง

ภาพที่ 1.1 ตัวอยางทอโลหะหนา

ภาพที่ 1.2 ตัวอยางทอโลหะหนาปานกลาง

ภาพที่ 1.3 ตัวอยางทอโลหะบาง 1.1 ขอกําหนดการติดตั้ง 1) ถาติดตั้งในสถานที่เปยก ทอโลหะและสวนประกอบที่ใชยึดทอ เชน สแตร็ป สลักเกลียว สกรู (Screw) ฯลฯ ตองเปนชนิดที่ทนตอการผุกรอน 2) ปลายทอที่ตัดออกตองลบคมเพื่อปองกันการปาดของสาย สวนการทําเกลียวทอตองใชเครื่องทําเกลียว ชนิดปลายเรียว 3) ขอตอและขอตอยึดชนิดไมมีเกลียวตองตอใหแ นน ถาฝงในอิฐกอหรือคอนกรีตตองใชช นิ ดฝ ง คอนกรี ต และเมื่อติดตั้งในสถานที่เปยกชื้นตองใชชนิดกันฝน 19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 4) การตอสาย ใหตอไดเฉพาะในกลองตอสายที่สามารถเปดออกได สวนปริมาตรของสาย ฉนวน และหัวตอสาย เมื่อรวมกันตองไมเกินรอยละ 75 ของปริมาตรภายในกลองตอสาย 5) การติดตั้งทอรอยสายเขากับกลองตอสาย ตองมีบุชชิง่ เพื่อปองกันไมใหฉนวนสายชํารุด ยกเวนกลองต อสาย ที่ออกแบบมาเพื่อปองกันการชํารุดของฉนวน 6) หามทําเกลียวในทอโลหะบาง 7) มุมดัดโคงจุดดึงสายเมื่อรวมกันตองไมเกิน 360 องศา 8) หามใชทอโลหะบางฝงดินโดยตรง หรือใชในระบบแรงดันสูง 9) หามใชทอโลหะที่มีขนาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร 10) จํานวนสายสูงสุดตองเปนไปตามตารางที่ 1.2 ตารางที่ 1.2 พื้นที่หนาตัดสูงสุดรวมของสายไฟทุกเสน คิดเปนรอยละเทียบกับพื้นที่หนาตัดทอ จํานวนสายในทอรอยสาย

1

2

3

4

มากกวา 4

สายไฟทุกชนิด ยกเวน สายชนิดมีปลอกตะกั่วหุม

53

31

40

40

40

สายไฟชนิดมีปลอกตะกั่วหุม

55

30

40

38

35

11) ทอที่มีขนาดใหญกวา 15 มิลลิเมตร หากรอยสายชนิดไมมีปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงในทอตองไมนอยกวา 6 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ แตถาเปนสายไฟฟาที่มีปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงตองไมนอยกวา 10 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ สวนทอขนาด 15 มิลลิเมตร หากรอยสายชนิดไมมีปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงในทอตองไมนอยกวา 8 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ ถาเปนสายไฟฟาที่มีปลอกตะกัว่ รัศมีดัดโคงตองไมนอยกวา 12 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ และการดัดโคงตองไมทําใหทอชํารุด 12) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน จึงทําการเดินสาย 13) การเดินสายดวยทอโลหะไปยังบริภัณฑไฟฟา ควรเดินดวยทอโลหะโดยตลอดและตอสายเขาบริภัณฑไฟฟา ดวยโลหะออน หรือใชวิธีอื่นที่เหมาะสม 14) หามใชทอโลหะเปนตัวนําสําหรับตอลงดิน 15) ขนาดกระแสของสายไฟฟา ใหอางอิงตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย 16) ทอรอยสายตองยึดใหมั่นคงดวยอุปกรณจับยึดที่เหมาะสม โดยมีระยะหางระหวางจุดจับยึดไมเกิน 3.0 เมตร และหางจากกลองตอสายหรืออุปกรณตาง ๆ ไมเกิน 0.9 เมตร 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ภาพที่ 1.4 ตัวอยางการจับยึดทอรอยสายไฟฟา 2. ทอโลหะออน

ทอแบบสแควรล็อก (Squarelocked)

ทอแบบอินเทอรล็อก (Interlocked) ภาพที่ 1.5 ตัวอยางทอโลหะออน 1) ลักษณะการใชงาน ควรเปนไปตามที่กําหนด ดังนี้ - สถานที่แหง - สามารถเขาถึงได และปองกันสายจากความเสียหายหรือเพื่อการเดินซอนสาย - ใชสําหรับการเดินเขาบริภัณฑไฟฟา หรือกลองตอสายที่มีความยาวไมเกิน 2 เมตร 2) หามใชทอโลหะออน ในกรณีดังนี้ - ปลองลิฟตหรือปลองขนของ - หองแบตเตอรี่ 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - บริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น - ฝงในดินหรือฝงในคอนกรีต - ในสถานที่เปย ก นอกจากจะใชสายไฟฟาที่เหมาะสมกับการติดตั้ง และตองปองกันไมใ หน้ําเขาไป ในชองรอยสายที่ทอโลหะออนตออยู 3) หามใชทอโลหะที่มีขนาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร ยกเวนทอโลหะที่ประกอบมากับขั้วหลอดไฟและมีความยาว ไมเกิน 1.80 เมตร 4) จํานวนสายไฟฟาสูงสุดในทอตองเปนไปตามที่กําหนด 5) มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายเมื่อรวมกันตองไมเกิน 360 องศา 6) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน ถึงจะทําการเดินสายไฟฟา 7) หามใชทอโลหะออนเปนตัวนําสายตอลงดิน 8) ระยะหางระหวา งอุ ป กรณ จับยึ ด ต องไมเ กิ น 1.50 เมตร และหางจากกลอ งตอ สายหรือ อุป กรณ จั บ ยึด ไมเกิน 0.30 เมตร 9) ขนาดกระแสของสายไฟฟาใหอางอิงตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย 3. ทอพีวีซีหรือทออโลหะแข็ง

