คู่มือครูฝึก ช่างเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 1

Page 1



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คูมือครูฝก 0920162070803 สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

ชุดการฝกตามความสามารถ (CBT)

โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัตงิ าน และความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด

กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คํา นํา

คูมือครูฝกสาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 โมดูล 1 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน และความปลอดภัยในการเชื่อม และตัดฉบับนี้ เปนสวนหนึ่งของหลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ (Competency Based Training : CBT) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อใชเปนเอกสารประกอบการจัดการฝกอบรมกับชุดการฝกตามความสามารถ โดยไดดําเนินการภายใตโครงการ พั ฒ นาระบบฝก และชุ ด การฝ ก ตามความสามารถเพื่ อ การพั ฒ นาฝมื อ แรงงาน ด ว ยระบบการฝ ก ตามความสามารถ (Competency Based Workforce Skill Training System) พ.ศ. 2560 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหครูฝกไดใชเปนเครื่องมือ ในการบริหารจัดการการฝกอบรมใหเปนไปตามหลักสูตร กลาวคือ อบรมผูรับการฝกใหส ามารถนําความรู เ กี่ยวกับ ความ ปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัดไปใชไดอยางถูกตอง และติดตามความกาวหนา ของผูรับการฝกอบรม ในดานความสามารถหรือสมรรถนะใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด ระบบการฝกอบรมตามความสามารถเปนระบบการฝกอบรมที่สงเสริมใหผูรับการฝกอบรมสามารถฝกฝนเรียนรู ไดตามพื้นฐานความสามารถของตนในเวลาที่มีความสะดวก โดยเนนในเรื่องของการสงมอบการฝกอบรมที่หลากหลาย ไปใหแกผูรับการฝกอบรม และตองการใหผูรับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูดวยตนเอง การฝกปฏิบัติจะดําเนินการในรูปแบบ Learning by Doing และเน นผลลั พ ธ ก ารฝ ก อบรมในการที่ทาํ ใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถในการปฏิบัติงาน ตามที่ตลาดแรงงานตองการ โดยยึดความสามารถของผูรับการฝกเปนหลัก การฝกอบรมในระบบดังกลาว จึงเปนรูปแบบ การฝกอบรมที่สามารถรองรับการพัฒนารายบุคคลไดเปนอยางดี นอกจากนี้ เนื้อหาวิชาในหลักสูตรการฝกตามความสามารถ (Competency Based Curriculum : CBC) ซึ่ ง ไดจ ากการวิเ คราะหงานอาชีพ (Job Analysis) ในแตล ะสาขาอาชีพ จะถูกกําหนดเปนรายการความสามารถหรือสมรรถนะ (Competency) ที่ผูรับการฝกอบรมจําเปนตองใชในการปฏิบัติงาน และสอดคลองกับความตองการของสถานประกอบกิจการและภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผูรับการฝกจะตองเรียนรูและฝกฝน จนกว า จะสามารถปฏิ บั ติ เ องได ตามมาตรฐานที่ กํา หนดในแต ล ะรายการความสามารถ ทั้ ง นี้ การส ง มอบการฝ ก สามารถดําเนินการไดทั้งรูปแบบการเรียนรูผานสื่อสิ่งพิมพ (Paper Based) และผานสื่อคอมพิวเตอร (Computer Based) โดยผูรับการฝกสามารถเรียนรูไดดวยตนเอง (Self-Learning) ที่บานหรือที่ทํางาน และเขารับการฝกภาคปฏิบัติตามความพรอม ตามความสะดวกของตน หรือ ตามแผนการฝก หรือ ตามตารางการนัดหมาย การฝก หรือ ทดสอบประเมินผลความรู ความสามารถกับหนวยฝก โดยมีครูฝกหรือผูสอนคอยใหคําปรึกษา แนะนําและจัดเตรียมการฝกภาคปฏิบัติ รวมถึงจัดเตรียม และดํา เนิ น การทดสอบ ประเมิ น ผลในลั ก ษณะต า ง ๆ อั น จะทํา ให ส ามารถเพิ่ ม จํา นวนผู รั บ การฝ ก ได ม ากยิ่ ง ขึ้ น ชวยประหยัดเวลาในการเดินทาง และประหยัดงบประมาณคาใชจายในการพัฒนาฝมือแรงงานใหแกกําลังแรงงานในระยะยาว จึง ถือ เปนรูป แบบการฝ ก ที่ มี ความสําคั ญ ต อ การพัฒ นาฝมือ แรงงาน ทั้ง ในปจ จุบันและอนาคต ซึ่ง หากมีก ารนําระบบ การฝกอบรมตามความสามารถมาใชในการพัฒนาฝมือแรงงาน จะชวยทําใหประชาชน ผูใชแรงงานผูวางงาน นัก เรียน นักศึกษา และผูประกอบอาชีพอิสระ สามารถเขาถึงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองไดอยางสะดวก และไดรับประโยชน อยางทั่วถึงมากยิ่งขึ้น กรมพัฒนาฝมือแรงงาน ก กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เรื่อง

สารบั ญ

หนา

คํานํา

สารบัญ ขอแนะนําสําหรับครูฝก

ข 1

โมดูลการฝกที่ 1 09207219 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด หัวขอวิชาที่ 1 0920721901 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน หัวขอวิชาที่ 2 0920721902 ความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด

22 53

คณะผูจัดทําโครงการ

72

ข กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน



คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ขอแนะนําสําหรับครูฝก ขอแนะนําสําหรับครูฝก คือ คําอธิบายเกี่ยวกับรายละเอียดของคูมือ และขั้นตอนการเขารับการฝก ซึ่งมีอยูดวยกัน 2 ขอ ดังนี้

1. รายละเอียดของคูมือ 1.1 โมดูลการฝก / หัวขอวิชา หมายถึง โมดูลการฝกที่ครูฝกตองจัดการฝกอบรม โดยภายในโมดูลจะประกอบไปดวย หัวขอ วิชาที่ ผู รั บการฝ กต อ งเรี ยนรูและฝก ฝน ซึ่ง มีร หัสโมดูลและรหัสหัวขอ วิชาเปนตัวกําหนดความสามารถ ที่ตอ งเรียนรู 1.2 ระยะเวลาการฝก หมายถึง จํานวนชั่วโมงในการฝกอบรม เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคของแตละโมดูล 1.3 ระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) หมายถึง ระบบการฝก ที่เกิดจากการนําความรู ทัก ษะ ความสามารถ (Competency) ที่จําเปนสําหรับการทํางานมาเปนฐาน (Based) ของการจัดฝกอบรม หรือนํามากําหนดเปนเนื้อหา (Content) และเกณฑก ารประเมินการฝก อบรม ทําใหผูรับ การฝก อบรมมีความสามารถ (Competency) ตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนด และตามความสามารถในการเรียนรูของผูรับการฝกเปนหลัก 1.4 ชุดการฝก หมายถึง สื่อสิ่งพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส ใชสําหรับเปนอุปกรณชวยฝก โดยแตละโมดูลประกอบดวย คูมือครูฝก คูมือผูรับการฝก คูมือประเมิน สื่อวีดิทัศน 1.5 ระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร (Computer Managed Instruction : CMI) หมายถึง การนําระบบคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใชในการจัดการเรียนรูและฝกอบรม เชน ระบบรับสมัครออนไลน ระบบลงทะเบียน เขารับ การฝก อบรมออนไลน ระบบการฝก อบรมภาคทฤษฎีผานอุป กรณอิเ ล็ก ทรอนิก สห รือ อุปกรณสื่อ สาร แบบพกพา การทดสอบออนไลน การบันทึกผลการฝกอัตโนมัติ และการออกใบวุฒิบัตรอิเล็กทรอนิกส เปนตน โดยการเขาใชง านระบบ แบง สวนการใชง านตามความรับ ผิดชอบของผูมีสวนไดสวนเสียดัง ภาพในหนาที่ 2 ซึ่งสามารถศึกษารายละเอียดการใชงานไดจากลิงคดังตอไปนี้ - ผูดูแลระบบ mlearning.dsd.go.th/download/files/admin.pdf - ผูพัฒนาบทเรียน mlearning.dsd.go.th/download/files/content.pdf - ครูฝก mlearning.dsd.go.th/download/files/teacher.pdf

1 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. วิธีการใชงานระบบการฝกตามความสามารถ (CBT) ก. ผังการจัดเตรียมขอมูลลงระบบ

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรสรางหลักสูตรลงในระบบ DSD Data Center ของกรมพัฒนาฝมือแรงงานโดยใส ขอมูลรหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรระบุชื่อหลักสูตร รายชื่อโมดูล และหัวขอวิชา สรางบทเรียน ไฟลงาน และขอสอบ นําเขาสูระบบตามหลักสูตรที่สรางไวผานระบบ CMI

3 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ข. ผังการเปดรับสมัคร และคัดเลือกผูรับการฝก

4 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรวางแผนหลักสูตรที่ตองการเปดฝก และเปดการฝกอบรมผานระบบ CMI 2. ผูดูแลระบบหรือผูพัฒนาหลักสูตรประกาศขาวรับสมัครฝกอบรมตามหลักสูตรที่มีในระบบผานเว็บไซต 3. ผูที่สนใจเขารับการฝกพิจารณาหลักสูตรตามพื้นฐานความสามารถ 3.1 ถาไมทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถประเมินพื้นฐานความรูความสามารถแบบ ออนไลนได 3.2 ถาทราบพื้นฐานความสามารถ ผูที่สนใจเขารับการฝกสามารถลงทะเบียนเพื่อเปนผูรับการฝกไดทันที 4. การลงทะเบียน มี 2 ชองทาง ดังนี้ 4.1 การลงทะเบียนแบบออนไลน ใหผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนผานเว็บไซต โดยกรอกประวัติ เลือก หลักสูตร พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 4.2 การลงทะเบียนแบบออฟไลน ผูที่สนใจเขารับการฝกลงทะเบียนที่ศูนยฝก โดยการเลือกหลักสูตร กรอก ประวัติ พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการสมัคร 5. การประเมินพื้นฐานความรู 5.1 ผูที่สนใจเขารับการฝกที่ลงทะเบียนแบบออนไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน เว็บไซต โดยระบบจะตรวจผลการประเมินแลวบันทึกไวในระบบ ใหครูฝกใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ ผูสมัคร 5.2 ผูที่สนใจเขารับการฝกทีล่ งทะเบียนแบบออฟไลน ประเมินพื้นฐานความรูความสามารถประจําหลักสูตรผาน กระดาษ โดยครูฝกจะตรวจผลการประเมินเพื่อใชประกอบในการตรวจสอบสิทธิ์ผูสมัคร 6. ครูฝกตรวจสอบสิทธิ์ผานระบบ หรือจากเอกสารที่ไดรบั จากผูทสี่ นใจเขารับการฝกตามเงื่อนไขมาตรฐานของกรม พัฒนาฝมือแรงงาน 7. ถาขอมูลไมเพียงพอ ครูฝกเรียกผูส มัครเพื่อสัมภาษณ หรือขอเอกสารเพิ่มเติม 8. ครูฝกคัดเลือกผูส มัครฝกผานระบบ หรือคัดเลือกจากเอกสารหรือผลการประเมินที่ไดรบั 9. เจาหนาที่ประกาศผลการคัดเลือกเปนผูรับการฝกผานเว็บไซตและที่ศูนยฝก

5 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ค. ผังการฝกอบรม

6 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. การฝกอบรม 1.1 ครูฝก ทําความเขาใจการฝกอบรมในระบบ CBT ซึ่งสามารถสงมอบการฝกอบรมใหแกผรู ับการฝกได 3 รูปแบบ คือ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) โดยในแตละรูปแบบจะมีรายละเอียดแตกตางกัน ดังนี้ 1.1.1 การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) คือ การฝก อบรมที่ผูรับ การฝก เรียนรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) ดวยตนเอง โดยครูฝก เปนผูสงมอบ คูมือ ผูรับการฝก ที่พิมพจากสื่ออิเล็ก ทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) แกผูรับการฝก และฝก ภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี - ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง โดยใชคูมือผูรับการฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) ที่ครูฝกสงมอบให การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมี สิ ท ธิ์ ขอเขารับ การฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือ เขารับ การฝก ในโมดูล ถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก

7 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบประเมินชิ้นงาน เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.2 การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม (Offline) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีจากครูฝก และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม การฝกภาคทฤษฎี ­ ครูฝกใชคูมือครูฝกที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) และวีดิทัศน (DVD) เปนสื่อชวยในการฝก ภาคทฤษฎี โดยส ง มอบคูมือ ผูรับการฝก แกผูรับการฝก ที่ศูนยฝก อบรม และฝก ภาคปฏิบัติ ที่ ศูนย ฝ ก อบรม การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ครูฝก มอบหมายใหผูรับ การฝก ทําแบบทดสอบกอ นฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ ของคูมือการประเมินที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในกระดาษคําตอบ แลวสงกระดาษคําตอบ ใหครูฝก เพื่อตรวจและประเมินผล 3) ครูฝกประเมินแบบทดสอบกอนฝก - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบตั ิ (ดานทักษะ) (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป 8 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝกมอบหมายใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหา จากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 4) ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผรู ับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผรู ับการฝก 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรบั การฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรบั การฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.1.3 การฝกอบรมดวยสือ่ ในระบบออนไลน (Online) คือ การฝกอบรมที่ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเองผานระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI โดยใชคูมือผูรับการฝกที่เปนสื่อออนไลนในแอปพลิเคชัน DSD m-Learning และฝกภาคปฏิบัติที่ศูนยฝกอบรม วิธีดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ­ ครูฝกอธิบายวิธีการดาวนโหลดแอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใหแกผูรับการฝก ซึ่งวิธีการ ดาวนโหลดแอปพลิเคชัน สามารถแบงออกเปน 3 ชองทางตามแตละระบบปฏิบัติการ คือ 9 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1) ผูรับการฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็กทรอนิกส ระบบปฏิบัติการ iOS คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน App Store จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้งบนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว 2) ผูรับ การฝกที่ใชเครื่องมือสื่อสารอิเล็ก ทรอนิกส ระบบปฏิบัติก าร Android คนหา แอปพลิเคชัน DSD m-Learning ใน Google Play จากนั้นกดดาวนโหลด เพื่อติดตั้ง บนเครื่องมือสื่อสาร และเขาใชงานโดยกรอก Username และ Password ตามที่เคย ลงทะเบียนไว 3) ผูรับ การฝก ที่ใชคอมพิวเตอร ระบบปฏิบัติก าร Windows สามารถดาวน โ หลด แอปพลิเคชัน DSD m-Learning โดยเขาเว็บไซต mlearning.dsd.go.th แลวเขาใชงาน โดยกรอก Username และ Password ตามที่เคยลงทะเบียนไว ใหกดปุม Download DSD m-learning เพื่อดาวนโหลดแอปพลิเคชันลงบนคอมพิวเตอร การฝกภาคทฤษฎี ­ ผูรับการฝกเรียนรูภาคทฤษฎีดวยตนเอง จากคูมือผูรับการฝก ซึ่งเปนสื่อออนไลนบนแอปพลิเคชัน DSD m-Learning การประเมินผลภาคทฤษฎี 1) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Pre-Test) ลงในแอปพลิเคชัน โดยระบบจะตรวจและประเมินผล อัตโนมัติ - ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร ผูรับการฝกจะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝกภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป - ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหผูรับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเอง จนเขาใจแลวจึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2) ผูรับการฝกทําแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก การฝกภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองฝกภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันฝกและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองฝก - ครูฝกกําหนดวันฝกใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) ครูฝกแจงวันฝกภาคปฏิบัติแกผูรับการฝกในระบบ 3) กอนวันฝกภาคปฏิบัติ ใหครูฝกเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 4) เมื่อ ถึง วันฝก ภาคปฏิบัติ ครูฝก ใหใบงานแกผูรับ การฝก อธิบ ายขั้นตอนการฝก ปฏิบัติง าน และใหคําแนะนําชวยเหลือผูรับการฝกตลอดระยะเวลาในการฝกภาคปฏิบัติ 5) ครูฝกประเมินผลงานการฝกภาคปฏิบัติ 10 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

การประเมินผลภาคปฏิบัติ 1) ครูฝกเปดหองสอบภาคปฏิบัติในระบบ โดยสามารถทําได 2 วิธี ดังนี้ - ครูฝกกําหนดวันสอบและรายชื่อของผูรับการฝกลงในหองสอบ - ครูฝกกําหนดวันสอบใหผูรับการฝกเขามาจองวันที่ตนเองสะดวก 2) กอนวันสอบภาคปฏิบัติ ครูฝกจัดเตรียมสถานที่ ใบงาน ใบรายชื่อ ใบใหคะแนนการตรวจสอบ เครื่องมือ วัสดุ และอุปกรณ 3) ครูฝกควบคุมการทดสอบภาคปฏิบัติ 4) ครูฝกตรวจผลงานและกรอกคะแนนลงในใบใหคะแนนการตรวจสอบของคูมือ การประเมิน ที่พิมพจากสื่ออิเล็กทรอนิกส (.pdf) 5) ครูฝกประเมินผลงานของผูรับการฝก โดยตองผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสาร โครงรางหลักสูตร จึงจะผานการฝกโมดูลนั้น 6) ครูฝกบันทึกผลการประเมินลงในระบบ และประกาศผลการทดสอบภาคปฏิบัติแกผูรับการฝก 1.2 ครูฝกชี้แจงรูปแบบการฝกอบรมทั้ง 3 รูปแบบแกผูรับการฝก เพื่อทําการตกลงรูปแบบการฝกอบรมรวมกับผูรบั การฝก โดยใหผูรับการฝกเลือกวิธีที่สะดวก 1.3 ครูฝกวางแผนการฝกตลอดหลักสูตรรวมกันกับผูรับการฝก 2. อุปกรณชวยฝกและชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝก ครูฝก สามารถเลือ กใชอุปกรณชวยฝก ได 2 รูป แบบ คือ รูป แบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) และรูปแบบระบบจัดการฝก ดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) โดยมีชองทางการเขาถึงอุปกรณชวยฝกแตละรูปแบบแตกตางกัน ดังนี้ 2.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 2.2 รูปแบบระบบจัดการฝกดวยคอมพิวเตอร หรือ CMI (Online) ดังนี้ - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรบั การฝก - สื่อวีดิทัศนรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

11 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. การวัดและประเมินผล ครูฝกมีหนาที่มอบหมายใหผูรับการฝกทดสอบความรูภาคทฤษฎี (ดานความรู) และภาคปฏิบัติ (ดานทัก ษะ) โดยใช คูมือการประเมินบันทึกผลการประเมินของผูรับการฝก โดยแบงการประเมินผลไดดังนี้ 3.1 การประเมินผลภาคทฤษฎี (ดานความรู) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคทฤษฎีกอนฝก และแบบทดสอบภาคทฤษฎีหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการให คะแนนและการระบุความสามารถดานความรู ดังนี้ เกณฑการใหคะแนน ภาคทฤษฎี ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป ต่ํากวารอยละ 70

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

3.2 การประเมินผลภาคปฏิบัติ (ดานทักษะ) ประเมินผลจากแบบทดสอบภาคปฏิบัติกอนฝก และแบบทดสอบภาคปฏิบัติหลังฝก โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนน และการระบุความสามารถดานทักษะ ดังนี้ เกณฑการประเมิน ภาคปฏิบัติ ตั้งแตรอยละ 70 ขึ้นไป หรือ ทําไดตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน ต่ํากวารอยละ 70 หรือ ไมสามารถทําได ตามเกณฑการปฏิบัตงิ าน

เกณฑการประเมิน ความสามารถ ผาน (C) ไมผาน (NYC)

ผูรับการฝกจะไดรับการประเมินผลการฝกจากครูฝก โดยจะตองสามารถปฏิบัติตามความสามารถในแตละโมดูลนั้น ๆ ไดตามเกณฑที่กําหนด จึงจะถือวาผานการฝกโมดูลนั้น และเมื่อผานการฝกครบทุกโมดูล จึงจะถือวาฝกครบชุดการฝกนั้น ๆ แลว

12 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. เงื่อนไขการผานการฝก ผูรับการฝกที่จะผานโมดูลการฝก ตองไดรับคารอยละของคะแนนการทดสอบหลังฝก ภาคทฤษฎี คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 ภาคปฏิบัติ คะแนนรวมไมต่ํากวารอยละ 70 โดยคะแนนรวมจะถูกนํามาคิดแบงเปนสัดสวน ภาคทฤษฎี คิดเปนรอยละ 20 ภาคปฏิบัติ คิดเปนรอยละ 80 เมื่อนําคะแนนมารวมกัน ผูรับการฝกจะตองไดไมต่ํากวารอยละ 70 จึงจะผานเกณฑ ทั้งนี้ ผูรับการฝกจะตองทําคะแนนผานเกณฑทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ จึงจะผานโมดูลการฝก

13 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ง. ผังการขึ้นทะเบียนผูสําเร็จการฝก

14 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คําอธิบาย 1. ผูรับการฝกขอหนังสือรับรองหรือวุฒิบัตร 2. เจาหนาที่ตรวจสอบโมดูลการฝกที่ผูรับการฝกแตละคนผานครบตามเงื่อนไขหลักสูตรหรือไม ผานระบบ 2.1 ถาครบ ใหสําเร็จการฝกในหลักสูตรอยางสมบูรณ ซึ่งสามารถออกวุฒิบัตรแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.1.1 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรตัวจริง 2.1.2 เจาหนาที่ออกวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.1.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดวุฒิบัตรดิจิทัลผานระบบ 2.2 ถาไมครบ จะไมจบหลักสูตรแตไดรับการรับรองความสามารถบางโมดูลในรายการโมดูลที่สําเร็จเทานั้น ซึ่ง สามารถออกใบรับรองแกผูรับการฝกไดตามขั้นตอน ดังนี้ 2.2.1 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองตัวจริงเฉพาะโมดูลที่ผาน 2.2.2 เจาหนาที่ออกหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ 2.2.3 ผูรับการฝกดาวนโหลดหนังสือรับรองดิจิทัลผานระบบ

15 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรฝกอบรมฝมือแรงงานตามความสามารถ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

รหัสหลักสูตร 0920162070803

1. ขอบเขตของหลักสูตร หลักสูตรนี้พัฒนาขึ้นใหครอบคลุมดานความรู ทักษะ และเจตคติแกผูรับการฝกในสาขาชางเชื่อมแม็กเพื่อใหมีความรู ความสามารถและทัศนคติตามมาตรฐานฝมือแรงงานแหงชาติ สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 ดังนี้ 1.1 มีความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงานและความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1.2 มีความรูและสามารถใชเครื่องมือวัด เครื่องมือทั่วไป และเครื่องมือกล 1.3 มีความรูเกี่ยวกับการใชเครื่องเชื่อม วงจรไฟฟา และเทคนิคการเชื่อม 1.4 มีความรูเกี่ยวกับสมบัติและความสามารถเชื่อมไดของโลหะ 1.5 มีความรูเกี่ยวกับการเลือกใชลวดเชื่อมและแกสปกปอง 1.6 มีความรูเกี่ยวกับขอกําหนดกรรมวิธีการเชื่อม 1.7 มีความรูเกี่ยวกับคณิตศาสตรประยุกตและวิทยาศาสตรเบื้องตนที่สัมพันธกับงานเชื่อม 1.8 มีความรูและสามารถตรวจสอบและคุณภาพของงานเชื่อม 1.9 มีความรูเกี่ยวกับทอ และอุปกรณประกอบทอ 1.10 มีความรูเกี่ยวกับทัศนคติในการประกอบอาชีพชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 1.11 สามารถปฏิบัติการเชื่อมแม็กเหล็กกลาคารบอนรอยเชื่อมตอชนทอ ตําแหนงทาเชื่อม D150PH และ H-L045 2. ระยะเวลาการฝก ผูรับ การฝก จะได รั บ การฝ ก ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยสถาบันพัฒ นาฝมือ แรงงาน หรือสํานักงานพัฒนา ฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถใชระยะเวลาในการฝก 70 ชั่วโมง เนื ่อ งจากเปน การฝก ที ่ขึ ้น อยู ก ับ พื ้น ฐานความรู  ทัก ษะ ความสามารถและความพรอ มของผู ร ับ การฝก แตละคน มีผลใหผูรับการฝกจบการฝกไมพรอมกัน สามารถจบกอนหรือเกินระยะเวลาที่กําหนดไวในหลักสูตรได หนวยฝกจึงตองบริหารระยะเวลาในการฝกใหเหมาะสมตามความจําเปน ทั้งนี้ ใหอยูในดุลยพินิจของผูอํานวยการสถาบัน พัฒนาฝมือแรงงาน หรือผูอํานวยการสํานักงานพัฒนาฝมือแรงงานที่เปนหนวยฝกตามความสามารถจะเห็นสมควร

16 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. หนวยความสามารถและโมดูลการฝก จํานวนหนวยความสามารถ 11 หนวย จํานวนโมดูลการฝก 11 โมดูล 4. วุฒิบัตร 4.1 ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรพัฒนาฝมือแรงงาน สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.2 ชื่อยอ : วพร. สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3 4.3 ผูรับการฝกที่ผานการประเมินผลหรือผานการฝกครบทุกหนวยความสามารถ จะไดรับวุฒิบัตร วพร. สาขา ชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

17 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดโมดูลการฝกที่ 1 1. ชื่อหลักสูตร 2. ชื่อโมดูลการฝก 3. ระยะเวลาการฝก 4. ขอบเขตของหนวย การฝก

รหัสหลักสูตร 0920162070803 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นทีป่ ฏิบัติงานและความปลอดภัย รหัสโมดูลการฝก ในการเชื่อมและตัด 09207219 รวม 2 ชั่วโมง 30 นาที ทฤษฎี 2 ชั่วโมง 30 นาที ปฏิบัติ - ชั่วโมง หน วยการฝ ก นี้ พั ฒ นาขึ้นใหครอบคลุม ดานความรู ทัก ษะ และเจตคติแกผูรับการฝก เพื่อใหมีความสามารถ ดังนี้ 1. วิเคราะหประเภทของอุบัติเหตุตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในสภาพแวดลอมของ การทํางาน การรูสาเหตุ และขั้นตอนตาง ๆ จะสามารถนํามาใชปองกันอุบัติเหตุ ไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหสาเหตุของการเกิดอัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใชไดอยางถูกตอง 3. จําแนกวิธีการใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล เชน แวนนิรภัย แวนตาเชื่อม หนากากเชื่อม ถุงมือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทานิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณปองกันศีรษะไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบที่สัมพันธกับภาวการณทํางาน ความปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และ สิ่งแวดลอมภายในและรอบ ๆ พื้นที่ทํางานไปใชไดอยางถูกตอง 5. นําการตรวจสอบสถานที่ทํางานสําหรับความปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 6. นําหลัก การในการใชเ ครื่อ งมือ (Hand Tools) และเครื่อ งมือ กล (Power Tools) อยางปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนจากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัส ไปใชไดอยางถูกตอง 8. นําหลักการปฐมพยาบาลเบื้องตนในการดูแลบุคคลที่บาดเจ็บจากไฟฟาดูดซึ่งจะรวมถึง การปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนสําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษ ไปใชไดอยางถูกตอง 10. นํามาตรการปองกันสวนบุคคลสําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจาก โลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมาจาก การเผาไหมของไอระเหยของโลหะเติมและชิ้นงานเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง สาขาชางเชื่อมแม็ก ระดับ 3

18 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

11. นํามาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุติดไฟไปใชไดอยางถูกตอง 12. จําแนกชนิดของแกสพิษที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมและการตัดเหล็กกลาคารบ อน ดวยแกส การบาดเจ็บของชางเชื่อมจากแกสพิษที่เกี่ยวของกับการเชื่อม และการตัด เหล็กกลาคารบอนดวยแกสไดอยางถูกตอง 13. นํามาตรการปองกันในการใชขวดแกส (Cylinder) ความดันสูงไปใชไดอยางถูกตอง 14. นํามาตรการปองกันการเกิดอันตราย ขณะทํางานใกลเครื่องมืออุปกรณที่อยูในพื้นที่ ทําการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง 5. พื้นฐาน ผูสมัครเขารับการฝกตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ ความสามารถของ 1. มีความรูพื้นฐานในสาขาชางเชื่อมแม็ก 2. ผูรับการฝกผานระดับ 2 มาแลว ผูรับการฝก 6. ผลลัพธการเรียนรู : เมื่อสําเร็จการฝกในโมดูลนี้แลวผูร ับการฝกสามารถปฏิบัตงิ านโดยมีความรูความสามารถและใช ระยะเวลาฝก ดังนี้ ระยะเวลาฝก (ชั่วโมง : นาที) ผลลัพธการเรียนรู ชื่อหัวขอวิชา ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม 1. วิเคราะหประเภทของอุบัติเหตุ หัวขอที่ 1 : ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ 2:00 2:00 ตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้นได ปฏิบัติงาน ทั่วไปในสภาพแวดลอมของการ ทํางาน การรูสาเหตุ และ ขั้นตอนตาง ๆ จะสามารถ นํามาใชปองกันอุบัติเหตุ ไดอยางถูกตอง 2. วิเคราะหสาเหตุของ การเกิดอัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใช ไดอยางถูกตอง

19 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. จําแนกวิธีการใชอุปกรณ ปองกันสวนบุคคล เชน แวนนิรภัย แวนตาเชื่อม หนากากเชื่อม ถุงมือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทานิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณปองกันศีรษะ ไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบทีส่ ัมพันธกับ ภาวการณทํางาน ความ ปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และสิง่ แวดลอมภายใน และ รอบ ๆ พื้นทีท่ ํางานไปใช ไดอยางถูกตอง 5. นําการตรวจสอบสถานทีท่ ํางาน สําหรับความปลอดภัยไปใช ไดอยางถูกตอง 6. นําหลักการในการใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือกล (Power Tools) อยางปลอดภัย ไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน จากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัสไปใช ไดอยางถูกตอง 8. นําหลักการปฐมพยาบาล เบื้องตนในการดูแลบุคคลที่ บาดเจ็บจากไฟฟาดูดซึ่งจะ รวมถึงการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 20 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตน สําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษไปใช ไดอยางถูกตอง 10. นํามาตรการปองกันสวนบุคคล หัวขอที่ 2 : ความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด สําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจากโลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ควันที่ออกมาจากการเผาไหม ของไอระเหยของโลหะเติม และชิ้นงานเชื่อมไปใช ไดอยางถูกตอง 11. นํามาตรการปองกันการเกิด อัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุ ติดไฟไปใชไดอยางถูกตอง 12. จําแนกชนิดของแกสพิษที่ เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อม และการตัดเหล็กกลาคารบอน ดวยแกส การบาดเจ็บของ ชางเชื่อมจากแกสพิษที่ เกี่ยวของกับการเชื่อม และ การตัดเหล็กกลาคารบอน ดวยแกสไดอยางถูกตอง 13. นํามาตรการปองกันในการใช ขวดแกส (Cylinder) ความดันสูงไปใชไดอยางถูกตอง 14. นํามาตรการปองกันการเกิด อันตราย ขณะทํางานใกล เครื่องมืออุปกรณทอี่ ยูในพื้นที่ ทําการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง รวมทั้งสิ้น 21 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

0:30

-

0:30

2:30

-

2:30


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 1 0920721901 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบตั ิงาน (ใบเตรียมการสอน)

1. ผลลัพธการเรียนรู 1. วิเ คราะหป ระเภทของอุบัติเหตุตาง ๆ ที่ส ามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในสภาพแวดลอ มของการทํางาน การรูสาเหตุ และขั้นตอนตาง ๆ จะสามารถนํามาใชปองกันอุบัติเหตุไดอยางถูกตอง 2. วิเ คราะหสาเหตุของการเกิดอัคคีภัยและการระเบิด มาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัย ชนิดของเครื่องดับเพลิง และขอแนะนําการใชไดอยางถูกตอง 3. จําแนกวิธีก ารใชอุป กรณปอ งกันสวนบุคคล เชน แวนนิร ภัย แวนตาเชื่อ ม หนากากเชื่อ ม ถุง มือ เอี๊ยมกันไฟ รองเทานิรภัย อุปกรณปองกันเสียง อุปกรณกรองอากาศ อุปกรณปองกันศีรษะไดอยางถูกตอง 4. นํากฎระเบียบที่สัมพันธกับภาวการณทํางาน ความปลอดภัย การถูกสุขลักษณะ และสิ่งแวดลอมภายในและรอบ ๆ พื้นที่ทํางานไปใชไดอยางถูกตอง 5. นําการตรวจสอบสถานที่ทํางานสําหรับความปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 6. นําหลักการในการใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือกล (Power Tools) อยางปลอดภัยไปใชไดอยางถูกตอง 7. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนจากไฟไหม บาดเจ็บเล็กนอย และบาดเจ็บสาหัสไปใชไดอยางถูกตอง 8. นําหลักการปฐมพยาบาลเบื้องตนในการดูแลบุคคลที่บาดเจ็บจากไฟฟาดูดซึ่งจะรวมถึงการปมหัวใจ (Coronary Pulmonary Recessitation: CPR) ไปใชไดอยางถูกตอง 9. นําวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องตนสําหรับผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษไปใชไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

อุบัติเหตุทสี่ ามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในสภาพแวดลอมของการทํางาน อันตรายจากอัคคีภัย และการปองกัน การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล กฎระเบียบทีเ่ กี่ยวของกับพื้นที่ทํางาน ความปลอดภัยในพื้นที่ทํางาน การใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือกล (Power Tools) อยางปลอดภัย การปฐมพยาบาลเบื้องตน

22 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

23 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม จันทรจ ารี เกตุม าโร. ม.ป.ป. บทที่ 4 ความปลอดภัย ในการทํา งาน. [ออนไลน]. เขาถึง ไดจ าก : http://ebook.ram.edu/e-book/h/HA233/chapter4.pdf จันทรจารี เกตุมาโร. ม.ป.ป. บทที่ 6 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://e-book.ram.edu/e-book/h/HA233/chapter6.pdf บริษัท ผลธัญญะ จํากัด (มหาชน). 2556. ชนิดอุปกรณปองกันดวงตา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaisafetywiki.com/safety-glasses/69-protect-eye บริ ษั ท ผลธั ญ ญะ จํ า กั ด (มหาชน). 2556. ประเภทอุ ป กรณ ป อ งกั นทางหายใจ. [ออนไลน] . เข า ถึ ง ได จ าก : http://thai-safetywiki.com/respirator/62-respirator-type สถานี ดั บ เพลิ ง สามเสน. 2560. สาเหตุ ก ารเกิ ด เพลิ ง ไหม และวิ ธี ป อ งกั น . [ออนไลน ] . เข า ถึ ง ได จ าก : http://www.samsenfire.com/article/50-สาเหตุการเกิดเพลิงไหม.html สถานีดับ เพลิง สามเสน. 2560. สาเหตุ ข องการเกิดอัค คี ภัย ระเบิด การปองกัน. [ออนไลน]. เขาถึง ไดจ าก : http://www.samsenfire.com/article/50-สาเหตุการเกิดเพลิงไหม.html สถาบันสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน. 2560. การปฐมพยาบาลผูที่ไดรับสารพิษ. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.shawpat.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=233 :%E0%B9%92%E0%B9%95%E0%B9%95%E0%B9%96%m%E0%B9%90%E0%B9%95%E0%B9% 90%E0%B9%98-%M-%S&catid=49:-m---m-s&Itemid=203 สถาบันสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน. 2560. ทําไมจึงเกิดอุบัติเหตุจากการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.shawpat.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id =246:-m---m-s&catid=51:-m---m-s&Itemid=202 สถาบันสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน. 2560. ประเภทของอุบัติเหตุในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.shawpat.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=246:mm-s&catid=51:-m---m-s&Itemid=202 24 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