ภาพที่ 1.6 ตัวอยางทอพีวีซี 1) อนุญาตใชทออโลหะแข็ง ไดในกรณีดังนี้ - เดินซอนในผนัง พื้นและเพดาน - บริเวณที่ทําใหเกิดการผุก รอ นหรือเกี่ย วของกับสารเคมี ถาทอเดินไดออกแบบไว สําหรับใชง าน ในสภาพดังกลาว - ในที่เปยกชื้นซึ่งมีการปองกันน้ําเขาทอ - ในที่เปดโลงซึ่งไมอาจเกิดความเสียหาย 22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - การติดตั้งใตดินตองเปนไปตามมาตรฐานกําหนด 2) หามใชทออโลหะแข็ง ในกรณีดังนี้ -

ในบริเวณอันตราย นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น

-

ใชเปนเครื่องแขวนหรือจับยึดดวงโคม

-

อุณหภูมิข องสายหรืออุณหภูมิโดยรอบเกินกวาอุณหภูมิข องทอที่ระบุไวใ นโรงมหรสพ นอกจาก จะระบุไวเปนอยางอื่น

3) เมื่อเดินทอเขากลอง ตองจัดใหมีบุชชิ่งหรือมีการปองกันไมใหฉนวนของสายชํารุด 4) หามใชทออโลหะแข็งที่มีขนาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร 5) จํานวนสายไฟฟาสูงสุดในทอแข็งตองเปนไปตามที่มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา สําหรับประเทศไทยกําหนด มุมดัดโคงระหวางจุดดึงสายเมื่อรวมกันตองไมเกิน 360 องศา 6) ตองติดตั้งระบบทอใหเสร็จกอน ถึงจะทําการเดินสายไฟฟา 7) ขนาดกระแสของสายไฟฟาใหอางอิงตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย

ภาพที่ 1.7 ตัวอยางการเดินทอพีวีซี

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว 1. ขอใด กลาวถูกตองเกี่ยวกับขอกําหนดการติดตั้งทอในสถานที่เปยกชื้น ก. อุปกรณประกอบทอตองเปนชนิดที่ทนตอการผุกรอน ข. ขอตอทอตองมีเกลียวยึดทอ ค. อุปกรณประกอบทอตองเปนชนิดที่หนาทนทุกสภาพแวดลอม ง. กลองตอสาย ใชไดทั้งกลองที่เปดออกได และเปดออกไมได 2. มุมดัดโคงของจุดดึงสายรวมกันตองไมเกิน เทาไหร ก. 90 องศา ข. 180 องศา ค. 270 องศา ง. 360 องศา 3. ทอโลหะที่มีขนาดใหญกวา 15 มม. ตองมีรัศมีดัดโคงในทอกี่เทาของเสนผานศูนยกลาง ก. ไมนอยกวา 2 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ ข. ไมนอยกวา 4 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ ค. ไมนอยกวา 6 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ ง. ไมนอยกวา 8 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางทอ 4. หามติดตั้งทอโลหะออนในสถานที่ใด ก. สถานที่แหง ข. สถานที่ที่มีปลองลิฟตหรือปลองขนของ ค. สถานที่ที่ตองการเดินซอนสาย ง. สถานที่ที่ตองการเดินสายเขาบริภัณฑไฟฟา

24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 5. อนุญาตใหใชทออโลหะแข็งได ยกเวนกรณีใด ก. บริเวณพื้นที่เปยกชื้น ข. บริเวณพื้นที่เปดโลง ค. บริเวณพื้นที่เดินซอนในผนัง ง. บริเวณพื้นที่ที่มีสารเคมี

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 1.1 การเดินสายไฟดวยทอรอยสายไฟฟา 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม - เดินสายไฟดวยทอรอยสายไฟฟาชนิดตาง ๆ ไดอยางถูกตองตามขอกําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 6 ชั่วโมง

3. คําชี้แจง ใหผูรับการฝกเดินสายไฟฟาดวยทอโลหะบางและติดตั้งคอนซูเมอรยูนิตตามแบบงานที่กําหนด

แบบงานรางงานจริง

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

การตอวงจรแบบงานสําเร็จ

28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 1.1 การเดินสายไฟดวยทอรอยสายไฟฟา 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงชุด

จํานวน 1 ชุด

2. คัตเตอรปอกสาย

จํานวน 1 อัน

3. คีมชางไฟฟา

จํานวน 1 ตัว

4. ดินสอ

จํานวน 1 แทง

5. เบนเดอรดัดทอ EMT ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

6. เบนเดอรดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 อัน

7. ปากกาจับทอ 8. ฟุตเหล็ก 1 เมตร

จํานวน 1 เครื่อง จํานวน 1 อัน

9. ระดับน้ํา

จํานวน 1 อัน 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 10. รีมเมอร

จํานวน 1 อัน

11. ลวดรอยสายไฟ

จํานวน 1 อัน

12. เลื่อยตัดเหล็กพรอมใบเลื่อย 24 ฟน/นิ้ว

จํานวน 1 ชุด

หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. Strap ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 15 อัน

2. Strap ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 9 อัน

3. คอนซูเมอรยูนิต เซอรกิตเบรกเกอร 32 แอมแปร 4 ชอง

จํานวน 1 แผง

4. คอนเนกเตอร ล็อกนัต และบุชชิ่ง ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 16 ชุด