สภาวิศวกร. 2559. ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www. coe.or.th/coe2/ Download/Articles/ME/CH1.pdf

25 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยทั่วไปใน ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน พื้นที่ปฏิบัตงิ าน ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูใ นเรือ่ ง ความปลอดภัย 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน ขั้นสอน 1. แจกคู มื อ ผู รั บ การฝก เรื่อ ง ความปลอดภัย 1. รับคูมือผูรับการฝกเรื่อง ความปลอดภัยทั่วไปใน ทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน หนาที่ 16 - 43 พื้นที่ปฏิบัติงาน หนาที่ 16 - 43 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม ปฏิบัติงาน โดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการ เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย ฝก และใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอ ยอดเปนความรูใหมพรอมใชสื่อวีดิทัศน นาที ที่ 00.00 - 40.19 โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 อุบัติเหตุที่สามารถเกิดขึ้นไดทั่วไป ในสภาพแวดลอมของการทํางาน 2.2 อั น ตรายจากอั ค คี ภั ย และการ ปองกัน 2.3 การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล 2.4 กฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ความ ปลอดภัยในพื้นที่ทํางาน 2.5 การใชเครื่องมือ และเครื่องมือกล อยางปลอดภัย 2.6 การปฐมพยาบาลเบื้องตน 26 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 41 - 43 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 41 - 43 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 52 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง ความปลอดภัย อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัตงิ าน ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง ความปลอดภัย รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย ทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัตงิ าน เกี่ยวกับกิจนิสัยในการ ปฏิบัติงาน และคุณลักษณะที่ตองการบูรณาการ คุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

27 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 1 ความปลอดภัยทั่วไปในพื้นที่ปฏิบัติงาน 1. อุบัติเหตุที่สามารถเกิดขึ้นไดทั่วไปในสภาพแวดลอมของการทํางาน อันตรายจากการทํางาน สวนใหญมีสาเหตุมาจากการขาดความเอาใจใสในเรื่องความปลอดภัยทั้งในสวนของผูปฏิบัติงาน และสถานที่ทํางานไมมีนโยบายเรื่องความปลอดภัย รวมถึงการขาดประสิทธิภาพในการตรวจสอบความรู ดังนั้น ผูปฏิบัติงาน จึงควรทราบสาเหตุในการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อระมัดระวังและปองกันไดทัน ซึ่งสาเหตุทั่วไปในการเกิดอุบัติเหตุแบงไดดังนี้ 1.1 สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัย (Unsafe Act) เปนการกระทําที่มาจากผูปฏิบัติงานในขณะทํางาน เชน - การใชอุปกรณเครื่องมือที่เปนเครื่องจักรกลตาง ๆ โดยไมไดรับมอบหมาย - การทํางานที่มีอัตราเรงความเร็วของงานและเครื่องจักรเกินกําหนด - การถอดอุปกรณปองกันออกจากเครื่องจักรโดยไมมีเหตุอันสมควร - การใชเครือ่ งมืออุปกรณเครื่องจักรที่ชํารุดและไมถูกวิธี - ไมใสใจในคําแนะนําหรือคําเตือนความปลอดภัย - ทําการเคลื่อนยายหรือยกวัสดุที่มีขนาดใหญ มีน้ําหนักมาก ดวยทาทางหรือวิธีการที่ไมปลอดภัย - ไมสวมใสอปุ กรณปองกันอันตรายสวนบุคคล - ความคึกคะนองหรือเลนตลกขณะทํางาน 1.2 สภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย คือ สภาพแวดลอมที่ไมปลอดภัยโดยรอบตัวของผูปฏิบัติงานขณะทํางาน ซึ่งอาจ เปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได เชน - เครื่องจักรไมมีอุปกรณปองกันอันตราย - อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักรออกแบบไมเหมาะสมกับการใชงาน - บริเวณพื้นที่ของการปฏิบัตงิ านไมเหมาะสม - การจัดเก็บวัสดุสงิ่ ของอยางไมถูกวิธี - การจัดเก็บสารเคมีหรือสารไวไฟทีเ่ ปนอันตรายไมถูกวิธี - ไมมีการจัดระเบียบและดูแลความสะดวกของสถานทีท่ ํางานใหถูกตองตามสุขลักษณะ - แสงสวางไมเพียงพอ - ไมมีระบบระบายและถายเทอากาศที่เหมาะสม - ไมมรี ะบบเตือนภัยที่เหมาะสม 28 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

จากสาเหตุดงั กลาว อาจนํามาซึ่งอุบัติเหตุทกี่ อใหเกิดการสูญเสีย ดังนี้ 1) การสูญเสียโดยตรง - ไดรับบาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิต และอาจทําใหผูอื่นไดรับอันตรายดวย - ทําใหอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องจักร ตลอดจนทรัพยสินอื่น ๆ ชํารุดเสียหาย - การสู ญ เสีย ที่ คิ ด เป น เงิ น ที่น ายจา งหรือ รัฐ บาลต อ งจา ยโดยตรง ให แ ก ผู ที่ ไ ด รั บ อุ บัติเ หตุ จากการทํางาน เชน คารักษาพยาบาล เงินทดแทนที่ตองจายโดยรัฐหรือโรงงาน คาทําขวัญ เปนตน 2) การสูญเสียโดยทางออม เปนการสูญเสียซึ่งมักจะคิดไมถึงหรือ ไมไดคิดวาเปนการสูญเสีย แตเ ปนลักษณะการสูญเสียที่แฝงอยู ไมปรากฏเดนชัด เชน - สูญเสียแรงงานของลูกจางที่ไดรับบาดเจ็บ และตองใชเวลาพักฟนจนกวาจะหาย - สูญเสียเวลาของลูกจางคนอื่น ๆ ซึ่งหยุดทํางานในขณะเกิดอุบัติเหตุ เชน การเขาไปซักถาม เหตุการณดวยความเห็นใจลูกจางผูบาดเจ็บ หรือชวยเหลือผูบาดเจ็บในการทําปฐมพยาบาล หรือนําสงโรงพยาบาล เปนตน - สูญเสียเวลาของแพทยหรือพยาบาล หรือเจาหนาที่อื่น ๆ ในการปฐมพยาบาล - คาใชจายในการซอมแซมเครื่องจักรกล เครื่องมือ - ทําใหปริมาณผลผลิตขาดหายไป ผลิตใหผูใชไมทันเวลา เงินรางวัล โบนัสประจําปลดนอยลงไป - สูญเสียผลกําไรสวนหนึ่งไป เนื่องจากลูกจางบาดเจ็บและเครื่องจักรหยุดทํางาน - ทําใหคนงานขวัญเสีย เกิดความกลัว ประสิทธิภาพการทํางานลดลง - ครอบครัวตองสูญเสียกําลังหลัก กําลังใจ และสูญเสียรายได เพื่อปองกันการสูญเสียจากอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้น จึงจําเปนตองสรางความปลอดภัยในการทํางาน ซึ่งมีขอ ที่ควรคํานึงถึง ดังนี้ - การใหก ารศึกษา หรือ การฝกอบรม และแนะนําคนงาน หัวหนางาน ตลอดจนผูที่เกี่ยวของ ในการทํางานใหมีความรูความเขาใจในการปองกันอุบัติเหตุ และการสรางความปลอดภัยในงาน ใหรูวาอุบัติเหตุจะเกิดขึ้น และปองกันไดอยางไร และจะทํางานวิธีใดจะปลอดภัยที่สุด เปนตน - การเตรียมเครื่องมือ หรือเครื่องจักรใหมสี ภาพการใชงานที่ปลอดภัยที่สุด การใชอุปกรณปองกัน สวนบุคคล เปนตน - การกํ าหนดวิ ธีก ารทํ างานอยางปลอดภัย และการควบคุม บัง คับ อยางจริง จัง และเข ม งวด ใหผูปฏิบัติงานปฏิบัติตามกฎระเบียบ 29 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2. อันตรายจากอัคคีภัย และการปองกัน อัคคีภัยเกิดขึ้นไดจากหลายสาเหตุดวยกัน และพบวาสาเหตุสวนใหญเกิดจากความประมาท เชน การใชเครื่องใชไฟฟา ที่เสื่อมสภาพ การใชเชื้อเพลิงทั้งน้ํามันและแกส เปนตน หรืออีกสาเหตุหนึ่งคือเกิดจากธรรมชาติ เชน ใบไมแหงเสียดสีกัน เปนตน อัคคีภัยเมื่อเกิดขึ้นแลวเปนการยากที่จะควบคุม สรางความเสียหายมากมายแกบริเวณที่เกิด ผูปฏิบัติงานจึงควรเรียนรูวิธีปองกัน เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นได 2.1 มาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัย การปองกันอัคคีภัยในโรงงานอุตสาหกรรม แบงการปฏิบัติไว 2 บริเวณ ดังตอไปนี้ 1) บริเวณที่มีการผลิต - เครื่องจักร ควรมีการตรวจเช็คซอมบํารุงเปนประจําเพื่อใหอยูในสภาพที่ดี พรอมใชงาน - เครื่องใชไฟฟา สายไฟฟาและอุปกรณตองอยูในสภาพที่ดีและไดรับการตรวจเช็คเปนประจํา และควรหลีกเลี่ยงการตอสายไฟฟาโดยใชผาเทปพันหรือการตอแบบชั่วคราว - ควรขจัดแหลงที่เปนบอเกิดของไฟอื่น ๆ โดยงดการสูบบุหรีใ่ นบริเวณที่มีการผลิต สวนกรรมวิธใี ด ที่มีความอันตราย กอใหเกิดอัคคีภัยสูงควรแยกออกจากสวนตาง ๆ และจัดใหมีการปอ งกัน แบบเฉพาะขึ้น - การจัดเก็บสินคา สวนของวัตถุดิบหรือสินคาสําเร็จรูปควรอยูในบริเวณการผลิตใหนอยที่สุด เทาที่จําเปน สวนวัตถุไวไฟที่ใชในการผลิตควรจํากัดใหใชไดเพียงพอภายในหนึ่งวัน และหลังเลิกงาน ตองนําวัตถุไวไฟนั้นไปเก็บยังที่จัดไวเฉพาะ - การปฏิบัติหลังเลิกงาน หลังเลิกงานทุกวันควรมีการเดินตรวจดูความเรียบรอย เชน วัตถุที่ใชไฟฟา ให นํา ไปเก็ บ ในที่ จั ด เก็บ ไวโ ดยเฉพาะ อุป กรณไ ฟฟา ทุก ชิ้น ปด สวิตชใ หเ รีย บรอ ย รวมถึง การทําความสะอาดเพื่อปองกันอัคคีภัยดวย 2) บริเวณที่ใชเก็บสินคา - การเก็บสินคา ควรเก็บอยางมีระเบียบ ภายในบริเวณจัดเก็บตองมีชองทางเดินสินคา ควรจัดเก็บ เปนแถว ๆ และปริมาณสินคาตองไมมากเกินไป มีชองวางระหวางเพดานถึงหลังคา 1 - 6 เมตร และสินคาควรจัดเก็บใหอยูหางจากแสงไฟ - การเก็บสินคาที่เปนของเหลวไวไฟ แกสหรือวัตถุไวไฟอื่น ๆ ควรเก็บแยกจากสินคาอื่นและถา สามารถทําไดควรแยกหองเก็บวัตถุไวไฟ - ขจัดแหลงที่เปนบอเกิดของไฟอื่น ๆ - ควรรักษาความสะอาดบริเวณที่เก็บสินคาเปนประจํา เชน จากเศษกระดาษที่ใชหอสินคา เปนตน 30 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- การตรวจเช็คดูแลความปลอดภัยสายไฟฟา และอุปกรณไฟฟาในบริเวณที่เก็บสินคาควรไดรับ การตรวจเช็คเปนประจํา - ติดตั้งอุปกรณดับเพลิงไวบริเวณทางเขาออก 2.2 หลักการดับเพลิงเบื้องตน เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ผูปฏิบัติงานควรวิเคราะหแยกแยะประเภทของไฟใหถูกตอง เพื่อใหสามารถดับเพลิงไดอยางถูกวิธี 2.2.1 ประเภทของไฟ ไฟสามารถแบงออกได 4 ประเภท ตามลักษณะเชื้อเพลิงมาตรฐาน NFPA (NATION FIRE PROTECTION ASSOCIATION) ดังนี้ 1) ไฟประเภท A คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงที่เปนของแข็ง ธรรมดา เชน ฟน ไม ใบไมแหง ฟาง กระดาษ พลาสติก หนังสัตว เศษผา นุน เปนตน

ภาพที่ 1.1 สัญลักษณไฟประเภท A 2) ไฟประเภท B คื อ ไฟที่ เ กิ ด จากเชื้ อ เพลิ ง ที่ เ ป น ของเหลวและแก ส เช น น้ํ า มั น ทุ ก ชนิ ด แอลกอฮอล ทินเนอร จาระบี ยางมะตอย และแกสชนิดตาง ๆ

ภาพที่ 1.2 สัญลักษณไฟประเภท B 3) ไฟประเภท C คือ ไฟที่เ กิดจากเชื้อ เพลิง ที่เ ปนของแข็ง และมีก ระแสไฟไหลเวียนอยู เชน อุปกรณไฟฟา เปนตน

31 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.3 สัญลักษณไฟประเภท C 4) ไฟประเภท K คือ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงประเภทน้ํามันที่ใชประกอบอาหาร เชน ไขมันสัตว เปนตน

ภาพที่ 1.4 สัญลักษณไฟประเภท K 2.2.2 ชนิดของเครื่องดับเพลิง แบงออกเปน 5 ชนิด ตามสารเคมีที่บรรจุภายในถัง ดังนี้ 1) ชนิดผงเคมีแหง (Dry Chemical) สามารถดับไฟประเภท A B C ยกเวน CLASS K มีราคาถูก หาซื้ อ ง าย แต มี ขอ เสี ยคือ เมื่อ ฉีดออกมาจะฟุงกระจาย และหลัง จากฉีดแลวแรงดันจะตก ไมสามารถใชงานไดอีก ตองนําไปบรรจุผงเคมีใหม 2) ชนิดเคมีสูตรน้ํา (Low Pressure Water Mist) สารเคมีเปนน้ํายาชื่อวา “ABFFC” ใชสําหรับ ดับไฟไดดี ไมเปนสื่อนําไฟฟา สามารถดับไฟไดทุกประเภท แตราคาจะแพงกวาถังชนิดเคมีแหง เหมาะกับ ใชในบาน เนื่อ งจากสามารถดับไฟที่เ กิดจากน้ํามันทอดในครัวเรือ นได และหาก มีก ารใชง านแลว แมวาจะฉีดสารเคมีไมหมดก็ยังสามารถใชตอได 3) ชนิดสารสะอาด หรือฮาโลตรอนวัน สารเคมีภายในบรรจุแกส Halotron-1 เมื่อฉีดแลวจะระเหย ไปเอง ไมทิ้งคราบสกปรก สามารถดับไฟประเภท A B C ยกเวน CLASS K เหมาะสําหรับการใชงาน ในหองคอมพิวเตอร คลีนรูม ไลนการผลิต หองไฟฟา หองเก็บอุปกรณอิเล็กทรอนิกส เปนตน 4) ชนิดแกสคารบอนไดออกไซด (CO2) สารเคมีภายในบรรจุแกสคารบอนไดออกไซด แกสที่ฉีดออกมา จะเปน ไอเย็น จัด คลา ยน้ํา แข็ง แหง ชว ยลดความรอ นของไฟได และไมทิ้ง คราบสกปรก สามารถดับไฟไดประเภท B และ C เหมาะสําหรับการใชงานในหองเครื่องจักร ไลนการผลิต อุตสาหกรรมอาหาร เปนตน 32 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5) ชนิดโฟม สารเคมีภายในบรรจุโฟม เมื่อฉีดออกมาจะเปนฟองโฟมคลุมผิวเชื้อเพลิงที่ลุกไหม จึงสามารถดับไฟประเภท A และ B ได แตไมสามารถดับไฟประเภท C ได เพราะเปนสื่อนําไฟฟา เหมาะสําหรับใชในภาคอุตสาหกรรม

ภาพที่ 1.5 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแหง

ภาพที่ 1.6 เครื่องดับเพลิงชนิดเคมีสูตรน้ํา

ภาพที่ 1.7 เครื่องดับเพลิงชนิดสารสะอาด

ภาพที่ 1.8 เครื่องดับเพลิงชนิดแกสคารบอนไดออกไซด

33 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน

ภาพที่ 1.9 เครื่องดับเพลิงชนิดโฟม


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.2.3 วิธีการใชถังดับเพลิง 1) ยืนเหนือลมใหหางจากฐานของไฟประมาณ 2 - 3 เมตร 2) ดึงสลัก หรือลวดที่รั้งวาลวออก 3) ยกหัวฉีดปากกรวยชี้ไปที่ฐานของไฟ ทํามุมประมาณ 45 องศา 4) บีบไกเปดวาลวเพื่อใหแกสพุงออกมา 5) ฉีดไปตามทางยาว และสายสายฉีดไปซาย - ขวาชา ๆ จนไฟดับสนิท ในกรณีที่เกิดเพลิงไหมอยูในระดับตางกัน ใหฉีดจากขางลางขึ้นไปขางบน และถาน้ํามันรั่วไหลใหฉีด จากปลายทางที่รั่วไหลไปยัง จุดที่รั่วไหล และถาเหตุเพลิงไหมเ กิดจากอุป กรณไฟฟาที่มีก ระแสไฟฟาไหลอยู ตองรีบตัดกระแสไฟฟากอน เพื่อปองกันมิใหเกิดการลุกไหมขึ้นมาอีกได

ภาพที่ 1.10 แสดงการดับเพลิง 3. การใชอุปกรณปองกันสวนบุคคล อุปกรณปองกันสวนบุคคล คือ อุปกรณสําหรับผูปฏิบัติงานใชในการสวมใสขณะทํางานเพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากสภาพและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถแบงออกไดดังนี้ 3.1 อุปกรณปองกันศีรษะ ใชสําหรับ ปอ งกันศีร ษะจากการถูก กระแทก ชน หรือ วัตถุตกจากที่สูงมากระทบศีรษะ ซึ่ง ลัก ษณะของหมวก จะมีความแข็งแรงและทํามาจากวั สดุ ที่แตกต างกันออกไป โดยหมวกนิรภัยแบงออกเปน 2 แบบ คือ แบบมีขอบหมวก โดยรอบ และแบบที่มีเฉพาะกระบังดานหนา 34 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.11 หมวกนิรภัยแบบมีขอบหมวกโดยรอบ

ภาพที่ 1.12 หมวกนิรภัยแบบที่มเี ฉพาะกระบังดานหนา

นอกจากนั้น หมวกนิรภัยยังแบงออกตามคุณสมบัติของการใชงานไดเปน 4 ประเภท ดังตอไปนี้ 1) ประเภท A คือ หมวกนิรภัยที่ทํามาจากพลาสติกหรือไฟเบอรกลาส ตัวหมวกปองกันน้ําไดและไหมไฟชา มีน้ําหนักเบาเหมาะสําหรับใชงานทั่วไป เชน กอสราง โยธา เครื่องจักรกล เหมืองแร และงานที่ไมเสี่ยง กับกระแสไฟฟาแรงสูง

ภาพที่ 1.13 หมวกนิรภัยประเภท A 2) ประเภท B คือ หมวกนิรภัยที่ทํามาจากวัสดุสังเคราะหประเภทพลาสติก หรือไฟเบอรกลาส และไมมีรูทหี่ มวก เหมาะสําหรับใชงานที่เกี่ยวของกับกระแสไฟฟาแรงสูง เชน ชางเดินสายไฟในสถานีไฟฟาและในโรงไฟฟา เปนตน

ภาพที่ 1.14 หมวกนิรภัยประเภท B 3) ประเภท C คือ หมวกนิรภัยที่ทํามาจากวัสดุทเี่ ปนโลหะ เหมาะสําหรับใชงานปองกันการกระแทก แรงเจาะ และใชในงานที่ไมเสี่ยงกับกระแสไฟฟา

35 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 1.15 หมวกนิรภัยประเภท C 4) ประเภท D คือ หมวกนิรภัยที่ทํามาจากวัสดุสังเคราะหประเภทพลาสติก และไฟเบอรกลาส มีความทนทาน ไมไหมไฟ และไมเปนตัวนําไฟฟา ออกแบบมาเพื่อใชในงานดับเพลิงหรืองานปองกันอัคคีภัย

ภาพที่ 1.16 หมวกนิรภัยประเภท D 3.2 อุปกรณปองกันใบหนาและดวงตา ใชสําหรับปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะทํางานที่อาจมีเศษวัสดุ สารเคมี หรือรังสี ซึ่งอาจทําใหใบหนาและดวงตา เปนอันตรายได ซึ่งอุปกรณที่เกี่ยวของกับงานเชื่อม ไดแก 3.2.1 แวนตานิรภัย รูปรางลักษณะคลายกับแวนตาโดยทั่วไป แตแตกตางที่ความทนทาน แข็งแรง และวัสดุที่ใชทําแวนกับเลนส ซึ่งเปนไปตามลักษณะงานแตละชนิด เชน ปองกันแสงจา ปองกันความรอน ปองกันสารเคมี รังสี กันลม เปนตน

ภาพที่ 1.17 แวนตานิรภัย ในการทํางานเชื่อม จะใชแวนครอบตาสําหรับเชื่อม (Welding Goggle) เพื่อปองกันอันตรายตอดวงตา ซึ่งลักษณะพิเศษของแวนคือ ใชลิ้นระบายความรอนออกจากแวน และเลนสเปนชนิดเลนสแยกทําดวยแกวชุบแข็ง (Harden Glass) ซึ่งแบงไดเปน 2 แบบ ดังนี้

36 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1) แบบเลนสติดตายกับตัวกรอบแวน (Fixed Lens Welding Goggle) จะมีเลนสติดตายอยูท ่ี ตัวกรอบแวน ขอดีคือ อายุการใชงานยาวนาน สวนขอเสียคือ ไมสะดวกตอผูปฏิบัติงานมากนัก เนือ่ งจากเวลาจะเคาะรอยเชื่อมตองถอดแวนออก 2) แบบเลนส เ ป ด - ป ดได (Flip-Up Welding Goggle) จะมีเ ลนสเ ปด - ปดขึ้นลงได ขอ ดีคือ สะดวกตอผูปฏิบัติงาน สวนขอเสียคือ อายุการใชงานจะสั้นกวา โดยปจจุบันแวนเชื่อมชนิดนี้ เปนที่นิยมใชกันมากกวาชนิดแรก

ภาพที่ 1.18 แวนตาเชื่อมแบบเลนสติดตายกับตัวกรอบแวน

ภาพที่ 1.19 แวนตาเชื่อมแบบเลนสเปด - ปดได

3.2.2 หนากากเชื่อม เปนอุปกรณปองกันใบหนา และดวงตา ที่ใชในงานเชื่อม เพื่อปองกันการกระเด็นของโลหะ ความรอน แสงจา และรังสีจากการเชื่อ ม ดานหนาของหนากากจะมีกระจกกรองแสงสําหรับกรองรังสีอัลตราไวโอเลต และแสงอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นระหวางการเชื่อม ซึ่งหนากากเชื่อมมีหลายลักษณะ ดังนี้ 1) หนากากเชื่อมแบบมือถือ เหมาะสําหรับใชในงานตรวจสอบแนวเชื่อม และงานที่ผูสวมไมไดเปน ผูเชื่อมเอง 2) หนากากเชื่อมแบบสวมศีรษะ เพื่อความกระชับคลองตัวขณะปฏิบัติงานเชื่อม 3) หน ากากเชื่ อ มแบบปรับ แสงอัตโนมัติ สามารถปรับ ระดับ ความเขม ของแสงไดห ลายระดับ จึง สามารถนําไปใชง านไดห ลากหลาย

ภาพที่ 1.20 หนากากเชื่อมแบบมือถือ แบบสวมศีรษะ และแบบปรับแสงอัตโนมัติ

37 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

3.2.3 อุปกรณปองกันหู การทํางานในพื้นที่ปฏิบัติง านที่มีเสียงดัง เกินกวา 85 เดซิเ บล ซึ่ง ดัง เกินกวาที่หูของคนเราจะรับได จึง ตองใชอุปกรณปองกันหูเพื่อลดความดังของเสียงที่มากระทบอวัยวะภายในหู โดยสามารถแบงออกเปน 2 ชนิด ดังตอไปนี้ 1) ที่อุดหู (Ear Plug) เป นอุ ป กรณ ที่ ทํ ามาจากยางพลาสติก ออ น ขี้ผึ้ง ฝาย หรือ สําลี ซึ่ง ถูก ออกแบบใหมีข นาด พอเหมาะกั บ รู หู มี ทั้ ง ชนิ ดใชแลวทิ้ง และชนิดที่ส ามารถนํากลับ มาใชใหมได โดยผูป ฏิบัติง าน สามารถเลือกไดตามความเหมาะสม 2) ที่ครอบหู (Ear Muff) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับปองกันเสียงดังที่เปนอันตรายตอหู มีลักษณะคลายหูฟงแบบที่ใชครอบ ใบหูทั้งสองขาง โดยมีกานโคงครอบศีรษะและใชวัสดุที่มีความนุมหุมทับ สวนตัวครอบหูมีการออกแบบ ใหแตกตางกันตามลักษณะของการใชงาน ซึ่งภายในจะประกอบดวยวัสดุปองกันเสียง (Acoustic) สวนตัวรองรอบนอกอาจจะบุดวยโฟม พลาสติก ยางหรือบรรจุของเหลวไว เพื่อชวยดูดซับเสียง

ภาพที่ 1.21 ที่อุดหู

ภาพที่ 1.22 ที่ครอบหู

3.2.4 อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่ปฏิบัติงานที่มีมลพิษ ผูปฏิบัติงานตองใชอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจเพื่อปองกันอันตราย ที่จะเกิดขึ้นกับระบบทางเดินหายใจ โดยสามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1) ประเภทที่ทําใหอากาศบริสุทธิ์กอนเขาสูทางเดินหายใจ (Air Purifying Devices) เปนหนากาก แบบครึ่งหนา หรือเต็มหนา ทําหนาที่กรองอนุภาคทีแ่ ขวนลอยในอากาศ เชน ฝุน ฟูม ควัน แกสพิษ ไอระเหย โดยสวนกรองอากาศจะแตกตางไปตามการใชงาน ไดแก - ชนิดแผนกรองอากาศ ทํามาจากใยอัด ใชสําหรับกรองอากาศใหบริสุทธิ์ - ชนิดตลับกรองอากาศ ภายในเปนตัวจับมลพิษโดยการดูดซับ หรือทําปฏิกิริยากับมลพิษ ทําใหอากาศที่ผานตลับกรองสะอาด ปราศจากมลพิษ ซึ่ง American National Standard 38 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ไดกําหนดมาตรฐาน ANSI K 13.1-1973 ใหรหัสสีของตลับกรองสําหรับกรองแกส และไอระเหยชนิดตาง ๆ มีดังนี้ ชนิดมลพิษ

สีที่กําหนด

แกสที่เปนกรด

ขาว

ไอระเหยอินทรีย

ดํา

แกสแอมโมเนีย

เขียว

แกสคารบอนมอนอกไซด

น้ําเงิน

แกสที่เปนกรด และไอระเหยอินทรีย

เหลือง

แกสที่เปนกรด แอมโมเนีย และไอระเหยอินทรีย

น้ําตาล

แกสที่เปนกรด แอมโมเนีย คารบอนมอนอกไซด ไอระเหยอินทรีย

แดง

ไอระเหยอืน่ ๆ และแกสที่ไมกลาวไวขางตน

เขียวมะกอก

สารกัมมันตรังสี (ยกเวน ไทรเทียม และโนเบลแกส)

มวง

ฝุน ฟูม มิสท

สม

ภาพที่ 1.23 หนากากประเภทกรองอากาศ 2) ประเภทที่สงอากาศจากภายนอกเขาไปในหนากาก (Atmosphere - supplying Respirator) มีลักษณะเปนหนากากครอบมิดชนิดเต็มหนา มีชองกระจกใสผนึกแนนตรงบริเวณตา แนบกระชับ กับใบหนามิใหอากาศจากภายนอกรั่วซึมเขาได มีทอตอสงจายอากาศเชื่อมติดกับถังจายอากาศ ซึ่งแบงออกเปน 2 ชนิด ดังนี้ - ชนิด ที่แ หลง สง อากาศติด ที่ตัว ผูส วม (Self Contained Breathing Apparatus) หรือ ที่เ รียกวา SCBA ผูส วมจะพกเอาแหลงสง อากาศ หรือ ถัง ออกซิเ จนไปกับตัว โดยสามารถใชไดนานถึง 4 ชั่วโมง 39 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

หลักการทํางานของอุปกรณนี้ มี 2 แบบ คือ - แบบวงจรปด หลัก การคือ ลมหายใจออกจะผานเขา ไปในสารดูดซับ เพื่อ กํา จัด แกสคารบอนไดออกไซด แลวกลับเขาไปในภาชนะบรรจุออกซิเจนเหลว หรือออกซิเจน แข็ง หรือสารสรางออกซิเจน แลวนํากลับเขาสูหนากากอีกครั้ง - แบบวงจรเปด หลักการคือ ลมหายใจออกจะถูกปลอยออกไป ไมหมุนเวียนกลับมาใชอีก อากาศที่หายใจเขาแตละครั้งจะมาจากถังบรรจุออกซิเจนชนิดที่สงอากาศไปตามทอ (Supplied Air Respirator) แหลงหรือถังเก็บอากาศจะอยูหางออกไปจากตัวผูสวม อากาศจะถูกสงมาตามทอเขาสูหนากาก

ภาพที่ 1.24 หนากากประเภทเครื่องชวยหายใจ 3.3 อุปกรณปองกันรางกาย ในการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยงอันอาจเกิดอุบัติเหตุหรือความไมปลอดภัยจากสภาพของการทํางาน จึงจําเปนที่จะตอง มีอุปกรณอํานวยความสะดวกเฉพาะงานแตละชนิด เพื่อปองกันอันตรายใหกับผูปฏิบัติงาน เชน 1) อุปกรณปองกันมือ ในการปฏิบัติง านที่ตอ งใชมือ อาจเกิดความเสี่ยงตอ อันตรายจากการถูก วัตถุมีคม บาด ตัด ขูดขีด ทํา ให ผิ ว หนั ง ถลอก การจั บ ของร อ น หรือ การใชมือ สัม ผัส วัส ดุอุป กรณที่อ าจกอ ใหเ กิด อันตรายอื่น ๆ จึง จําเป นตอ งมี อุ ป กรณ ปอ งกั น โดยใชถุง มือ หรือ เครื่อ งสวมเฉพาะนิ้ว ชนิดตาง ๆ ตามความเหมาะสม กับ ลั ก ษณะของงาน ดั ง นี้ - ถุงมือใยหิน ใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสความรอนเพื่อปองกันมือไมใหไดรับอันตรายจากความรอน หรือการเผาไหม - ถุงมือใยโลหะ ใชสําหรับงานที่เกี่ยวกับการใชของมีคมในการหั่น ตัด หรือสัมผัสวัสดุอุปกรณ ที่แหลมคม หรือหยาบมาก 40 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ถุงมือยาง ใชสําหรับงานไฟฟา และถุงมือยางที่สวมทับดวยถุงมือหนังชนิดยาว เพื่อปองกันการ ถูกของมีคมบาดหรือทิ่มแทงทะลุ สําหรับใชในงานไฟฟาแรงสูง - ถุง มือ ยางชนิดไวนิล หรือนีโ อพรีน ใชสําหรับ งานที่ตอ งสัมผัสสารเคมีชนิดที่มีฤทธิ์กัดกรอน หรือซึมผานผิวหนังได - ถุงมือหนัง ใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสวัสดุที่หยาบ งานที่มีการขัดผิว การแกะสลัก หรืองานเชื่อม - ถุงมือหนังเสริมใยเหล็ก ใชสําหรับงานหลอมโลหะหรือถลุงโลหะ - ถุ ง มื อ ผ า หรื อ เส น ใยทอ ใชสํา หรับ งานที่ตอ งหยิบ จับ วัส ดุอุป กรณเ บา ๆ เพื่อ ปอ งกัน มือ จากสิ่งสกปรกตาง ๆ - ถุงมือผาหรือใยทอเคลือบน้ํายา ใชสําหรับงานที่ตองสัมผัสสารเคมีโดยทั่วไป เชน งานบรรจุหีบหอ งานบรรจุกระปอง หรืออุตสาหกรรมอาหาร ฯลฯ

ภาพที่ 1.25 ถุงมือ 2) อุปกรณปองกันเทา เปนอุปกรณท่ีใชปองกันอันตรายเทาจากการถูกกระแทก ถูกทับ เศษวัสดุ และเชื้อโรค ซึ่งรองเทานิรภัย (Safety Shoes) มีอยูดวยกันหลายประเภท ดังตอไปนี้ - รองเทาชนิดหุมขอและเปนฉนวนที่ดี ใชสําหรับงานไฟฟาหรืองานที่อาจมีอันตรายจากการกระเด็น ของเศษวัสดุ หรือการระเบิดที่ไมรุนแรงนัก - รองเทาหุมแขง เปนรองเทาที่ออกแบบสําหรับปองกันอันตรายจากการทํางานที่มีความรอ น จากการถลุงหรือหลอมโลหะ งานเชื่อมตาง ๆ ซึ่งรองเทาไมมีการเจาะตาไกรอยเชือก เนื่องจาก จะเปนชองทางใหโลหะที่หลอมเหลวกระเด็นหรือไหลเขารองเทาได และจะตองสวมใสสะดวก และถอดไดงายรวดเร็วในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน - รองเทาพื้นโลหะที่ยืดหยุนได ใชสําหรับ งานกอ สราง เพื่อ ปอ งกันการกระแทก การกดทับ และของแหลมคมทิ่มตํา แตไมเหมาะในการทํางานที่เกี่ยวของกับไฟฟา 41 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- รองเทาพื้นไม เหมาะสําหรับการใชงานในสถานที่ทํางานที่พื้นเปยกชื้นตลอดเวลาหรือมีความรอน เชน โรงงานผลิตเบียร และงานที่เกี่ยวกับการลาดยางแอสฟลท - รองเทาหัวโลหะ เหมาะสําหรับใชกับการทํางานที่อาจมีวัตถุน้ําหนักมากตกทับหรือกระแทกเทา ในการเคลื่อนยายสิ่งของที่น้ําหนักมาก