5. คอนเนกเตอร ล็อกนัต และบุชชิ่ง ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 16 ชุด

6. เคเบิลเกรนด

จํานวน 2 ตัว

7. โคมฟลูออเรสเซนต 1 x 18 วัตต

จํานวน 1 ชุด

8. เซอรกิตเบรกเกอรยอย 16 แอมแปร

จํานวน 3 ตัว

9. เตารับมีขั้วสายดิน

จํานวน 1 ตัว

10. ทอ EMT ขนาด ½ นิ้ว 11. ทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 ทอน จํานวน 1 ทอน

12. ทอ PVC ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 1 ทอน

13. เทปพันสายไฟฟา

จํานวน 1 มวน

14. เพรชเชอรคลิป

จํานวน 6 ตัว

15. ไวรนัท ขนาดกลาง

จํานวน 1 กลอง

16. สกรูเกลียวเหล็ก ขนาด ½ นิ้ว

จํานวน 20 ตัว

17. สแควรบอกซ พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

18. สวิตชทางเดียว

จํานวน 1 ตัว

19. สวิตชสองทาง

จํานวน 2 ตัว

20. สาย VCT 2 x 1.5 ตารางมิลลิเมตร

จํานวน 1 เมตร

21. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีขาว

จํานวน 20 เมตร

22. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีเขียว

จํานวน 10 เมตร

23. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร สีดํา

จํานวน 20 เมตร 30

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 24. หลอดเผาไสพรอมขั้วรับหลอด

จํานวน 1 ชุด

25. หลอดสปอตไลต 500 วัตต พรอมโคม

จํานวน 1 ชุด

26. หัวงูเหา ขนาด ¾ นิ้ว

จํานวน 1 ตัว

27. เอฟเอสซีบอกซ พรอมฝาปด

จํานวน 2 อัน

28. เอฟเอสบอกซ พรอมปด

จํานวน 1 อัน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การเดินสายไฟดวยทอรอยสายไฟฟา ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

1. ดัดทอ EMT แบบ 90 องศา ขนาด ¾ นิ้ว

ดัดทอ EMT ขนาด ¾ นิ้ว

ขอควรระวัง ขณะที่ดัดตองระวัง

แบบ 90 องศา เพื่อตอเขากับ ไมใหทอขยับจนทําให ตู Safety Switch 1 เฟส

ตําแหนงที่ทํา

ระยะตามแบบที่กําหนด

เครื่องหมายไวเคลื่อนไป จากเดิม

2. ดัดทอ EMT แบบ 90 องศา ขนาด ½ นิ้ว

ดั ด ท อ EMT ขนาด ½ นิ้ ว ขณะที่ดัดตองระวัง แบบ 90 องศา เพื่อตอเขากับ ไมใหทอขยับจนทําให แผงย อ ย (คอนซู เ มอร ยู นิ ต) ตําแหนงที่ทํา ระยะตามแบบที่กําหนด 31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

ขอควรระวัง เครื่องหมายไวเคลื่อนไป จากเดิม

3. ดัดทอ EMT แบบ 90 องศา ขนาด ½ นิ้ว

ดั ด ท อ EMT ขนาด ½ นิ้ ว ขณะที่ดัดตองระวัง แบบ 90 องศา เพื่อตอเขากับ ไมใหทอขยับจนทําให ดวงโคมฟู อ อเรสเซนต (L2) ตําแหนงที่ทํา และกลองตอสาย ระยะตาม เครื่องหมายไวเคลื่อนไป แบบที่กําหนด

32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

จากเดิม


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

4. ดัดทอ EMT แบบ 90 องศา ขนาด ½ นิ้ว

ขอควรระวัง

ดั ด ท อ EMT ขนาด ½ นิ้ ว ขณะที่ดัดตองระวัง แบบ 90 องศา เพื่อตอเขากับ ไมใหทอขยับจนทําให หลอดเผาไส (L3) และกลอง ตําแหนงที่ทํา ต อ สาย ระย ะตามแบบที่ เครื่องหมายไวเคลื่อนไป กําหนด

5. ยึดอุปกรณประกอบทอ

จากเดิม

ใชสวานเจาะรูเพื่อยึดอุปกรณ ควรยึดอุปกรณ ประกอบทอเขาแผงฝก ระยะ ประกอบทอใหแนนหนา ตามแบบที่กําหนด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

6. ติดตั้งทอเขาอุปกรณประกอบทอ

ติดตั้งทอ EMT และทอ PVC เข า กั บ อุ ป กรณ ป ระกอบทอ ใ ห เ รี ย บ ร อ ย ต า ม แ บ บ ที่ กําหนด

7. ติดตั้ง Clamp ขนาด ¾ นิ้ว

ยึดทอดวย Clamp ขนาด ¾ นิ้ ว ตามแบบที่ กํ า หนด คื อ ตั้ ง แต หั ว งู เ ห า ถึ ง ตู Safety Switch พ ร อ ม ต ร ว จ ส อ บ ความเที่ยงตรงดวยระดับน้ํา

34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

8. ติดตั้ง Clamp ขนาด ½ นิ้ว

ยึดทอดวย Clamp ขนาด ½ นิ้ ว ตามแบบที่กําหนดพร อ ม ตรวจสอบความเที่ยงตรงด วย ระดับน้ํา

9. รอยสายไฟฟา

ใช ฟ ช เทปร อ ยสายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิ เ มตร เข า ไปในท อ ตาม แ บบที่ กําหนด

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

10. ตอวงจร 3 วงจรยอย

ตอวงจรออกเปน 3 วงจรยอย ดังนี้ - CB1 อุปกรณปองกัน วงจร ยอยหลอด L1 - CB2 อุปกรณปองกัน วงจร ยอยหลอด L2 และ L3 - CB3 อุปกรณปองกัน วงจร ยอยเตารับมีขั้วสายดิน P1