ภาพที่ 1.26 รองเทานิรภัย 3) ชุดปองกันรางกาย เปนอุปกรณปองกันรางกายของชางเชื่อมจากความรอน รังสี และสะเก็ดไฟเชื่อม ในขณะปฏิบัติงานเชื่อม เชน - ชุดปองกันที่ทําจากหนัง ใชสําหรับสวมใสปองกันรางกายจากการทํางานที่มีการแผความรอน จากการหลอมเหลวโลหะ ปองกันการไดรับรังสีอินฟาเรด อัลตราไวโอเลต และปองกันแรงกระแทก ที่ไมมากนัก โดยชุดปองกันนี้จะตองผลิตจากหนังที่มีคุณภาพและมีคุณสมบัติดีเทานั้น - ชุดปองกันที่ทําจากแอสเบสตอส ใชสําหรับงานที่มีความรอนสูง ซึ่งอาจมีลักษณะเปนผาคาดลําตัว ผากันเปอน วัสดุพันหนาแขงหรือสนับแขง

ภาพที่ 1.27 อุปกรณปองกันรางกาย 42 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4. กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยในพื้นที่ทํางาน เพื่อความปลอดภัยในการทํางานผูปฏิบัติงานควรปฏิบัติตามกฎที่เกี่ยวของกับพื้นที่ทํางาน ดังตอไปนี้ 1) ปฏิบัติตามระเบียบ คําแนะนําตาง ๆ อยางเครงครัด ไมฉวยโอกาสหรือละเวน ถาไมทราบและไมเ ขา ใจ ใหถามเจาหนาที่ความปลอดภัยหรือหัวหนางาน 2) เมื่อพบเห็นสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย หรือพบวาเครื่องมือเครื่องใชชํารุดไมอยูในสภาพที่ปลอดภัย ถาแกไขดวยตนเองไดใหดําเนินการแกไขทันที แตหากแกไขไมไดใหรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบโดยเร็ว 3) สังเกตและปฏิบัติตามปายหาม ปายเตือนอยางเครงครัด 4) หามบุคคลที่ไมเกี่ยวของเขาไปบริเวณทํางานที่ตนไมมีหนาที่เกี่ยวของ 5) อยาทํางานในที่ลับตาคนเพียงผูเดียว โดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ 6) แตงกายใหเรียบรอยรัดกุม และหามถอดเสื้อในขณะที่ปฏิบัติงานตามปกติ 7) ใสหมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได 8) หามใสรองเทาแตะ แตควรใสรองเทาหุมสนตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติที่สามารถใสได 9) หามหยอกลอกันในขณะปฏิบัติงาน 10) หามเสพของมึนเมา และเขามาในสถานที่ปฏิบัติงานในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด 11) หามปรับแตงหรือซอมแซมเครื่องจักรกลตาง ๆ ที่ตัวเองไมมีหนาที่หรือไมไดรับอนุญาต 12) ใชอุปกรณปองกันตาง ๆ และรักษาอุปกรณเหลานั้นใหอยูในสภาพที่ดีอยูเสมอ 13) ในการซอมแซมอุปกรณตาง ๆ ทางไฟฟา ตองใหชางไฟฟาหรือผูที่รูวิธีการเทานั้นปฏิบัติหนาที่นี้ 14) หากไดรับบาดเจ็บ ตองรายงานใหหั วหนางานและเจาหนาที่ความปลอดภัยทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุ หาวิธีปองกัน แจงผูปฏิบตั ิงานอื่น ๆ และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปลอยไวอาจเกิดอันตรายในภายหลัง 15) หากหัวหนางานเห็นวาผูใตบังคับบัญชาไมอยูในสภาพที่จะทํางานไดอยางปลอดภัย ตองสั่งใหหยุดพักทํางานทันที 5. การใชเครื่องมือ (Hand Tools) และเครื่องมือกล (Power Tools) อยางปลอดภัย ในปจจุบันมีการพัฒนาเครื่องมือ เครื่องจักรตาง ๆ ใหสามารถทํางานไดงายและรวดเร็วขึ้น ซึ่งเครื่องมือที่ผปู ฏิบัติงาน ใชในการทํางานเสมอ คือ 5.1 เครื่องมือ (Hand Tools) คือ อุปกรณท่ที ํางานโดยใชกําลังจากมือและแขน โดยทั่วไปจะเปนอุปกรณขนาดเล็ก พอเหมาะกับขนาดของมือ และมีน้ําหนักเบา เชน สกัด ตะไบ ไขควง คอน เปนตน

43 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5.2 เครื่องมือกล (Power Tools) แบงออกไดเปน 2 ชนิด ดังนี้ 1) เครื่องมือกล (Machine Tools) คือ เครื่องมือที่ทํางานโดยอาศัยพลังงานจากไฟฟา เครื่องยนต หรือ ตนกําลังอื่น ๆ มีขนาดใหญ น้ําหนักมาก ไมสามารถเคลื่อนยายไดดวยมือ เชน เครื่องกลึง สวานแบบแทน เลื่อยวงเดือน เปนตน 2) เครื่ อ งมื อ กลชนิ ด เคลื่ อ นย า ยได (Portable Power Tools) คื อ เครื่ อ งมื อ กลขนาดเล็ ก ที่ ส ามารถ เคลื่อนยายไดงาย เชน สวานมือไฟฟา เลื่อยมือไฟฟา เครื่องเชื่อมไฟฟา เครื่องเชื่อมแกส เปนตน เนื่องจากเครื่องมือและเครื่องมือกลมีหลายประเภท และแตละประเภทจะมีวิธีใชเพื่อความปลอดภัยที่แตกตางกันออกไป ซึ่งหลักใหญ ๆ ที่ผูปฎิบัติงานควรปฏิบัติตาม มีดังนี้ 1) เลือกใชเครื่องมือและเครื่องมือกลใหถูกตองเหมาะสมกับงานที่ทํา 2) เลือกใชเครื่องมือและเครื่องมือกลที่มสี ภาพสมบูรณเทานั้น โดยเฉพาะอยางยิ่งตองมีอุปกรณปองกันอันตราย (Machine Guarding) ที่เหมาะสม และใชงานไดดีตลอดเวลา 3) ใชงานเครื่องมือและเครื่องมือกลดวยวิธีที่ถูกตอง 4) สวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลทุกครั้งที่ใชงาน 5) หามใชเครื่องมือหรือเครื่องมือกลทํางานที่ไมไดรับการมอบหมาย 6) หากตองทํางานกับเครื่องมือกลที่มีสวนที่หมุนได หามสวมถุงมือ เสื้อผาที่ไมกระชับ หรือเครื่องประดับ เด็ดขาด 7) ขณะควบคุมเครื่องมือกล เมื่อปดสวิตชแลว ควรรอจนกวาเครือ่ งจะปดสนิท เพื่อปองกันอันตรายแกบคุ คล ที่ไมทราบวาเครื่องมือกลยังเคลื่อนที่อยู 8) หามปรับแตงชิ้นงาน หรือวัดชิ้นงานขณะที่ยังเคลื่อนไหว 9) อยาพยายามหยุดเครื่องมือกลดวยมือหรือสวนใดสวนหนึ่งของรางกาย 10) อยาชะโงกหรือยื่นสวนใดสวนหนึ่งของรางกายเขาไปใกลสวนที่เคลื่อนไหวของเครื่องมือกลและชิ้นงาน 11) ไมประมาท และปฏิบัติงานอยางมีสติเสมอ 12) จัดเก็บ และบํารุง รัก ษาเครื่องมือ และเครื่องมือ กลอยางถูก ตอง ตามกติก าหรือ วิธีก ารที่ไดกําหนดไว อยางเครงครัด

44 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

6. การปฐมพยาบาลเบื้องตน การใหความชวยเหลือผูบาดเจ็บหรือผูปวย ณ สถานที่เกิดเหตุ โดยใชอุปกรณเทาที่หาไดในขณะนั้น กอ นทีจ่ ะสงตอ ผูบาดเจ็บไปยังโรงพยาบาล เปนการลดความรุนแรงของการบาดเจ็บหรือการเจ็บปวย ทําใหบรรเทาความเจ็บปวดทรมาน และชวยใหกลับสูสภาพเดิมโดยเร็ว รวมทั้งปองกันความพิการที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง 6.1 การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟไหม การที่ผิวหนังถูกทําลายดวยความรอนจนเกิดเปนแผลไหม ซึ่งผิวหนังที่ปกคลุมรางกายนั้นมีหนาที่ปองกันอันตราย และเชื้อ โรคไมใ ห เ ข า สู รา งกาย การเกิ ด แผลจึง ทํา ใหเ กิด อัน ตรายแกรา งกายตั้ง แตเ ล็ก นอ ยไปจนถึง เสีย ชีวิตได การชวยเหลืออยางถูกวิธีจึงสามารถลดความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นแกรางกายได หลักการปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟไหม 6.1.1 หยุดยั้งความรอน โดยปฏิบัติดังนี้ 1) ดับไฟโดยใชน้ําราด หรือใชผาหนา ๆ คลุมตัว 2) ถอดเสื้อผาที่ไหมไฟหรือถูกน้ํารอน พรอมถอดเครื่องประดับที่อมความรอนออกใหหมด 6.1.2 ตรวจรางกาย ดังนี้ 1) การหายใจ ถาพบสิ่งผิดปกติ เชน เสียงแหบ หายใจมีเสียงผิดปกติ เสมหะมีเขมาปน ตองชวยหายใจ โดยเร็ว 2) ชีพจร ถาเบามาก หรือไมเตนตองชวยนวดหัวใจ 3) การบาดเจ็บ เมื่อมีบาดแผลเลือดออกตองหามเลือด และถาหากกระดูกหักตองทําการเขาเฝอก ชั่วคราว 4) ประเมินความรุนแรงของแผลไฟไหม และใหการชวยเหลือตามความเหมาะสม 6.1.3 การปฐมพยาบาลแผลไหม 1) แผลในชั้นผิวหนัง - ระบายความรอนออกจากแผล โดยใชผาชุบน้ําประคบบริเวณบาดแผล แชลงในน้ํา หรือเปดใหน้ําไหลผานบริเวณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซึ่งจะชวย บรรเทาความเจ็บปวดได - ทาดวยยาทาแผลไหม - หามเจาะถุงน้ําหรือตัดหนังสวนที่พองออก - ปดดวยผาสะอาด เพื่อปองกันการติดเชื้อ - ถาแผลไหมบริเวณกวาง หรืออวัยวะที่สําคัญตองรีบนําสงโรงพยาบาล 45 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) แผลลึกในเนื้อเยื่อใตผิวหนัง - ไมตองระบายความรอนออกจากบาดแผล เพราะจะทําใหแผลติดเชื้อมากขึ้น - หามใสยาใด ๆ ลงในบาดแผล - ใช ผ าสะอาดหอ ตั วผูบาดเจ็ บเพื่ อปอ งกั นสิ่ง สกปรก ให ความอบอุ น และรี บนําสง โรงพยาบาล 6.2 การปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟฟาดูด การชวยเหลือ ผูถูก กระแสไฟฟาดูดมีความจําเปนอยางมากที่จ ะตอ งชวยเหลือ อยางรวดเร็วและถูกวิธี ดัง นั้น เพื่อใหผูที่ไดรับอันตราย และผูใหความชวยเหลือปลอดภัยทั้งคู จึงมีขอควรปฏิบัติดังตอไปนี้ 1) รีบตัดกระแสไฟฟา โดยปลดสวิตช คัทเอาท หรือเตาเสียบออก หรือใชวัตถุที่เปนฉนวนไฟฟา เชน ใชไมแหง เขี่ยสิ่งที่มีกระแสไฟฟาออกไป เปนตน 2) ใชวัตถุที่ไมเ ปนสื่อ ไฟฟา เชน ผาแหง เชือ ก สายยางแหง คลอ งตัวผูถูก ไฟฟาดูด แลวนําตัวออกมา หรือใชพลาสติกที่แหงสนิท ถุงมือยางหรือผาแหงพันมือใหหนา แลวจึงผลักหรือฉุดตัวผูถูก ไฟฟ าดูด ใหพนจากสิ่ง ที่มีกระแสไฟฟา โดยระวังไมใหรางกายของผูชวยเหลือ สัมผัสรางหรือเสื้อผาที่เปยกชื้น ของผูถูกไฟฟาดูดติดอยูเปนอันขาด 3) หากไมสามารถใชวิธีอื่นได ใหใชมีด ขวาน หรือของมีคมที่มีดามเปนฉนวน ฟนสายไฟใหขาดหลุดออก จากผูโดนไฟดูดโดยเร็ว ซึ่งตองทําดวยความระมัดระวังอยางสูง 4) หากมีไฟฟารั่วบริเวณที่มีน้ําขัง อยาลงไปในน้ํา ตองนําสายไฟฟาออกกอนจึงจะลงไปชวยผูถูกไฟฟาดูดได 5) หากเปนสายไฟฟาแรงสูง พยายามหลีกเลี่ยงอยาเขาใกล และรีบแจงการไฟฟาที่รับผิดชอบโดยเร็ว หลักการปฐมพยาบาลผูถูกกระแสไฟฟาดูด ผูถูกไฟฟาดูดอาจมีอาการช็อกหรือหมดสติ หากชวยเหลือไมทันอาจทําใหเสียชีวิตได ดังนั้นการปฐมพยาบาลเบื้องตน จะชวยเหลือและปองกันการสูญเสียชีวิตได โดยมีหลักการดังนี้ 1) ประเมินอาการ กรณีที่ผูปวยมีสติอยูแตมีบาดแผล ใหปฐมพยาบาลเบื้องตนกอนนําสงแพทย ถาหากผูถูกไฟฟาดูดหมดสติ หรือคลายหมดสติ ใหรีบปฏิบัติดังนี้ - ประเมินระดับความรูสกึ ตัว โดยเรียก เขยาตัว หรือตบที่ไหล ถาผูปวยหมดสติจะไมมีการโตตอบ - ประเมินการหายใจ โดยวิธีดังนี้

46 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1 

ดูความเคลื่อนไหวของทรวงอกและหนาทอง วามีการยกตัวขึ้นลงหรือไม และดูวามี การหายใจหรือไม

ฟงเสียงลมหายใจ โดยเอียงหูของผูชวยเหลือเขาไปใกลบริเวณจมูกและปากของผูปวย ตรวจสอบวาไดยินเสียงอากาศผานเขาออกหรือไม สัมผัสโดยใชแกมของผูชวยเหลือ สําลี หรือวัตถุบางเบา แนบลงใกลกับจมูกและปาก

ของผูปวย เพื่อสัมผัสความรูสึกวามีอากาศผานเขาออกจากปากและจมูกของผูปวย หรือไม หากพบวาผูปวยไมตอบสนอง รวมถึงหายใจผิดปกติหรือหยุดหายใจ ใหรีบโทร ขอความชวยเหลือจากหนวยแพทยทันที 2) การชวยฟนคืนชีพ (CPR) การชวยฟนคืนชีพ หรือ CPR ยอมาจาก Cardio Pulmonary Resuscitation เปนกระบวนการที่ชวยให หัวใจสามารถนําเลือดที่มีออกซิเจนไปเลี้ยงสวนตาง ๆ ของรางกายได เพื่อใหผูปวยสามารถหายใจและฟน กลับมาเขาสูสภาวะปกติ ทั้งนี้ หากพบผูหมดสติและหยุดหายใจหรือหายใจผิดปกติ ควรรีบแจงหนวยแพทย ถาผูชวยเหลือไมเคย ผานการฝกอบรม CPR ใหทําการกดหนาอกเพียงอยางเดียว โดยฟงคําแนะนําจากทีมแพทย แตถาผูชวยเหลือ เคยผานการฝกอบรม CPR มาแลว ใหทําการกดหนาอกสลับกับการชวยหายใจได ในการปฏิบัติการชวยฟนคืนชีพ ประกอบดวย 3 ขั้นตอนสําคัญ คือ A, B และ C ซึ่งตองทําตามลําดับ ดังนี้ A : Airway คือ การเปดทางเดิน หายใจใหโ ลง เนื่อ งจากโคนลิ้นและกลอ งเสียงมีก ารตกลงไปอุด ทางเดินหายใจสวนบนในผูปวยที่หมดสติ มีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง วางแขนสองขางแนบลําตัว - ใหผูชวยเหลือนั่งคุกเขาตรงระดับไหลของผูปวย - แหงนศีรษะของผูปวยโดยใชฝามือขางหนึ่งดันหนาผาก จากนั้นใชนิ้วชี้และนิ้วกลางของมืออีกขาง เชิดคางขึ้น เพื่อทําใหทางเดินหายใจโลง B : Breathing คือ การชวยหายใจ เพื่อชวยใหออกซิเจนเขาสูปอดผูปวย สามารถทําได 2 วิธี คือ - วิธีเปาลมเขาปาก ใหผูชวยเหลือบีบจมูกของผูปวย โดยผูชวยเหลือหายใจเขาปอดลึก ๆ 2 - 3 ครั้ง เมื่อหายใจเขาเต็มที่แลวจึงประกบปากใหแนบสนิทกับปากของผูปวย และเปาลมหายใจเขาไป ในปอดของผูปวยใหเต็มที่

47 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- วิธีเปาลมเขาจมูก ใชในรายที่มีการบาดเจ็บในปาก หรือในเด็กเล็ก โดยตองปดปากของผูปวยกอน และเปาลมหายใจเขาทางจมูกแทน ขณะที่เปาใหเหลือบมองทรวงอกของผูปวยดวยวามีการยกตัว ขึ้นหรือ ไม การเปาลมหายใจของผูชว ยเหลือ ผา นทางปากหรือ จมูก จะตอ งทําอยา งชา ๆ และถอนปากออกจากปากหรือจมูก ของผูปวย เพื่อใหผูปวยหายใจออก ใหผายปอด 2 ครั้ง ครั้งละ 1 - 1.5 วินาที C : Circulation คื อ การนวดหัว ใจภายนอก เมื่อ พบวาผูปว ยมีภ าวะหัว ใจหยุด เตน จะชว ยใหมี การไหลเวียนของเลือด โดยมีขั้นตอนดังนี้ - จัดใหผูปวยนอนหงายราบบนพื้นแข็ง - วัดตําแหนงที่เหมาะสําหรับการนวดหัวใจ โดยผูชวยเหลือใชนิ้วชี้และนิ้วกลางขางที่ถนัดวาดจาก ขอบชายโครงลางของผูปวยขึ้นไปจนถึงปลายกระดูกหนาอก โดยวัดเหนือปลายกระดูกหนาอก ขึ้นมา 2 นิ้วมือ ใชสันมือขางที่ไมถนัดวางบนตําแหนงดังกลาว และใชสันมือขางที่ถนัดวางทับลงไป จากนั้นเกี่ยวใหนิ้วมือ บนแนบชิดในรอ งนิ้วมือ ของมือ ขางลาง ยกปลายนิ้วขึ้นจากหนาอก และตองมั่นใจวาไมกดน้ําหนักลงบนกระดูกซี่โครงของผูปวย - ยื ด ไหล แ ละแขนทั้ ง 2 ข า งเหยี ย ดตรง จากนั้ น ปล อ ยน้ํ า หนั ก ตั ว ผ า นจากไหล ไ ปสู แ ขน ทั้งสองขาง และลงไปสูกระดูกหนาอกในแนวตั้งฉากกับลําตัวของผูปวย ในผูใหญและเด็กโต ใหกดลงไปลึกในแนวดิ่งประมาณ 5 เซนติเมตร และไมเกิน 6 เซนติเมตร - ผอ นมือ ที่กดเพื่อใหท รวงอกมีการขยายตัวเต็ม ที่ ขณะที่ผอ นมือ อยายกมือ ออกจากหนาอก ไมจําเปนตองยกมือขึ้นสูง โดยใหมือยังคงสัมผัสอยูที่กระดูกหนาอก - กดหนาอกดวยอัตราความเร็ว 100 - 120 ครั้งตอนาที จังหวะการกดแตละครั้ง ใหนับสองพยางค คือ “1 และ 2 และ 3 และ ... และ 14 และ 15” โดยกดหนาอก 30 ครั้ง สลับกับการชวย หายใจ 2 ครั้ง (30 : 2) 6.3 การปฐมพยาบาลผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษ การหายใจนําควัน ไอระเหย หรือแกสที่เปนพิษเขาไป อาจทําใหเกิดอันตรายตอโครงสรางและหนาที่ของรางกาย ความอันตรายจะรุนแรงเทาไร ขึ้นอยูกับคุณสมบัติและปริมาณของสารพิษนั้น ซึ่งสารพิษที่เขาสูรางกายผานการหายใจ แบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1) แกสที่ทําใหรางกายขาดออกซิเจน เกิดอาการวิงเวียน หนามืด เปนลมหมดสติ ถึงแกความตายได เชน คารบอนมอนอกไซด คารบอนไดออกไซด ไฮโดรเจน ไนโตรเจน เปนตน ปจจุบันพบวาแกสที่ทําใหเกิด ปญหาคอนขางบอย ไดแก คารบอนมอนอกไซด โดยเฉพาะในเมืองใหญ ๆ ที่มีปญหาการจราจรคับคั่ง 48 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

อากาศเปนพิษ โดยคารบอนมอนอกไซด เปนแกสไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมมีรส เกิดจากการเผาไหมที่ไมสมบูรณ ของน้ํามันเชื้อเพลิง เมื่อหายใจเขาไปในรางกาย แกสนี้จะแยงที่กับออกซิเจนในการจับกับฮีโมโกลบิน ในเม็ดเลือดแดง ทําใหเม็ดเลือดแดงไมสามารถไปยังเนื้อเยื่อทั่วรางกายได รางกายจึงมีอาการของการขาด ออกซิเจน ซึ่งถาชวยเหลือไมทันจะทําใหผูปวยเสียชีวิต เชน ในกรณีที่มีผูเสียชีวิตในรถยนต เปนตน 2) แก ส ที่ ทําให เ กิ ดการระคายเคื อ งตอ ระบบทางเดินหายใจ ไดแก คอ หลอดลม และปอด ถาไดรั บ ในปริมาณมากอาจทําใหตายได เชน ซัลเฟอรไดออกไซด ไมมีสี มีกลิ่นฉุน พบไดในโรงงานอุตสาหกรรม ใชทํากรดกํามะถัน เปนตน 3) แกสที่ทําใหอันตรายทั่วรางกาย ไดแก แกสอารซีน ไมมีสี กลิ่นคลายกระเทียม พบไดในโรงงานอุตสาหกรรม ใชทําแบตเตอรี่ เมื่อเขาสูรางกายจะทําใหเม็ดเลือดแดงแตก ปสสาวะเปนเลือด อาการดีซาน เชน ตาเหลือง ตัวเหลือง เปนตน หลักการปฐมพยาบาลผูไดรับควัน ไอระเหย และแกสที่เปนพิษ 1) กลั้นหายใจและรีบเปดประตูหนาตาง เพื่อใหอากาศถายเท และมีอากาศบริสุทธิ์เขามาในหอง จากนั้น ปดทอแกสหรือขจัดตนเหตุของพิษนั้น 2) นําผูปวยออกจากบริเวณที่เกิดเหตุไปยังที่มีอากาศบริสุทธิ์ 3) ประเมินการหายใจและการเตนของหัวใจ ถาไมมีอาการดังกลาวใหทําการผายปอดและนวดหัวใจ 4) นําสงโรงพยาบาล

49 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. ขอใดคือองคประกอบสําคัญทีท่ ําใหเกิดอุบัติเหตุ ก. สถานที่ทํางาน สภาพแวดลอมภายใน และสภาพแวดลอมภายนอก ข. เครื่องมือ เครือ่ งจักร และคน ค. คน เครื่องมือเครื่องจักร ภัยธรรมชาติ ง. สิ่งแวดลอม เครื่องมือเครื่องจักร คน 2. ขอใดคือการปฏิบัติตามกฎทั่วไปที่เกี่ยวกับความปลอดภัย ก. สังเกตและปฏิบัติตามปายหามปายเตือนอยางเครงครัด ข. บุคคลที่ไมมหี นาทีเ่ กี่ยวของ ใหขออนุญาตผูจ ัดการกอนเขาทุกครั้ง ค. ควรทํางานเพียงคนเดียว หากเปนงานที่มีอันตรายและมีผูชวยคอยดูอยูอีกหนึง่ คน

ง. แตงกายไมแนนอึดอัดจนเกินไป 3. ขอใดคือการปฏิบัติตามหลักการใชเครื่องมือและเครือ่ งมือกลเพื่อความปลอดภัย ก. ปรับแตงชิ้นงาน หรือวัดชิ้นงานขณะที่เคลื่อนไหว ข. ไมสวมถุงมือขณะใชเครื่องมือและเครื่องมือกลมีเกลียวหมุน ค. หามยื่นอวัยวะใด ๆ เขาไปใกลเครื่องมือกลทีก่ ําลังทํางาน ง. ใชเครื่องมือและเครื่องมือกลที่นอกเหนือจากประเภทของงาน 4. สมพรตองการซือ้ เครือ่ งดับเพลิงที่ดบั ไฟไดทกุ ประเภท และเมื่อเปดใชงานแลวถาสารเคมียงั ไมหมดสามารถใชงานตอไดอกี สมพรควรเลือกเครื่องดับเพลิงชนิดใด ก. ชนิดโฟม ข. ชนิดผงเคมีแหง ค. ชนิดเคมีสูตรน้ํา ง. ชนิดฮาโลตรอนวัน

50 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. แกสใดมีผลกระทบตอรางกาย เมื่อไดรับเขาไปแลวเกิดอาการหนามืด เปนลมหมดสติ หรืออาจทําใหเสียชีวิตได ก. แกสอารซีน ข. แกสออกซิเจน ค. แกสซัลเฟอรไดออกไซด ง. แกสคารบอนมอนอกไซด 6. ถาตองการหมวกนิรภัยที่ใชในงานเดินสายไฟในโรงงานอุตสาหกรรม ควรเลือกใชหมวกนิรภัยประเภทใด ก. ประเภท A ข. ประเภท B ค. ประเภท C ง. ประเภท D 7. สมชายทําการถอดเครื่องประดับที่อมความรอน และถอดเสื้อผาที่ถูกไฟไหมของผูบาดเจ็บออก สมชายปฏิบัติตามหลักการใด ในการปฐมพยาบาลผูไดรับบาดเจ็บจากไฟไหม ก. การตรวจรางกาย ข. การหยุดยัง้ ความรอน ค. การปฐมพยาบาลเบื้องตน ง. การปฐมพยาบาลแผลไหม 8. ขอใดไมใชสิ่งที่ชางเชื่อมควรปฏิบัติ เมือ่ ไดรับอันตรายจากกระแสไฟฟาดูด ก. ใชมีดที่มีดามเปนไม ฟนสายไฟใหขาดหลุดออก ข. รีบตัดกระแสไฟฟา โดยปลดสวิตช หรือคัทเอาท ค. ผลักหรือฉุดตัวผูถูกไฟฟาดูดใหพนจากบริเวณนั้นทันที ง. หากเปนสายไฟฟาแรงสูง ใหแจงการไฟฟาทีร่ ับผิดชอบโดยเร็ว

51 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6 7 8

52 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

รายละเอียดหัวขอวิชาที่ 2 0920721902 ความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด (ใบเตรียมการสอน)

1. ผลลัพธการเรียนรู 1. นํามาตรการปองกันสวนบุคคลสําหรับการเกิดไฟฟาดูด รังสีไหมผิวหนังและตา การบาดเจ็บจาก โลหะรอน สะเก็ด จากการตัด แกส และเชื่ อ ม ควั น ที่ อ อกมาจากการเผาไหมข องไอระเหยของโลหะเติม และชิ้ น งานเชื่ อ มไปใช ไดอยางถูกตอง 2. นํามาตรการปองกันการเกิดอัคคีภัยขณะทํางานใกลวัสดุติดไฟไปใชไดอยางถูกตอง 3. จําแนกชนิดของแกสพิษที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเชื่อมและการตัดเหล็กกลาคารบอนดวยแกส การบาดเจ็บของชาง เชื่อมจากแกสพิษที่เกี่ยวของกับการเชื่อม และการตัดเหล็กกลาคารบอนดวยแกสไดอยางถูกตอง 4. นํามาตรการปองกันในการใชขวดแกส (Cylinder) ความดันสูงไปใชไดอยางถูกตอง 5. นํามาตรการปองกันการเกิดอันตรายขณะทํางานใกลเครื่องมืออุปกรณที่อยูในพื้นที่ทําการเชื่อมไปใชไดอยางถูกตอง

2. หัวขอสําคัญ 1. อันตรายจากการเชื่อมและตัด 2. มาตรการปองกันอันตรายจากการเชื่อมและตัด

3. วิธีการฝกอบรม การฝกอบรมสามารถเลือกได 3 รูปแบบ คือ 1) การฝกอบรมดวยการสงมอบสื่อสิ่งพิมพ 2) การฝกอบรมที่ศูนยฝกอบรม 3) การฝกอบรมดวยสื่อในระบบออนไลน ดังรายละเอียดในขอแนะนําสําหรับครูฝก

4. อุปกรณชวยฝก 1. สื่อการฝกอบรม ครูฝกสามารถเลือกใชงานสื่อได 2 รูปแบบ คือ 1.1 รูปแบบสื่อสิ่งพิมพ (Offline) ประกอบดวย - คูมือครูฝก เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 53 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- คูมือการประเมิน เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (DVD) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม 1.2 รูปแบบอิเล็กทรอนิกส (Online) ประกอบดวย - คูมือครูฝกรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม - คูมือการประเมินรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส (.pdf) เพื่อบันทึกผลการประเมินการทดสอบของผูรับการฝก - สื่อวีดิทัศน (Online) เพื่อประกอบการจัดการฝกอบรม

5. ขั้นตอนการฝกอบรม 1. ครูฝกมอบหมายใหผรู ับการฝกทําแบบทดสอบกอนฝก (Post-Test) และประเมินผล 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไป หรือเขารับการฝกในโมดูลที่ครูฝกกําหนดได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายผูร ับการฝกใหฝกอบรมภาคทฤษฎี 2. การฝกอบรมภาคทฤษฎี ใหผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝก และฝกหัดทําใบทดสอบทายหัวขอวิชา 3. เมื่อผูรับการฝกศึกษาคูมือผูรับการฝกประจําโมดูลนั้นเขาใจแลว ใหครูฝกมอบหมายผูรับการฝกใหทําแบบทดสอบ หลังฝก (Post-Test) และประเมินผลเชนเดียวกับแบบทดสอบกอนฝก

6. การวัดผล 1. ครูฝกประเมินผลภาคทฤษฎีจากแบบทดสอบกอนฝก 1.1 ถาผลการประเมินผานเกณฑรอยละ 70 ตามที่กําหนดในเอกสารโครงรางหลักสูตร จะมีสิทธิ์ขอเขารับการฝก ภาคปฏิบัติ (ถามี) หรือเขารับการฝกในโมดูลถัดไปได 1.2 ถาผลการประเมินต่ํากวารอยละ 70 ใหครูฝก มอบหมายใหผรู ับการฝกศึกษาเนื้อหาจากสื่อดวยตนเองจนเขาใจ จึงทําแบบทดสอบหลังฝก (Post-Test) 2. ครูฝกประเมินแบบทดสอบหลังฝก โดยใชหลักเกณฑเดียวกับการประเมินแบบทดสอบกอนฝก

7. บรรณานุกรม บริษัท ไทยออยล จํากัด . 2558. ขอบังคับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : https://www.thaioilgroup.com/upload/content_file/25580220172352_qmos.pdf สยามเซฟตี้. 2546. มาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัย. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.siamsafety.com/Safety%20Inspection%20Standard%20Thai.DOC

54 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

บริษัท เทอรมอล แมคคานิคส จํากัด. 2558. อันตรายจากควันเชื่อม. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://thermalmech.com/อันตรายจากควันเชื่อม/ จันทรจารี เกตุมาโร. ม.ป.ป. บทที่ 6 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลในการทํางาน. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://e-book.ram.edu/e-book/h/HA233/chapter6.pdf บริษัท ผลธัญญะ จํากัด (มหาชน). 2556. ชนิดอุปกรณปองกันดวงตา. [ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.thaisafetywiki.com/safety-glasses/69-protect-eye บริ ษั ท ผลธั ญ ญะ จํ า กั ด (มหาชน). 2556. ประเภทอุ ป กรณ ป อ งกั นทางหายใจ. [ออนไลน ]. เข า ถึ ง ได จ าก : http://thai-safetywiki.com/respirator/62-respirator-type

55 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นเตรียม 1. เช็คชื่อผูรับการฝก 1. ขานชื่อตามเลขที่ 2. เตรียมเครื่อง Projector 2. ชวยครูเตรียมเครื่อง Projector ขั้นประเมินผลกอนเรียน ถามพื้นความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเชื่อม ตอบคําถาม ดวยความตั้งใจ โดยใชความรูพื้นฐาน และตัด ที่มีอยู ขั้นนําเขาสูบทเรียน 1. ถามคํ าถามที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ เนื้ อ หาเพื่อ สร า ง 1. ฟง ตอบคําถามและซักถามขอสงสัย ความสนใจ 2. บอกผลลัพธการเรียนรูใ นเรือ่ ง ความปลอดภัย 2. ฟง และซักถามขอสงสัย ในการเชื่อมและตัด ขั้นสอน 1. แจกคูม ือ ผูรับ การฝก เรื่อ ง ความปลอดภัย 1. รับ คูมือ ผูรับ การฝก เรื่อ ง ความปลอดภัยในการ ในการเชื่อมและตัด หนาที่ 44 - 60 เชื่อมและตัด หนาที่ 44 - 60 ไปศึกษา 2. สอนเนื้อหาเรื่อง ความปลอดภัยในการเชื่อม 2. จดบันทึก ตอบคําถาม ซัก ถามขอสงสัยตรงตาม และตัด โดยใชวิธีถาม - ตอบกับผูรับการฝก เนื้อหาดวยวาจาที่สุภาพเรียบรอย และใชความรูเดิมของผูรับการฝกมาตอยอด เปนความรู ใหม พ ร อ มใช สื่ อ วี ดิ ทั ศ น นาทีที่ 00.00 - 23.01 โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 2.1 การใชอุป กรณความปลอดภั ย ใน การเชื่อมและตัด 2.2 มาตรการปองกันอันตรายจากการ เชื่อมและตัด 3. มอบหมายใหทําใบทดสอบจากคูมือผูรับการ 3. ทําใบทดสอบหนาที่ 58 - 60 โดยครูฝกคอยสังเกต ฝก หนาที่ 58 - 60 และใหคําแนะนําเพิ่มเติม 4. เฉลยใบทดสอบ โดยดู เ ฉลยจากคู มือ ครูฝก 4. จดบันทึก ตอบคําถาม ซักถามขอสงสัยดวยวาจาที่ หนาที่ 71 สุภาพเรียบรอย ตรวจใบทดสอบโดยสลับกันตรวจ กับเพื่อนดวยความถูกตองและเปนธรรม

56 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

กิจกรรมการฝกอบรม ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครูฝก ขั้นตอนการเรียนหรือกิจกรรมของผูรับการฝก ขั้นสรุป นําอภิปรายสรุปสาระสําคัญเรือ่ ง ความปลอดภัย อภิปรายและรวมสรุปเรื่องที่เรียนรวมกัน ในการเชื่อมและตัด ขั้นประเมินผลหลังการฝก สรุปผลการประเมินผลรวมเรือ่ ง ความปลอดภัยใน รับฟงผลการประเมิน และซักถามขอสงสัย การเชื่อมและตัด เกี่ยวกับกิจนิสัยในการปฏิบัตงิ าน และคุณลักษณะที่ตองการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรม และใบทดสอบ