11. การติดตั้งอุปกรณประกอบทอ

ติดตั้งอุปกรณประกอบทอให เรียบรอย ตามแบบที่กําหนด

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

12. ติดตั้งเพรสเชอรคลิป

ติ ด ตั้ ง ส ว นปลายของเพรส เชอร ค ลิ ป ไว กั บ ผนั ง แผงฝก ระยะตามแบบที่กําหนด

13. เดินสายไฟ VCT

เดินสายไฟ VCT และใช สวนหัวลอกเขากับสวนปลาย ของเพรสเชอรคลิป ระยะ ตามแบบที่กําหนด

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

14. ตรวจสอบการติดตั้ง

ขอควรระวัง

ตรวจสอบความเรียบรอยของ การติดตั้ง ตามแบบที่กํ าหนด ดังตอไปนี้ 1.ระยะการติด ตั้งและความ แข็งแรงของอุปกรณ 2.ตรวจสอบความถูกตอ งของ วงจรไฟฟา

15. ทดสอบความเปนฉนวน

ใช มั ล ติ มิ เตอร ท ดสอบความ ปลายสายอีกดานของ เปนฉนวนระหวางสายไฟฟา L หรือ N ตองไมเชื่อมตอ กับทอหรือกลองตอสายดังนี้ กับอุปกรณใด ๆ - กรณีที่ 1 วั ด สาย มี ไ ฟ L - กราวด Ground จะต อ งมี ค า ความต า นทาน เปน 0 - กรณีที่ 2 วัดสายมีไฟ L - นิวทรัล (N) จะต อ งมี ค า ความต า นทาน เปน 0

38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย

16. จายไฟเขาวงจร

จายไฟเขาวงจรและทดสอบ การทํางานของอุปกรณ ไฟฟา ตามแบบ

39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การดัดทอ และติดตั้งทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การรอยสายไฟฟา และการเดินสายไฟ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 การตอวงจร 3 วงจรยอย

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.6 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.7 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบใหคะแนนการตรวจสอบ ลําดับที่ 1

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

การปฏิบัติงาน 1.1 การดัดทอ และติดตั้งทอ

คะแนนเต็ม 30

- ดัดทอ และติดตั้งทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ดัดทอ และติดตั้งทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.2 การติดตั้งอุปกรณประกอบทอ

- ติดตั้งอุปกรณประกอบทอถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

5

ใหคะแนน 5 คะแนน - ติดตั้งอุปกรณประกอบทอไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.3 การรอยสายไฟฟา และการเดินสายไฟ

- รอยสายไฟฟา และการเดินสายไฟถูกตอง

5

ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - รอยสายไฟฟา และการเดินสายไฟไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.4 ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอ

- ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอถูกตอง

5

ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบความเปนฉนวนสายไฟฟากับทอไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.5 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

- ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรถูกตอง

5

ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน 1.6 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

- ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน

5

- ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน 2

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

5 - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

1

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน

41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

1

คะแนนที่ได


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ลําดับที่

รายการประเมิน

เกณฑการใหคะแนน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 1 คะแนน

ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน

- ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง ใหคะแนน 0 คะแนน คะแนนเต็ม

คะแนนเต็ม

คะแนนที่ได

1 35

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 25 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2

0921522102 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยรางเดินสายไฟฟา และการรอยสายไฟฟาเขาชองเดินสายไฟฟา (ใบเตรียมการสอน) 1. ผลลัพธการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟาได อธิบายวิธีเดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาได เดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด เดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด

2. หัวขอสําคัญ 1. รางโลหะและรางพีวีซี 2. การรอยสายเขาในชองเดินสายไฟฟา

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2. วัสดุและอุปกรณประกอบการจัดฝกอบตอผูรับการฝก 1 คน 2.1 วัสดุ 1) ของอราบ จํานวน 3 อัน 2) ขอตอตรง จํานวน 1 อัน 3) เข็มขัดรัดสายไฟฟา จํานวน 1 กลอง 4) เซอรกิตเบรกเกอร จํานวน 1 ตัว 5) เตารับมีขั้วสายดิน จํานวน 1 ตัว 6) เทปพันสายไฟฟา จํานวน 1 มวน 7) ปดทาย จํานวน 1 อัน 8) ราง Wire Way พลาสติก กวาง 25 มิลลิเมตร สูง 12 มิลลิเมตร จํานวน 2 เสน 9) เศษผาสะอาด จํานวน 1 ผืน 10) สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร จํานวน 1 มวน 11) อแดปเตอร จํานวน 3 อัน 2.2 เครื่องมือและอุปกรณ 1) ไขควงชุด 2) ไขควงเช็คไฟ 3) คัตเตอรปอกสาย 4) คีมชางไฟฟา 5) คีมตัดราง 6) ตะไบหางหนู 7) มัลติมิเตอร 8) ระดับน้ํา

จํานวน 1 ชุด จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 อัน

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก 4. การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ครูฝกชี้แจงลําดับการปฏิบัติงานตามใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5. ครูฝกใหผูรับการฝกทําการฝก โดยครูฝกตองคอยสอบถาม ชี้แนะ และใหคําแนะนําเมื่อผูรับการฝกมีขอสงสัย 6. ครูฝกตรวจผลงานตามแบบประเมินผลใบงาน พรอมวิเคราะหผลงานรวมกับผูรับการฝกและแนะนําวิธีแกไข 7. ครูฝกแนะนําผูรับการฝกที่คะแนนผลงานผานเกณฑรอยละ 70 ใหทดสอบเพื่อจบโมดูลที่ฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก 3. ครูฝกประเมินผลภาคปฏิบัติจากการตรวจประเมินผลงานของผูรับการฝกโดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนด ในเอกสารโครงรางหลักสูตร จึงจะมีสิทธิ์เขารับการฝกในโมดูลถัดไปได หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได

7. บรรณานุกรม กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย. 2551. มาตรฐานงานเดินสายไฟฟาทั่ว ไป. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.dpt.go.th/sesb/images/stories/pdf/standard/10.pdf เตชา อัศวสิทธิถาวร และจาตุรงค แตงเขียว. 2554. การติดตั้งไฟฟา 1. พิมพครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ซีแอนดเอ็นบุค. ธวัชชัย จารุจิตร. 2552. การติดตั้งไฟฟาในอาคารและโรงงาน. พิมพครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพวังอักษร.

45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาดวยรางเดินสายไฟฟา และการรอยสายไฟฟาเขาชองเดินสายไฟฟา การเดินสายไฟในราง นิยมใชในกรณีที่มีการเดินสายจํานวนมาก เนื่องจากประหยัดและสวยงามกวาการใชทอขนาดใหญ หรือทอจํานวนหลายเสนติดตั้ง โดยทั่วไปนิย มใชใ นการเดินสายไฟฟาในงานอุตสาหกรรม ใชไดทั้งระบบไฟฟาแรงดันสูง ปานกลางและแรงดันต่ํา ทั้งนี้ ตามมาตรฐานการติด ตั้ง ทางไฟฟาสํา หรับ ประเทศไทย ระบุขอกําหนดการเดิ นสายไฟฟา ดวยรางเดินสายไฟฟา และการรอยสายไฟฟาเขาชองเดินสายไฟฟาไวดังตอไปนี้ 1. รางโลหะและรางพีวีซี

ภาพที่ 2.1 แสดงตัวอยางรางเดินสายไฟฟา สามารถใชรางเดินสายไดเฉพาะการติดตั้งในที่เปดโลง เพื่อเขาถึงตอการตรวจสอบและบํารุงไดตลอดของรางเดิ นสาย หามเดินในฝาเพดาน ถาติดตั้งภายนอกอาคารตองเปนชนิดกันฝน และตองแข็งแรงพอที่จะไมเสีย รูปภายหลังการติดตั้ง และตองเปนไปตามที่กําหนด ดังนี้ 1.1 หามใชรางเดินสายในบริเวณที่อาจเกิดความเสียหาย นอกจากจะระบุไวเปนอยางอื่น 1.2 พื้นที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทั้งหมดเมื่อรวมกันตองไมเกินรอยละ 20 ของหนาตัดภายในรางเดินสาย 1.2.1 ขนาดกระแสของสายในรางเดินสาย ใหอางอิงตามมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย 1.2.2 สายไฟแกนเดี่ยวของวงจรเดียวกันรวมทั้งสายดิน ตองวางเปนกลุมและมัดรวมกัน 1.2.3 รางเดินสายตองยึดอยางมั่นคงแข็งแรงทุกระยะไมเกิน 1.50 เมตร แตตองยอมใหจุดจับยึดหางมากกวา 1.50 เมตร ไดในกรณีจําเปนแตตองไมเกิน 3.00 เมตร 1.2.4 รางเดินสายในแนวดิ่งตองจับยึดอยางมั่นคงแข็งแรงทุกระยะไมเกิน 4.50 เมตร หามมีจุดตอเกิน 1 จุด ในแตละระยะจุดจับตองหางจากปลายรางเดินสายไมเกิน 1.50 เมตร

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 1.2.5 หามติดตั้งหรือใชรางเดินสายในกรณี ดังนี้ 1) ตอรางเดินสายตรงจุดที่ผานผนังหรือพื้น 2) เปนตัวนําสําหรับตอลงดิน 3) ขนาดเกิน 150 x 300 มิลลิเมตร 1.2.6 อนุญ าตใหตอ สายในสวนที ่ส ามารถเปด ออกและเข า ถึง ไดส ะดวก สว นพื้น ที่ห นา ตั ด ของตัว นํ า และฉนวนรวมทั้งหัวตอสายรวมกัน ตองไมเกิ นรอยละ 75 ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดิน สาย ณ จุดรวมสาย 1.2.7 ในรางสายตรงตํา แหนง ที่ตอ งการดัด งอ เชน ปลายสายตํา แหนง ที่ม ีทอ รอ ยสายเขา - ออกราง ตองใหมีที่วางสําหรับดัด งอสายอยางเพียงพอ และปองกันไมใหสวนมีคมบาดสาย 1.2.8 การเดินสายในแนวดิ่งตองมีการจับยึดสายเปนชวง ๆ 1.2.9 จุดปลายรางเดินสายตองปด