57 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบขอมูล หัวขอวิชาที่ 2 ความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด 1. การใชอุปกรณความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด อุปกรณความปลอดภัยในการเชื่อมและตัด เปนอุปกรณที่ผูปฏิบัติงานใชในการสวมใสขณะทํางานเพื่อปอ งกันอันตราย ที่อาจเกิดขึ้น เนื่องจากสภาพและสิ่งแวดลอมในพื้นที่ปฏิบัติงาน ซึ่งอุปกรณความปลอดภัยในการเชื่อมและตัดมีดังนี้ 1.1 หนากากเชื่อม หนากากเชื่อมในการปฏิบัติงานเชื่อมนั้น มีรูปรางและแบบแตกตางกัน แตโดยทั่วไปแบงออกเปน 3 แบบ คือ แบบมือถือ แบบสวมศีรษะ และแบบปรับแสงอัตโนมัติ หนากากเชื่อมมีหนาที่ปองกันใบหนาและศีรษะของชางเชื่อม จากสะเก็ดโลหะหรือประกายไฟขณะเชื่อม และปองกันสายตาจากรังสีอุลตราไวโอเลตและรังสีอินฟาเรด โครงสรางของ หนากากเชื่อม ทําจากวัสดุที่มีน้ําหนักเบาและทนความรอนสูง หนากากเชื่อมแบบมือถือ ใชสําหรับงานตรวจสอบแนวเชื่อมและงานที่ผูสวมไมไดเปนผูเชื่อมเอง ใชมือในการถือ หนากากเชื่อม และโดยทั่วไปกระจกที่ใชปองกันคือ กระจกกรองแสงเบอร 10

ภาพที่ 2.1 หนากากเชื่อมแบบมือถือ หนากากแบบสวมศี ร ษะ จะมี ส ายรั ดศีร ษะซึ่งสามารถปรับระดับ ใหเหมาะสมกับศี รษะของผูใชได มีปุม หมุน ในการปรับขนาด ซึ่งเหมาะสําหรับงานเชื่อมที่ตองใชความคลองตัวในการปฏิบัติงาน

ภาพที่ 2.2 หนากากเชื่อมแบบสวมศีรษะ หนากากเชื่อมแบบปรับแสงอัตโนมัติ ควบคุมการปรับแสงที่เกิดจากงานเชื่อมไดอยางรวดเร็ว โดยระบบอิเล็คทรอนิกส ที่มีความเที่ยงตรงสูง สามารถปรับระดับความเขมของแสงไดหลายระดับ น้ําหนักเบา หนาจอใหญทําใหเห็นมุมมองที่กวางขึน้ และชวยถนอมสายตาในขณะปฏิบัติงาน จึงสามารถนําไปใชงานไดหลากหลาย 58 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 2.3 หนากากเชื่อมแบบปรับแสงอัตโนมัติ 1.2 ถุงมือหนัง ถุงมือหนังสําหรับงานเชื่อมและตัด เปนอุปกรณปองกันความรอนจากสะเก็ดไฟไดดี ทนตอการบาดเฉือน การตัดฉีก ฉีกขาด และเจาะทะลุจากสิ่งของมีคม ถุงมือหนังมีทั้งชนิดแขนสั้นและแขนยาวเลือกใชไดตามลักษณะของงาน บางชนิด เสริมหนังเพิ่มบริเวณอุงมือ เพื่อทนตอการเสียดสีและรอยขีดขวนไดดี มีซับในทําใหสวมใสสะดวก และทนตอความรอน ไดมากยิ่งขึ้น

ภาพที่ 2.4 ถุงมือหนังสําหรับงานเชื่อมและตัด 1.3 ชุดเอี๊ยมหนัง ชุดเอี๊ยมหนัง เปนอุปกรณความปลอดภัยที่ทําจากหนัง ใชสําหรับสวมใสเพื่อปองกันรางกายจากการทํางานที่มี การแผความรอนจากการหลอมเหลวโลหะ ปองกันการไดรับรังสี และสะเก็ดไฟเชื่อมในขณะปฏิบัติงานเชื่อม โดยชุด ปองกันนี้ตองผลิตจากหนังที่มีคุณภาพ และงายตอการสวมใส รวมไปถึงความคลองตัวขณะปฏิบัติงานดวย

ภาพที่ 2.5 ชุดเอี๊ยมหนังสําหรับงานเชื่อม 59 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

1.4 รองเทานิรภัย รองเทานิร ภัย เปนอุป กรณที่ใชปอ งกันอันตรายของเทา ปอ งกันวัตถุก ระแทกหรือ หลนทับ รองเทาสําหรับ การปฏิบัติงานเชื่อมและตัดควรเปนรองเทาหุมแข็ง ที่อ อกแบบมาเพื่อ ปองกันอันตรายจากการทํางานที่มีความรอน จากการถลุงหรือหลอมโลหะ งานเชื่อมตาง ๆ ซึ่งรองเทาตองไมมีการเจาะตาไกรอยเชือก เนื่องจากจะเปนชองทาง ใหโลหะที่เชื่อมหรือหลอมเหลวกระเด็นหรือไหลเขารองเทาได น้ําหนักของรองเทาไมมากเกินไป สวมกระชับ ใสสบาย และถอด - ใสสะดวกเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน เชน สารเคมี หรือสะเก็ดไฟกระเด็นเขาไปในรองเทา เปนตน

ภาพที่ 2.6 รองเทานิรภัยสําหรับงานเชื่อมและตัด 1.5 คีมจับงานรอน คีมจับงานรอน เปนคีมที่มีความแข็งแรง ใชคีบจับชิ้นงานที่เชื่อมแลวและยังมีความรอนอยู เพื่อตรวจสอบการทํางาน ปากคีมขึ้นอยูกับรูปรางของชิ้นงาน เชน ชิ้นงานมีลักษณะเปนแผน ใชคีมปากแบน ชิ้นงานเปนทรงกลม (เพลา) ใชคีมปากกลม เปนตน

ภาพที่ 2.7 คีมจับงานรอนแบบแบน 1.6 ผาและหนากากปดจมูก ผาและหนากากปดจมูกสําหรับงานเชื่อมและตัด ทําหนาที่กรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ ปองกันฝุนละออง ละอองพิษ และเชื้อโรคที่เกิดจากการปฏิ บัติง าน ทําใหไดอ ากาศที่บริสุทธิ์กอนจะเขาสูทางเดินหายใจ ผูป ฏิบัติงาน สามารถเลือกใชผาหรือหนากากปดจมูกไดตามลักษณะของงานที่ปฏิบัติ 60 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 2.8 ตัวอยางผาและหนากากปดจมูกสําหรับงานเชื่อมและตัด 1.7 ที่อุดหู ที่อุดหู เปนอุปกรณที่สวมใสเพื่อกั้นความดังของเสียงที่จะมากระทบตอ แกวหู กระดูกหู และปองกันอันตราย ที่มีตอระบบการไดยิน ที่อุดหูมีหลายชนิด เชน ชนิดสอดเขาไปในรูหู อุปกรณปองกันหูชนิดนี้นิยมใชกันมาก เนื่องจาก ราคาไมแพง สะดวกในการเก็บ และทําความสะอาดงาย ชนิดครอบหู เปนอุปกรณปองกันหูที่ครอบปดหูสว นนอก ทําใหสามารถกั้นเสียงไดมากกวาชนิดสอดเขาไปในรูหู ประสิทธิภาพในการกั้นเสียงของอุปกรณชนิดนี้ ขึ้นอยูกับขนาด รูปราง วัสดุกันเสียงรั่วรอบ ๆ ที่ครอบหู และวัสดุดูดซับเสียงในที่ครอบหู เปนตน

ภาพที่ 2.9 ที่อุดหูและที่ครอบหู 2. มาตรการปองกันอันตรายจากการเชื่อมและตัด 2.1 มาตรการปองกันการเกิดไฟฟาดูด ไฟฟาเปนแหลงพลังงานสําคัญในงานเชื่อม และอาจกอใหเกิดอันตรายแกผูปฏิบัติงานไดเชนกันถาใชงานไมถูกวิธี ซึ่งอันตรายจากกระแสไฟฟาดูด เปนสิ่งที่เกิดกับผูปฏิบัติงานบอยครั้ง เนื่องจากรางกายไปสัมผัสชิ้นสวนที่มีกระแสไฟฟา ไหลผาน เชน คีม จับ ลวดเชื่อ ม แคลมปสําหรับ สายดิน อิเ ล็ก โทรด ปลายทิป หัวเชื่อ ม ลวดเชื่อ มที่เ ติม ในแนวเชื่อม และหัวทอรชเชื่อ ม ชิ้นสวนที่ไมไดหุม ฉนวนในสายไฟที่ก ระแสไหลกลับ (สายดิน) เปนตน จึง ทําใหมีก ระแสไฟฟา ไหลผานรางกาย โดยเสนทางการไหลของกระแสไฟฟาเปนไปไดทั้ง แนวยาวและแนวขวางของรางกาย ซึ่ง การไหล ของกระแสไฟฟาในแนวยาวมีอันตรายกวากระแสไฟฟาในแนวขวาง และถากระแสไฟฟาไหลผานอวัยวะที่สําคัญ เชน ศีรษะและทรวงอก อาจทําใหถึงแกชีวิตได

61 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 2.10 กระแสไฟฟาไหลตามแนวยาวของรางกาย

ภาพที่ 2.11 กระแสไฟฟาไหลตามแนวขวางของรางกาย ผูปฏิบัติงานจึงควรปฏิบัติตามขอตอไปนี้ 1) สวมถุงมือหนังที่ทนตอความรอนทั้งสองขาง 2) สวมชุดปฏิบัติงานที่สําหรับงานเชื่อม 3) สวมรองเทานิรภัยเพื่อปองกันไฟฟาดูด 4) ศึกษาวิธีการใชงานอุปกรณ 5) สําหรับสถานที่ปฏิบัติงานที่มีการสัมผัสชิ้นสวนที่มีกระแสไฟฟาโดยปราศจากการปองกันรางกายระหวาง ปฏิบัติการเชื่อม เชน การนั่งคุกเขา การนั่ง การนอน หรือการพิง ตองมีเนื้อที่เพียงพอตอการเคลื่อนไหว ของรางกายกับชิ้นสวนที่มีกระแสไฟฟาไมนอยกวา 2 เมตร 6) หากตองปฏิบัติงานเชื่อมในที่แคบ ควรเลือกใชเครื่องเชื่อมชนิดกระแสตรง (DC) เพื่อความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน 7) หากผูปฏิบัติงานเกิดไฟฟาดูดติดอยูกับวงจรไฟฟา ตองตัดวงจรไฟฟาทันที และใชเครื่องเชื่อมที่เหมาะสม มีเครื่องหมายสัญลักษณความปลอดภัยดานไฟฟาตามมาตรฐาน

62 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2.2 มาตรการปองกันรังสีจากการเชื่อม ในการปฏิบัติงานเชื่อ ม จะเกิดแสง ความรอ น และแกส พิษขณะปฏิบัติงาน ซึ่ง กอ ใหเกิดอันตรายตอรางกาย ของผูปฏิบัติงาน เช น แก ส คาร บ อนมอนอกไซด ทําใหมีอ าการมึนงง เวียนศีร ษะ หรือแกสโอโซน ทําใหปวดศีรษะ ระคายเคืองตา เปนตน นอกจากแกสพิษแลวยังมีรังสีที่กอใหเกิดอันตรายตอนัยนตาและผิวหนัง ดังตอไปนี้ 1) รัง สีอัลตราไวโอเล็ต เปนรัง สีที่เปนอันตรายตอสายตา โดยจะซึมผานกระจกตาทําใหเกิดการอักเสบ หรือ เรียกอีกอยางวา Arc Eye (แสงอารกเขาตา) ผูป ฏิบัติง านจะมีอ าการปวดนัยนตา นอกจากนั้น รังสีอัลตราไวโอเลตยังเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดผิวหนังแดง ไหม เหมือนถูกแสงแดดเผา 2) คลื่นแสงที่สามารถมองเห็นได เปนรังสีที่มีผลกระทบกับตามากที่สุด ซึ่งแสงที่มองเห็นมีผลกระทบตอเยื่อตา (Retina) สงผลตอการมองเห็นกับสมอง 3) รังสีอินฟราเรด ผลกระทบจะคลายกับแสงที่มองเห็นดวยนัยนตา และยังเกิดความรอนเผาไหมผิวหนัง เพื่อปองกันอันตรายจากรังสีผูปฏิบัติงานจึงควรปฏิบัติตามขอตอไปนี้ - การปองกันดวงตาและใบหนา ตองใชหนากากเชื่อมแบบมือถือหรือสวมศีรษะ กระจกกรองแสง ที่ใชในการเชื่อมที่ไดมาตรฐาน และหามสวมแวนตาดําในการเชื่อมเด็ดขาด - การปองกันผิวหนัง ควรสวมเครื่องปองกันรางกาย เพื่อปองกันจากการแผรังสีที่เปนอันตราย สวมเสื้อที่ปดคอและรองเทาที่ปดมิดชิด นอกจากนั้น ในการเชื่อมแม็ก หรือการตัดดวยกรรมวิธี ความรอน ควรสวมเครื่องปองกันเพิ่มเติม เชน สวมเอี๊ยมหนังปองกันความรอนและไฟไหม หรือชุดปองกันสําหรับชางเชื่อม พรอมอุปกรณนิรภัย เปนตน 2.3 มาตรการปองกันโลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ในการปฏิบัติงานตัดหรือเชื่อม ตองใชแกสที่มีความรอนสูงในการทํางานซึ่งขณะที่ปฏิบัติงานอาจจะมีสะเก็ดที่เกิดขึ้น จากการตัดหรือเชื่อมซึ่งมีความรอนสูงมากอาจกอใหเกิดอันตรายตอผูปฏิบัติงานได ดังนั้น เพื่อปองกันอันตรายจากโลหะรอน สะเก็ดจากการตัดแกสและเชื่อม ผูปฏิบัติงานจึงควรปฏิบัติตามขอตอไปนี้ 1) ใชหนากากเชื่อม และแวนตานิรภัยสําหรับงานเชื่อม เพื่อปองกันอันตรายจากความรอน 2) สวมถุงมือหนังสําหรับงานเชื่อม เพื่อปองกันการติดไฟของสะเก็ดโลหะ หรือโลหะรอน 3) สวมเครือ่ งปองกันรางกาย เสื้อผาที่ไมติดไฟงาย เชน เอี๊ยมหนังปองกันความรอนและไฟไหม หรือชุดปองกัน สําหรับชางเชื่อม

63 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ภาพที่ 2.12 การแตงกายที่ถูกตองในการปฏิบัติงานเชื่อมหรือตัด 2.4 มาตรการปองกันแกสพิษ และควันที่ออกมาจากการเผาไหม ในการเชื่อมและการตัดเหล็กกลา ขณะที่ปฏิบัติงานจะเกิดควันและแกสพิษขึ้นจากการเชื่อม ซึ่งสามารถเขาไปใน ระบบทางเดินหายใจและกอใหเกิดอันตรายไดเมื่อสะสมไปนาน ๆ ซึ่งควันและฝุนที่เกิดจากการเชื่อมมีขนาดเล็กมาก เมื่อเขาไปพรอมลมหายใจแลวสะสมภายในปอด จะทําใหปอดอักเสบและอาจลุกลามไปถึงมะเร็งปอดได โดยอนุภาค ภายในควันที่เกิดขึ้นกอใหเกิดอันตรายตอรางกาย เชน สังกะสีออกไซดจากโลหะเคลือบผิว แคลเซียมฟลูออไรดที่มาจาก สารพอกหุมแกนลวดเชื่อมที่เปนดาง เมื่อผสมกับบรรยากาศที่มีความชื้นจะเกิดกรดไฮโดรฟลูออริคสูงมากขึ้น เปนตน นอกจากนั้นขณะปฏิบัติงานอาจเกิดแกสพิษที่สงผลตอสุขภาพได ดังนี้ 1) แกสไนโตรเจนออกไซด ประกอบดวย ไนตริกออกไซด และไนโตรเจนไดออกไซด เมื่อไดรับจะระคายเคืองตา จมูก และลําคอ มีผลทําใหเกิดอาการน้ําทวมปอดได 2) แกสโอโซน เกิดจากรังสีอัลตราไวโอเลตทําปฏิกิรยิ ากับออกซิเจน ซึ่งมาจากการตัดเหล็กที่ใชแกสอารกอน การเชื่อมควันจากการเชื่อมทังสเตน หรือการเชื่อมดวยแกส เมื่อไดรับจะทําใหปวดศีรษะ ระคายเคืองตา น้ํามูกไหลมาก งวงนอน เซื่องซึม ระคายเคืองทางเดินหายใจ หากมีอาการรุนแรงอาจมีของเหลวหรือ เลือดคั่งในปอดได 3) แกส คารบ อนมอนอกไซด เกิดจากแกสคารบ อนไดออกไซดเปนแกส เชื่อ ม หรือ เกิดจากการเผาไหม ไมสมบูรณของสารบางขนิด เชน สี หรือ ไข เมื่อไดรับจะมีอาการมึนงง เวียนศีรษะ หมดสติ และอาจทําให เสียชีวิตได