ภาพที่ 2.2 ตัวอยางการเดินสายไฟฟาในราง 2. การรอยสายเขาในชองเดินสายไฟฟา ชอ งเดิน สาย เปน อุป กรณที่มีลัก ษณะเปน ทอกลม หรือ ชอ งสี่เหลี่ย มผิว ในเรีย บใชใ นการเดิน สายไฟฟาโดยเฉพาะ เชน ทอรอยสายไฟที่เปนโลหะ ทออโลหะ และรางเดินสาย รวมถึงทอรอยสายไฟแบบออน อีกทั้งเคเบิลบัส และทางเดินบัส โดยขอกําหนดการรอยสายเขาในชองเดินสายไฟฟา มีดังตอไปนี้ - ตองติดตั้งชองเดินสายไฟฟาใหแลวเสร็จกอนจะรอยสายไฟฟา นอกจากที่เปนชองเดินสายไฟฟาแบบมีฝาเปดได - หามรอยสายไฟฟ า ในท อ ร อยสายไฟฟ า เวนแต จ ะมี ก ารป อ งกั น ทางกายภาพจากสภาพอากาศ และ งานทางกลตาง ๆ ซึ่งอาจทําความเสียหายแกสายไฟฟาได 47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 - หากมีการใชลวดดึงสาย ใหทําการติดตั้งทอรอยสายไฟฟาแลวจึงรอยลวดดึงสาย - กอนรอยสายไฟฟา ตองทําความสะอาดชองเดินสายไฟฟาและสายไฟฟา ดวยวัสดุที่ไมเปนอันตรายตอ ชองเดินสายไฟฟา และสายไฟฟา - ขณะรอยสายไฟฟา ตองใชวัสดุหลอลื่นที่ไมเปนอันตรายตอชองเดินสายไฟฟาและสายไฟฟา 2.1 ขอกําหนดการเดินสายในชองเดินสายโลหะแบบติดพื้นผิว 2.1.1 ใชกับงานในสถานที่แหง โดยหามใชกับสถานที่หรือลักษณะการใชงาน ดังตอไปนี้ 1) สถานที่ที่อาจกอใหเกิดความเสียหายทางกายภาพ 2) ในระบบไฟฟาแรงสูง 3) ในบริเวณที่มีไอหรือละลองจากสารเคมีที่สามารถทําใหเกิดการผุกรอน 4) ในปลองลิฟทหรือปลองขนของ 5) บนพื้นผิวที่ไมมั่นคง 6) ในจุดที่หลบซอน ทําใหไมสามารถสามารถบํารุงซอมแซมได 2.1.2 ชนิด ขนาด และจํานวนของสายไฟฟาที่จะเดินในชองเดินสาย เปนไปตามที่ผูผลิตกําหนดไว โดยขนาดกระแส ของสายในชองเดินสาย ตองเปนไปตามตารางที่มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทยกํ าหนด ทั้งนี้ ไมตองใชตัวคูณลดเรื่องจํานวนสาย ถาเปนไปตามขอกําหนดดังตอไปนี้ทั้งหมด 1) พื้นที่หนาตัดของชองเดินสายมากกวา 2,580 ตารางมิลลิเมตร (4 ตารางนิ้ว) 2) จํานวนสายไฟฟาที่มีกระแสไหลในชองเดินสาย ตองไมเกิน 30 เสน 3) พื้นที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทุกเสนในชองเดินสาย รวมกันไมเกินรอยละ 20 ของพื้นที่หนาตัด ภายในชองเดินสาย 2.1.3 การติดตั้งตองปฏิบัติตามขอกําหนดตอไปนี้ 1) การตอสาย ใหทําในกลองตอสายหรือภายในชองเดินสายที่เปดออกได และเขาถึงไดหลังติดตั้ งแลว พื้นที่หนาตัดของสายรวมทั้งหัวตอสายรวมกันแลวตองไมเกินรอยละ 75 ของพื้นที่หนาตัดภายใน บริเวณจุดตอสาย 2) หามตอชองเดินสายตรงจุดที่ทะลุผานผนังหรือพื้น 3) หามดัดโคงชองเดินสาย 4) ภายในชองเดินสายผิวตองเรียบ ไมมีสวนคมที่อาจบาดสายได 5) จุดปลายทางของชองเดินสายตองปด 6) หามใชชองเดินสายเปนตัวนําแทนสายดิน 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 7) การติดตั้ง ชอ งเดิ น สาย ของอ ขอตอ และเครื่องประกอบ ตองออกแบบใหชิ้ นสว นต าง ๆ มีความตอเนื่องกันทั้งทางกลและทางไฟฟา และตองไมทําใหสายภายในชองเดินสายชํารุด 2.2 ขอกําหนดการเดินสายในชองเดินสายอโลหะแบบติดพื้นผิว

ภาพที่ 2.3 ตัวอยางการเดินสายไฟฟาดวยรางอโลหะ 2.2.1 คุณ สมบัติข องชอ งเดิน สายอโลหะแบบติด พื้น ผิว ตอ งทํา ดว ยวัส ดุท นความชื้น ทนบรรยากาศที่มี สารเคมี ไมติดไฟ ทนแรงกระแทก ไมบิดเบี้ยวจากความรอนในสภาวะการใชงาน และสามารถใช ง าน ในที่อุณหภูมิต่ําได 2.2.2 ใชกับงานในสถานที่แหง โดยหามใชชองเดินสายอโลหะแบบติดพื้นผิวในสถานที่ตอไปนี้ 1) บนพื้นผิวที่ไมมั่นคง 2) ในจุดที่หลบซอน ทําใหไมสามารถสามารถบํารุงซอมแซมได 3) ในที่ซึ่งอาจไดรับความเสียหายทางกายภาพ 4) ในระบบไฟฟาแรงสูง 5) ในปลองลิฟทหรือปลองขนของ 6) ในที่มีอุณหภูมิโดยรอบตั้งแต 50 องศาเซลเซียสขึน้ ไป 7) ใชกับสายหุมที่มีอุณหภูมิใชงานเกิน 70 องศาเซลเซียส 2.2.3 ชนิด ขนาด และจํานวนของสายไฟฟาที่จะเดินในชองเดินสาย เปนไปตามที่ผูผลิตกําหนดไว

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 2.2.4 การติดตั้ง ตองปฏิบัติตามขอกําหนดตอไปนี้ 1) การตอสาย ใหทําในกลองตอสายหรือภายในชองเดินสายที่เปดออกได และเขาถึงไดหลังติดตั้ งแลว พื้นที่หนาตัดของสายรวมทั้ งหัว ตอ สายรวมกั นแล วต องไม เกิ น รอยละ 75 ของพื้นที่หนาตัด ภายในบริเวณจุดตอสาย 2) หามตอชองเดินสายตรงจุดที่ทะลุผานผนังหรือพื้น 3) จุดปลายทางของชองเดินสายตองปด

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรับการฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. พื้นที่หนาตัดของตัวนําและฉนวนทั้งหมดรวมกัน จะตองไมเกินรอยละเทาใด ก. ไมเกิ น ร อยละ 5 ของหน าตัด ภายในรางเดินสาย ข. ไมเกิ น ร อยละ 10 ของหนา ตั ดภายในรางเดินสาย ค. ไมเกิ น ร อยละ 15 ของหนา ตั ดภายในรางเดินสาย ง. ไมเกิ น ร อยละ 20 ของหนา ตั ดภายในรางเดินสาย 2. ขอใด ไมใชขอหามการติดตั้งหรือใชรางเดินสาย ก. ตอสายในสวนที่สามารถเปดออกและเขาถึงได ข. มีขนาดเกิน 150 x 300 มิลลิเมตร ค. เปนตัวนําสําหรับตอลงดิน ง. ตอรางเดินสายตรงจุดที่ผานผนังหรือพื้น 3. ขอใด ไมใชคุณสมบัติของชองเดินสายอโลหะแบบติดพื้นผิว ก. วัสดุทนความชื้นได ข. วัสดุทนตออุณหภูมิสูงได ค. ทนบรรยากาศที่มีสารเคมีได ง. ทนแรงกระแทกได 4. สายไฟฟาที่มีกระแสไหลในชองเดินสาย ตองมีจํานวนไมเกินกี่เสน ก. ไมเกิน 30 เสน ข. ไมเกิน 40 เสน ค. ไมเกิน 50 เสน ง. ไมเกิน 60 เสน

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 5. หามใชชองเดินสายอโลหะ ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิโดยรอบกี่องศาเซลเซียส ก. ตั้งแต 30 องศาเซลเซียสขึ้นไป แตไมเกิน 40 องศาเซลเซียส ข. ตั้งแต 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป แตไมเกิน 50 องศาเซลเซียส ค. ตั้งแต 50 องศาเซลเซียสขึ้นไป ง. 40 องศาเซลเซียส

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5

53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบงาน ใบงานที่ 2.1 การเดินสายไฟฟาในรางเดินสาย 1. วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม 1. เดินสายไฟฟาในชองเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด 2. เดินสายไฟฟาในรางเดินสายไฟฟาไดอยางถูกตองตามขอกําหนด

2. ระยะเวลาการฝกปฏิบตั ิงาน - ระยะเวลาการฝกปฏิบัติงานรวม 6 ชั่วโมง

3. คําชีแ้ จง ใหผูรับการฝกเดินสายไฟฟาในชองเดินสายและรางเดินสายแบบงานที่กําหนด

แบบงานรางงานจริง

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบขั้นตอนการปฏิบัติงาน ใบขั้นตอนการปฏิบตั ิงานที่ 2.1 การเดินสายไฟฟาในชองเดินสายและรางเดินสาย 1. การเตรียมการ 1.1 การเตรียมอุปกรณปองกันสวนบุคคล สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลกอนเริ่มปฏิบัติงาน ไดแก - ถุงมือผา - แวนตานิรภัย - รองเทานิรภัย - หมวกนิรภัย - ชุดปฏิบัติงานชาง 1.2 รับฟงคําสั่งจากครูฝก พรอมรับใบงาน 1.3 การเตรียมสถานที่ 1. ตรวจสอบสภาพพื้น ที่ปฏิบัติงาน ไมใ หม ีอุปกรณอื่น ๆ ที่ไ มเกี่ย วของ หรือ วัสดุอันตราย เชน สายไฟฟา วางกีดขวางอยู 2. ดูแลไมใหบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขามาในบริเวณปฏิบัติงาน 3. เตรียมชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน ในกรณีเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน 4. รับทราบจุดที่ตั้งของอุปกรณชวยเหลือในกรณีฉุกเฉินตาง ๆ รวมถึงวิธีการใชอุปกรณเหลานั้น 1.4 การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณตอผูรับการฝก 1 คน 1. ไขควงชุด จํานวน 1 ชุด 2. ไขควงเช็คไฟ จํานวน 1 อัน 3. คัตเตอรปอกสาย จํานวน 1 อัน 4. คีมชางไฟฟา จํานวน 1 ตัว 5. คีมตัดราง จํานวน 1 อัน 6. ตะไบหางหนู จํานวน 1 อัน 7. มัลติมิเตอร จํานวน 1 ตัว 8. ระดับน้ํา จํานวน 1 อัน หมายเหตุ ตรวจสอบเครื่องมือวามีสภาพพรอมใชงานหรือไม หากพบวาเครื่องมือชิ้นใดชํารุด ใหรายงานครูฝกใหทราบ

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 1.5 การเตรียมวัสดุตอผูรับการฝก 1 คน 1. ของอราบ 2. ขอตอตรง 3. เข็มขัดรัดสายไฟฟา 4. เซอรกิตเบรกเกอร 5. เตารับมีขั้วสายดิน 6. เทปพันสายไฟฟา 7. ปดทาย 8. ราง Wire Way พลาสติก กวาง 25 มิลลิเมตร สูง 12 มิลลิเมตร 9. เศษผาสะอาด 10. สายไฟฟา THW 1.5 ตารางมิลลิเมตร 11. อแดปเตอร