64 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

4) แกสคารบอนไดออกไซด ถาพื้นที่ปฏิบัติงานคับแคบมีการระบายอากาศที่ไมเพียงพอ แกสคารบอนไดออกไซด จะเขาไปแทนที่ออกซิเจน ทําใหบริเวณนั้นขาดออกซิเจนและอาจทําใหชางเชื่อมหมดสติไดโดยไมรูตัว เพื่อปองกันอันตรายจากแกสพิษผูปฏิบัติงานจึงควรปฏิบัติตามนี้ - ใชอุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ เชน หนากากอนามัย เพื่อกรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ เชน ฟูม ควัน แกสพิษ ไอระเหย เปนตน ใหเขาสูระบบทางเดินหายใจไดนอยที่สุด - ใชอุปกรณปองกันสวนบุคคลในบริเวณอื่นของรางกาย เชน ใบหนา ดวงตา รางกาย เพื่อปองกัน อนุภาคของควันและแกสพิษติดตามรางกาย ซึ่ง อาจเกิดการตกคางและกอ ใหเกิดอันตราย ภายหลังได 2.5 มาตรการปองกันอันตรายจากวัสดุและอุปกรณในพื้นที่ทําการเชื่อม ในพื้นที่ทําการเชื่อม ผูปฏิบัติงานตองเกี่ยวของกับวัสดุและอุปกรณหลายชนิด เชน ขวดแกส เครื่องเชื่อม ลวดเชื่อม เปนตน ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตราย อัคคีภัย และการระเบิด ดังนั้น เพื่อใหพื้นที่ทําการเชื่อมปลอดภัย ผูปฏิบัติงานจึงควร ปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัย ดังนี้ 1) ถังออกซิเจนและถังอะเซทิลีน (Oxygen and Acetylene Cylinder) - ถัง ลมและถัง แกสตอ งตั้งไวกับ กระบะหรือวัตถุที่มั่นคง รัดดวยโซห รือ เหล็กรัด (ไมใชเ ชือ ก หรือลวดมัด) - ปดวาลวเมื่อไมไดใชงาน ไมปลอยใหแรงดันลมคางอยูในสายขณะเก็บ - สาย อุปกรณตัด วาลวถังลมและแกส ตองไมเปรอะเปอนน้ํามันหรือจาระบี - ถังตองตัง้ อยูตลอดเวลา ทั้งในขณะใชหรือเก็บ - ตองอยูหางจากประกายไฟ วัสดุไวไฟ หรือสะเก็ดไฟจากการเชื่อม - สายลมตองอยูในสภาพดี ไมเปอนน้ํามันหรือจาระบี ไมมีรอยถลอก ขีดขวน - สายลมตองมวนเก็บใหเรียบรอย - ถังเปลาตองแยกและสงคืนแวรเฮาส หามเก็บไวบริเวณที่ทํางาน - หามใชแกสในความดันสูงเกิน 28 พีเอสไอ ใชตัวกันไฟยอนกลับ (โคดสีจะเปนสีเดียวกับทอ) ตองใชพรอมกันทั้งสองถัง - หัวตัดตองมีสภาพดี (หามใชหัวที่ชํารุดมีรอยราว) ปลายตองสะอาด และจุดไฟติดดวยอุปกรณจุดไฟ

65 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

2) หองควบคุมไฟฟา (Electrical Control Room) - ตองจัดเก็บและทําความสะอาดใหเปนมาตรฐาน - ทางเขาตองไมมีสิ่งของเกะกะกีดขวาง ประตูควรเปนระบบปดอัตโนมัติและไมควรเปนระบบล็อก - แผงควบคุมไฟฟาตองไมมีสิ่งของกีดขวางในระยะ 1.5 เมตร - อุปกรณตรวจจับควัน ตองตรวจสอบการทํางานดวยการทดลองทําใหเกิดควัน และรอสัญญาณ แจงเหตุจากหองควบคุม - แผงควบคุมวงจรตองมีฝาปดมิดชิด ยกเวนชนิดที่มีตะแกรงปด - จัดเก็บสิ่งของตาง ๆ ยกเวนแผนแบบแปลนซึ่งตองวางบนโตะ และไมควรมีชิ้นสวนอุปกรณตาง ๆ เชน นอต สกรู เก็บไวในหองควบคุมไฟฟา สวิตชควบคุมกระแสไฟแรงสูงติดตั้งไวในที่ไมกีดขวาง แผงควบคุมหรือทางเดิน - ตองไมมีสิ่งของตาง ๆ หรือฝุนละอองกองสะสมอยูบนแผงควบคุมไฟฟา - สายไฟที่ตอเขาภายในหองตองผนึกไวดวยวัสดุที่ไมติดไฟ - ตูควบคุมวงจรทุกตูตองสะอาด มีเครื่องหมายชัดเจน และตองแนใจวาแผงควบคุมไมเปรอะเปอ น ฝุน น้ํามัน หรือจาระบี และมีเครื่องหมายแสดงถึงจุดที่ควบคุมโดยตูนั้น ๆ ดวย - ฝาตูควบคุมวงจรตองปดล็อก ไมสามารถเปดไดโดยผูไมมีหนาที่เกี่ยวของ - แผงสวิตชไฟทั้งหมดตองไมสามารถเปดไดจนกวาตูควบคุมวงจรจะตัดกระแสไฟกอน - ถังดับเพลิงตองเปนชนิดมาตรฐานสากล - แสงไฟสองสวางตองเปนไปตามมาตรฐาน - จั ด เก็ บ วั ส ดุ ติ ด ไฟทุ ก ชนิ ด ถั ง ขยะต อ งป ด มิ ด ชิ ด อุ ป กรณ ต า ง ๆ ต อ งนํ า ออกไปหลัง จาก ปฏิบัติงานเสร็จ 3) ตูควบคุม วงจร ส วนแยกควบคุม วงจรในพื้นที่ป ฏิบัติง าน (Local Panels, Electrical Devices and Controls in the Work Area) - ตองติดตั้งอยางมั่นคงปลอดภัยบนผนังอาคารหรือเสาเหล็ก (ไมใชวิธีผูกรัดดวยเชือกหรือลวด) - ตองปดผนึกกันฝุนหรือน้ําเขา ตรวจสอบรูรั่วหรือรอยราวทุกดานของตู ดานลางอาจมีชองระบาย ซึ่งไดผานการตรวจรับแลว ตรวจสายไฟเขาตูที่อาจจะหลวม - ตองล็อกปดผนึก เพื่อปองกันผูไมมีหนาที่เกี่ยวของเปดตู - ทางเขาตองไมมีสิ่งของเกะกะทําใหเขาออกไมสะดวก มีบริเวณอยางนอย 1.5 เมตร และรอบ ๆ ตู ตองไมมีวัสดุวางเกะกะ 66 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

- ตูตองสะอาด และมีเครื่องหมายที่ชัดเจน ไมมีรอยเปอนฝุน จาระบี หรือน้ํามันบนแผงควบคุม - มีเครื่องหมายแจงใหทราบถึงอุปกรณไฟฟาที่ปฏิบัติงาน และตําแหนงการสงพลังงาน 4) แสงสองสวาง (Lighting) - ไฟฉุกเฉินชนิดแบตเตอรี่ที่ติดตั้งแลว ตองมีปายใหเห็นชัดเจนและมีการทดสอบการทํางาน - แสงสวางตองเพียงพอตอการทํางาน - ตองใชงานได (เช็คสวิตชเพื่อใหแนใจวาไฟติด) - ตองติดตั้งอยางมั่นคง (ไมใชเชือกหรือลวดมัด) - แผนสะทอนแสง แผนครอบ ตองสะอาดและมีสภาพดี (ไมแตกราวหรือที่ครอบหาย) 5) รางสายไฟ (Cable Trays) - ตองไมมีขยะกองสะสม ไมมีเศษจาระบี น้ํามัน เศษผา เศษหิน หรือขี้โคลนทับบนสายไฟ - ตองไมมีรอยสนิมหรือรอยผุกรอน - สายไฟตองเก็บใหเปนระเบียบ (ใชตัวรัดสายไฟ ไมใชเชือกหรือลวดมัด) - ปองกันในสวนที่อาจมีหิน น้ํามัน หรือวัสดุอื่นตกใส และทําใหสายไฟชํารุด - ตองใชขายึดที่มั่นคงแข็งแรง หามใชเชือกหรือวัสดุอื่นทําเปนที่ยึดชั่วคราว - ตองไมมีวัสดุอื่นหอยหรือวางไปบนรางสายไฟนอกจากสายไฟเทานั้น (ทอยางชั่วคราว ทอแข็ง หรือถัง ไมควรใชเปนฐานวางรางสายไฟ) 6) สายไฟ (Electric Wiring) - สายไฟตองวางบนรางสายไฟ มีเข็มขัดรัดทุก ๆ 1.5 เมตร (หามใชสายไฟ เชือก หรือลวดมัด แทนเข็มขัด) - ใชตัวเชื่อมตอสายไฟที่สามารถปองกันการดึงรั้ง น้ํา และฝุน - ตองไมมีวัสดุอื่นรองอยูใตสายไฟหรือรางสายไฟ (เช็คทอยาง ทอเหล็ก ตะแกรงเหล็กตองไมหอ ย อยูกับสายไฟ) - ตองไมมีสวนยื่นแหลม รอยหัก หรือสวนปองกันสายไฟชํารุด - ตองมีเครื่องหมายถาวรเมื่อสายตอเขากับเครื่องไฟฟา (เครื่องหมายบนสายไฟตองสามารถอานได) - ลวดโลหะทัง้ หมด ตองเอาออกจากอุปกรณไฟฟาหรือกลองแยกกระแสไฟ สวนตําแหนงซึ่งถอด อุปกรณไฟฟาออกชั่วคราว ลวดโลหะตองพันครอบปลายและติดเครื่องหมายไว - โค ด สํ า หรับ สื่อ สารทางการไฟฟา ต อ งติ ด ไว ใ หชั ด เจนแสดงถึ ง การตรวจสอบครั้ง สุดทาย (ยอนหลังประมาณ 6 เดือน) เครื่องหมายสีและวันที่ดังตัวอยาง เชน 67 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ม.ค.- มิ.ย. 2559 = สีแดง ก.ค.- ธ.ค. 2559 = สีน้ําเงิน ม.ค.- มิ.ย. 2560 = สีเขียว ก.ค.- ธ.ค. 2560 = สีเหลือง 7) มอเตอร (Motors) - ตองทราบจุดที่ติดตั้งสวิตชตัดกระแสไฟ - แผงกันพัดลมตองติดตั้งอยางปลอดภัย และไมมีสิ่งอุดตัน - ตองไมมีคราบน้ํามัน จาระบี เศษหิน และโคลนสะสมอยู - กลองตอเชื่อมสายตองปด และมีสกรูยึดแนนทุกตัว (ไมใชเชือกหรือลวดมัด) - ตองไมมีรอยสนิม หรือการผุกรอน 8) ตูเชื่อมชนิดเคลื่อนยายได (Portable Welding Machines) - สายไฟตองมวน และแขวนใหพนจากแทนรองตูเชื่อม - สายไฟทั้งหมดตองไมมีรอยชํารุดจากฉนวนปองกันภายนอก - การตอเชือ่ มตองยึดแนนและมั่นคง ไมมีรอยชํารุดใหเห็น - หัวเชื่อมตองไมมีรอยราวบนฉนวนที่มือจับ (ตองไมเปอนโคลน น้ํามัน และจาระบี) - แผงควบคุมวงจรตองสะอาด หนาปดตัวเลขตองมองเห็นชัดเจนและอยูในสภาพใชงานได - ฝาครอบเครื่องตองมีสลักล็อก และเมื่ออยูในตําแหนงเปดก็สามารถล็อกได - แบตเตอรี่ตองยึดแนนกับแทน มีหัวครอบขั้ว และตองสะอาด (ไมเปรอะเปอนน้ํามัน จาระบี หรือโคลน) - เครื่องยนตตองไมมีรอยรั่วของน้ํามัน ไมมีโคลน หรือน้ํามันทับถมอยู - หมอน้ําระบายความรอนตองไมรั่ว ไมมีเศษน้ํามัน หรือโคลนกองอยู ฝาครอบกันแรงดันตองติดตั้ง อยางปลอดภัย (หามแตะตองฝาหมอน้ําขณะยังรอน) - พัดลมหมอน้ําหรือภายในเครื่อง ตองสามารถปองกันมือสัมผัสขณะที่ฝาเครื่องเปด - เครื่องเชื่อมตองตั้งอยูบนพื้นที่แหงหางจากจุดที่จะเปรอะเปอนน้ําหรือโคลน

68 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

ใบทดสอบ คําชี้แจง ใหผูรบั การฝกทําเครื่องหมาย x หนาตัวเลือกที่ถูกตองที่สุดเพียงตัวเลือกเดียว 1. ขอใดกลาวผิด ก. กอนจะเชื่อมจะตองแนใจวาไมมีวสั ดุติดไฟอยูใกลกับบริเวณที่จะทําการเชื่อม ข. ใหระมัดระวังควันจากการเชื่อม โดยเฉพาะการเชื่อมตะกั่ว และโลหะอาบสังกะสี ค. ในกรณีที่ตองเชื่อมในทีเ่ ปยกชื้นตองสวมรองเทายาง และหาวัสดุที่เปนฉนวนไฟฟารองพื้นตรงจุดทีท่ ําการเชื่อม ง. การตอสายดินตองตอใหแนน จุดตอตองอยูในสภาพดี และใหหางชิ้นงานเชื่อมมากทีส่ ุด 2. ระดับเสียงปกติที่พอดี ไมเกิดอันตรายตอการไดยินคือขอใด ก. ไมเกิน 85 เดซิเบล ข. ไมเกิน 95 เดซิเบล ค. ไมเกิน 100 เดซิเบล ง. ไมเกิน 110 เดซิเบล 3. ถาภายในโรงงานมีเสียงดังมากเกินไปจะปองกันอยางไรที่เปนวิธีที่ดีที่สุด ก. ใชผาโพกหัวและใหปดหูดวย ข. ใชปลั๊กอุดหู ที่ทําดวยวัสดุยางสังเคราะห ค. ใชโฟมอุดหู ง. ใชสาํ ลีอุดหู 4. ขอใดกลาวถึงผลกระทบของแกสพิษตอสุขภาพของผูป ฏิบัตงิ านเชื่อมไดถูกตอง ก. แกสคารบอนมอนอกไซด : ระคายเคืองตา จมูก ลําคอ อาจเกิดอาการน้ําทวมปอดได ข. แกสคารบอนไดออกไซด : เกิดอาการมึนงง เวียนศีรษะ หรืออาจทําใหเสียชีวิตได ค. แกสโอโซน : หากมีอาการรุนแรงอาจทําใหมีของเหลวหรือเลือดคั่งในปอดได ง. แกสไนโตรเจนออกไซด : เขาไปแทนทีอ่ อกซิเจน อาจทําใหหมดสติ

69 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

5. บุคคลในขอใดปฏิบัติตามมาตรฐานการตรวจสอบความปลอดภัยจากการใชถังออกซิเจนและถังอะเซทิลีนไดอยางถูกตอง ก. วินิต เก็บถังเปลาไวในที่ทํางานอยางมิดชิด ข. วาริษตั้งถังไวกับกระบะหรือวัตถุที่มั่นคง แลวรัดดวยเชือก ค. วินัยปดวาลวเมื่อไมไดใชงาน และไมปลอยใหแรงดันลมคางอยูในสายขณะเก็บ ง. วิวัฒน ใชแกสในความดันสูงเกิน 28 พีเอสไอ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อม 6. ขอใดตอไปนี้เปนสิ่งทีผ่ ปู ฏิบัติงานไมควรปฏิบัติ ขณะทํางานใกลวัตถุติดไฟ ก. ตองทราบจุดที่ติดตั้งสวิตชตัดกระแสไฟ ข. สายไฟตองมวน และแขวนไวบนแทนรองตูเชื่อม ค. ใชตัวเชื่อมตอสายไฟที่สามารถปองกันการดึงรั้ง น้ํา และฝุน ง. เครื่องเชื่อมตองตั้งอยูบ นพื้นที่แหงหางจากจุดทีจ่ ะเปรอะเปอ นน้ําหรือโคลน

70 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

เฉลยใบทดสอบ ขอ

1 2 3 4 5 6

71 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

คณะผูจัดทําโครงการ คณะผูบริหาร 1. นายสุทธิ 2. นางถวิล 3. นายธวัช

สุโกศล

อธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

เพิ่มเพียรสิน เบญจาทิกลุ

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน

4. นายสุรพล พลอยสุข 5. วาที่รอยตรี สมศักดิ์ พรหมดํา

รองอธิบดีกรมพัฒนาฝมือแรงงาน ผูอํานวยการสํานักพัฒนาผูฝ กและเทคโนโลยีการฝก

6. นางเพ็ญประภา 7. นายวัชรพงษ

ศิริรัตน มุขเชิด

ผูอํานวยการกลุมงานพัฒนาระบบการฝก ผูอํานวยการสํานักงานรับรองความรูความสามารถ

คณะที่ปรึกษาโครงการ 1. ผศ. ดร. มนตรี

คําเงิน

ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม คณะวิศวกรรมศาสตร

สุนทรกนกพงศ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

2. รศ. ดร. วิสุทธิ์

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

3. ผศ. สันติ

ตันตระกูล

4. นายสุระชัย

พิมพสาลี

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

5. นายวินัย

ใจกลา

ภาควิชาครุศาสตรวิศวกรรม คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

6. นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

7. นายมนตรี 8. นายธเนศ 9. นายณัฐวุฒิ

ประชารัตน วงควัฒนานุรักษ เสรีธรรม

แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี แผนกวิชาชางไฟฟา วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี

10. นายหาญยงค 11. นายสวัสดิ์

หอสุขสิริ บุญเถื่อน

แผนกวิชาโลหะการ วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร แผนกวิชาชางยนต วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก มหานคร 72 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


คู มื อ ครู ฝ ก สาขาช า งเชื่ อ มแม็ ก ระดั บ 3 โมดู ล การฝ ก ที่ 1

นายวราวิช

กําภู ณ อยุธยา

สํานักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกลาลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

73 กรมพั ฒ นาฝ มื อ แรงงาน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.