จํานวน 3 อัน จํานวน 1 อัน จํานวน 1 กลอง จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 ตัว จํานวน 1 มวน จํานวน 1 อัน จํานวน 2 เสน จํานวน 1 ผืน จํานวน 1 มวน จํานวน 3 อัน

2. ลําดับการปฏิบตั ิงาน การเดินสายไฟฟาในชองเดินสายและรางเดินสาย ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนด

คําอธิบาย ติดตั้งรางเขาแผงฝกตามแบบที่ กําหนดใหเรียบรอย

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 2. ยึดอุปกรณประกอบราง

คําอธิบาย ยึดอุปกรณประกอบรางเขาราง - ของอราบ - ขอตอตรง - อแดปเตอรของเตารับ - ฝาปดทายราง โดยมี ร ะยะยึ ด ของอุ ป ก รณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

3. เดินสายไฟฟาเขาราง

เดิ น สายไฟ THW ขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร เขาไปในราง ระยะตามแบบที่กําหนด

4. ทดสอบความเปนฉนวน

ใช มั ล ติ มิ เ ตอร ท ดสอบความ เปนฉนวนของสายไฟฟา ดังนี้ - กรณีที่ 1 วัดสายมีไฟ L - กราวด Ground จะตองมีคาความตานทานเปน 0 - กรณีที่ 2 57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง

ปลายสายอีกดาน ของ L หรือ N ตอง ไมเชื่อมตอกับอุปกรณ ใด ๆ


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 ขั้นตอนการปฏิบัติงาน

คําอธิบาย วัดสายมีไฟ L- นิวทรัล (N) จะตองมีคาความตานทานเปน 0

5. ปดฝาครอบรางและอุปกรณประกอบราง

ปดฝาครอบรางและอุปกรณ ประกอบราง - ปดฝาครอบราง - ป ดฝาครอบอเดปเตอร ข อง เตารับ โดยมีระยะติดตั้งของอุ ป กรณ ดังกลาวตามแบบที่กําหนด

6. จายไฟเขาวงจร

จ า ยไฟเข า วงจรและทดสอบ การทํางานของอุ ปกรณ ไ ฟฟ า ตามแบบ

58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ขอควรระวัง


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

3. ตรวจสอบชิน้ งาน ตรวจสอบชิ้นงานและบันทึกขอบกพรองตอไปนี้ พรอมระบุขนาด ลําดับที่ 1

2

รายการตรวจสอบ

เกณฑการพิจารณา

การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งรางตามแบบที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.2 การยึดอุปกรณประกอบราง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.3 การเดินสายไฟฟาเขาราง

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.4 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

1.5 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด

ความถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณอยางถูกตองและครบถวน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลถูกตองและครบถวน ความถูกตองตามวิธีการใชงาน 2.3 ปฏิบัติตามลําดับขั้นตอนการทํางาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.4 ความปลอดภัยระหวางการปฏิบัติงาน

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทําความสะอาดพื้นที่

ความถูกตองตามวิธีการใชงาน

ปฏิบัติงาน

59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

ใบบันทึกผลการตรวจสอบ ลําดับที่ รายการประเมิน 1 การปฏิบัติงาน 1.1 การติดตั้งรางตามแบบที่กํ าหนด

1.2 การยึดอุ ปกรณประกอบราง

1.3 การเดินสายไฟฟา

1.4 ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจร

1.5 ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด 2

เกณฑการใหคะแนน - ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนดถูกตองตามวิธีการปฏิ บัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ติดตั้งรางตามแบบที่กําหนดไมถูกตองตามวิธีก ารปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ยึดอุปกรณประกอบรางถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ยึดอุปกรณประกอบรางไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - เดินสายไฟฟาถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - เดินสายไฟฟาไมถูกตองตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 5 คะแนน - ทดสอบวงจร และความปลอดภัยของวงจรไมถูกตอง ตามวิธีการปฏิบัติงาน ใหคะแนน 0 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 5 คะแนน - ระยะหางการติดตั้งไมตรงตามที่กําหนด ใหคะแนน 0 คะแนน

กิจนิสัย 2.1 เตรียมเครื่องมื อและอุ ปกรณ

- ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.2 สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.3 ปฏิบัติต ามลํ าดับขั้นตอนการทํางาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.4 ความปลอดภัยระหว างการปฏิ บัติงาน - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง 2.5 การเก็บเครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ และทํ า - ปฏิบัติไดครบถวน และถูกตอง ความสะอาดพื้นที่ ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติไมครบถวน และถูกตอง คะแนนเต็ม

ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน ใหคะแนน 1 คะแนน ใหคะแนน 0 คะแนน

คะแนนเต็ม 25 5

คะแนนที่ได

5

5

5

5 5 1 1 1 1 1 30

หมายเหตุ หากผูเขารับการฝกไดรับคะแนน 21 คะแนนขึ้นไป (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ใหผูเขารับการฝก ขอเขารับการทดสอบภาคปฏิบัติได

60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10

คณะผูจ ดั ทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

2. นางถวิล

เพิ่มเพียรสิน

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

3. นายธวัช 4. นายสุรพล

เบญจาทิกุล พลอยสุข

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝกและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา

ศิริรัตน

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก

7. นายวัชรพงษ

มุขเชิด

ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สุนทรกนกพงศ

ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี

ประชารัตน

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

8. นายธเนศ

วงควัฒนานุรักษ

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

9. นายณัฐวุฒิ

เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค

หอสุขสิริ

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งไฟฟ า อุ ต สาหกรรม ระดั บ 3 โมดู ลการฝ ก ที่ 10 นายสวัสดิ์

บุญเถื่อน

แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร

11.

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.